การก่อการร้ายในตะวันออกกลาง (2)

4
การกอการรายในตะวันออกกลาง (2) ศราวุฒิ อารีย อิกบาล อะหมัด (Iqbal Ahmed) นักวิชาการอเมริกันเชื้อสายปากีสถาน ไดกลาวไวในการ นําเสนอผลงานที่มหาวิทยาลัยโคโลราโด ประเทศสหรัฐฯ เมื่อวันที12 ตุลาคม .. 1998 วา ประเด็น เรื่องการกอการรายนั้นคอนขางมีความสลับซับซอน ภาพลักษณของผูกอการรายนั้นอาจเปลี่ยนแปลง ได ผูกอการรายของวันวานก็อาจกลายเปนวีรบุรุษของวันนีและวีรบุรุษของวันวานก็อาจเปลี่ยนเปน ผูกอการรายของวันนีปรากฏการณที่มาอธิบายคําพูดของ อิกบาล อะหมัด อาจเห็นไดจากกรณีภาพลักษณของ องคกรปลดปลอยปาเลสไตน (PLO) ที่ชาติมหาอํานาจมองการเคลื่อนไหวในอดีตนับตั้งแตป . . 1969 ถึง . . 1990 ของ PLO วาเปนการกอการราย นักขาวผูมีชื่อเสียงของสหรัฐฯ อยาง วิลเลี่ยม ซาไฟร (William Safire) จากหนังสือพิมพนิวยอรก ไทมส มักอางถึง ยัซเซอร อารอฟต วา เปนเสมือน หัวหนาใหญของผูกอการรายแตเมื่ออารอฟตไดถายรูปคูกับอดีตประธานาธิบดีสหรัฐฯ นายบิล คลินตัน และอดีตนายกรัฐมนตรีอิสราเอล นายเนทันยาฮู (Natenyahu) ในทําเนียบขาว เมื่อเดือน กันยายน . . 1998 ภาพลักษณของอารอฟตก็เปลี่ยนไปทันที ในขณะเดียวกัน วิลเลี่ยม ซาไฟร ก็ เปลี่ยนทัศนคติเดิมๆ ที่เคยมีตออารอฟต ยิ่งกวานั้น เจาหนาที่ระดับสูงและนักวิชาการของตะวันตกเอง ก็กลายเปนผูสนับสนุนผลักดันใหอารอฟตไดรับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ 1 อีกตัวอยางหนึ่งคือ กรณีของอดีตผูนําชาวยิวในอิสราเอล เชนอดีตนายกรัฐมนตรี เมนาเฮม เบกิน (Menachem Begin) และยิตซัค ชามิร (Yitzhak Shamir) ซึ่งผูนําทั้งสองตางก็เคยถูกตราหนาวา เปนผูกอการรายทั้งสิ้น เพราะเปนผูที่เกี่ยวของกับการฆาตกรรมพลเรือนอาหรับ (รวมทั้งชาวยิว) หลาย ครั้งหลายคราดวยกัน หนึ่งในนั้นคือการโจมตีดวยระเบิดที่โรงแรมคิงเดวิด (King David Hotel) และ เปนผูที่อยูเบื้องหลังการสังหารขาหลวงใหญชาวอังกฤษในปาเลสไตน รัฐบาลอังกฤษตั้งคาหัวของ เบ กิน และชามิร ในชวงเวลานั้นสูงถึงคนละ 1 แสนปอนดสเตอลิง แตเมื่อเกิดการฆาลางเผาพันธุชาวยิว ในยุโรป ทําใหมหาอํานาจฝายพันธมิตรในชวงสงครามโลกครั้งที่สองตางแสดงความเห็นอกเห็นใจ ชาวยิว จนในที่สุดผูกอการรายอยางเบกินและชามิรก็กลายเปนนักรบเพื่อเสรีภาพ 2 ทั้งนีก็ไมควรลืมวา แรกเริ่มเดิมทีคําวา การกอการรายนั้น เปนการใชเรียก นโยบายของ รัฐ’ (state policy) ในชวงการปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolution) แตปจจุบันสังคมโลกมักไมใหความ สนใจมากนักตอประเด็นเรื่องการกอการรายที่กระทําโดยรัฐ (state terrorism) เชน การยิงหรือทิ้ง ระเบิดโดยไมเลือกเปา การเนรเทศ การระเบิดรถยนต ซึ่งกระทําโดยรัฐบาลตางๆ เชน อิสราเอล อิรัก (ในยุคของประธานาธิบดีซัดดัม) และซีเรีย เปนตน

Upload: ploypapat

Post on 27-Jul-2015

653 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การก่อการร้ายในตะวันออกกลาง (2)

การกอการรายในตะวันออกกลาง (2) ศราวุฒิ อารีย

อิกบาล อะหมัด (Iqbal Ahmed) นักวิชาการอเมริกันเชื้อสายปากีสถาน ไดกลาวไวในการ

นําเสนอผลงานที่มหาวิทยาลัยโคโลราโด ประเทศสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1998 วา ประเด็นเร่ืองการกอการรายนั้นคอนขางมีความสลับซับซอน ภาพลักษณของผูกอการรายนั้นอาจเปลี่ยนแปลงได “ผูกอการรายของวันวานก็อาจกลายเปนวีรบุรุษของวันนี้ และวีรบุรุษของวันวานก็อาจเปลี่ยนเปนผูกอการรายของวันนี้”

ปรากฏการณที่มาอธิบายคําพูดของ อิกบาล อะหมัด อาจเห็นไดจากกรณีภาพลักษณของ

องคกรปลดปลอยปาเลสไตน (PLO) ที่ชาติมหาอํานาจมองการเคลื่อนไหวในอดีตนับตั้งแตป ค.ศ. 1969 ถึง ค.ศ. 1990 ของ PLO วาเปนการกอการราย นักขาวผูมีช่ือเสียงของสหรัฐฯ อยาง วิลเล่ียม ซาไฟร (William Safire) จากหนังสือพิมพนิวยอรก ไทมส มักอางถึง ยัซเซอร อารอฟต วา เปนเสมือน “หัวหนาใหญของผูกอการราย” แตเมื่ออารอฟตไดถายรูปคูกับอดีตประธานาธิบดีสหรัฐฯ นายบิล คลินตัน และอดีตนายกรัฐมนตรีอิสราเอล นายเนทันยาฮู (Natenyahu) ในทําเนียบขาว เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1998 ภาพลักษณของอารอฟตก็เปลี่ยนไปทันที ในขณะเดียวกัน วิลเล่ียม ซาไฟร ก็เปลี่ยนทัศนคติเดิมๆ ที่เคยมีตออารอฟต ยิ่งกวานั้น เจาหนาที่ระดับสูงและนักวิชาการของตะวันตกเอง ก็กลายเปนผูสนับสนุนผลักดันใหอารอฟตไดรับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ1

อีกตัวอยางหนึ่งคือ กรณีของอดีตผูนําชาวยิวในอิสราเอล เชนอดีตนายกรัฐมนตรี เมนาเฮม

เบกิน (Menachem Begin) และยิตซัค ชามิร (Yitzhak Shamir) ซ่ึงผูนําทั้งสองตางก็เคยถูกตราหนาวาเปนผูกอการรายทั้งสิ้น เพราะเปนผูที่เกี่ยวของกับการฆาตกรรมพลเรือนอาหรับ (รวมทั้งชาวยิว) หลายคร้ังหลายคราดวยกัน หนึ่งในนั้นคือการโจมตีดวยระเบิดที่โรงแรมคิงเดวิด (King David Hotel) และเปนผูที่อยูเบื้องหลังการสังหารขาหลวงใหญชาวอังกฤษในปาเลสไตน รัฐบาลอังกฤษตั้งคาหัวของ เบกิน และชามิร ในชวงเวลานั้นสูงถึงคนละ 1 แสนปอนดสเตอลิง แตเมื่อเกิดการฆาลางเผาพันธุชาวยิวในยุโรป ทําใหมหาอํานาจฝายพันธมิตรในชวงสงครามโลกครั้งที่สองตางแสดงความเห็นอกเห็นใจชาวยิว จนในที่สุดผูกอการรายอยางเบกินและชามิรก็กลายเปนนักรบเพื่อเสรีภาพ2

ทั้งนี้ ก็ไมควรลืมวา แรกเร่ิมเดิมทีคําวา ‘การกอการราย’ นั้น เปนการใชเรียก ‘นโยบายของ

รัฐ’ (state policy) ในชวงการปฏิวัติฝร่ังเศส (French Revolution) แตปจจุบันสังคมโลกมักไมใหความสนใจมากนักตอประเด็นเรื่องการกอการรายที่กระทําโดยรัฐ (state terrorism) เชน การยิงหรือทิ้งระเบิดโดยไมเลือกเปา การเนรเทศ การระเบิดรถยนต ซ่ึงกระทําโดยรัฐบาลตางๆ เชน อิสราเอล อิรัก (ในยุคของประธานาธิบดีซัดดัม) และซีเรีย เปนตน

Page 2: การก่อการร้ายในตะวันออกกลาง (2)

2

แตเดิมนั้น การกอการรายมักจะถูกพิจารณาตามลักษณะวิธีการของมันในการกอเหตุ และหนึ่งในวิธีการนั้นคือการจี้เครื่องบิน ซ่ึงครั้งแรกเกิดขึ้นโดยรัฐบาลฝรั่งเศสภายใตการนําของ Guy Mollet เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ซ่ึงบังคับใหเครื่องบินที่บินจากเมืองราบาตไปยังเมืองตูนิส (โดยมี Ben Bella และผูนํากลุม FLN คนอื่นๆ รวมอยูในกลุมผูโดยสาร) ลงจอดแบบฉุกเฉิน เหตุการณในลักษณะเดียวกันนี้ไดเกิดขึ้นอีกครั้งหลังสงครามอาหรับ-อิสราเอล ค.ศ. 1967 ในวันที่ 23 กรกฎาคม 1968 กลุม PFLP (Popular Front for Liberation of Palestine)ไดจี้เครื่องบินของสายการบิน El Al ที่มีเสนทางบินระหวางกรุงโรม (Rome) ไป เทล อวีฟ (Tel Aviv) กลุมฟาตะห (Fatah) ใชวิธีการนี้เชนกันภายหลังเหตุการณ “กันยาฯ ทมิฬ” (Black September)

อยางไรก็ตาม ในป 1973 ขบวนการปลดปลอยปาเลสไตน (PLO) ไดตัดสินใจยุติการปฏิบัติการดังกลาว ซ่ึงมีเพียงบางกลุมยอยเทานั้น เชนกลุมของอบู นิดาล (Abu Nidal) ที่ไมเห็นดวยและยังคงใชวิธีการกอการรายดังกลาว ทั้งนี้ ดวยมาตรการรักษาความปลอดภัยของสนามบินที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ประกอบกับการที่ กลุม PLO ประณามการกระทําดังกลาว จึงทําใหการปฏิบัติการจี้เครื่องบินลดนอยลงอยางเห็นไดชัด ปจจุบันจึงเปนเพียงประเด็นปญหาระดับทองถ่ินเทานั้น

การลักพาตัวก็เปนวิธีการหนึ่งของการกอการราย ซ่ึงมักเกิดขึ้นในพื้นที่ที่เกิดความขัดแยง เชน ในดินแดนเคิอรดิสถาน (Kurdistan) ในอิรัก โดยกลุม Peshmerga ไดทําการลักพาตัวเจาหนาที่เทคนิคชาวตางชาติหลายตอหลายครั้งในชวงทศวรรษที่ 1980 อีกกรณีหนึ่งคือเลบานอน ประเทศที่เต็มไปดวยความขัดแยงและการแตกแยก มีการลักพาตัวบอยคร้ังในชวงทศวรรษที่ 1980 จนเปนที่ขึ้นชื่อไปทั่วโลก โดยเฉพาะกลุมฮิซบุลลอฮ (Hezbollah) ที่มักลักพาตัวชาวตางชาติ อยางไรก็ตาม ในชวงทศวรรษที่ 1990 การลักพาตัวหรือการจับตัวประกันในตะวันออกกลางก็ลดลงเรื่อยๆ จนแทบไมปรากฏ

เปนที่นาสังเกตวา คล่ืนของการกอการรายครั้งใหญในตะวันออกกลางดังกลาว 3 ชวง (คือชวงหลังป 1970 ชวงหลังป 1982 และในป 2000) ที่กระทําโดยตัวแสดงที่ไมใชรัฐ เกิดขึ้นหลังจากที่ประชาชนคนอาหรับตกอยูในภาวะทอแทส้ินหวังอยางถึงที่สุด และเปนภาวะที่เปนทางตันทางการเมือง สําหรับเยาวชนชาวปาเลสไตนและเลบานอนบางกลุมบางพวกแลว การกระทําใดๆ ก็ตามเพื่อตอตานผูยึดครองถือวามีความชอบธรรม อันเปนวิถีทางของการแสดงออกถึงความทอแทส้ินหวัง การที่รัฐบาลอิสราเอลไมปฏิบัติตามสนธิสัญญาออสโล (Oslo Accord) อยางจริงจัง อันเปนการทําลายความหวังของสันติภาพที่ตั้งอยูบนความยุติธรรมนั้น ถือเปนตนเหตุที่กอใหเกิดปฏิบัติการ “ระเบิดพลีชีพ” (Suicide Bombing)

Page 3: การก่อการร้ายในตะวันออกกลาง (2)

3

Olivier Roy ยอมรับวา การโจมตีแบบพลีชีพนั้นไมมีในหลักการคําสอนของอิสลาม มันเพิ่งจะปรากฏขึ้นมาในชวงทศวรรษที่ 1980 โดยขบวนการมุสลิมสายชีอะห เชน กลุมฮิซบุลลอฮ ตอมาไดแผขยายเขาไปในหมูขบวนการมุสลิมสายซุนนีย ปรากฏการการโจมตีแบบพลีชีพเกิดขึ้นบอยคร้ังในดินแดนปาเลสไตนภายใตการยึดครอง ซ่ึงปรากฏการเชนนี้ไมไดสะทอนใหเห็นถึงเปาหมายหรืออุดมการณทางศาสนาแตอยางใด แตเปนปรากฏการที่เกิดขึ้นมาจากความทอแทส้ินหวัง และเกิดภาวะทางตันในการใชวิถีทางทางการเมืองในการแกปญหา3

แมการตอสูในเวสแบงคและฉนวนกาซาจะมีความชอบธรรมในตัวของมันเอง แต 2 ปหลังจากการลุกฮือขึ้นตอสูของชาวปาเลสไตนคร้ังที่ 2 (Second Intifadah) ความคิดเห็นของสาธารณชนชาวปาเลสไตนสวนใหญ ก็ไมเห็นดวยกับการโจมตีชาวอิสราเอลแบบไรเหตุผล ไมวาจะเปนการโจมตีโดยกลุมฮามาส กลุมอิสลามิกญิฮาด หรือกลุมอัล-อักศอ (ที่มีความใกลชิดกับกลุมฟาตะห) ก็ตาม กระแสการคัดคานของชาวปาเลสไตนตอการตอสูในลักษณะดังกลาว เกิดขึ้นจากประสบการณที่ตามมาของผลลัพธที่มีตอชาวปาเลสไตนเอง ทั้งนี้ เปนเพราะการสังหารชาวอิสราเอลดวยระเบิดพลีชีพ ยิ่งเปนการผลักดันใหอิสราเอลใชนโยบายที่แข็งกราวตอชาวปาเลสไตนมากขึ้น รวมทั้งการอางความชอบธรรมในการตอบโตดวยความรุนแรงในระดับที่มากกวา แกนนําของชาวปาเลสไตนหลายคน รวมทั้งกลุมติดอาวุธบางกลุม ไดเลือกที่จะประณามการกอการราย เพราะการกอการรายทําใหเหตุผลและเปาหมาย รวมทั้งอุดมการณของพวกเขาตองแปดเปอนมัวหมอง และเปนการบอนทําลายรูปแบบสังคมในอุดมคติที่พวกเขาพยายามที่จะสรางขึ้น ความจริง องคกรระหวางประเทศหลายองคกร ก็มีความเห็นในทิศทางเดียวกันเกี่ยวกับการกระทําอันโหดรายของอิสราเอล และการระเบิดพลีชีพของชาวปาเลสไตน องคกรเฝาติดตามดานสิทธิมนุษยชน (Human Rights Watch) เปนองคกรหนึ่งที่มีการรายงานอยางละเอียด เกี่ยวกับอาชญากรรมสงครามในคายพักผูล้ีชาวปาเลสไตนจากฝมือของกองทัพอิสราเอล และกรณีที่อิสราเอลโดนโจมตีดวยระเบิดพลีชีพ Human Rights Watch รายงานวาระดับและลักษณะของการปะทะกันระหวางอิสราเอลและกลุมติดอาวุธชาวปาเลสไตนในระยะหลังๆ มีลักษณะที่แตกตางไปจากกรณีการกอการรายในอดีตที่ผานมา โดยที่ทั้งสองฝายตางก็ไดกออาชญากรรมอันละเมิดหลักมนุษยธรรมอยางเปดเผย

ทํานองเดียวกัน ในรายงานขององคกรนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International) ไดยืนยันวา องคกรไดทําการประณามติดตอกันมาหลายป ตอกรณีการละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมและสิทธิมนุษยชน ที่อิสราเอลไดกระทําตอชาวปาเลสไตนในดินแดนภายใตการยึดครอง ซ่ึงการปฏิบัติการเหลานี้ของอิสราเอลสวนใหญแลวเปนอาชญากรรมสงคราม ในอีกดานหนึ่ง องคกรนิรโทษกรรมสากล อธิบายวาการโจมตีแบบพลีชีพก็เปนอาชญากรรมที่ขัดตอหลักมนุษยธรรม ในแงมุมของกฎหมายระหวางประเทศ และเปนอาชญากรรมสงครามดวยลักษณะทางกฎหมายวาดวยความขัดแยง และ

Page 4: การก่อการร้ายในตะวันออกกลาง (2)

4

สถานะของกลุมติดอาวุธและพลเรือนปาเลสไตน องคกรนิรโทษกรรมสากลสรุปรายงานโดยไดย้ําวา “สมัชชาใหญองคการสหประชาชาติใหการยอมรับในการตอสูของมวลชนที่ตอตานการยึดครองของตางชาติ เพื่อใหไดมาซึ่งสิทธิในการกําหนดอนาคตและความเปนอิสรภาพของตนเอง อยางไรก็ตาม กฎหมายระหวางประเทศเรียกรองใหทุกฝายที่เกี่ยวของกับความขัดแยง จําแนกแยกแยะระหวางพลเรือนและประชาชนที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับความเปนปรปกษ โดยตองทําทุกวิถีทางเพื่อปกปองพลเรือนจากภัยอันตรายตางๆ”

แมกระนั้นก็ตาม การใชเพียงหลักจริยธรรมประณามอาชญากรรมที่กอขึ้นโดยทั้งสองฝายดังที่ไดกลาวมานั้น คงยังไมเพียงพอ เพราะเราคงไมสามารถวางทั้งสองฝายใหอยูในมาตรฐานเดียวกันเพยีงเพราะตัวแสดงทั้งสองนั้นละเมดิหลักมนุษยธรรมเหมือนกัน เหตุเพราะ 1) การละเมิดที่กระทําโดยฝายรัฐ (โดยเฉพาะรัฐบาลที่อางวาเปนรัฐบาลที่ยึดมั่นในประชาธิปไตย) ถือไดวาเลวรายกวาการกระทําของกลุมที่ไมใชรัฐ และ 2) เปนเหตุผลทางการเมือง เพราะการตอสูของชาวปาเลสไตนนั้น กระทําไปเพื่อตอตานการยึดครองที่ผิดกฎหมายของอิสราเอล ซ่ึงเปนการตอตานที่มีความชอบธรรมตามกฎหมายระหวางประเทศ ทามกลางการวางแผนในการยึดครองดินแดนปาเลสไตนโดยรัฐบาลอิสราเอลตอไปเรื่อยๆ อยางไมมีที่ส้ินสุด เชิงอรรถ

1 ศราวุฒิ อารีย, การกอการราย: มุมมองของโลกอิสลาม (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศกึษา จุฬาฯ, 2550)

2 เพิ่งอาง. 3 ดูรายละเอยีดใน Olivier Roy, The Failure of Political Islam (Harvard University Press,

1996) Keyword: การกอการราย, ตะวนัออกกลาง, ปาเลสไตน, ศราวุฒิ อารีย Section: ความมั่นคง