แผนหน่วยที่ 2

59
41 แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส30106 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 6 การจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีท6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 5 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น สาระที4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณสาคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสูโลกสมัยปัจจุบัน สาระสาคัญ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น 1. การปิดล้อมกรุงเบอร์ลินในปี ค.ศ. 1948-1949 / การสร้างกาแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall) 2. สงครามเกาหลี (Korean War ค.ศ. 1950 – 1953) 3. สงครามเวียดนาม (Vietnam War ค.ศ. 1963 - 1975) 4. วิกฤตการณ์ขีปนาวุธในคิวบา ปี ค.ศ. 1962 5. กรณีเขมรแดง วิเคราะห์หัวข้อต่างๆ ในประเด็น 1) ปัญหาคืออะไร 2) สาเหตุของปัญหา 3) การสิ้นสุดของปัญหาน้นๆ 6. การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น จีน ยุคสาธารณรัฐ แนวคิดของเหมา เจ๋อตง การนาลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ และการปฏิวัติวัฒนธรรม จีน คอมมิวนิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เสียวผิง นโยบายสี่ทันสมัย เหตุการณ์จัตุรัส เทียนอันเหมิน 7. การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพ โซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

Upload: saipin

Post on 19-Feb-2017

9 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: แผนหน่วยที่ 2

41

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่ 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 5 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน สาระส าคัญ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น 1. การปิดล้อมกรุงเบอร์ลินในปี ค.ศ. 1948-1949 / การสร้างก าแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall) 2. สงครามเกาหลี (Korean War ค.ศ. 1950 – 1953) 3. สงครามเวียดนาม (Vietnam War ค.ศ. 1963 - 1975) 4. วิกฤตการณ์ขีปนาวุธในคิวบา ปี ค.ศ. 1962 5. กรณีเขมรแดง วิเคราะห์หัวข้อต่างๆ ในประเด็น 1) ปัญหาคืออะไร 2) สาเหตุของปัญหา 3) การสิ้นสุดของปัญหานั้นๆ 6. การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น จีนยุคสาธารณรัฐ แนวคิดของเหมา เจ๋อตง การน าลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ และการปฏิวัติวัฒนธรรม จีนคอมมิวน ิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เส ียวผิง นโยบายส ี่ทันสมัย เหตุการณ์จัตุรัสเทียนอ ันเหมิน 7. การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

Page 2: แผนหน่วยที่ 2

42

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ข้ันตอน 1. ตั้งค าถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) พัฒนาการคิดวิเคราะห์ และกระตุ้นให้นักเรียนคิด

2. สืบค้นความรู้ (Searching for Information) ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ 3. การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) เช่น การสร้างผังความคิด การค้นหาค าตอบในเวลาสั้น(Buzzing) ระดมสมอง ช่วยกันคิดวิเคราะห์ การสรุป เหตุผล อภิปราย ตกผลึก สร้างองค์ความรู้ใหม่

4. สื่อสารและน าเสนอ (Effective Communication) ฝึกฝนด้านภาษา พัฒนาเทคนิค วิธีการ น าเสนอ โดยใช้ตามความถนัดศักยภาพของนักเรียน เช่น นิทรรศการ ป้ายนิเทศ ICT และ เครื่องมือ Social Media

5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) น าเสนอผลงาน สร้างเครือข่าย เชื่อมโยง เกิดระบบ Community โดยใช้ประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ได้แก่ Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้แก่ - เว็ปไซต์ http://innovativesaipin.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://saipimm.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://socialm6.wordpress.com/ - Youtube เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลิน สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม วิกฤตการณคิวบา กรณีเขมรแดง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น (จีนยุคสาธารณรัฐ แนวคิดของเหมา เจ๋อตง) จีนคอมมิวน ิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ (แนวคิดของเติ้ง เส ียวผิง) และการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตกอ่นส ิ้นส ุดสงครามเย็น 2. โดยใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways - เว็ปไซต์ http://www.sascurriculumpathways.com/portal/ - QL# 38 Johnson and the Vietnam War - QL# 603 The Chinese Cultural Revolution - QL# 936 The Cuban Missile Crisis Usename sure75wall (รหัส นักเรียนไม่ต้องใส่) 3. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ และตัวอย่างผลงานนักเรียน สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น 1) การสร้างก าแพงเบอร์ลิน 2) สงครามเกาหลี 3) สงครามเวียดนาม 4) วิกฤตการณคิวบา 5) กรณีเขมรแดง 6) การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น จีนยุคสาธารณรัฐ แนวคิดของเหมา เจ๋อตง การน าลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ และการปฏิวัติวัฒนธรรม จีนคอมมิวน ิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เส ียวผิง นโยบายส ี่ทันสมัย เหตุการณ์จัตุรัสเทียนอ ันเหมิน 7) การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

Page 3: แผนหน่วยที่ 2

43

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

4. การกิจกรรมระดมความค ิด 5. การตั้งประเด็นคำถาม วิเคราะห์หัวข้อต่างๆ ในประเด็น 1) ปัญหาคืออะไร 2) สาเหตุของปัญหา 3) การสิ้นสุดของปัญหานั้นๆ 6. การค ้นหาคำตอบในเวลาส ั้น (Buzzing) 7. การสร้างผ ังความคิด โดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ (Mind Map Online) และโดยใช้กระดาษบรุ๊ฟ หรือกระดาษ A4 8. กระบวนการสืบค้น(Inquiry based) 9. กระบวนการกลุ่ม 10. กระบวนการโดยใช้สื่อ ICT (Information and Communication Technology) สื่อการสอน /แหล่งเรียนรู้ 1. โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้แก่ - เว็ปไซต์ http://innovativesaipin.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://saipimm.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://socialm6.wordpress.com/ - Youtube เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลิน สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม วิกฤตการณคิวบา กรณีเขมรแดง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น (จีนยุคสาธารณรัฐ แนวคิดของเหมา เจ๋อตง) จีนคอมมิวน ิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ (แนวคิดของเติ้ง เส ียวผิง) และการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตกอ่นส ิ้นส ุดสงครามเย็น 2. โดยใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways - เว็ปไซต์ http://www.sascurriculumpathways.com/portal/ - QL# 38 Johnson and the Vietnam War - QL# 936 The Cuban Missile Crisis - QL# 603 The Chinese Cultural Revolution Usename sure75wall (รหัส นักเรียนไม่ต้องใส่) 3. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ และตัวอย่างผลงานนักเรียน สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น 1) การสร้างก าแพงเบอร์ลิน 2) สงครามเกาหลี 3) สงครามเวียดนาม 4) วิกฤตการณคิวบา 5) กรณีเขมรแดง 6) การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น จีนยุคสาธารณรัฐ แนวคิดของเหมา เจ๋อตง การน าลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ และการปฏิวัติวัฒนธรรม จีนคอมมิวน ิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เส ียวผิง นโยบายส ี่ทันสมัย เหตุการณ์จัตุรัสเทียนอ ันเหมิน 7) การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต 4. ตัวอย่างผลงานนักเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา

Page 4: แผนหน่วยที่ 2

44

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถการสื่อสาร 2. ความสามารถการคิด 3. ความสามารถการแก้ปัญหา 4. ความสามารถการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถการใช้เทคโนโลย ีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1 มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการท างาน จุดประสงค์การเรียนรู้ (K P A) 1. อธิบายสถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น ได้ 2. วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น ได้ 3. การเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ สาระการเรียนรู้ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น 1) การสร้างก าแพงเบอร์ลิน 2) สงครามเกาหลี 3) สงครามเวียดนาม 4) วิกฤตการณคิวบา 5) กรณีเขมรแดง 6) การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น จีนยุคสาธารณรัฐ แนวคิดของเหมา เจ๋อตง การน าลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ และการปฏิวัติวัฒนธรรม จีนคอมมิวน ิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เส ียวผิง นโยบายส ี่ทันสมัย เหตุการณ์จัตุรัสเทียนอ ันเหมิน 7) การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต การวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด / สิ่งที่วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน

1. อธิบายสถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น

1.การค้นหาค าตอบในเวลาสั้น (Buzzing) 2. การซักถาม

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

2.ว ิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลง

1. ประเมินผลการวิเคราะห์ 2. ประเมินการน าเสนอผลงาน

1. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ 2. แบบประเมินการน าเสนอผลงาน

1.เกณฑ์การประเมินผลงาน การวิเคราะห์ 2. เกณฑ์การประเมิน การน าเสนอผลงาน

Page 5: แผนหน่วยที่ 2

45

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

ในยุคสงครามเย็น

3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน - โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ในการน าเสนอ/เผยแพร่ผลงานสร้างเครือข่าย เชื่อมโยง เกิดระบบ Community - โดยใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways - โดยแผนผังความคิด (Mind Mapping )กระดาษ A4 /บรุ๊ฟและการประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online)

3. แบบประเมินการเผยแพร่ผลงาน

3. เกณฑ์การประเมิน การเผยแพร่ผลงาน

3. การเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ

พฤติกรรมการเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล การเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรม ในศาสนาที่ตนนับถือ ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

กิจกรรมเสนอแนะ นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก บทเรียน SAS Curriculum Pathways Social Media ครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ ห้องสมุด ตัวอย่างผลงานของนักเรียนปีที่ผ่านมาแล้ว และจากเว็ปไซด์ต่างๆ

Page 6: แผนหน่วยที่ 2

46

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

ผังมโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน/ชิ้นงาน

ด้านความรู้ 1. การสร้างก าแพงเบอร์ลิน 2. สงครามเกาหลี 3. สงครามเวียดนาม 4. วิกฤตการณคิวบา 5. กรณีเขมรแดง 6. การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีน ในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น - จีนยุคสาธารณรัฐ - แนวคิดของเหมา เจ๋อตง การน าลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ และการปฏิวัติวัฒนธรรม

- จนีคอมมิวน ิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เส ียวผิง นโยบายส ่ีทันสมัย เหตุการณ์จัตุรัสเทียนอ ันเหมิน 7. การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนส ิ้นส ุดสงครามเย็น - สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียต ก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น - วิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

ด้านทักษะ/กระบวนการ 1. การสื่อสาร 2. การคิด 3. การแก้ปัญหา 4. การใช้ทักษะชีวิต 5. การใช้เทคโนโลยี 6. กระบวนการกลุ่ม

ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม

1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. รับผิดชอบ 4. มุ่งมั่นในการท างาน

ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. การท าแบบทดสอบ/แบบค าถาม 2. การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) และบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways 3. การวิเคราะห์ ด้วยแผนผังความคิด (Mind Map) แผนผงัความคิดออนไลน ์(Mind Map Online) 4. การน าเสนอผลงาน 5. เผยแพร่ผลงาน

สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและ

ผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น

Page 7: แผนหน่วยที่ 2

47

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลิน สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน สาระส าคัญ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น การสร้างก าแพงเบอร์ลิน วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA) 1. อธิบายเหตุผล การสร้างก าแพงเบอร์ลินได ้ 2. วิเคราะห์สาเหตุ และผลกระทบ การสร้างก าแพงเบอร์ลินได ้ 3. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ที่น าไปสู่ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจของโลกในช่วงหลังสงครามเย็นได้ สาระการเรียนรู ้ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น การสร้างก าแพงเบอร์ลิน ช่วงหลังเที่ยงคืนของวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1961 ไม่นาน ทหารของฝ่ายเยอรมันตะวันออกได้เริ่มวางลวดหนามและก่อสร้างก าแพงด้วยอิฐคอนกรีตแบ่งแยกเมืองเบอร์ลิน(Berlin) ระหว่างเบอร์ลินตะวันออกที่ควบคุมโดยโซเวียต และฝ่ายตะวันตกที่เป็นส่วนเสรีประชาธิปไตยของเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (World War II) เยอรมันเป็นฝ่ายแพ้สงคราม และถูกแบ่งแยกออกเป็นเขตภายใต้การปกครองของ 4 ประเทศ คือ โซเวียต (Soviet), อเมริกัน (American), อังกฤษ (British) และฝรั่งเศส (French) โดยบริเวณแล้วเมืองเบอร์ลินในทางเทคนิคเป็นเขตอยู่ภายใต้โซเวียต เป็นส่วนที่ตั้งอยู่ในเยอรมันตะวันออก แต่ถูกแบ่งแยก โดยโซเวียตได้ปกครองส่วนเบอร์ลินตะวันออก แต่หลังจาก ฝ่ายสัมพันธมิตรได้มีการบินเพ่ือโดนย้ายคนจ านวนมหาศาลออกจากเมือง เบอร์ลินในช่วงเดือนมิถุนายน ค.ศ.1948 โซเวียตเริ่มมีความพยายามปิดล้อมเบอร์ลินตะวันตก ส่วนเบอร์ลินตะวันออกเองก็กลายเป็นส่วนของโซเวียตอย่างเข้มงวด

Page 8: แผนหน่วยที่ 2

48

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 1 ตั้งค าถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนในเรื่องเกี่ยวกับ เกี่ยวกับ เหตุผล การสร้างก าแพงเบอร์ลิน คืออะไร และมีจุดประสงค์ใด เป็นส าคัญ มีประเทศใดบ้างที่ได้รับผลประโยชน์จากการสร้างก าแพงเบอร์ลินนี้ เพ่ือการกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด โดยครูตั้งประเด็นค าถาม การสรุป และเหตุผล 2. นักเรียนศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียนรู้ ความรู้ เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลิน 3. นักเรียนค้นหาค าตอบในเวลาสั้น (Buzzing) เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลินและบันทึกลงในสมุดของนักเรียน ขั้นการเรียนการสอน ขั้นที่ 2 สืบค้นความรู้ (Searching for Information) ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ 4. แบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน ศึกษา เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลิน 5. นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ดังนี้ - Social Media ครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ - เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ - Youtube - ตัวอย่างผลงานนักเรียนของปีการศึกษาที่ผ่านมา - ห้องสมุด ขั้นที่ 3 การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด แบ่งภาระหน้าการท างาน วิเคราะห์ สาเหตุ และผลกระทบ การสร้างก าแพงเบอร์ลิน พร้อมทั้งเสนอแนวคิด โดยวิเคราะห์เป็นแผนผังความคิด Mind Mapping โดยใช้กระดาษ A4 และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ การจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) ขั้นที่ 4 สื่อสารและน าเสนอ (Effective Communication) 7. ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตามที่ได้รับมอบหมายการวิเคราะห์ เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลิน และนักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ขั้นที ่5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 8. นักเรียนเผยแพร่ผลงานการวิเคราะห์ สาเหตุ และผลกระทบ การสร้างก าแพงเบอร์ลิน โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ ขั้นสรุปการเรียนการสอน 9. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป การสร้างก าแพงเบอร์ลิน ด้วยสื่อ Power Point (ตัวอย่างผลงานนักเรียนของปีการศึกษาที่ผ่านมา) สื่อการสอน /แหล่งเรียนรู้ 1. โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้แก่ - เว็ปไซต์ http://innovativesaipin.wordpress.com/

Page 9: แผนหน่วยที่ 2

49

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

- เว็ปไซต์ http://saipimm.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://socialm6.wordpress.com/ - Youtube เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลิน http://www.youtube.com/watch?v=u3YsznGjS_E 2. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 3. ห้องสมดุโรงเรียน 5. ตัวอย่างผลงานนักเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา การวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด / สิ่งที่

วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน

1. อธิบายเหตุผล การสร้างก าแพงเบอร์ลินได้

1. การตอบค าถาม 2. การซักถาม

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

2.วิเคราะห์สาเหตุ และผลกระทบ การสร้างก าแพงเบอร์ลินได้

1. ประเมินผลการวิเคราะห์สาเหตุ และผลกระทบ การสร้างก าแพงเบอร์ลิน 2. ประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

1. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ 2. แบบประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน แผนผังความคิด (Mind Mapping )กระดาษ A4 และการประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online)

1. เกณฑก์ารประเมินผลการวิเคราะห์ 2. เกณฑป์ระเมินการน าเสนอผลงาน 3. เกณฑป์ระเมินการเผยแพร่ผลงาน

3. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้

ประเมินพฤติกรรม การเสนอแนวคิด

แบบบันทึก สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล การเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

กิจกรรมเสนอแนะ นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก Blog wordpress โดยใช้ Social Media ของครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ ห้องสมุด เอกสารประกอบการเรียนรู้และจากเว็ปไซด์ต่างๆ

Page 10: แผนหน่วยที่ 2

50

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนรู้ (KPA) 1. ด้านความรู้ (K) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสาเหตุ และผลกระทบการสร้างก าแพงเบอร์ลินได้อย่างถูกต้องจากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การตอบค าถาม ในประเด็นที่ครูตั้งประเด็นค าถามและตัวอย่างการสรุปด้วยการน าเสนอหน้าชั้นเรียน ผลการประเมินผ่านทุกคน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบการสร้างก าแพงเบอร์ลิน จากผลการวิเคราะห์โดยแผนผังความคิด (Mind Mapping) การประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) พร้อมทั้งการน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ ผลการประเมินผ่านทุกคน 3. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (A) นักเรียนเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้ คะแนนรวมเท่ากับร้อยละ 100 และผลการประเมินผ่านทุกคน สรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และ ด้านคุณลักษณะ (A) สรุปได้ ผลการประเมินผ่านทุกคน ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนาของผู้สอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนา วิธีด าเนินการแก้ไข / พัฒนา ผลแก้ไข / พัฒนา

ลงชื่อ ผู้สอน (นางสายพิน วงษารัตน์) คร ู

Page 11: แผนหน่วยที่ 2

51

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

น้ าหนักคะแนนของผลงานแต่ละภาระงานจากน้ าหนักทั้งหมด 10 คะแนน รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส 30106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

เรื่อง การสร้างก าแพงเบอร์ลิน ภาระงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ น้ าหนักคะแนน

แบบทดสอบการเรียนรู้ การสร้างก าแพงเบอร์ลิน ด้านความรู้ (K) 2 - การวิเคราะห์เหตุผลและผลกระทบการสร้างก าแพงเบอร์ลิน โดยแผนผังความคิด (Mind Mapping) และการประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) - การน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

6

เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ด้านคุณลักษณะ(A) 2 รวม 10

เกณฑ์การตัดสินภาพรวม (การสรุปภาพรวมของจุดประสงค์การเรียนรู้) สรุปผลการประเมิน

ได้คะแนน 5 - 10 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 5 แสดงว่า ไม่ผ่าน

Page 12: แผนหน่วยที่ 2

52

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น เรื่อง สงครามเกาหลี สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน สาระส าคัญ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น ของสงครามเกาหลี วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA)

1. อธิบายสาเหตุ เหตุการณ์ และผลกระทบของสงครามเกาหลี ได้ 2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ และผลกระทบของสงครามเกาหลี ได้ 3. วิเคราะห์ บทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลี ของประเทศไทย 4. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ

สาระการเรียนรู้ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น สงครามเกาหลี เดิมทีนั้นเกาหลีไม่ได้รวมเป็นแผ่นดินเดียวกันทั้งผืน แต่มีอยู่หลายชนเผ่าไม่ขึ้นแก่กัน จนกระทั่งราชวงศ์ฮ่ันของจีนได้แผ่ขยายอ านาจมาในคาบสมุทรเกาหลีและได้ปกครอง เกาหลีประมาณ 400 ปี ต่อมาราชวงศ์ฮ่ันล่มสลายลง แคว้นต่างในคาบสมุทรเกาหลีก็ท าสงครามแผ่ขยายอ านาจกัน จนกระทั่งเหลืออยู่ เพียงสี่อาณาจักรใหญ่ คือ โคกูรยอ ซิลลา แพกแจ และกายา ต่อมาแคว้นซิลลาได้ยกกองทัพเข้ายึดอีกสามแคว้นรวมแผ่นดินเป็นหนึ่งได้ในที่สุดต่อมาอาณาจักรซิลลาก็ล้มเหลวทางด้านการปกครองจนถูกขุ นนางคนหนึ่งยึด อ านาจและสถาปนาราชวงศ์โครยอปกครองคาบสมุทรเกาหลี(ค าว่า โครยอ เป็นที่มาของค าว่าโคเรียในปัจจุบัน) หลังจากนั้น 200 ปีราชวงศ์โครยอก็ถูกแม่ทัพคนหนึ่งเข้าล้มล้างและสถาปนาราชวงศ์โชซอนแทน จน กระทั่งโลกได้เข้าสู่ยุคล่าอาณานิคมในศตวรรษที่ 18 ญี่ปุ่นในฐานะประเทศมหาอ านาจชาติเดียวในเอเชียในสมัย นั้น ได้เข้ายึดครองคาบสมุทรเกาหลี (ยุ่นมันเลียนแบบฝรั่งนั่นแหละ) ล้มราชวงศ์โชซอนลง ท าลายปราสาทราชวัง บังคับให้เกาหลีส่งข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ไปให้ญี่ปุ่น จนกระทั่งเกาหลีตกอยู่ในภาวะอดอยาก ผู้ใดต่อต้านก็จะถูกฆ่า รวมทั้งในตอนที่ญี่ปุ่นท าสงครามกับรัสเซียนั้น ชาวเกาหลีจ านวนมากก็ถูกบังคับ ให้ไปช่วยรบ

Page 13: แผนหน่วยที่ 2

53

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 1 ตั้งค าถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 1. ครูให้นักเรียนดูคลิปจาก YouTube เรื่อง สงครามเกาหลี แล้วสนทนาซักถามนักเรียน เกี่ยวกับสาเหตุของสงครามเกาหลี คืออะไรเป็นส าคัญ มีประเทศใดบ้างที่เข้าร่วมสงครามเกาหลี เหตุการณ์เป็นอย่างไร บทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของประเทศไทยเป็นอย่างไร และผลกระทบสงครามเกาหลีเป็นอย่างไร เพ่ือการกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด โดยครูตั้งประเด็นค าถาม การสรุป และเหตุผล 2. นักเรียนศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียนรู้ ความรู้ เรื่อง สงครามเกาหลี 3. นักเรียนค้นหาค าตอบในเวลาสั้น (Buzzing) เรื่อง สงครามเกาหลี และบันทึกลงในสมุดของนักเรียน ขั้นการเรียนการสอน ขั้นที่ 2 สืบค้นความรู้ (Searching for Information) ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ 4. แบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน ศึกษา เรื่อง สงครามเกาหลี 5. นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ดังนี้ - Social Media ครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ - เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ - Youtube - ตัวอย่างผลงานนักเรียนของปีการศึกษาที่ผ่านมา ฯลฯ ขั้นที่ 3 การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด แบ่งภาระหน้าการท างาน วิเคราะห์สาเหตุ , เหตุการณ์, ผลกระทบสงครามเกาหลี และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของประเทศไทย พร้อมทั้งเสนอแนวคิด โดยวิเคราะห์เป็นแผนผังความคิด Mind Mapping โดยใช้กระดาษ A4 และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ การจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) ขั้นที่ 4 สื่อสารและน าเสนอ (Effective Communication) 7. ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตามที่ได้รับมอบหมายการวิเคราะห์ เรื่อง สงครามเกาหลี โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได ้ขั้นที ่5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service)

9. นักเรียนเผยแพร่ผลงานการวิเคราะห์ สาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบของสงครามเกาหลี บทบาท การเข้าร่วมสงครามเกาหลี ของประเทศไทย และแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ เรื่อง สงครามเกาหลี โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม )Social Media( เช่น Blog Wordpress ,YouTube ,SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ ขั้นสรุปการเรียนการสอน 10. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเรื่อง สงครามเกาหลี ด้วยสื่อ Power Point (ตัวอย่างผลงานนักเรียนของปีการศึกษาที่ผ่านมา)

Page 14: แผนหน่วยที่ 2

54

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

สื่อการสอน /แหล่งเรียนรู้ 1. โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้แก่ - เว็ปไซต์ http://innovativesaipin.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://saipimm.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://socialm6.wordpress.com/ - Youtube เรื่อง สงครามเกาหลี 2. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 3. ห้องสมดุโรงเรียน 5. ตัวอย่างผลงานนักเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา การวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด / สิ่งที่

วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน

1. อธิบายเสาเหตุ เหตุการณ์ผลกระทบ สงครามเกาหลี และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของประเทศไทย

1. การตอบค าถาม 2. การซักถาม

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์, ผลกระทบสงครามเกาหลี และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของประเทศไทย ได ้

1. ประเมินผลการวิเคราะห์วสาเหตุ เหตุการณ์ , ผลกระทบสงครามเกาหลี และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของประเทศไทย 2. ประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

1. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ 2. แบบประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน แผนผังความคิด (Mind Mapping )กระดาษ A4 และการประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online)

1. เกณฑก์ารประเมินผลการวิเคราะห์ 2. เกณฑป์ระเมินการน าเสนอผลงาน 3. เกณฑป์ระเมินการเผยแพร่ผลงาน

3. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้

ประเมินพฤติกรรม การเสนอแนวคิด

แบบบันทึก สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล การเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

กิจกรรมเสนอแนะ

Page 15: แผนหน่วยที่ 2

55

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก Blog wordpress โดยใช้ Social Media ของครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ ห้องสมุด เอกสารประกอบการเรียนรู้และจากเว็ปไซด์ต่างๆ บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนรู้ (KPA) 1. ด้านความรู้ (K) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสาเหตุ , เหตุการณ์ , ผลกระทบสงครามเกาหลี และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของประเทศไทย ได้อย่างถูกต้องจากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การตอบค าถาม ในประเด็นที่ครูตั้งประเด็นค าถามและตัวอย่างการสรุปด้วยการน าเสนอหน้าชั้นเรียน ผลการประเมินผ่านทุกคน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนวิเคราะห์วิเคราะห์สาเหตุ , เหตุการณ์ , ผลกระทบสงครามเกาหลี และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของประเทศไทย จากผลการวิเคราะห์โดยแผนผังความคิด (Mind Mapping) การประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) พร้อมทั้งการน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ ผลการประเมินผ่านทุกคน 3. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (A) นักเรียนเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้ คะแนนรวมเท่ากับร้อยละ 100 และผลการประเมินผ่านทุกคน สรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และ ด้านคุณลักษณะ (A) สรุปได้ ผลการประเมินผ่านทุกคน ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนาของผู้สอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนา วิธีด าเนินการแก้ไข / พัฒนา ผลแก้ไข / พัฒนา

ลงชื่อ ผู้สอน (นางสายพิน วงษารัตน์) คร ู

Page 16: แผนหน่วยที่ 2

56

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

น้ าหนักคะแนนของผลงานแต่ละภาระงานจากน้ าหนักทั้งหมด 10 คะแนน รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส 30106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

เรื่อง สงครามเกาหลี ภาระงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ น้ าหนักคะแนน

แบบทดสอบการเรียนรู้ เรื่อง สงครามเกาหลี ด้านความรู้ (K) 2 - การวิเคราะห์สาเหตุ , เหตุการณ์ ผลกระทบสงครามเกาหลี และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเกาหลีของประเทศไทย โดยแผนผังความคิด (Mind Mapping) และการประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) - การน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียน โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

6

เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ด้านคุณลักษณะ(A) 2 รวม 10

เกณฑ์การตัดสินภาพรวม (การสรุปภาพรวมของจุดประสงค์การเรียนรู้)

สรุปผลการประเมิน ได้คะแนน 5 - 10 แสดงว่า ผ่าน

ได้คะแนนต่ ากว่า 5 แสดงว่า ไม่ผ่าน

Page 17: แผนหน่วยที่ 2

57

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น เรื่อง สงครามเวียดนาม สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน สาระส าคัญ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น ของสงครามเวียดนาม วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA)

1. อธิบายสาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบสงครามเวียดนาม และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนาม ของประเทศไทย ได้ 2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบสงครามเวียดนามและบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนาม

ของประเทศไทย ได้ 4. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ

สาระการเรียนรู้ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น สงครามเวียดนาม สงครามเวียดนาม เป็นข้อพิพาททางทหารยุคสงครามเย็นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชา ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากพันธมิตรคอมมิวนิสต์เป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อ่ืน ๆ เป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งได้รับการสั่งการจากเวียดนามเหนือ สู้รบในสงครามกองโจรต่อก าลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเป็นส่วนใหญ่ กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ ก าลังสหรัฐอเมริกา

Page 18: แผนหน่วยที่ 2

58

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

และเวียดนามใต้อาศัยความได้เปรียบทางอากาศและอ านาจการยิงที่เหนือกว่าเพ่ือด าเนินปฏิบัติการค้นหาและท าลาย ซึ่งรวมถึงก าลังภาคพ้ืนดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 1 ตั้งค าถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 1. ครูให้นักเรียนดูคลิปจาก YouTube เรื่อง สงครามเวียดนาม แล้วสนทนาซักถามนักเรียน เกี่ยวกับสาเหตุของสงครามเวียดนาม คืออะไรเป็นส าคัญ มีประเทศใดบ้างที่เข้าร่วมสงครามเวียดนาม เหตุการณ์เป็นอย่างไร และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนามของประเทศไทยเป็นอย่างไร เพ่ือการกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด โดยครูตั้งประเด็นค าถาม การสรุป และเหตุผล 2. นักเรียนศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียนรู้ ความรู้ เรื่อง สงครามเวียดนาม 3. นักเรียนค้นหาค าตอบในเวลาสั้น (Buzzing) เรื่อง สงครามเวียดนาม และบันทึกลงในสมุดของนักเรียน ขั้นที่ 2 สืบค้นความรู้ (Searching for Information) ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ ขั้นการเรียนการสอน 4. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม 2 กลุ่ม ๆ ละ 12 คน โดยครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษา ค้นคว้า บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways และเอกสารประกอบการเรียนรู้ - QL# 38 Johnson and the Vietnam War เว็ปไซต์ http://www.sascurriculumpathways.com/portal/ 5. นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ดังนี้ - Social Media ครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ - เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ - ตัวอย่างผลงานนักเรียนของปีการศึกษาที่ผ่านมา ขั้นที่ 3 การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด แบ่งภาระหน้าการท างาน วิเคราะห์บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways QL# 38 Johnson and the Vietnam War ประเด็นค าถามน าบทเรียน ขั้นที่ 4 สื่อสารและน าเสนอ (Effective Communication) 7. ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาน าเสนอหน้าชั้นเรียน ประเด็นค าถามน าบทเรียน สาเหตุ เหตุการณ์เป็นอย่างไร และผลกระทบ ของสงครามเวียดนามในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ QL# 38 Johnson and the Vietnam War พร้อมทั้งบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนามของประเทศไทย 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ เพ่ือแก้ปัญหาความเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญด้านการเมือง สังคม และเศรษฐกิจของโลกที่ส่งผลกระทบถึงพัฒนาของมนุษยชาติของการขยายอิทธิพลการแบ่งเขตอิทธิพลระหว่างมหาอ านาจ ในสงครามเวียดนาม ขั้นที ่5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 9. นักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม เผยแพร่ผลงานนักเรียนใช้เครื่องมือบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways ขั้นสรุปบทเรียน 10. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปผลสาเหตุ ผลกระทบ และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนามของประเทศไทยเป็นอย่างไร ของสงครามเวียดนาม ด้วยประเด็นค าถาม

Page 19: แผนหน่วยที่ 2

59

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

สื่อการสอน /แหล่งเรียนรู้ 1. โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้แก่ - เว็ปไซต์ http://innovativesaipin.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://saipimm.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://socialm6.wordpress.com/ - Youtube เรื่อง สงครามเวียดนาม 2. บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ (QL#) ได้แก่ QL# 38 Johnson and the Vietnam War 3. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 4. ห้องสมดุโรงเรียน 5. ตัวอย่างผลงานนักเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา การวัดผลและประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด / สิ่งที่วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายสาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบ สงครามเวียดนาม และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนาม ของประเทศไทย ได้

1. การตอบค าถาม 2. การซักถาม

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบ สงครามเวียดนาม และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนามของประเทศไทย

1. ประเมินผลการวิเคราะห์และ/แบบค าถามน าบทเรียนSAS ประเด็นค าถามน าบทเรียนสาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบ ของสงครามเวียดนาม และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนามของประเทศไทย ประเด็นค าถาม น าบทเรียน ในบทเรียนออนไลน์SAS Curriculum Pathways หัวข้อ (QL#) QL# 38 Johnson and the Vietnam War

1. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ 2. แบบประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

1. เกณฑก์ารประเมินผลการวิเคราะห์ 2. เกณฑป์ระเมินการน าเสนอผลงาน 3. เกณฑป์ระเมินการเผยแพร่ผลงาน

Page 20: แผนหน่วยที่ 2

60

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

2. ประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

3. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้

ประเมินพฤติกรรม การเสนอแนวคิด

แบบบันทึก สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล การเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

กิจกรรมเสนอแนะ นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก Blog wordpress โดยใช้ Social Media ของครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ ห้องสมุด เอกสารประกอบการเรียนรู้และจากเว็ปไซด์ต่าง ๆ โดยศึกษาเรียนรู้และ/วิเคราะห์ เพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน บริบทของโรงเรียนเป็นโรงเรียนนักเรียนพักประจ า บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนรู้ (KPA) 1. ด้านความรู้ (K) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบ สงครามเวียดนาม และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนามของประเทศไทยได้อย่างถูกต้องจากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การตอบค าถาม ในประเด็นที่ครูตั้งประเด็นค าถามและตัวอย่างการสรุปด้วยการน าเสนอหน้าชั้นเรียน ผลการประเมินผ่านทุกคน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบ สงครามเวียดนาม และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนามของประเทศไทย จากผลการวิเคราะห์โดยประเด็นค าถามน าบทเรียน ถึงสาเหตุและผลกระทบ สงครามเวียดนามในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ(QL#) ได้แก่ QL# 38 Johnson and the Vietnam War พร้อมทั้งการน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways อ่ืนๆ ผลการประเมินผ่านทุกคน 3. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (A) นักเรียนเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้ คะแนนรวมเท่ากับร้อยละ 100 และผลการประเมินผ่านทุกคน สรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และ ด้านคุณลักษณะ (A) สรุปได้ ผลการประเมินผ่านทุกคน

Page 21: แผนหน่วยที่ 2

61

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนาของผู้สอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนา วิธีด าเนินการแก้ไข / พัฒนา ผลแก้ไข / พัฒนา

ลงชื่อ ผู้สอน (นางสายพิน วงษารัตน์) คร ู

น้ าหนักคะแนนของผลงานแต่ละภาระงานจากน้ าหนักทั้งหมด 10 คะแนน รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส 30106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

เรื่อง สงครามเวียดนาม ภาระงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ น้ าหนักคะแนน

1. แบบทดสอบการเรียนรู้ เรื่อง สงครามเวียดนาม ด้านความรู้ (K) 2 2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ ผลกระทบ และบทบาทการเข้าร่วมสงครามเวียดนามของประเทศไทย จากผลการวิเคราะห์โดยประเด็นค าถามน าบทเรียน ถึงสาเหตุและผลกระทบ สงครามเวียดนามในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ(QL#) ได้แก ่ QL# 38 Johnson and the Vietnam War 3. การน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ(QL#) ได้แก ่ QL# 38 Johnson and the Vietnam War

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

6

4. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ด้านคุณลักษณะ(A) 2 รวม 10

เกณฑ์การตัดสินภาพรวม (การสรุปภาพรวมของจุดประสงค์การเรียนรู้) สรุปผลการประเมิน

ได้คะแนน 5 - 10 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 5 แสดงว่า ไม่ผ่า

Page 22: แผนหน่วยที่ 2

62

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways

Johnson and the Vietnam War

Quick Launch #38 Estimate to Complete 60-90 minutes Objectives The student will Activate and build background knowledge about the Cold War, the Gulf of Tonkin

incident, and increased U.S. involvement in Vietnam Analyze the relevant primary-source documents and identify arguments with varying

points of view Evaluate the arguments for and against increasing U.S. military commitment in Vietnam Assessment The Wrap-Up Reviews the relative support for the Vietnam War prior to the Tet Offensive in 1968 Describes the results of the Vietnam War in loss of lives, economic impact, and political

implications Discusses the impact that the volatile conflict in Vietnam had on President Johnson's

domestic agenda Offers questions for further discussion Teacher Materials Movie Notes* Documents* Wrap-Up Scoring Guide *Also available within the lesson

Page 23: แผนหน่วยที่ 2

63

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

The Scoring Guide provides criteria for evaluating the Document Analyzer chart and a follow-up assignment (written essay, in-class debate, or oral presentation).

Page 24: แผนหน่วยที่ 2

64

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Johnson and the Vietnam War: Wrap-Up and Discussion Questions

In March 1965, President Lyndon Johnson ordered combat troops to Vietnam. By the end of the year, more than 200,000 American soldiers were fighting in Southeast Asia. In response the North Vietnamese Communist Party adopted a protracted war strategy, refusing to confront the superior American forces in open combat. Instead, they relied on guerrilla warfare, believing that the Americans would eventually tire of a war that seemed to drag on interminably.

Over the next three years the American troop presence in Vietnam grew to more than 500,000. American military leaders confidently claimed that enemy losses were growing and that the U.S. was winning the war. However, during the January 1968 Tet holiday, North Vietnam and the National Liberation Front launched a massive coordinated attack throughout the country. While American forces successfully beat back the assault, the public relations damage to Johnson's administration was devastating.

Vietnam anti-war protests began even before the war started. Prior to the Tet Offensive a majority of the American people supported the president's actions. Following Tet, public opinion turned against Johnson. Opposition to the war reached a climax in October 1969 with the nationwide Vietnam Moratorium, in which two million Americans participated.

President Johnson's domestic anti-poverty program, the "Great Society," suffered as he was forced to devote more money and political power to the war. Finally, battered by the demands of a wartime presidency and facing rising domestic criticism, Johnson announced that he would not seek re-election in 1968. This cleared the path for the election of Richard Nixon, who continued the war for five more years. Johnson died of a heart attack in January 1973, just five days before the U.S. signed a peace treaty with North Vietnam and agreed to withdraw all American troops.

Ultimately the Vietnam War cost America 58,000 lives and over $150 billion dollars. The war cost Vietnam millions of lives and left the nation devastated. In November 1973 Congress passed the War Powers Act. It severely limited the president's discretionary power to commit U.S. military forces. Congress overrode President Nixon's attempt to veto the law.

Questions for Discussion 1. Did the United States have a legitimate purpose in halting the spread of communist

influence in Asia? 2. What constitutional role does Congress have in issues of peace and war? 3. What process should a nation undergo when deciding to go to war?

Page 25: แผนหน่วยที่ 2

65

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 26: แผนหน่วยที่ 2

66

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 27: แผนหน่วยที่ 2

67

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น เรื่อง วิกฤตการณ์คิวบา สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน สาระส าคัญ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็นของวิกฤตการณ์คิวบาวิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA) 1. อธิบายสาเหตุ เหตุการณแ์ละผลกระทบของวิกฤตการณ์คิวบา 2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณแ์ละผลกระทบของวิกฤตการณ์คิวบาได้

4. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ สาระการเรียนรู้ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น วิกฤตการณ์คิวบา วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา (อังกฤษ: Cuban Missle Crisis) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกาฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียตและประเทศคิวบาอีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่สงครามเย็นอยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็นสงครามปรมาณู ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่าวิกฤตการณ์แคริบเบียน ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่าวิกฤตการณ์เดือนตุลาคม เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งส าคัญในสงครามเย็นนอกจากการปิดล้อมเบอร์ลิน กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 1 ตั้งค าถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 1. ครใูห้นักเรียนดูคลิปจาก YouTube เรื่อง วิกฤตการณ์คิวบา แล้วสนทนาซักถามนักเรียน เกี่ยวกับบุคคลส าคัญมีใครบ้าง (จอห์น เอฟ.เคนเนดี , ฟีเดล กัสโตร , นิกิตา ครุสชอฟ และอู ถั่น) มาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบในประเด็นค าถามต่อไปนี้ - เป็นภาพของบุคคลใด - มีบทบาทส าคัญ ในการประจัญหน้าระหว่างมหาอ านาจในสงครามเย็น: ของวิกฤตการณ์คิวบาอย่างไร

Page 28: แผนหน่วยที่ 2

68

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

- มีบทบาทอย่างไรในวิกฤตการณ์คิวบา - สาเหตุของการเกิดวิกฤตการณ์คิวบาคืออะไรเป็นส าคัญ - มีประเทศใดบ้างท่ีเข้าร่วมวิกฤตการณ์คิวบา - เหตุการณ์เป็นอย่างไร เพ่ือการกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด โดยครูตั้งประเด็นค าถาม การสรุป และเหตุผล 2. นักเรียนศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียนรู้ ความรู้ เรื่อง วิกฤตการณ์คิวบา 3. นักเรียนค้นหาค าตอบในเวลาสั้น (Buzzing) เรื่อง วิกฤตการณค์ิวบา และบันทึกลงในสมุดของนักเรียน ขั้นการเรียนการสอน ขั้นที่ 2 สืบค้นความรู้ (Searching for Information) ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ 3. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม 4 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน โดยครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษา ค้นคว้า บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways และเอกสารประกอบการเรียนรู้ แล้วร่วมกันระดมความคิด และวิเคราะห์หัวข้อ (QL#) ประเด็นค าถามน าบทเรียน - QL# 936 The Cuban Missile Crisis เว็ปไซต์ http://www.sascurriculumpathways.com/portal/ 4. นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ เพิ่มเติม ดังนี้ - Social Media ครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ - เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ - คลิปจาก YouTube เรื่อง วิกฤตการณ์คิวบา - ตัวอย่างผลงานนักเรียนของปีการศึกษาที่ผ่านมา ขั้นที่ 3 การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด แบ่งภาระหน้าการท างาน วิเคราะห์หัวข้อ (QL#) ประเด็นค าถามน าบทเรียน - QL# 936 The Cuban Missile Crisis เว็ปไซต์ http://www.sascurriculumpathways.com/portal/ ขั้นที ่4 ส่ือสารและน าเสนอ (Effective Communication) 6. ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาน าเสนอหน้าชั้นเรียน ในประเด็นค าถามน าบทเรียน สาเหตุเหตุการณ์ และผลกระทบ ของวิกฤตการณ์คิวบาในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ (QL#) ได้แก่ - QL# 936 The Cuban Missile Crisis 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อแก้ปัญหาความเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญด้านการเมือง สังคม และเศรษฐกิจของโลกที่ส่งผลกระทบถึงพัฒนาของมนุษยชาติของการขยายอิทธิพลการแบ่งเขตอิทธิพลระหว่างมหาอ านาจ ของวิกฤตการณ์คิวบา ขั้นที ่5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 8. นักเรียนเผยแพร่ผลงาน โดยใช้เครื่องมือบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways ขั้นสรุปบทเรียน 9. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปผลถึงสาเหตุ เหตุการณ์ และผลกระทบของวิกฤตการณ์คิวบา ด้วยสื่อ Power Point จากตัวอย่างผลงานนักเรียนปีการศึกษาที่ผ่านมา และครูน าเสนอภาพบนจอโปเจคเตอร์ เป็น

Page 29: แผนหน่วยที่ 2

69

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

รูปภาพของ จอห์น เอฟ.เคนเนดี , ฟีเดล กัสโตร , นิกิตา ครุสชอฟ และอู ถั่น มาให้นักเรียนทบทวนดูอีกครั้ง แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบในประเด็นค าถามต่อไปนี้ - เป็นภาพของบุคคลใด - มีบทบาทส าคัญ ในการประจัญหน้าระหว่างมหาอ านาจในสงครามเย็น: ของวิกฤตการณ์คิวบาอย่างไร 9. ครูอธิบายสรุปเพิ่มเติมว่าบุคคลเหล่านี้มีความส าคัญในการประจัญหน้าระหว่างมหาอ านาจ ในสงครามเย็นของวิกฤตการณ์คิวบา การวัดผลและประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด / สิ่งที่วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายสาเหตุ เหตุการณ์ และผลกระทบของวิกฤตการณ์คิวบา

1. การตอบค าถาม 2. การซักถาม

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

2.วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ และผลกระทบ ของวิกฤตการณ์คิวบา

1. ประเมินผลการวิเคราะห์/ ค าถาม ประเด็นค าถามน าบทเรียนในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ (QL#) QL# 936 The Cuban Missile Crisis 2. ประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

1. แบบประเมินผลการวิเคราะห์/แบบค าถามประเด็นค าถามน าบทเรียนในบทเรียนออนไลน์ QL# 936 The Cuban Missile Crisis 2. แบบประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

1. เกณฑก์ารประเมินผลการวิเคราะห์ 2. เกณฑป์ระเมินการน าเสนอผลงาน 3. เกณฑป์ระเมินการเผยแพร่ผลงาน

3. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้

ประเมินพฤติกรรม การเสนอแนวคิด

แบบบันทึก สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล การเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

กิจกรรมเสนอแนะ นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก Blog wordpress โดยใช้ Social Media ของครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ ห้องสมุด เอกสารประกอบการเรียนรู้และจากเว็ปไซด์ต่างๆ โดยศึกษาเรียนรู้และ/วิเคราะห์ เพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน บริบทของโรงเรียนเป็นโรงเรียนนักเรียนพักประจ า

Page 30: แผนหน่วยที่ 2

70

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนรู้ (KPA) 1. ด้านความรู้ (K) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สาเหตุ เหตุการณแ์ละผลกระทบ ของวิกฤตการณ์คิวบา ไดอ้ย่างถูกต้องจากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การตอบค าถาม ในประเด็นที่ครูตั้งประเด็นค าถามและตัวอย่างการสรุปด้วยการน าเสนอหน้าชั้นเรียน ผลการประเมินผ่านทุกคน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ ์และผลกระทบของวิกฤตการณ์คิวบา จากผลการวิเคราะห์โดยประเด็นค าถามน าบทเรียน ถึงสาเหตุและผลกระทบ สงครามเวียดนามในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ(QL#) ได้แก่ QL# 936 The Cuban Missile Crisis พร้อมทั้งการน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways อ่ืนๆ ผลการประเมินผ่านทุกคน 3. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (A) นักเรียนเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้ คะแนนรวมเท่ากับร้อยละ 100 และผลการประเมินผ่านทุกคน สรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และ ด้านคุณลักษณะ (A) สรุปได้ ผลการประเมินผ่านทุกคน ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนาของผู้สอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนา วิธีด าเนินการแก้ไข / พัฒนา ผลแก้ไข / พัฒนา

ลงชื่อ ผู้สอน (นางสายพิน วงษารัตน์) คร ู

Page 31: แผนหน่วยที่ 2

71

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

น้ าหนักคะแนนของผลงานแต่ละภาระงานจากน้ าหนักทั้งหมด 10 คะแนน รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส 30106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

เรื่อง วิกฤตการณ์คิวบา ภาระงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ น้ าหนักคะแนน

1. แบบทดสอบการเรียนรู้ เรื่อง วิกฤตการณ์คิวบา ด้านความรู้ (K) 2 2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ และผลกระทบ วิกฤตการณ์คิวบาจากผลการวิเคราะห์โดยประเด็นค าถามน าบทเรียน ถึงสาเหตุ เหตุการณ์และผลกระทบวิกฤตการณ์คิวบา ในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ(QL#) ได้แก ่QL# 936 The Cuban Missile Crisis 3. การน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ(QL#) ได้แก ่ QL# 936 The Cuban Missile Crisis

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

6

4. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ด้านคุณลักษณะ(A) 2 รวม 10

เกณฑ์การตัดสินภาพรวม (การสรุปภาพรวมของจุดประสงค์การเรียนรู้) สรุปผลการประเมิน

ได้คะแนน 5 - 10 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 5 แสดงว่า ไม่ผ่าน

Page 32: แผนหน่วยที่ 2

72

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways

The Cuban Missile Crisis

Quick Launch #936 Estimate to Complete 60-90 minutes Objectives The student will Activate and build background knowledge about the Cold War, the Cuban Revolution,

and the conflict between Cuba and the United States, culminating in the Cuban Missile Crisis of October 1962

Analyze the relevant primary-source documents and identify arguments with varying points of view

Evaluate the arguments for and against Khrushchev's treatment of Castro Assessment The Scoring Guide provides criteria for evaluating the Document Analyzer chart and a follow-up assignment (written essay, in-class debate, or oral presentation). The Wrap-Up Reviews the fallout from the Cuban Missile Crisis and its effects on the careers of

Kennedy, Khrushchev, and Castro Discusses the later history of Cuba under Castro's rule Describes U.S. and Soviet actions in the wake of the crisis to lower tensions and develop

clearer methods of communication Offers questions for further discussion Teacher Materials Movie Notes* Documents*

Page 33: แผนหน่วยที่ 2

73

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Wrap-Up Scoring Guide *Also available within the lesson

Page 34: แผนหน่วยที่ 2

74

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 35: แผนหน่วยที่ 2

75

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 36: แผนหน่วยที่ 2

76

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น เรื่อง กรณีเขมรแดง สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน สาระส าคัญ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น ของกรณีเขมรแดง วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA)

1. อธิบายสาเหตุ เหตุการณ์ และผลกระทบของกรณีเขมรแดงได้ 2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ และผลกระทบของกรณีเขมรแดง 3. วิเคราะห์บทบาทของประเทศไทย กรณีเขมรแดงได้ 4. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ

สาระการเรียนรู้ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น กรณีเขมรแดง เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความส าเร็จเชิงอ านาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 1 ตั้งค าถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 1. ครูให้นักเรียนดูคลิปจาก YouTube เรื่อง กรณีเขมรแดง แล้วสนทนาซักถามนักเรียน เกี่ยวกับสาเหตุของกรณีเขมรแดงคืออะไรเป็นส าคัญ เหตุการณ์เป็นอย่างไร บทบาทของประเทศไทยเป็นอย่างไร และผลกระทบกรณีเขมรแดงเป็นอย่างไร เพ่ือการกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด โดยครูตั้งประเด็นค าถาม การสรุป และเหตุผล 2. นักเรียนศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียนรู้ ความรู้ เรื่อง กรณีเขมรแดง 3. นักเรียนค้นหาค าตอบในเวลาสั้น (Buzzing) เรื่อง กรณีเขมรแดง และบันทึกลงในสมุดของนักเรียน

Page 37: แผนหน่วยที่ 2

77

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

ขั้นการเรียนการสอน ขั้นที่ 2 สืบค้นความรู้ (Searching for Information) ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ 4. แบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน ศึกษา เรื่อง กรณีเขมรแดง 5. นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากสื่อ/แหล่งเรียนรู้ ดังนี้ - Social Media ครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ - เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ - Youtube เรื่อง กรณีเขมรแดง - ห้องสมดุโรงเรียน - ตัวอย่างผลงานนักเรียนของปีการศึกษาที่ผ่านมา ขั้นที่ 3 การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด แบ่งภาระหน้าการท างาน วิเคราะห์สาเหตุ , เหตุการณ์, ผลกระทบ และบทบาทของประเทศไทย กรณีเขมรแดง พร้อมทั้งเสนอแนวคิด โดยวิเคราะห์เป็นแผนผังความคิด Mind Mapping โดยใช้กระดาษ A4 และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ การจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) ขั้นที่ 4 สื่อสารและน าเสนอ (Effective Communication) 7. ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตามที่ได้รับมอบหมายการวิเคราะห์ เรื่อง กรณีเขมรแดง ขั้นที ่5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 8. นักเรียนเผยแพร่ผลงานการวิเคราะห์สาเหตุ , เหตุการณ์, ผลกระทบ และบทบาทของประเทศไทย กรณีเขมรแดง โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ 9. นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได ้ สื่อการสอน /แหล่งเรียนรู้ 1. โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้แก่ - เว็ปไซต์ http://innovativesaipin.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://saipimm.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://socialm6.wordpress.com/ - Youtube เรื่อง กรณีเขมรแดง 2. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 3. ห้องสมดุโรงเรียน 5. ตัวอย่างผลงานนักเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา

Page 38: แผนหน่วยที่ 2

78

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

การวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด / สิ่งที่วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน

1. อธิบายเสาเหตุ เหตุการณ์ผลกระทบ กรณีเขมรแดง และบทบาทของประเทศไทย ต่อกรณีเขมรแดง

1. การตอบค าถาม 2. การซักถาม

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

2. วิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์, ผลกระทบกรณีเขมรแดง และบทบาทของประเทศไทยต่อ กรณีเขมรแดง

1. ประเมินผลการวิเคราะห์วสาเหตุ เหตุการณ์ , ผลกระทบกรณีเขมรแดง และบทบาท

1. แบบประเมินผลการวิเคราะห์

1. เกณฑก์ารประเมินผลการวิเคราะห์ 2. เกณฑป์ระเมินการน าเสนอผลงาน 3. เกณฑป์ระเมินการเผยแพร่ผลงาน

ของประเทศไทยต่อกรณีเขมรแดง 2. ประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

2. แบบประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน แผนผังความคิด (Mind Mapping )กระดาษ A4 และการประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online)

3. เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้

ประเมินพฤติกรรม การเสนอแนวคิด

แบบบันทึก สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล การเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

กิจกรรมเสนอแนะ นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก Blog wordpress โดยใช้ Social Media ของครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ ห้องสมุด เอกสารประกอบการเรียนรู้และจากเว็ปไซด์ต่างๆ โดยศึกษาเรียนรู้และ/วิเคราะห์ เพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน บริบทของโรงเรียนเป็นโรงเรียนนักเรียนพักประจ า

Page 39: แผนหน่วยที่ 2

79

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนรู้ (KPA) 1. ด้านความรู้ (K) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสาเหตุ , เหตุการณ์ , ผลกระทบกรณีเขมรแดง และบทบาทของประเทศไทยต่อกรณีเขมรแดง ได้อย่างถูกต้องจากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การตอบค าถาม ในประเด็นที่ครูตั้งประเด็นค าถามและตัวอย่างการสรุปด้วยการน าเสนอหน้าชั้นเรียน ผลการประเมินผ่านทุกคน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุ , เหตุการณ์ , ผลกระทบกรณีเขมรแดง และบทบาทของประเทศไทยต่อ กรณีเขมรแดง จากผลการวิเคราะห์โดยแผนผังความคิด (Mind Mapping) การประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) พร้อมทั้งการน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ ผลการประเมินผ่านทุกคน 3. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (A) นักเรียนเสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือได้ คะแนนรวมเท่ากับร้อยละ 100 และผลการประเมินผ่านทุกคน สรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และ ด้านคุณลักษณะ (A) สรุปได้ ผลการประเมินผ่านทุกคน ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนาของผู้สอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนา วิธีด าเนินการแก้ไข / พัฒนา ผลแก้ไข / พัฒนา

ลงชื่อ ผู้สอน (นางสายพิน วงษารัตน์) คร ู

Page 40: แผนหน่วยที่ 2

80

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

น้ าหนักคะแนนของผลงานแต่ละภาระงานจากน้ าหนักทั้งหมด 10 คะแนน

รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส 30106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง กรณีเขมรแดง

ภาระงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ น้ าหนักคะแนน แบบทดสอบการเรียนรู้ เรื่อง สงครามเกาหลี ด้านความรู้ (K) 2 - การวิเคราะห์สาเหตุ , เหตุการณ์ ผลกระทบกรณีเขมรแดง และบทบาทของประเทศไทยต่อกรณีเขมรแดง โดยแผนผังความคิด (Mind Mapping) และการประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) - การน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียน โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

6

เสนอแนวคิดโดยใช้หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ด้านคุณลักษณะ(A) 2 รวม 10

เกณฑ์การตัดสินภาพรวม (การสรุปภาพรวมของจุดประสงค์การเรียนรู้) สรุปผลการประเมิน

ได้คะแนน 5 - 10 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 5 แสดงว่า ไม่ผ่าน

Page 41: แผนหน่วยที่ 2

81

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน สาระส าคัญ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น ได้แก่ 1. จีนยุคสาธารณรัฐ 2. แนวคิดของเหมา เจ๋อตง (การน าลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ และการปฏิวัติวัฒนธรรม) 3. จีนคอมมิวน ิสต์หลังสงครามเย็นสมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เส ียวผิง (นโยบาย ส ี่ทันสมัย และเหตุการณ์จัตุรัสเทียนอ ันเหมิน วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA) 1. อธิบาย บทบาท แนวคิดของบุคคลส าคัญในการปฏิวัติวัฒนธรรมในสาธารณรัฐประชาชนจีน และผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัยได้ 2. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัยได้ 3. การมีส่วนร่วมในการท างาน สาระการเรียนรู ้ สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น เหมา เจ๋อ ตง หรือ เหมา เจ๋อ ตุง เกิดที่มณฑลหูหนาน จบการศึกษาจากวิทยาลัยฝึกหัดครู ก่อนจะเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์จีน หลังจากถูกปราบปรามโดยนายพลเจียงไคเชก เหมาได้ขึ้นมาเป็นประธานของคณะโปลิตบูโรของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน ภายใต้การปกครองของเหมาเจ๋อตุง พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีนได้ชนะสงครามกลางเมืองจีน และปกครองจีนแผ่นดินใหญ่ได้ เหมาเจ๋อตุงได้ประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 ที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน

จีนคอมมิวนิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ นโยบายสี่ทันสมัย และเหตุการณ์จัตุรัสเทียนอันเหมิน

Page 42: แผนหน่วยที่ 2

82

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

ทฤษฎีเติ้งเสี่ยวผิงไม่ใช่ทฤษฎีที่สมบูรณ์แบบ แต่เป็นทฤษฎีที่พัฒนาตลอดเวลา แม้แต่เติ้งเสี่ยวผิงเองก็กล่าวว่า การปฏิรูปเปิดกว้างก็ดี เศรษฐกิจการตลาดสังคมนิยมก็ดี ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่มีตัว อย่างในอดีต เรายังขาดประสบการณ์จึงต้องใช้วิธี “คล าหินข้าแม่น้ า” ซึ่งหมายถึงการก้าวไปทีละก้าวอย่างระมัดระวัง การเปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจของจีนครั้งใหญ่ครั้งนี้ ถ้าจะว่าไปแล้วก็เสมือนน าจีนกลับไปในยุคของประชาธิปไตยแผนใหม่ การเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมนิยมอย่างสุกเอาเผากินได้ท าลายชนชั้นนายทุนและชนชั้นนายทุนน้อยไป แต่การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้เติ้งเสี่ยวผิงได้สร้างชนชั้นนายทุนและชนชั้นนายทุนน้อยขึ้นมาใหม ่ และดูเหมือนว่าจะมีอ านาจเศรษฐกิจมากกว่าเก่าด้วยซ้ า กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 1 ตั้งค าถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 1. ครูน าภาพจากเว็ปไซด์ เหมาเจ๋อตง และเติ้ง-เสี่ยวผิง มาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกัน ตอบในประเด็นค าถามต่อไปนี้

- เป็นภาพของบุคคลใด - มีบทบาทส าคัญทางประวัติศาสตร์จีนอย่างไร

2. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่าบุคคลเหล่านี้มีความส าคัญต่อประวัติศาสตร์จีนอย่างไร และครูให้นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมจากคลิป YouTube และเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง เหมาเจ๋อตง และเติ้ง-เสี่ยวผิง ขั้นการเรียนการสอน ขั้นที่ 2 สืบค้นความรู้ (Searching for Information) ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ 3. นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมจากคลิป เหมาเจ๋อตง และเติ้ง-เสี่ยวผิง เสร็จแล้วครูตั้งค าถามเพ่ือกระตุ้นให้เกิดการคิดวิเคราะห์

- ก่อนการปฏิวัติและหลัง(ผล) การปฏิวัติวัฒนธรรมในสาธารณรัฐประชาชนจีน ของเหมาเจ๋อตง และผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัย ของเติ้ง-เสี่ยวผิง เป็นอย่างไร

เมื่อนักเรียนตอบแล้ว ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิวัติวัฒนธรรมในสาธารณรัฐประชาชนจีน ของเหมาเจ๋อตง และผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัย ของเติ้ง-เสี่ยวผิง และ มีบทบาทส าคัญต่อการพัฒนาจีนอย่างไร

4. นักเรียนศึกษาจีนคอมมิวนิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เสียวผิง ทั้งจากเครื่องมือ Social Media ตัวอย่างผลงานนักเรียน แหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ 5. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม 4 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน(กลุ่มเดิม) โดยครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษา ค้นคว้า บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways และเอกสารประกอบการเรียนรู้ ขั้นที่ 3 การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันระดมความคิด และวิเคราะห์หัวข้อ (QL#) 603 The Chinese Cultural Revolution โดยศึกษาเกี่ยวกับ การปฏิวัติวัฒนธรรมในสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเด็นค าถามน าบทเรียน 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับจีนคอมมิวนิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ และเปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบาย สู่ความทันสมัย โดยเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในกระดาษ A4 กระดาษบรุ๊ฟ และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) ดังนี้

- มีบทบาทส าคัญต่อจีนอย่างไร - จีนคอมมิวนิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เสียวผิง

Page 43: แผนหน่วยที่ 2

83

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

- แนวคิดของเติ้ง เสียวผิง ส่งผลการพัฒนาประเทศ ในสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นอย่างไร - เปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัย ขั้นที่ 4 สื่อสารและน าเสนอ (Effective Communication) 8 . ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาน าเสนอหน้าชั้นเรียน ในประเด็นค าถามน าบทเรียนหัวข้อ (QL#) 603 The Chinese Cultural Revolutionในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways 9. ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาน าเสนอหน้าชั้นเรียนผลงานการวิเคราะห์เกี่ยวกับจีนคอมมิวนิสต์ หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ และเปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัย โดยเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในกระดาษ A4 กระดาษบรุ๊ฟ และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) ดังนี้

- มีบทบาทส าคัญต่อจีนอย่างไร - จีนคอมมิวนิสต์หลังสงครามเย็น สมัยเปิดประเทศ แนวคิดของเติ้ง เสียวผิง - แนวคิดของเติ้ง เสียวผิง ส่งผลการพัฒนาประเทศ ในสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นอย่างไร

- เปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัย ขั้นที ่5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 10. นักเรียนทุกกลุ่มเผยแพร่ผลงานโดยใช้เครื่องมือบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways และผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ 11. ครูสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการท างานของแต่ละกลุ่ม ขั้นสรุปบทเรียน 12. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปผลแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัยด้วยสื่อ Power Point จากตัวอย่างผลงานนักเรียนปีการศึกษาที่ผ่านมา และครูน าเสนอรูปภาพบนจอโปเจคเตอร์ เป็นรูปภาพของ ของเหมาเจ๋อตง และของ เติ้ง เสียวผิง สื่อการสอน /แหล่งเรียนรู้ 1. โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้แก่ - เว็ปไซต์ http://innovativesaipin.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://saipimm.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://socialm6.wordpress.com/ - Youtube เรื่อง ของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง 2. บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ (QL#) ได้แก่ (QL#) 603 The Chinese Cultural Revolution 3. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 4. ตัวอย่างผลงานนักเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา 5. สื่อ Power Point เรื่อง ของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง 6. รูปภาพของ ของเหมาเจ๋อตง และของ เติ้ง เสียวผิง

Page 44: แผนหน่วยที่ 2

84

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

การวัดผลและประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด / สิ่งที่วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายบทบาท แนวคิดของบุคคลส าคัญในการปฏิวัติวัฒนธรรมในสาธารณรัฐประชาชนจีน และผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ ความทันสมัย

1. การตอบค าถาม 2. การซักถาม

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

2. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ ความทันสมัย

1. ประเมินผลการวิเคราะห์ และเปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของ เติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ ความทันสมัย - ประเด็นค าถามน าบทเรียนในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ (QL#) 603 The Chinese Cultural Revolution - โดยเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในกระดาษ A4 กระดาษบรุ๊ฟ และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) 2. ประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

1. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ 2. แบบประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

1. เกณฑ์การประเมินผลการวิเคราะห์ 2. เกณฑป์ระเมินการน าเสนอผลงาน 3. เกณฑป์ระเมินการเผยแพร่ผลงาน

3. การมีส่วนร่วม ในการท างาน

ประเมินพฤติกรรมการมี ส่วนร่วมในการท างาน

แบบบันทึก สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล การมีส่วนร่วมในการท างาน คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน

Page 45: แผนหน่วยที่ 2

85

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน กิจกรรมเสนอแนะ นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก Blog wordpress โดยใช้ Social Media ของครูสายพิน วงษารัตน์ รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ http://saipimm.wordpress.com/ ห้องสมุด เอกสารประกอบการเรียนรู้และจากเว็ปไซด์ต่างๆ โดยศึกษาเรียนรู้และ/วิเคราะห์ เพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน บริบทของโรงเรียนเป็นโรงเรียนนักเรียนพักประจ า บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนรู้ (KPA) 1. ด้านความรู้ (K) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจบทบาท แนวคิดของบุคคลส าคัญในการปฏิวัติวัฒนธรรมในสาธารณรัฐประชาชนจีน และผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัยได้อย่างถูกต้องจากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การตอบค าถาม ในประเด็นที่ครูตั้งประเด็นค าถามและตัวอย่างการสรุปด้วยการน าเสนอหน้าชั้นเรียน ผลการประเมินผ่านทุกคน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนวิเคราะห์ และเปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของเติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัยประเด็นค าถามน าบทเรียนในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ (QL#) 603 The Chinese Cultural Revolution และโดยเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในกระดาษ A4 กระดาษบรุ๊ฟ และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) พร้อมทั้ งการน าเสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียน โดยประยุกต์ใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways และเครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ ผลการประเมินผ่านทุกคน 3. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (A) นักเรียนการมีส่วนร่วมในการท างาน คะแนนรวมเท่ากับร้อยละ 100 และผลการประเมินผ่านทุกคน สรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และ ด้านคุณลักษณะ (A) สรุปได้ ผลการประเมินผ่านทุกคน ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนาของผู้สอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนา วิธีด าเนินการแก้ไข / พัฒนา ผลแก้ไข / พัฒนา

ลงชื่อ ผู้สอน (นางสายพิน วงษารัตน์)

Page 46: แผนหน่วยที่ 2

86

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

คร ูน้ าหนักคะแนนของผลงานแต่ละภาระงานจากน้ าหนักทั้งหมด 10 คะแนน

รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส 30106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น

ภาระงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ น้ าหนักคะแนน

1. แบบทดสอบการเรียนรู้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของจีนในยุคก่อนและช่วงสงครามเย็น

ด้านความรู้ (K) 2

2. วิ เคราะห์ และเปรียบเทียบแนวคิดของเหมาเจ๋อตง และแนวคิดของเติ้ง เสียวผิง ที่ส่งผลที่ท าให้จีนเปลี่ยนนโยบายสู่ความทันสมัย - ประเด็นค าถามน าบทเรียนในบทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways หัวข้อ (QL#) 603 The Chinese Cultural Revolution - เขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในกระดาษ A4 กระดาษบรุ๊ฟ และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) - การน า เสนอ และการเผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways และเครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

6

4. การมีส่วนร่วมในการท างาน ด้านคุณลักษณะ(A) 2 รวม 10

เกณฑ์การตัดสินภาพรวม (การสรุปภาพรวมของจุดประสงค์การเรียนรู้) สรุปผลการประเมิน

ได้คะแนน 5 - 10 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 5 แสดงว่า ไม่ผ่าน

Page 47: แผนหน่วยที่ 2

87

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways

The Chinese Cultural Revolution Quick Launch #603 Purpose To understand the nature and character of the Cultural Revolution in China 1966-1976 Estimate to Complete 150-300 minutes Objectives Identify the political and cultural contexts of the revolution Analyze general aims or purposes of the revolution Correlate political rhetoric with the actual impact of the revolution

Teacher Procedures Students can complete this assignment in groups of three or four. The presentations of the "Little Red Book" should lead to a general class discussion on

the ideology and practical effects of the Cultural Revolution.

The Chinese Cultural Revolution What you will do

Access primary and secondary source materials in order to create a "Little Red Book" of artifacts from the Chinese Cultural Revolution.

What you will need Computers with PowerPoint or other appropriate software (optional) Red construction paper and white, unlined paper Craft supplies as needed (brass clasps, hole puncher, scissors, stick-on stars, pens and markers, glue stick) Appropriate textbook Web Sites: Note: some links direct you to external web sites. These sites and their content are not controlled by SAS. The Cultural Revolution Decade, 1966–76 A general overview of the Cultural Revolution, including information on Mao Zedong, Lin Biao, and Jiang Qing. Cultural Revolution Campaigns (1966–1976) Discussion of the role of art and posters during the Cultural Revolution. China's Cultural Revolution

Page 48: แผนหน่วยที่ 2

88

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Sections on the Cultural Revolution, the "Little Red Book," the Gang of Four, and the Red Guard. Morning Sun - Cultural Revolution Radio Read English translations of Cultural Revolution song lyrics. Click on the Listen to the Radio link to hear the songs (optional). How you will do it

1. Using style elements from Mao's "Little Red Book" of slogans popularized during the Cultural Revolution, compile and annotate a "Little Red Book" of memorabilia. Use photos, quotations, historical overviews, badges, and stamps to document the ideologies and propaganda of this period.

2. Using the suggested Internet resources, along with textbooks and other available resources, access the background information and primary sources necessary to create a "Little Red Book." It should include the following:

o A short series of quotations from Mao Zedong with a brief (one- or two-paragraph) interpretation and analysis of Mao's thought

o Two or more photos, posters, or political buttons from the Cultural Revolution era with one paragraph student analysis following

o A short selection from a first-person narrative of the revolution o A brief (half-page) overview of the historical significance of one major political

leader during the Cultural Revolution (Mao, his wife, Jiang Qing, Deng Xiaoping, or Lin Biao)

3. Arrange these "artifacts" into a PowerPoint presentation representing the pages of a "Little Red Book" or print, cut, and paste them into an actual replica of a "Little Red Book."

4. Be prepared to share your book with your class, explaining your choice of documents and analyzing the photos, posters, buttons, and historical personages included in the book.

Page 49: แผนหน่วยที่ 2

89

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 50: แผนหน่วยที่ 2

90

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 51: แผนหน่วยที่ 2

91

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 52: แผนหน่วยที่ 2

92

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 53: แผนหน่วยที่ 2

93

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

Page 54: แผนหน่วยที่ 2

94

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัส ส 30106 เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ความขัดแย้งและผลของการเปลี่ยนแปลงในยุคสงครามเย็น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตกอ่นส ิ้นส ุดสงครามเย็น

สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนังถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน ตัวช้ีวัด ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส าคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน สาระส าคัญ การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนส ิ้นส ุดสงครามเย็น สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียตได้ล่มสลายเมื่อปี ค.ศ. 1991 ท าให้สาธารณรัฐต่าง ๆ แบ่งแยกตั้งเป็นประเทศทั้งหมด 15 ประเทศ หลังจากการแยกตัวออกมาปกครองอย่างเอกเทศแล้ว ประเทศเหล่านี้ยังมีการรวมกลุ่มกันเป็นเครือรัฐเอกราชCommonwealth of Independent States (CIS) ยกเว้น เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA) 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนส ิ้นส ุดสงครามเย็น ได้ 2. วิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น วิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียตได ้ 3. มีความมุ่งม่ันในการท างาน สาระการเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตกอ่นส ิ้นส ุดสงครามเย็น 1. สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น 2. วิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

Page 55: แผนหน่วยที่ 2

95

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ด้วยกระบวนทัศน์ 5 ขั้นตอน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 1 ตั้งค าถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.. ครูให้นักเรียนดูคลิปและสนทนาซักถามนักเรียนในการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น วิกฤติการณ์ และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียตอย่างไร 2. นักเรียนศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียนรู้ความรู้เพ่ิมเติม เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียต ก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ขั้นการเรียนการสอน ขั้นที่ 2 สืบค้นความรู้ (Searching for Information) ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ 3. แบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน(กลุ่มเดิม) ศึกษา เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียต ก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต 4. นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ดังนี้ - Social Media ครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ - เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ - จากแหล่งเรียนรู้ทางเว็ปไซด์ต่าง ๆ - คลิป เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต - ตัวอย่างผลงานนักเรียนปีการศึกษาที่ผ่านมา ขั้นที่ 3 การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด แบ่งภาระหน้าการท างาน วิเคราะห์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต โดยเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในกระดาษ A4 กระดาษบรุ๊ฟ และ/หรือโดยการประยุกต์ ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) ขั้นที่ 4 สื่อสารและน าเสนอ (Effective Communication) 6. ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตามที่ได้รับมอบหมายการวิเคราะห์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ขั้นที ่5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 7. เผยแพร่ผลงานโดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ 8. ครูสังเกตพฤติกรรมการท างานของนักเรียนในความมุ่งมั่นในการท างาน ขั้นสรุปการเรียนการสอน 9. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปผลการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ด้วยสื่อ Power Point (ตัวอย่างผลงานนักเรียนของปีการศึกษาที่ผ่านมา)

Page 56: แผนหน่วยที่ 2

96

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

สื่อการสอน /แหล่งเรียนรู้ 1. โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้แก่ - เว็ปไซต์ http://innovativesaipin.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://saipimm.wordpress.com/ - เว็ปไซต์ http://socialm6.wordpress.com/ - YouTube เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น และวิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต 2. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 3. ห้องสมดุโรงเรียน 5. ตัวอย่างผลงานนักเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา 6. จากเว็ปไซด์ต่างๆ เช่น วิกิพีเดีย http://www.wikipedia.org/wiki/สงครามเย็น ฯลฯ การวัดผลและประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด / สิ่งที่วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายอธิบายการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนส ิ้นส ุดสงครามเย็น

1. การตอบค าถาม 2. การซักถาม

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ได้คะแนน 2 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

2. วิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น วิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพ โซเวียต

1. ประเมินผลการวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น วิกฤติการณ์ และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพ โซเวียต โดยเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในกระดาษ A4 กระดาษบรุ๊ฟ และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์

1. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ 2. แบบประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน แผนผังความคิด (Mind Mapping )กระดาษ A4 และการประยุกต์ใช้แผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online)

1.เกณฑ์การประเมินผลงาน การวิเคราะห์ 2. เกณฑ์การประเมิน การน าเสนอผลงาน 3. เกณฑ์การประเมิน การเผยแพร่ผลงาน

Page 57: แผนหน่วยที่ 2

97

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

(Mind Map Online) 2. ประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

3. มุ่งม่ันในการท างาน

ประเมินพฤติกรรมมุ่งม่ันในการท างาน

แบบประเมินพฤติกรรมมุ่งมั่น ในการท างาน

สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล มุ่งม่ันในการท างาน 1.ขยัน อดทนในการท างานให้ส าเร็จ 2 มีความละเอียดรอบคอบในการท างาน 3 สามารถพัฒนางาน ท างานเป็นทีม มีล าดับขั้นตอนในการท างาน

4 ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและภูมิใจในความสามารถของตน ได้คะแนน 2-4 แสดงว่า ผ่าน ได้คะแนนต่ ากว่า 2 แสดงว่า ไม่ผ่าน

กิจกรรมเสนอแนะ นักเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก Blog wordpress โดยใช้ Social Media ของครูสายพิน วงษารัตน์ http://saipimm.wordpress.com/ ห้องสมุด เอกสารประกอบการเรียนรู้และจากเว็ปไซด์ต่างๆ บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดการเรียนรู้ (KPA) 1. ด้านความรู้ (K) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจอธิบายอธิบายการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนส ิ้นส ุดสงครามเย็นโดยการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การตอบค าถาม ในประเด็นที่ครูตั้งประเด็นค าถามและตัวอย่างการสรุปด้วยการน าเสนอหน้าชั้นเรียน ผลการประเมินผ่านทุกคน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น วิกฤติการณ์และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต จากผลการวิเคราะห์โดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) พร้อมทั้งน าเสนอ เผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เช่น Blog Wordpress , YouTube , SlideShare , Scribd , Facebook อ่ืนๆ ผลการประเมินผ่านทุกคน 3. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (A) นักเรียนมุง่มั่นในการท างาน คะแนนรวมเท่ากับร้อยละ 100 และผลการประเมินผ่านทุกคน สรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และ ด้านคุณลักษณะ (A) สรุปได้ ผลการประเมินผ่านทุกคน

Page 58: แผนหน่วยที่ 2

98

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนาของผู้สอน

ปัญหาที่ควรแก้ไข / พัฒนา วิธีด าเนินการแก้ไข / พัฒนา ผลแก้ไข / พัฒนา

ลงชื่อ ผู้สอน (นางสายพิน วงษารัตน์) คร ู

น้ าหนักคะแนนของผลงานแต่ละภาระงานจากน้ าหนักทั้งหมด 10 คะแนน รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส 30106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตกอ่นส ิ้นส ุดสงครามเย็น ภาระงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ น้ าหนักคะแนน

แบบทดสอบการเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนส ิ้นส ุดสงครามเย็น

ด้านความรู้ (K) 2

1. การวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสหภาพโซเวียตก่อนสิ้นสุดสงครามเย็น วิกฤติการณ์ และผลกระทบการล่มสลายของสหภาพโซเวียต โดยเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในกระดาษ A4 กระดาษบรุ๊ฟ และ/หรือโดยการประยุกต์ใช้สื่อออนไลน์ ในการจัดท าแผนผังความคิดออนไลน์ (Mind Map Online) 2. ประเมินการน าเสนอผลงาน 3. ประเมินการเผยแพร่ผลงาน

ด้านทักษะกระบวนการ (P) 6

มีความมุง่มั่นในการท างาน ด้านคุณลักษณะ(A) 2 รวม 10

เกณฑ์การตัดสินภาพรวม (การสรุปภาพรวมของจุดประสงค์การเรียนรู้)

สรุปผลการประเมิน ได้คะแนน 5 - 10 แสดงว่า ผ่าน

ได้คะแนนต่ ากว่า 5 แสดงว่า ไม่ผ่าน

Page 59: แผนหน่วยที่ 2

99

แผนการจดัการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตรส์มัยใหม่ รหสัวิชา ส30106 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

การจัดการเรยีนรู้โดยประยุกต์ใช้สือ่ออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน