การเมืองการปกครองของไทย สุโขทัย

10
สังคมศึกษา .อุษณีย ยุชยะทัต 23 การเมืองการปกครองของไทย .อุษณีย ยุชยะทัต โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย แบงออกเปน 2 แบบ คือ - แบบปตาธิปไตย (พอปกครองลูก) ในสมัยสุโขทัยตอนตน - แบบธรรมราชา สุโขทัยตอนปลาย หลังสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ฐานะของ กษัตริยเปลี่ยนเปนธรรมราชา ซึ่งไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนา โครงสรางการเมืองการปกครอง แบงได ดังนี1. เมืองหลวง คือ สุโขทัย 2. เมืองลูกหลวง หรือเมืองหนาดาน ตั้งอยูรอบๆ เมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ มีเชื้อพระวงศปก ครอง 3. เมืองพระยามหานคร (เมืองชั้นนอก) เมืองที่อยู หางไกลออกไป มีเจาเมืองเชื้อสายขุนนาง ทองถิ่นปกครอง 4. เมืองประเทศราช เมืองที่ยอมออนนอม มีกษัตริย หรือเจาเมืองเดิมปกครอง ไดแก แพร นาน เวียงจันทน หงสาวดี โครงสรางการปกครองในสมัยสุโขทัย เมืองราชธานี เมืองลูกหลวง เมืองพระยามหานคร เมืองประเทศราช สุโขทัย นครชุม (กําแพงเพชร) สระหลวง (พิจิตร) ศรีสัชนาลัย สองแคว (พิษณุโลก)

Upload: ploypapat

Post on 27-Jul-2015

7.754 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต23

การเมืองการปกครองของไทยอ.อุษณีย ยุชยะทัต

โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย

การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย แบงออกเปน 2 แบบ คือ- แบบปตาธิปไตย (พอปกครองลูก) ในสมัยสุโขทัยตอนตน- แบบธรรมราชา สุโขทัยตอนปลาย หลังสมัยพอขุนรามคํ าแหงมหาราช ฐานะของ

กษัตริยเปลี่ยนเปนธรรมราชา ซึ่งไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนา

โครงสรางการเมืองการปกครอง แบงได ดังนี้1. เมืองหลวง คือ สุโขทัย2. เมืองลูกหลวง หรือเมืองหนาดาน ต้ังอยูรอบๆ เมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ มีเชื้อพระวงศปก

ครอง3. เมอืงพระยามหานคร (เมอืงชัน้นอก) เมอืงทีอ่ยูหางไกลออกไป มเีจาเมอืงเชือ้สายขนุนาง

ทองถิน่ปกครอง4. เมืองประเทศราช เมืองที่ยอมออนนอม มีกษัตริย หรือเจาเมืองเดิมปกครอง ไดแก แพร

นาน เวียงจันทน หงสาวดีโครงสรางการปกครองในสมัยสุโขทัย

เมืองราชธานีเมืองลูกหลวงเมืองพระยามหานครเมืองประเทศราช

สุโขทัยนครชุม(กํ าแพงเพชร)

สระหลวง(พิจิตร)

ศรีสัชนาลัย

สองแคว(พิษณุโลก)

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต24

การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา

การเมืองการปกครองของอยุธยา แบงเปน 3 ระยะ คือ1. สมัยกอนการปฏิรูป ชวง 100 ปแรก2. สมัยปฏิรูปการปกครอง กษัตริยสํ าคัญคือ พระบรมไตรโลกนาถ3. สมัยหลังการปฏิรูป หลังเสียกรุงคร้ังที่ 1 – เสียกรุงคร้ังที่ 2

การปกครองสมัยอยุธยา มีลักษณะเดน ดังนี้1. ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย พระมหากษัตริยทรงมีฐานะเปนเทวราชา หรือ

สมมติเทพ สาเหตุที่อยุธยาตองใชการปกครองแบบนี้ เพราะ1) อาณาจักรขยายใหญโตกวางขวางขึ้น2) ความตองการกํ าลังคนไวทํ าสงครามและผลิต

2. เปนการปกครองแบบนายกับบาว เจากับขา3. ใชระบบศักดินา คือ การกํ าหนดสิทธิ หนาที่ของคนในแตละชนชั้นระบบไพร คือ

ระบบการควบคุมกํ าลังคน4. ฐานะของพระมหากษัตริยทรงเปนสมมติเทพและธรรมราชา

สมัยอยุธยาตอนตน มีลักษณะ1. เปนระบอบราชาธิปไตยตามแบบเขมรและฮินดู2. พระมหากษัตริยเปนทั้งประมุขและผูปกครองที่มีอํ านาจสูงสุด3. ลักษณะการปกครองราษฎรเปนแบบนายปกครองบาว4. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางเปนแบบจตุสดมภ5. การปกครองสวนภูมิภาค แบงเชนเดียวกับสุโขทัย

สมัยอยุธยาตอนกลาง เร่ิมสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีลักษณะ1. รวมอํ านาจเขาสูสวนกลางมากขึ้น2. ใชระบบศักดินาเขมแข็ง3. แบงแยกทหารและพลเรือนออกจากกัน4. แตงต้ังอัครมหาเสนาบดี 2 ตํ าแหนง คือ สมุหกลาโหม (ทหาร) สมุหนายก (พลเรือน)5. ยกเลิกเมืองลูกหลวง (ชั้นใน) ลดฐานะเปนเมืองจัตวา มีผูร้ัง ดูแล

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต

โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

สมัยอยุธยาตอนปลาย ต้ังแตสมัยพระเพทราชา จนเหมือนสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีขอแตกตางคือ ไมแยกฝา

โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสม

รี

พระมหากษัตริย

สวนภูมิภาค ประเทศราช

ราชธานี

สวนกลาง

อัครมหาเสนาบดีหัวเมืองชั้นนอกเมอืงจัตวา เหมือนสมัยสุโขทัย

สมุหกลาโหม(ทหาร)

สมุหนายก (พลเรือน)

จตุสดมภ

นครบาล ธรรมาธิกรณ โกษาธิบดี เกษ

ผูร้ัง

พระมหากษ

หัวเมืองฝายใต

สมุหกลาโหม

ฝายพลเรือนฝายทหาร

เอก โท ต

25

ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา การบริหารงานยทหารและพลเรือนออกจากกัน

เด็จพระเพทราชา

ตราธิการ

แขวง – หมื่นแขวงตํ าบล - กํ านันหมูบาน - ผูใหญบาน

ัตริย

หัวเมืองฝายเหนือ

สมุหนายก

ฝายทหาร ฝายพลเรือน

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต26

ขอทดสอบ

1. การปกครองแบบพอปกครองลูกในสมัยสุโขทัย ทํ าใหเกิดผลที่เดนชัดที่สุดในขอใด1. การคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน2. ความเปนปกแผนของสถาบันครอบครัว3. ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย4. การเกิดระบบศักดินา

2. ถึงแมวาพระมหากษัตริยในสมัยอยุธยาทรงมีอํ านาจลนพน แตอํ านาจของพระองคถูกจํ ากัดโดยขอใด1. กฎมณเฑียรบาล 2. ความเปนเทวราชา3. หลักธรรมทางศาสนา 4. อํ านาจของรัฐอ่ืน

3. การดํ าเนินการตามขอใดเปนปจจัยสํ าคัญในการเสริมสรางอํ านาจและบารมีของพระมหากษัตริยในสมัยอยุธยา1. การทํ าสงครามแผขยายราชอาณาจักร2. การควบคุมขุนนางและราษฎรไวไดอยางใกลชิด3. การสงเสริมพระราชประเพณีและพิธีการทางศาสนาตางๆ4. การสรางสัมพันธฉันทเครือญาติกับประเทศเพื่อนบาน

4. ขอใดเปนรูปแบบการปกครองสวนภูมิภาค1. หัวเมืองชั้นนอกในสมัยกรุงสุโขทัย 2. กรมเมืองในสมัยกรุงศรีอยุธยา3. เมืองดุสิตธานีในสมัยกรุงรัตนโกสินทร 4. เมืองพัทยาในสมัยปจจุบัน

5. การปกครองในสมัยกรุงสุโขทัยกับสมัยกรุงศรีอยุธยา มีความแตกตางกันในเรื่องใด1. ลักษณะการปกครอง 2. อํ านาจของผูปกครอง3. ระบบการปกครอง 4. ศูนยกลางของอํ านาจปกครอง

6. ขอใดเปนการจัดระเบียบการปกครองของไทยในสมัยตนรัตนโกสินทร1. เมืองพิษณุโลกอยูในบังคับบัญชาของสมุหกลาโหม2. เมืองนครศรีธรรมราชอยูในบังคับบัญชาของสมุหนายก3. เมืองโคราชอยูภายใตการบังคับบัญชาของสมุหเทศาภิบาล4. เมืองจันทบุรีอยูภายใตการบังคับบัญชาของกรมทา

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต27

7. แนวความคิดเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในสมัยตนรัตนโกสินทรแตกตางจากสมัยอยุธยาในเร่ืองใด1. ระบบศักดินา 2. ฐานะของพระมหากษัตริย3. การจัดระเบียบการปกครองสวนกลาง 4. การจัดระเบียบการปกครองสวนภูมิภาค

8. ขอใดไมใชลักษณะของเมืองลูกหลวงในสมัยสุโขทัย1. เปนเมืองหนาดาน 2. มีขุนนางเปนเจาเมือง3. อยูลอมรอบเมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ 4. หางจากเมืองหลวงเดินดวยเทา 2 วัน

9. ขอใดไมใชสาระสํ าคัญของการปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ1. การดงึอํ านาจเขาสูศูนยกลาง2. การยกเลิกระบบเมืองลูกหลวง3. การขยายเขตการปกครองของราชธานี4. การแบงเขตการปกครองระหวางสมุหกลาโหมและสมุหนายก

10. พระมหากษัตริยไทยพระองคใดที่ทรงเร่ิมนํ าหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาเปนหลักสํ าคัญในการปกครอง1. พอขุนรามคํ าแหงมหาราช 2. พระมหาธรรมราชาที่ 13. สมเด็จพระเจาทรงธรรม 4. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

11. การปกครองสมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา มีความแตกตางกันในเรื่องใด จากขอ 1 - 5 ตอไปนี้1. ระบบการเมือง2. ฐานะของพระมหากษัตริย3. ความสัมพันธของพระมหากษัตริยกับประชาชน4. การปกครองเมืองประเทศราช5. ศูนยกลางของอํ านาจ

1. ขอ 1 และ 2 2. ขอ 2 และ 33. ขอ 3 และ 4 4. ขอ 4 และ 5

12. การปกครองในสมัยสุโขทัยกับอยุธยามีลักษณะที่เหมือนกันในเรื่องใด1. สถานภาพของผูปกครอง 2. กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม3. ศูนยกลางการใชอํ านาจการปกครอง 4. ความสัมพันธระหวางผูปกครองกับประชาชน

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต28

การเปล่ียนแปลงการเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร

การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลท่ี 5ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ (พ.ศ. 2435) ทั้งในสวนกลาง สวนภูมิ

ภาคและสวนทองถิ่น1. การปฏิรูปการปกครองในสวนกลาง

การปฏิรูปการปกครองในสวนกลาง ยกเลิกจตุสดมภ สมุหนายก สมุหกลาโหม แบงออกเปนกระทรวงตางๆ 12 กระทรวง แตละกระทรวงมีเสนาบดีเปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

2. การปฏิรูปการปกครองสวนภูมิภาคจัดการปกครองแบบเทศาภิบาล ซึ่งประกอบดวย- มณฑลเทศาภิบาล แตละมณฑลมีขาหลวงเทศาภิบาลปกครอง- ในแตละมณฑลจะประกอบดวย เมือง อํ าเภอ ตํ าบล หมูบาน ตามลํ าดับ โดยกํ าหนด

ใหราษฎรเลือกต้ังกํ านัน และผูใหญบาน ซึ่งมีขึ้นคร้ังแรกที่ ตํ าบลบานเกาะ อํ าเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

3. การปฏิรูปการปกครองสวนทองถิ่นมีการจัดสุขาภิบาล เพื่อใหประชาชนไดมีสวนรวมในการบริหารทองถิ่นของตน ใน

ดานการรักษาความสะอาดสุขาภิบาลแหงแรก คือ สุขาภิบาลกรุงเทพฯสุขาภิบาลหัวเมืองแหงแรก คือ ตํ าบลทาฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร

แนวคิดแบบประชาธิปไตยของไทย- ขอเสนอในบทความของเทียนวรรณ- เหตุการณ ร.ศ. 103 (พ.ศ.2427) คือ การที่เจานายและขุนนางทํ าหนังสือกราบทูลถวาย ร.5

พัฒนาการประชาธิปไตยของไทย- การปฏิรูปการปกครองของ ร.5- กบฎ ร.ศ. 130 ร.6- การจัดต้ังดุสิตธานี ร.

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต29

โครงสรางการปฏิรูปการปกครองสมัย ร.5

การปรับปรุงระเบียบบริหารราชการในสมัยรัชกาลท่ี 61. รวมมณฑลเปนภาค มีอุปราชปกครอง2. เปลี่ยนการเรียกชื่อ เมือง เปน จังหวัด3. ทรงวางพื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยต้ังดุสิตธานี

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และเหตุการณภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 7 ไดเกิดเศรษฐกิจตกต่ํ าทั่วโลก เนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1 มีผล

กระทบตอเศรษฐกิจและการเมืองของไทย จากการที่รัฐบาลแกไขปญหาเศรษฐกิจไมไดผล เปนสาเหตุหน่ึงที่ทํ าใหเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎร ซึ่งประกอบดวยทหารและพลเรือน มีพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนาฝายทหาร และหลวงประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค) เปนหัวหนาฝายพลเรือน ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองการบริหารราชการแผนดินภายใตรัฐสภา ประชาชนมีสิทธิ และเสรีภาพ ตามกฎหมาย

พระมหากษัตริย

สวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น

เสนาบดีกระทรวง

สภาที่ปรึกษา

มณฑลเทศาภิบาล สุขาภิบาล

12 กระทรวงหนาท่ีชวยบริหารราชการแผนดิน

รัฐมนตรีสภา(สภาท่ีปรึกษาราชการแผนดิน)

องคมนตรีสภา(สภาท่ีปรึกษาสวนพระองค)

มีขาหลวงมณฑลหรือสมุหเทศาภิบาลเปนผูปกครองขึ้นตรงตอพระมหากษัตริยเจาเมืองเดิมไมมีอํ านาจ

ลักษณะรวมเมือง 4 – 5เมืองขึ้นเปน1 มณฑล

เกิดขึ้นครั้งแรกที่ทาฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร ถือวาเปนการปกครองทองถิ่นครั้งแรก

ประกอบดวยขุนนางผูใหญ10 – 20 คนหนาท่ีถวายคํ าปรึกษาราชการสวนพระองค

ประกอบดวยพระบรมวงศานุวงศช้ันสูงหนาท่ีถวายคํ าปรึกษาราชการสวนพระองค

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต30

ขอทดสอบ

1. ขอใดไมเกี่ยวของกับการปฏิรูปการปกครองประเทศในสมัยรัชกาลที่ 51. การจัดต้ังภาค 2. การจัดต้ังมณฑล3. การจัดต้ังสุขาภิบาล 4. การจัดการเลือกต้ังกํ านัน ผูใหญบาน

2. การปฏิรูปการปกครองในรัชกาลที่ 5 เกิดจากสาเหตุใดนอยที่สุด1. ความเสื่อมของระบบมูลนายไพร 2. เหตุการณวุนวายภายในประเทศ3. โครงสรางการปกครองเดิมลาสมัย 4. การคุกคามจากจักรวรรดินิยมตะวันตก

3. ระบบเทศาภิบาลในสมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะสอดคลองกับการปกครองในขอใด1. การปกครองทองที่ 2. การปกครองทองถิ่น3. การปกครองสวนกลาง 4. การปกครองสวนภมูิภาค

4. กิจกรรมใดเปนการเริ่มวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทย1. การจัดต้ังรัฐมนตรีสภา 2. การจัดต้ังสุขาภิบาล3. การเลิกทาส 4. การจัดต้ังดุสิตธานี

5. ขอใดไมใชสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 24751. การตื่นตัวทางการเมืองของชนชั้นกลาง2. พระบรมวงศานุวงศทรงไดรับการศึกษาสมัยใหมของประเทศในยุโรปมากขึ้น3. วิธีการของรัฐบาลในการลดรายจายที่ไมจํ าเปนของประเทศเพื่อแกปญหาเศรษฐกิจ4. เกิดการขัดแยงแตกแยกกันในดานความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกองทัพระหวางกลุมผู

มีอํ านาจ6. การเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทย พ.ศ. 2475 โดยไมนองเลือดเปนเพราะเหตุใด

1. คณะราษฎรสามารถควบคุมกํ าลังอํ านาจของกองทัพไดทั้งหมด2. ประชาชนชาวไทยใหการสนับสนุนคณะราษฎร3. รัชกาลที่ 7 มีพระราชดํ าริที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับประชาชน4. ผูนํ าเห็นความเจริญจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองของญี่ปุนในระบอบรัฐธรรมนูญ

7. การเมืองการปกครองของไทยในชวงระหวาง พ.ศ. 2480 - 2514 มีลักษณะเชนไร1. ฝายการเมืองบริหารตามระบอบประชาธิปไตย2. ฝายทหารมีบทบาทในระบบอํ านาจนิยม3. ขาราชการพลเรือนควบคุมการบริหารราชการ4. กลุมนักธุรกิจการเมืองมีบทบาทบรหิารประเทศ

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต31

8. วิกฤตการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 กอใหเกิดผลดานการเมืองที่สํ าคัญหลายประการยกเวนขอใด1. กลุมอาชีพตางๆ เคลื่อนไหวเรียกรองสิทธิประโยชนและเสรีภาพ2. มีการเลือกต้ังรัฐบาลประชาธิปไตยตามที่ระบุในรัฐธรรมนูญใหม3. ทํ าใหมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 25174. ทหารและกองทัพลดบทบาทการเขามาเกี่ยวของกับการเมืองจนถึงปจจุบัน

9. รัฐบาลในขอใดมีลักษณะใกลเคียงกับรัฐบาลแบบอภิชนาธิปไตยมากที่สุด1. รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช พ.ศ. 25182. รัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พ.ศ. 25313. รัฐบาล นายอานันท ปนยารชุน พ.ศ. 25344. รัฐบาล พลเอกสุจินดา คราประยูร พ.ศ. 2535

10. “บุญของแผนดินไทย พอหลวงบันดาลให ที่ในยุงฉางมีขาว น้ํ ารินดินดีใดเลา ทุกขใดเหินไปบรรเทา ดวยพระบาท” ขอความนี้แสดงใหเห็นถึงฐานะและพระราชอํ านาจของพระมหากษัตริยวาเปนอยางไร1. ธรรมราชา 2. เทวราชา3. เจาชีวิต 4. เจาแผนดิน

11. พระมหากษัตริยพระองคแรกที่ทรงดื่มนํ้ าพิพัฒนสัตยา และสาบานตนวา จะซื่อสัตยตอพสกนิกร คือ พระองคใด1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว3. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

12. ขอใดไมใชสาเหตสุ ําคญัทีท่ ําใหมกีารเปลีย่นแปลงการปกครองในประเทศไทยเปนระบอบประชาธปิไตยในป พ.ศ. 24751. ความเหลื่อมลํ้ าในทางสังคมระหวางชนชั้นตางๆ2. ความตกตํ่ าทางเศรษฐกิจซึ่งทํ าใหประชาชนเดือดรอน3. ความตองการใหประชาชนมีการศึกษาโดยเทาเทียมกัน4. ความตื่นตัวทางการเมืองที่อยากใหมีการเปลี่ยนแปลง

13. สมานขอใหสมรอธิบายเหตุการณสํ าคัญที่แสดงถึงความตื่นตัวของนิสิตนักศึกษาในการเรียกรองประชาธิปไตย สมรจะเลือกเหตุการณใดมาอธิบาย1 14 ตุลาคม 2516 2. 6 ตุลาคม 25193. 23 กุมภาพันธ 2534 4. 17 พฤษภาคม 2536

สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต32

14. การเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรองประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ในขอใดมีรูปแบบคลายคลึงกับความเคลื่อนไหวในหมูนักคิดชาวยุโรปสมัยคริสตศตวรรษที่ 17 - 181. การรวมกลุมการเมืองภายใตชื่อ ยังเติรก2. เทียนวรรณออกหนังสือพิมพเพื่อเสนอความคิดเห็นวิพากษวิจารณสังคม3. การกอกบฎ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 64. คณะเจานายและขาราชการเสนอคํ ากราบทูลใหเปลี่ยนแปลงการปกครองใน ร.ศ. 130

15. หนาที่สํ าคัญขององคมนตรีสภาในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร1. เปนที่ปรึกษาราชการแผนดิน 2. เปนผูพิจารณารางกฎหมาย3. เปนที่ปรึกษาราชการสวนพระองค 4. เปนผูพิจารณาระเบียบราชการ

16. เหตุผลสํ าคัญในขอใดที่รัชกาลที่ 5 ทรงจัดการปฏิรูปการปกครองแผนดิน1. มีจํ านวนประชากรเพิ่มมากขึ้น 2. ตองการเจริญเหมือนอารยธรรมตะวันตก3. ที่ปรึกษาสวนพระองคถวายคํ าแนะนํ า 4. เกรงภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม

17. ขอใดถือวาเปนจุดเร่ิมตนสํ าคัญของการพัฒนาการเมืองไทย1. การกราบบังคมทูลขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 24272. การปฏรูิปการปกครองแผนดินสมัยรัชกาลที่ 53. ความพยายามเปลี่ยนแปลงการปกครอง ร.ศ. 1304. การสราง “ดุสิตธานี” เพื่อทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย

18. แนวคิดเกี่ยวกับการมีรัฐธรรมนูญในสังคมไทย มีมาตั้งแตสมัยใด1. รัชกาลที่ 3 2. รัชกาลที่ 43. รัชกาลที่ 5 4. รัชกาลที่ 6

19. การเสด็จประพาสยุโรปคร้ังแรกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเพื่ออะไร1. ใหฝร่ังเศสคืนดินแดนที่ยึดไปจากไทยในเหตุการณ ร.ศ. 1122. ใหอังกฤษและฝรั่งเศสยอมแกไขสนธิสัญญาบาวริง3. ใหตางชาติยอมรับวาไทยมีเกียรติยศเสมอนานาอารยประเทศ4. ใหตางชาติยอมรับวาไทยตองการรักษาความเปนกลาง

20. ความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยของคนไทยเริ่มปรากฏอยางชัดเจนในขอใด1. ขอเสนอในบทความของเทียนวรรณ2. ขอคิดเห็นของอัศวพาหุและรามจิตติ3. คํ ากราบบังคมทูลของเจานายและขาราชการ ร.ศ. 1034. ขอเสนอของที่ปรึกษากระทรวงการตางประเทศ ชื่อ นายเรมอนด บี. สตีเวนส