“ธรรมกาย”...

79
ธรรมกายกับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย นําเสนอ รองศาสตราจารย ดร.ธนาสฤษฎิสตะเวทิน จัดทําโดย นางสาวเยาวลักษณ ชาวบานโพธิรหัสประจําตัว 5719860013 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา ประเทศไทยในเอเชียอาคเนย (POL9228) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเมือง คณะรัฐศาสตร รุนที7 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2558

Upload: yaowaluk-chaobanpho

Post on 16-Aug-2015

13 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย

นําเสนอ รองศาสตราจารย ดร.ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทิน

จัดทําโดย

นางสาวเยาวลักษณ ชาวบานโพธิ์ รหัสประจําตัว 5719860013

รายงานนีเ้ปนสวนหนึ่งของวิชา ประเทศไทยในเอเชียอาคเนย (POL9228) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเมือง คณะรัฐศาสตร รุนท่ี 7

ภาคเรยีนท่ี 1 ปการศึกษา 2558

รัฐกับพุทธศาสนา

รัฐอุปถัมภคุมครองศาสนา

รัฐปกครองแผนดินโดยธรรม

รัฐชําระงานศาสนาโดยรวมมือกับพระสงฆ

รัฐอุปถัมภการสังคายนา

หนาที่ของรัฐตอศาสนา

หนาที่ของศาสนาที่มีตอรัฐ

การส่ังสอนเผยแผธรรมะแกประชาชน

การใหคําปรึกษาแกรัฐแตไมเขาไปกุมอํานาจ

สถานที่ต้ัง

เลขท่ี 23/2 หมูท่ี 7 ตําบลคลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท : 0-2831-2820 โทรสาร : 0-2831-2867

38

39

1. อัคคัญญสูตร สตูรวาดวยกําเนิด มนุษย รัฐ

อัคคัญญสูตร : คําสอนวาดวยการเกิดรัฐ เปนสูตรท่ีกลาวถึงกําเนิดของมนุษย สังคม ความคิดท า ง ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ส ถ า บั น ท า งการเมือง โดยแสดงวิวัฒนาการมาเปนลําดับขั้น ๆ

พระพุทธองคทรงแสดงการเกิดของรัฐโดยธรรมชาติ และเปนธรรมชาติท่ีวาดวยพ้ืนฐานของกายและใจของมนุษย

40

มนุษยในตอนแรกมีความเปนอยู ท่ีสบาย ตอมาเกิดความ

ขี้เกียจจนถึงกับมีการลักขโมยกอใหเกิดการละเมิดศีล 5 ประการ

จนชาวบานตองมาประชุมกันเพ่ือแกปญหาท่ีเกิดขึ้น ดวยการ

สมมติยกมนุษยผูมีปญญาดี รูปงามขึ้นมาแกปญหาใหแกพวกเขา

พรอมทั้งต้ังชื่อเรียกบุคคลนั้นวา

ราชา

แปลวา ผูท่ีเกิดมาเพ่ือแกปญหาสรางความรมเย็นเปนสุขใหแก

ประชาชน

41

ในสูตรน้ีรัฐเกิดขึ้นมาเพ่ือแกปญหาใหแกประชาชน ทําใหเกิด

ความผาสุกแกประชาชน ความขัดแยงของมนุษยเกิดมาจาก กิเลส

ความโลภไมรูจักพอ รัฐมีหนาที่แกปญหา และสงเสริมความดีใหแกประชาชน

พระพุทธเจาตองการชี้ใหเห็นความตกตํ่าทางศีลธรรมของ

มนุษยจากสภาพท่ีดีงามไปสูสภาพท่ีเต็มไปดวยกิเลส ความยึดมั่นใน

ตัวตน ความโลภ เพศ อันนําไปสูสถาบันท่ีสําคัญ คือ ครอบครัว

และทรัพยสินสวนตัว

42

จากทฤษฎีนี้ทําใหเห็นวาในทางพระพุทธศาสนาไมไดเนน

รัฐแบบเทวสิทธ์ิ

ซึ่งถือวาอํานาจอันชอบธรรมมาจากพระเจา

แตผูปกครองมีลักษณะที่เปน

ธรรมราชา

คือ เปนผูทรงไวซึ่งธรรม และอํานาจการปกครองยังเปนของ

ประชาชนอยู

43

2. สภาพแวดลอมทางการเมอืงอินเดยีในชวงพุทธกาล

1. รัฐแบบราชาธิปไตย

ในสมัยพุทธกาล การเมืองการปกครองของอินเดีย

โบราณไดพัฒนาขึ้น คือ รัฐหรือแควนอิสระ ซึ่งทําสงคราม

แยงชิงอํานาจกันลดจํานวนลงเพราะถูกผนวกเขากับแควนท่ี

ชนะสงคราม และแควนท่ีแพสงครามเปนแควนในปกครอง

เกิดเปนอาณาจักรขึ้น 4 อาณาจักร

คือ 1. โกสัมพีหรือวัตสะ 2. อวันตี 3.โกศล และ

4. มคธ

44

2. สมาพันธรัฐ สาธารณรัฐ หรือ สามัคคีธรรม

ทั้ง 3 คํา เปนคําท่ีมีผูใชเรียกระบบการปกครองของรัฐ

เล็ก ๆ ทางตอนเหนือของอินเดีย

สมาพันธรัฐ เรียกตามลักษณะของรัฐ ซึ่งเกิดจาก

ภาพรวมกันอยางหลวม ๆ ของรัฐเล็ก ๆ

สาธารณรัฐ เรียกตามลักษณะการปกครองซึ่งประชาชน

เปนผูเลือกผูปกครอง

สามัคคีธรรม เรียกตามความนิยมของพุทธศาสนิกชน

ในไทย

45

พระพุทธเจามาจากรัฐศากยะ (เมืองกบิลพัสดุ ต้ังอยูแถบ

เนปาล)

ในรัฐนี้มีผูปกครองเรียกวา ราชา ซึ่งบางสมัยมาจากคน

ตระกูลสูง บางสมัยมาจากการเลือกต้ังของประชาชน

พระเจาสุทธโธทนะพระบิดาของพระพุทธเจาทรงเปนราชา

พระองคหนึ่ง กิจการของรัฐดําเนินไปโดยผานท่ีประชุม ซึ่งประชุม

กันในสภา

ขอสรุปในสภา จะประกาศตอท่ีประชุม หากท่ีประชุมเงียบ

ถือวามีมติเปนเอกฉันท หากมีผูคัดคานจะเอาเสียงขางมากเปนฝาย

ชนะ การประชุมนี่ถือวาเปนประชาธิปไตยมาก

46

ดวยเหตุน้ีนักวิชาการบางคนถือวา พระพุทธเจา

ยอมรับประชาธิปไตย ซึ่งก็มีสวนถูก แตพระองคถือวา

ความถูกผิดสําคัญกวาเสียงขางมาก ซึ่งเรียกวา

ธรรมาธิปไตย

แปลวา

การยึดถือความถูกตองมากกวาเสียงขางมาก

3. อธิปไตย 3 ประการ

1. อัตตาธิปไตย (The Supremacy of Self)

ถือตนเปนใหญ คือ อํานาจท่ีไดมาจากการกระทําท่ี

ปรารภตนเอง เชน ฐานะ ศักด์ิศรี เกียรติภูมิ ตลอดจน

ผลประโยชนของตนเปนใหญ

2. โลกาธิปไตย (The Supremacy of the World)

ถือ โล ก เ ป น ใ หญ คือ อํ าน า จ ท่ีได ม า จา ก ก า ร

ปฏิบัติการท่ีปรารภสังคม เชน ความนิยมของสังคม การ

กระทําการดวยปรารภจะเอาใจหมูชน

47

3. ธรรมาธิปไตย (The Supremacy of Righteousness)

ถือธรรมเปนใหญ คือ อํานาจท่ีไดมาจากการกระทํา

ที่ถูกตองเปนธรรม ถือหลักความจริงเปนใหญ คือ การกระทําที่

เกิดประโยชนสุขแกตนเองและผูอื่นอยางเปนธรรม

48

49

ธ ร ร ม ร า ช า คื อ พ ร ะ ร า ช า ท่ี ใ ช อํ า น า จ ใ น ร ะ บ อ บ

สมบูรณาญาสิทธิราชย อํานาจเด็ดขาดไมวาจะเปน อํานาจบริหาร

นิติบัญญัติและตุลาการอยูท่ีพระองคแตเพียงผูเดียว แตทรงมีพระ

ปรีชาสามารถ ทรงมีความรักในปวงประชาชนเหมือนบิดามีความ

รักตอบุตร

ทรงใชธรรมะ คือ ความดีงาม เปนหลักในการปกครอง

ประชาชน และสรางอาณาจักรของพระองคใหเปนธัมมิกสังคมนิยม

คือ เปนสังคมท่ีดีงามถูกตองเปนธรรม ยึดเหตุผลเปนหลักในการ

ปกครอง

50

ทานพุทธทาสไดแสดงเรื่องนีไ้วเพ่ือเปนการปฏิเสธ

ระบบการปกครอง 2 ประการที่มีอยูนัน้คือ

1. ระบบประชาธิปไตย อันเปนระบบพวกมากลากกันไป

ทานเรียกวา กิเลสเสรี

2. สังคมนิยม อันเปนระบบที่ใหความสําคัญแกรัฐมากกวา

ประชาชน โดยใหรัฐเปนผูจัดการเฉลี่ยเศรษฐกิจแบบเทา

เทียมกัน ทานเรียกวา พวกมีโทสะเปนหลัก

พระสงฆเลนการเมือง :

ควรหรือไม?

การเมือง เปนเรื่องของการแสวงหาอํานาจทางการปกครอง

ระดับระดับหนึ่งเพื่อพิทักษผลประโยชนของแตละกลุม

พระสงฆไมใชกลุมผลประโยชนในสังคม ดังนั้น พระสงฆจึง

ไมควรเกี่ยวของกับการแสวงหาอํานาจทางการเมืองไมวา

โดยตรงหรือโดยออม

พระพรหมบัณฑิต

การเมืองคืออะไร?

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี กลาววา

หลักการของพระสงฆที่เกี่ยวกับการเมืองมี 2 หลักการ คือ

1.พระสงฆไมควรเลนการเมือง หรือมีสวนไดสวนเสียกับ

ผลประโยชนทางการเมือง

2. ถาจะเกี่ยวของทางการเมืองจริงก็สามารถเกี่ยวไดกรณี

เดียวเทานั้นคือ การแสดงธรรมหรือวากลาวตักเตือน

นักการเมือง หากกระทําเกินกวานี้ จะถือวาผิดธรรมวินัย

บทบาทและหนาที่ของพระสงฆในทางการเมือง

คือ การแนะนําส่ังสอนธรรมเกี่ยวกับการเมือง โดยเฉพาะการแสดง

หลักการปกครองที่ดีงาม ชอบธรรม และเปนธรรม สอนให

นักการเมืองมีคุณธรรม

เมื่อพระสงฆทําหนาที่นี้ พระสงฆเองจําจะตองตั้งอยูในธรรม คือมี

ความเปนกลาง ที่จะแสดงธรรมเพ่ือมุงประโยชนของประชาชน มิใช

เพ่ือมุงใหเกิดผลประโยชนสวนตัว แกกลุมคน หรือฝายหนึ่งฝายใด

และก็มิใชไดรับผลประโยชนทางการเมืองแกตนเอง และหนาที่ อีก

ประการหนึ่งที่ สําคัญอยางย่ิง ก็คือ การที่ตองรักษาความเปนอิสระ

ของสถาบันของตนไวในระยะยาว เพ่ือเปนหลักประกันใหพระสงฆ

ยุคสมัยตอไปสามารถปฏิบัติหนาที่ทางการเมืองของตนสืบไปได

อยางราบรื่น (พระพรหมคุณาภรณ)

บทบาทและหนาที่ของพระสงฆในทางการเมือง

การแสดงบทบาทและหนาที่ตามความหมายของ

พระพรหมคุณาภรณ คือใหพระสงฆดํารงอยูในหลักพระ

ธรรมวินัยพรอมๆ กับใหสั่งสอนธรรมะที่เปนไปเพื่อ

ประโยชนในทางปกครอง เพื่อความเปนอยูในสังคมรวมกัน

อยางชอบธรรมและเปนธรรม มิใหพระสงฆลงมือในทาง

กายกรรม แตจะเนนหนักไปทางวจีกรรมคือการเทศนา

สั่งสอนธรรม

บทบาทและหนาที่ของพระสงฆในทางการเมือง

“ไมมีศาสนาใดในโลกที่ไมมีวัตถุประสงคเพื่อสังคมและการเมือง

ศาสนาจึงไมอาจปลีกตัวเองออกจากขอบขายทางการเมืองได

เพราะชนชั้นปกครองนั้น นอกจากจะเปนกลุมชนที่มีอาํนาจ

ควบคุมระบบการเมืองแลว ยังมีอิทธิพลเหนือสถาบันอื่นดวย

ประกอบกับระบบการเมืองดั้งเดิมสวนใหญเปนทั้งระบบ

“ศาสนาและการเมือง” พรอมๆ กันไป กลาวไดวา ศาสนาเปน

อุดมการณรูปแบบเดียวของสังคมโบราณ ความคิดทางศาสนา

จึงเปนเครื่องมือสําคัญในการธํารงรักษาความชอบธรรมของ

ระบบการเมือง”

(ปยนาถ วงศิริ)

ความสัมพันธระหวางศาสนากับการเมือง

พระพุทธศาสนามีความเกี่ยวของกับการเมืองในแงของหลัก

คําสอน เพราะคําสอนในพระพุทธศาสนานั้นมีปรารถถึง

การเมือง และพระพุทธองคไดตรัสเพื่อความรมเย็นของ

ชาวเมือง ซ่ึงคําสอนในลักษณะนี้มีอยูมากในพระไตรปฎก

ความสัมพันธระหวางศาสนากับการเมือง

พระองคต้ังสถาบันอุดมคติ คือ สังคมสงฆ เพื่อเปนแมแบบ

แกสังคมฆราวาส เปนสังคมในอุดมคติที่ดีงาม อยูกันอยาง

สันติ มีกติกาของสังคม

แตพระองคไมไดนําสถาบันที่ตัวเองต้ังขึ้นมา มาใชเปน

กระแสหรือกลุมพลังทางการเมือง ที่จะกลับเขาไปเปลี่ยน

สังคม คณะสงฆไมไดเปนพลังอันนั้น เปนแตเพียงแมแบบ

เทานั้น

บทบาทของพระพุทธเจาเก่ียวกับการเมือง

ในอรรถกถาธรรมบท เรื่อง “ภูเขาทอง” มีอยูวา ครั้งหนึ่ง

พระพุทธเจาเห็นการปกครองของบานเมืองไมเปนธรรม ก็มี

ความดําริวาทําไม ไมเขาไปยุง เขาไปจัดการปรับสภาพ

สังคม แลวต้ังตัวเองเปนพระราชาปกครองเสียเองเพื่อใหคน

อยูดีมีสุข

พอมารทราบความคิดของพระพุทธเจา ก็เขาทูลยุยงวา

“ทานมีอํานาจ มีอิทธิฤทธิ์ ทานทาํได ขอไดออกไปจัดการ

ปกครองบานเมืองเสียเถิด”

บทบาทของพระพุทธเจาเก่ียวกับการเมือง

พระพุทธเจาก็ตรัสตอบวา “ไมตองมายุเราหรอก ตอให

เนรมิตภูเขาลวนดวยทองคําขึ้นมา มันก็ไมสามารถสนอง

ความตองการของมนุษยอันไมรูจบได วิธีแกปญหา มันควร

แกที่ใจคือแกความทุกขที่ใจ เราก็จะทําในลักษณะที่เคยทาํ

มา จะไมไปเกี่ยวของในลักษณะที่เพิ่มความโลภ ความโกรธ

ความหลงของคน คือ ออกไปยุง ไปจัดการ เหมือนกับ

นักการเมืองเองหรอก”

บทบาทของพระพุทธเจาเกี่ยวกับการเมือง จึงมีลักษณะ

เหมือนกับ “ปุโรหิต”

บทบาทของพระพุทธเจาเก่ียวกับการเมือง

พระพรหมบัณฑิต ไดใหทัศนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้วา

พระสงฆมีบทบาทแคการแนะนํา ไมมีบทบาทเขาไปจัดการ

ซ่ึงเม่ือพิจารณาจากคําสอนหรือขอปฏิบัติของพระพุทธเจา

เอง จะพบวามีขอบเขตของพระวินัยอยูในเรื่องนี้ เพราะวา

การเขาไปใกลชิดสนิทสนมกับกลุมนั้นๆ เปนเรื่องของการ

ประจบตระกูล เปนฝกเปนฝาย กลายเปนวา ตัวเองได

ผลประโยชน พระสงฆจึงอยูในบทบาทแคการใหคําสอน

แนะนํา

บทบาทของพระพุทธเจาเก่ียวกับการเมือง

ดังกรณี มหาปรินิพานสูตร ที่พระเจาอชาตศัตรูมีความ

ปรารถนาจะสงกองทัพไปตีเมืองวัชชี จึงสงพราหมณมาทูล

ถามพระพุทธเจาวาสมควรจะตีเมืองวัชชีขณะนี้ดีหรือไม

ในสถานการณนี้ถาพระพุทธเจามีความสัมพันธทางการเมือง

ก็จะตองพูดชัดเจนออกไปวาไดหรือเสียอยางไร บางทีถา

เกิดชนะตัวเองอาจจะมีผลประโยชน

แตพระพุทธเจาก็ไมไดหามตรงๆ กลับตรัสถามพระอานนท

วา

บทบาทของพระพุทธเจาเก่ียวกับการเมือง

พระพุทธเจาตรัสถามพระอานนทวา “เด๋ียวนี้เจาลิจฉวี ผูปกครองเมืองวัชชี ยังปฏิบัติธรรมะ ที่เราสอนไวแตกอนไดหรือไม ธรรมนั้นเรียกวา “วัชชีอปริหานิยธรรม”

พระอานนทตอบวา “ยังยึดม่ันอยู”

พระพุทธเจาตรัสกลับไปวา “ถายังยึดม่ันอยู ก็มีแตความเจริญไมมีเสื่อม” ทานตรัสเพียงแคนี้

การพูดของพระพุทธเจาไมไดเปนการเขาไปเกี่ยวของอยางชัดเจนอยางที่พระเจาอชาตศัตรูคาดหวัง เพราะฉะนั้น จุดยืนของพระพุทธเจาจึงชัดเจนตรงที่การใหคําแนะนาํ ไมสาํคัญวาจะไดผลประโยชนหรือไม แตเอาธรรมะเปนตัวกาํหนดชี้นํา

บทบาทของพระพุทธเจาเก่ียวกับการเมือง

ลักษณะเชนที่กลาวมาของพระพุทธเจา เปนการมุงสอนให

ทั้งผูปกครองและผูถูกปกครองอยูอยางมีธรรมะ เปน

ลักษณะของ “ธรรมาธิปไตย” นั่นเอง เม่ือมีธรรมะแลวคนใน

สังคมจะอยูเปนสุข พระองคไมไดเขาไปจัดการเงื่อนไข

ในทางสังคม หรือไมไดเปนพลังทางสังคมที่จะทําการ

เปลี่ยนแปลงโดยตรง จึงทาํใหบทบาทของพระองคอยูใน

ลักษณะที่เหมือนกับผูชี้นําทาง โดยตรัสไวชัดเจนวา

บทบาทของพระพุทธเจาเก่ียวกับการเมือง

“ตุมเห หิ กิจจัง อาตัปปง อักขาตาโร ตถาคตา”

“ความเพียรเปนกิจที่ทานทั้งหลายจะตองทํา

พระตถาคตเปนแตเพียงผูชี้ทาง” ในเรื่องทุกเรื่อง

เพระฉะนั้น แนวทางของพระพุทธเจาคือการปฏิรูปสังคม

ดวยคําสอน โดยจะชี้นําเปนแบบอยาง

บทบาทของพระพุทธเจาเก่ียวกับการเมือง

พระพรหมคุณาภรณไดแสดงทัศนะไววา

เม่ือพระรูปหนึ่ง หรือกลุมหนึ่งไปเขาฝกฝายกับนักการเมือง

กลุมหนึ่งแลว ในไมชานัก ก็จะมีพระรูปอ่ืนกลุมอ่ืน ไปเขา

ฝกผายสนับสนุนนักการเมืองกลุมอ่ืนบาง ตอมา ไมเฉพาะ

วงการเมืองเทานั้นที่จะวุนวาย สถาบันสงฆเองก็จะแตกเปน

ฝกฝายวุนวายดวย และในยามที่ฝายบานเมืองระส่าํระสาย

กระจัดกระจาย สถาบันสงฆก็จะพลอยตกอยูในสภาพ

เดียวกัน โดยไมมีสถาบันใดเหลืออยูเปนหลักยึดเหนี่ยว

ใหแกประชาชน

อะไรจะเกิดขึ้นหากพระเลนการเมือง !

อะไรจะเกิดขึ้นหากพระเลนการเมือง !

เรื่อง หามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวของกับการเมือง พ .ศ . ๒๕๓๘

อาศัย อํานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แหงพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ .ศ .๒๕๐๕ แก ไข

เพิ่มเ ติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ (ฉบับที่ ๒ ) พ .ศ .๒๕๓๕ มหาเถรสมาคมจึงออกคําส่ัง

ไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ คํา ส่ังมหาเถรสมาคมนี้ เ รียกวา " คํา ส่ังมหาเถรสมาคม เรื่อง หามพระภิกษุ

สามเณรเกี่ยวของกับการเมือง พ .ศ .๒๕๓๘ "

ขอ ๒ คํา ส่ังมหาเถรสมาคมนี้ ให ใช บัง คับต้ังแต วันถัดจากวันประกาศใน

แถลงการณคณะสงฆ เปนตนไป

ขอ ๓ ต้ังแต วันใช คํา ส่ังมหาเถรสมาคมนี้ ใหยกเลิกคํา ส่ังมหาเถรสมาคม เรื่อง หาม

พระสงฆ เกี่ ยวของกับการเมือง พ .ศ .๒๕๑๗

ขอ ๔ หามพระภิกษุสามเณรเขาไปในที่ ชุมนุม หรือบริ เวณสภาเทศบาล หรือสภา

การเมือง อ่ืนใด หรือในที่ ชุมนุมทางการเมือง ไมวากรณีใดๆ

ขอ ๕ หามพระภิกษุสามเณรทาํการใดๆ อันเปนการสนับสนุนชวยเหลือโดยตรง

หรือโดยออมแกการหาเสียง เพื่อการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือสภาเทศบาล

หรือสภาการเมือง อ่ืนใด แก บุคคลหรือคณะบุคคลใดๆ

กฎหมายของมหาเถรสมาคมวาอยางไร

เกี่ยวกับเรื่องการเมือง?

เรื่อง หามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวของกับการเมือง พ .ศ . ๒๕๓๘

อาศัย อํานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แหงพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ .ศ .๒๕๐๕ แก ไข

เพิ่มเ ติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ (ฉบับที่ ๒ ) พ .ศ .๒๕๓๕ มหาเถรสมาคมจึงออกคําส่ัง

ไว ดังตอไปนี้

ขอ ๖ หามพระภิกษุสามเณรรวมชุมนุมในการเรียกรองสิทธิของบุคคลหรือคณะ

บุคคลใดๆ

ขอ ๗ หามพระภิกษุสามเณรรวมอภิปราย หรือบรรยายเรื่องเกี่ยวกับการเมือง ซึ่ ง

จัด ต้ัง ข้ึนทั้ งในวัดหรือนอกวัด

ขอ ๘ ใหพระสังฆาธิการต้ังแต ช้ันเจาอาวาสข้ึนไป ผู มี อํานาจหนาที่ ในการปกครอง

ช้ีแจงแนะนาํ ผูอยู ในปกครองของตน ใหทราบคํา ส่ังมหาเถรสมาคมนี้ และกวดขันอยาให มี

การฝาฝนละเมิด

ขอ ๙ พระภิกษุสามเณรรูปใด ฝาฝน ละเมิด คํา ส่ังมหาเถรสมาคมนี้ ใหพระสังฆาธิ

การปกครองใกล ชิดดําเนินการตามอํานาจหนาที่ของตน

ถา ความผิดเกิดข้ึนนอกเขตสังกัด ให เจาคณะเจาของเขตที่ความผิดเกิด ข้ึน วา

กลาวตักเตือน แลวแจงใหพระสังฆาธิการผูปกครองใกล ชิดดําเนินการ

กฎหมายของมหาเถรสมาคมวาอยางไร

เกี่ยวกับเรื่องการเมือง?

บทสรุป

พระสงฆกับการเมืองแยกออกจากกันไมได แตจะทาํ

อยางไรใหพระสงฆแสดงบทบาททางการเมืองที่เหมาะสม

ประชาชนไมเอือมระอา ไมเบ่ือหนายในการแสดงบทบาท

ของทานบางรูป

พระสงฆควรเปนที่พึ่งทางจิตวิญญาณ ใหคําแนะนําและ

เสนอแนวทางในการแกปญหาเม่ือบานเมืองมีปญหา

มากกวา ไมควรลงไปดําเนินการเอง

^^

จบการนําเสนอ