สรุปสาระสำคัญ...

2
๔. การคุมครองผูใหบริการสาธารณสุข สรุปสาระสำคัญ รางพระราชบัญญัติ คุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ พ.ศ. .... ๑. สถานการณของผู สูงอายุไทย ประเทศไทย กำลังจะกาวเขาสู สังคมผู สูงอายุ จากสถิติป พ.ศ. ๒๕๕๓ มีประชากรผู สูงอายุ รอยละ ๑๓.๑๘ และจะเพิ ่มสัดสวนสูงขึ ้นเรื ่อยๆ โดยคาดวาในป พ.ศ. ๒๕๘๓ จะมีประชากรผู สูงอายุ ถึงรอยละ ๓๒.๑๓ ๒. ขอจำกัดพระราชบัญญัติผู สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยที ่ประเทศไทยมีนโยบายและกฎหมายที ่เกี ่ยวของกับการดูแลและจัดสวัสดิการสำหรับ ผูสูงอายุ ในป พ.ศ. ๒๕๒๕ มีการแตงตั้งคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ แตยังไมมีบทบาทและ อำนาจหนาที ่ชัดเจน จนตอมามีความกาวหนาที ่สำคัญในการตราพระราชบัญญัติผู สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ อยางไรก็ตาม บทบัญญัติแหงกฎหมายที่กำหนดเกี่ยวกับสิทธิสำหรับผูสูงอายุตามพระราชบัญญัติ ผู สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ยังมีขอจำกัด และยังไมมีผลในทางปฏิบัติในการคุ มครอง สงเสริมคุณภาพชีวิต ผู สูงอายุเทาที ่ควร กลาวคือ ๓. แนวคิดสำคัญในการปรับปรุงกฎหมายวาดวยการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู สูงอายุ โดยมีหลักการทั ่วไปในการปรับปรุงกฎหมายวาดวยผู สูงอายุ ไดแก - นิยาม “ผูสูงอายุ” ตามราง พ.ร.บ.นี้ คือ บุคคลซึ่งมีอายุหกสิบปบริบูรณขึ้นไป หรือ มีถิ ่นที ่อยู ถาวรในราชอาณาจักรไทย - บททั ่วไป มาตรา ๖ ผู สูงอายุถือเปนผู ที ่มีคุณคา รัฐตองจัดใหมีการคุ มครอง สงเสริมสิทธิ และพัฒนา คุณภาพชีวิตผู สูงอายุโดยจัดสวัสดิการ สิ ่งอำนวยความสะดวกอันเปนสาธารณะ และความชวยเหลือ อื ่นๆ ที ่เหมาะสมอยางสม ศักดิ ์ศรีแกผู สูงอายุโดยคำนึงถึงหลักการ ดังตอไปนี (๑) การไดรับปฏิบัติที ่เหมาะสมตามสุขภาพกายและจิตใจของผู สูงอายุ (๒) การสงเสริมการมีรายไดที ่เพียงพอตอการดำรงชีพ (๓) การไดรับบริการอยางทั ่วถึงและมีคุณภาพ (๔) การสงเสริมการมีสวนรวมของครอบครัว องคกรปกครองสวนทองถิ่น และชุมชน ทองถิ ่นในการดูแลผู สูงอายุ มาตรา ๗ การลดหยอนภาษีหรือยกเวนภาษี โดยผู มีสิทธิไดรับการลดหยอนภาษีหรือ ยกเวนภาษีตามที ่กฎหมายกำหนด มีดังนี (๑) ผู สูงอายุ (๒) ผู ดูแลผู สูงอายุ และผู ชวยผู สูงอายุ (๓) นายจางที ่รับผู สูงอายุเขาทำงาน (๔) ผู บริจาคเงินใหกับกองทุน ๔. เจตนารมณของการปรับปรุงพระราชบัญญัติผู สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาเปน รางพระราชบัญญัติ คุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ พ.ศ. .... โดยมีหลักการสำคัญ ๓ ประการ ในการปรับปรุงกฎหมายวาดวยผู สูงอายุ คือ ๑. หลักการขยายการคุ มครองสิทธิและเขาถึงสิทธิ ของผู สูงอายุ ๒. หลักการกระจายอำนาจ ในการจัดโครงสรางคณะกรรมการกองทุน และการบริหารจัดการ ๓. หลักการการมีสวนรวมของผู สูงอายุ ภาคประชาสังคม องคกรปกครองสวนทองถิ ่น และ ผู เกี ่ยวของทั ้งหนวยงานรัฐ เอกชน เพิ่มการเขาถึงสิทธิ และขยายสิทธิ กระจายอำนาจ คณะกรรมการ และการจัดการ กองทุน การมีสวนรวมของผูสูงอายุ อปท องคกรประชาสังคม ประเทศไทย เปน สังคมผูสูงอายุ ป พ.ศ. 2553 2556 2563 รอยละของจำนวนผูสูงอายุ ชาย หญิง รวม 5.62 7.26 6.60 8.13 8.52 10.60 13.18 14.73 19.13 • สิทธิประโยชนไมไดกำหนดหลักการอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม • การคุ มครองผู สูงอายุจำกัดในลักษณะสังคมสงเคราะห • ขาดการบูรณาการหนวยงานรัฐ เอกชน ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ ่น มามีบทบาท ในการสงเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิตผู สูงอายุ • คณะกรรมการผู สูงอายุแหงชาติ มีอำนาจหนาที ่จำกัดและไมมีการกระจายอำนาจชัดเจน /บทบาทองคกรชุมชนผู สูงอายุยังมีสวนรวมจำกัด คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย จึงมีแนวคิดใหมีการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายผู สูงอายุ โดยศึกษากฎหมายขอมูลและขอเสนอแนะที ่เกี ่ยวของ และจัดเวทีรับฟงความคิดเห็น ทั ้งเวทีรวมใน สวนกลาง และเวที ๔ ภูมิภาค เพื่อรับฟงความคิดเห็นจากหนวยงานรัฐ ผูสูงอายุ ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และภาคเอกชนที ่เกี ่ยวของ และจัดทำรางพระราชบัญญัติคุ มครอง สงเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ พ.ศ. .... เพื่อปรับปรุงกฎหมายผูสูงอายุ เปนการรองรับสถานการณ ในอนาคตดวย รางพระราชบัญญัติคุ มครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู สูงอายุ พ.ศ. .... มีองคประกอบแบงเปน ๗ หมวด ดังนี มาตรา ๓ บทนิยาม หมวด ๑ บททั ่วไป หมวด ๒ คณะกรรมการคุ มครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู สูงอายุ หมวด ๓ สำนักงานคุ มครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู สูงอายุแหงชาติ หมวด ๔ แผนยุทธศาสตรการคุ มครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู สูงอายุ หมวด ๕ สิทธิของผู สูงอายุ หมวด ๖ อำนาจหนาที ่ อปท.การมีสวนรวมของครอบครัวและชุมชน หมวด ๗ กองทุนคุ มครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู สูงอายุ บทเฉพาะกาล ๑.สุขภาพอนามัย ๒.ที ่อยู อาศัย ๓.เงินสงเสริมคุณภาพชีวิต ๔.การศึกษา การศาสนา ขอมูลขาวสาร ๕.การทำงาน และมีรายได ๖.การไดรับความชวยเหลือทางกฎหมาย ๗.บริการสาธารณะ และสิ ่งอำนวย ความสะดวก ๘.นันทนาการ การมีสวนรวมในกิจกรรม ทางสังคม ๙.การไดรับจัดการศพตามประเพณี ๑๐.สิทธิประโยชนอื ่นที ่กำหนดใน พระราชกฤษฎีกา ๑. สุขภาพอนามัย มาตรา ๒๙ ผูสูงอายุมีสิทธิไดรับบริการสาธารณสุข ครอบคลุม การสรางเสริมสุขภาพ ปองกันโรค รักษาพยาบาล และฟ นฟูสมรรถภาพอยางครบวงจร ทั ้งในสถานพยาบาลและสถานที พักอาศัย ... โดยมีการจัดบริการสำหรับผูสูงอายุเปนพิเศษ ใหหนวยงานของรัฐสงเสริมใหองคกร ชุมชนผู สูงอายุ อปท. และองคกรเอกชนมีสวนรวมในการพัฒนาสุขภาพอนามัยของผู สูงอายุ มาตรา ๓๐ ใหหนวยงานของรัฐจัดบุคคลผูมีจิตอาสาและรักในงานดูแลผูสูงอายุเพื่อ ชวยเหลือ หรืออำนวยความสะดวกแกผู สูงอายุที ่ไมสามารถพึ ่งพาตนเองได ๒. ที ่อยู อาศัย มาตรา ๓๑ ใหหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของสงเสริมและสนับสนุนดานที่อยูอาศัยดังนี้ กรณีผูสูงอายุผูเลี้ยงดูหรืออยูตามลำพังหรือไมสามารถชวยเหลือตัวเองได กรณีที่พักอาศัยของผูสูงอายุมีสภาพไมเหมาะสมสำหรับการดำรงชีวิตตามปกติใหมีการปรับปรุง แกไขหรือซอมแซม มาตรา ๓๒ ใหหนวยงานของรัฐสงเสริมและสนับสนุนใหผู สูงอายุซึ ่งไรที ่พักอาศัย ไดดำรง ชีวิตตามปกติในสถานที่พักอาศัยของเอกชนหรือองคกรชุมชนฯลฯ ๓. เงินสงเสริมคุณภาพชีวิต มาตรา ๓๓ ผูสูงอายุไมมีรายไดหรือมีเงินรายไดรายเดือนนอยกวาอัตราคาจางขั้นต่ำ มีสิทธิไดรับเงินสงเสริมคุณภาพชีวิต ไมนอยกวาอัตราดังตอไปนี้ ๑๐ เทา ของคาจางขั้นต่ำรายวัน สำหรับ ผูสูงอายุ ๖๐ ป แตยังไมครบ ๗๐ ป ๑๕ เทา สำหรับ ผูสูงอายุ ๗๐ ป แตยังไมครบ ๘๐ ป ๒๐ เทา สำหรับ ผูสูงอายุ ๘๐ ป แตยังไมครบ ๙๐ ป ๒๕ เทา สำหรับ ผูสูงอายุ ๙๐ ปขึ้นไป ๔. การศึกษา การศาสนา และขอมูลขาวสาร มาตรา ๓๔ ใหหนวยงานของรัฐสงเสริมและสนับสนุนใหผู สูงอายุไดรับบริการดานการศึกษา หรือการฝกอบรม...ตามความตองการ...และไดรับขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอการดำรงชีวิต มาตรา ๓๕ ใหหนวยงานของรัฐสงเสริมและสนับสนุนใหมีการจัดทำโครงการจัดกิจกรรม ดานการศึกษาหรือศาสนาเพื่อใหผูสูงอายุไดกระทำกิจกรรมรวมกับเด็กหรือเยาวชน... ๕. การทำงานและการมีรายได มาตรา ๓๖ ใหรัฐสงเสริมการทำงานและการมีรายไดของผูสูงอายุ มาตรา ๓๗ ใหนายจาง รับผูสูงอายุซึ่งเกษียณอายุแลวเขาทำงานที่เหมาะสม...โดย ไมเลือกปฏิบัติ นายจางที่รับผูสูงอายุเขาทำงานไดรับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อดำเนินกิจกรรม สำหรับผูสูงอายุฯลฯ มาตรา ๗ ผูมีสิทธิไดรับการลดหยอนภาษีหรือยกเวนภาษี (๑) ผูสูงอายุ (๒) ผูดูแล ผูสูงอายุ และผูชวยผูสูงอายุ (๓) นายจางหรือเจาของสถานประกอบกิจการที่รับผูสูงอายุ เขาทำงาน (๕) ผูบริจาคเงินใหกับกองทุน ๖. การไดรับความชวยเหลือทางกฎหมาย มาตรา ๓๘ ผูสูงอายุมีสิทธิไดรับบริการคำปรึกษาแนะนำหรือการดำเนินการอื่นที่ เกี่ยวกับกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมจากหนวยงานของรัฐ ใหหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ จัดใหมีบริการเพื่อใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกผูสูงอายุซึ่งไดรับอันตราย เดือดรอนจากการ ถูกทอดทิ้ง ถูกทารุณกรรม ถูกแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดวยกฎหมายโดยไมตองเสียคาใชจาย ๗. บริการสาธารณะและสิ ่งอำนวยความสะดวก มาตรา ๓๙ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงที่เกี่ยวของกับการจัดบริการสาธารณะและ สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผูสูงอายุออกกฎกระทรวง หรือประกาศ...การจัดใหมีอุปกรณ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือบริการในอาคารสถานที่ ยานพาหนะ บริการขนสงหรือบริการ สาธารณะอื่นเพื่อผูสูงอายุ ใหหนวยงานของรัฐจัดใหมีการยกเวนหรือลดหยอนคาโดยสารยานพาหนะหรือคาเขาชมสถานที่ ของรัฐ ๘. นันทนาการและการมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม มาตรา ๔๐ ใหหนวยงานของรัฐจัดกิจกรรมนันทนาการและการมีสวนรวมในกิจกรรม ทางสังคมสำหรับผูสูงอายุหรือสงเสริมใหภาคเอกชนดำเนินกิจกรรมนันทนาการเพื่อสงเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุภายใตการสนับสนุนดวยการบริจาคเงินของหนวยงานหรือองคกร ภาคเอกชนนอกเหนือจากคาใชจายที่มาจากกองทุน ๙. การไดรับจัดการศพตามประเพณี มาตรา ๔๑ ใหหนวยงานของรัฐจายเงินการจัดการศพผูสูงอายุโดยจายใหแกทายาท โดยธรรมซึ่งเปนผูจัดการศพ หรือในกรณีที่ไมมีทายาทโดยธรรม ใหจายแกบุคคลซึ่งมีหลักฐาน แสดงวาเปนผูจัดการศพและไดจัดการศพในอัตรารายละไมนอยกวา ๑๐๐ เทาของคาจางขั้นต่ำ รายวัน รอยละการคาดประมาณประชากรผูสูงอายุ (พ.ศ. 2553 - 2583) 0 5 10 15 20 25 30 35 2553 2556 2563 2573 2578 2583 13.18 14.73 19.13 26.56 29.63 32.13 18.25 16.69 14.87 10.6 8.13 7.26 5.92 6.6 8.52 11.7 12.93 13.9 รวม หญง ชาย หลักการที ่ ๑. การขยายสิทธิผู สูงอายุ (มาตรา ๒๗) พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ จากเดิมที่กำหนดสิทธิผูสูงอายุ ในมาตรา ๑๑ มาตราเดียว ขยายมาเปน หมวด ๕ สิทธิผูสูงอายุ ใหผูสูงอายุมีสิทธิ์ไดรับสิทธิ ๙ ประการ และ สิทธิประโยชนอื ่นตามที ่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา

Upload: lrct

Post on 06-Apr-2016

218 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: สรุปสาระสำคัญ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครอง ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

๔. การคุมครองผูใหบริการสาธารณสุข

สรุปสาระสำคัญรางพระราชบัญญัติ

คุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ พ.ศ. ....

๑. สถานการณของผูสูงอายุไทย

ประเทศไทย กำลังจะกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ จากสถิติป พ.ศ. ๒๕๕๓ มีประชากรผูสูงอายุ

รอยละ ๑๓.๑๘ และจะเพ่ิมสัดสวนสูงข้ึนเร่ือยๆ โดยคาดวาในป พ.ศ. ๒๕๘๓ จะมีประชากรผูสูงอายุ

ถึงรอยละ ๓๒.๑๓

๒. ขอจำกัดพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

โดยท่ีประเทศไทยมีนโยบายและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการดูแลและจัดสวัสดิการสำหรับ

ผูสูงอายุ ในป พ.ศ. ๒๕๒๕ มีการแตงตั้งคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ แตยังไมมีบทบาทและ

อำนาจหนาท่ีชัดเจน จนตอมามีความกาวหนาท่ีสำคัญในการตราพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

อยางไรก็ตาม บทบัญญัติแหงกฎหมายที่กำหนดเกี่ยวกับสิทธิสำหรับผูสูงอายุตามพระราชบัญญัติ

ผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ยังมีขอจำกัด และยังไมมีผลในทางปฏิบัติในการคุมครอง สงเสริมคุณภาพชีวิต

ผูสูงอายุเทาท่ีควร กลาวคือ

๓. แนวคิดสำคัญในการปรับปรุงกฎหมายวาดวยการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

ผูสูงอายุ

โดยมีหลักการท่ัวไปในการปรับปรุงกฎหมายวาดวยผูสูงอายุ ไดแก

- นิยาม “ผูสูงอายุ” ตามราง พ.ร.บ.นี้ คือ บุคคลซึ่งมีอายุหกสิบปบริบูรณขึ้นไป หรือ

มีถ่ินท่ีอยูถาวรในราชอาณาจักรไทย

- บทท่ัวไป

มาตรา ๖ ผูสูงอายุถือเปนผูท่ีมีคุณคา รัฐตองจัดใหมีการคุมครอง สงเสริมสิทธิ และพัฒนา

คุณภาพชีวิตผูสูงอายุโดยจัดสวัสดิการ ส่ิงอำนวยความสะดวกอันเปนสาธารณะ และความชวยเหลือ

อ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมอยางสม ศักด์ิศรีแกผูสูงอายุโดยคำนึงถึงหลักการ ดังตอไปน้ี

(๑) การไดรับปฏิบัติท่ีเหมาะสมตามสุขภาพกายและจิตใจของผูสูงอายุ

(๒) การสงเสริมการมีรายไดท่ีเพียงพอตอการดำรงชีพ

(๓) การไดรับบริการอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพ

(๔) การสงเสริมการมีสวนรวมของครอบครัว องคกรปกครองสวนทองถิ่น และชุมชน

ทองถ่ินในการดูแลผูสูงอายุ

มาตรา ๗ การลดหยอนภาษีหรือยกเวนภาษี โดยผูมีสิทธิไดรับการลดหยอนภาษีหรือ

ยกเวนภาษีตามท่ีกฎหมายกำหนด มีดังน้ี

(๑) ผูสูงอายุ

(๒) ผูดูแลผูสูงอายุ และผูชวยผูสูงอายุ

(๓) นายจางท่ีรับผูสูงอายุเขาทำงาน

(๔) ผูบริจาคเงินใหกับกองทุน

๔. เจตนารมณของการปรับปรุงพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาเปน รางพระราชบัญญัติ

คุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ พ.ศ. ....

โดยมีหลักการสำคัญ ๓ ประการ ในการปรับปรุงกฎหมายวาดวยผูสูงอายุ คือ

๑. หลักการขยายการคุมครองสิทธิและเขาถึงสิทธิ ของผูสูงอายุ

๒. หลักการกระจายอำนาจ ในการจัดโครงสรางคณะกรรมการกองทุน และการบริหารจัดการ

๓. หลักการการมีสวนรวมของผูสูงอายุ ภาคประชาสังคม องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และ

ผูเก่ียวของท้ังหนวยงานรัฐ เอกชน

เพิ่มการเขาถึงสิทธิ

และขยายสิทธิ

กระจายอำนาจ

คณะกรรมการ

และการจัดการ

กองทุน

การมีสวนรวมของผูสูงอายุ

อปท องคกรประชาสังคม

ประเทศไทย เปน สังคมผูสูงอายุ

ป พ.ศ.

255325562563

รอยละของจำนวนผูสูงอายุ

ชาย หญิง รวม

5.62 7.26

6.60 8.13

8.52 10.60

13.18

14.73

19.13

• สิทธิประโยชนไมไดกำหนดหลักการอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม

• การคุมครองผูสูงอายุจำกัดในลักษณะสังคมสงเคราะห

• ขาดการบูรณาการหนวยงานรัฐ เอกชน ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน มามีบทบาท

ในการสงเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ

• คณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ มีอำนาจหนาท่ีจำกัดและไมมีการกระจายอำนาจชัดเจน

/บทบาทองคกรชุมชนผูสูงอายุยังมีสวนรวมจำกัด

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย จึงมีแนวคิดใหมีการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายผูสูงอายุ

โดยศึกษากฎหมายขอมูลและขอเสนอแนะท่ีเก่ียวของ และจัดเวทีรับฟงความคิดเห็น ท้ังเวทีรวมใน

สวนกลาง และเวที ๔ ภูมิภาค เพื่อรับฟงความคิดเห็นจากหนวยงานรัฐ ผูสูงอายุ ภาคประชาชน

ภาคประชาสังคม และภาคเอกชนท่ีเก่ียวของ และจัดทำรางพระราชบัญญัติคุมครอง สงเสริมและ

พัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ พ.ศ. .... เพื่อปรับปรุงกฎหมายผูสูงอายุ เปนการรองรับสถานการณ

ในอนาคตดวย

รางพระราชบัญญัติคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ พ.ศ. ....

มีองคประกอบแบงเปน ๗ หมวด ดังน้ี

มาตรา ๓ บทนิยาม

หมวด ๑ บทท่ัวไป

หมวด ๒ คณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ

หมวด ๓ สำนักงานคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุแหงชาติ

หมวด ๔ แผนยุทธศาสตรการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ

หมวด ๕ สิทธิของผูสูงอายุ

หมวด ๖ อำนาจหนาท่ี อปท.การมีสวนรวมของครอบครัวและชุมชน

หมวด ๗ กองทุนคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ

บทเฉพาะกาล

๑.สุขภาพอนามัย

๒.ท่ีอยูอาศัย

๓.เงินสงเสริมคุณภาพชีวิต

๔.การศึกษา การศาสนา ขอมูลขาวสาร

๕.การทำงาน และมีรายได

๖.การไดรับความชวยเหลือทางกฎหมาย

๗.บริการสาธารณะ และส่ิงอำนวย ความสะดวก

๘.นันทนาการ การมีสวนรวมในกิจกรรม ทางสังคม

๙.การไดรับจัดการศพตามประเพณี

๑๐.สิทธิประโยชนอ่ืนท่ีกำหนดใน พระราชกฤษฎีกา

๑. สุขภาพอนามัย

มาตรา ๒๙ ผูสูงอายุมีสิทธิไดรับบริการสาธารณสุข ครอบคลุม การสรางเสริมสุขภาพ

ปองกันโรค รักษาพยาบาล และฟนฟูสมรรถภาพอยางครบวงจร ท้ังในสถานพยาบาลและสถานท่ี

พักอาศัย ... โดยมีการจัดบริการสำหรับผูสูงอายุเปนพิเศษ ใหหนวยงานของรัฐสงเสริมใหองคกร

ชุมชนผูสูงอายุ อปท. และองคกรเอกชนมีสวนรวมในการพัฒนาสุขภาพอนามัยของผูสูงอายุ

มาตรา ๓๐ ใหหนวยงานของรัฐจัดบุคคลผูมีจิตอาสาและรักในงานดูแลผูสูงอายุเพื่อ

ชวยเหลือ หรืออำนวยความสะดวกแกผูสูงอายุท่ีไมสามารถพ่ึงพาตนเองได

๒. ท่ีอยูอาศัย

มาตรา ๓๑ ใหหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของสงเสริมและสนับสนุนดานที่อยูอาศัยดังนี้

กรณีผูสูงอายุผูเลี้ยงดูหรืออยูตามลำพังหรือไมสามารถชวยเหลือตัวเองได

กรณีที่พักอาศัยของผูสูงอายุมีสภาพไมเหมาะสมสำหรับการดำรงชีวิตตามปกติใหมีการปรับปรุง

แกไขหรือซอมแซม

มาตรา ๓๒ ใหหนวยงานของรัฐสงเสริมและสนับสนุนใหผูสูงอายุซ่ึงไรท่ีพักอาศัย ไดดำรง

ชีวิตตามปกติในสถานที่พักอาศัยของเอกชนหรือองคกรชุมชนฯลฯ

๓. เงินสงเสริมคุณภาพชีวิต

มาตรา ๓๓ ผูสูงอายุไมมีรายไดหรือมีเงินรายไดรายเดือนนอยกวาอัตราคาจางขั้นต่ำ

มีสิทธิไดรับเงินสงเสริมคุณภาพชีวิต ไมนอยกวาอัตราดังตอไปนี้

๑๐ เทา ของคาจางขั้นต่ำรายวัน สำหรับ ผูสูงอายุ ๖๐ ป แตยังไมครบ ๗๐ ป

๑๕ เทา สำหรับ ผูสูงอายุ ๗๐ ป แตยังไมครบ ๘๐ ป

๒๐ เทา สำหรับ ผูสูงอายุ ๘๐ ป แตยังไมครบ ๙๐ ป

๒๕ เทา สำหรับ ผูสูงอายุ ๙๐ ปขึ้นไป

๔. การศึกษา การศาสนา และขอมูลขาวสาร

มาตรา ๓๔ ใหหนวยงานของรัฐสงเสริมและสนับสนุนใหผูสูงอายุไดรับบริการดานการศึกษา

หรือการฝกอบรม...ตามความตองการ...และไดรับขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอการดำรงชีวิต

มาตรา ๓๕ ใหหนวยงานของรัฐสงเสริมและสนับสนุนใหมีการจัดทำโครงการจัดกิจกรรม

ดานการศึกษาหรือศาสนาเพื่อใหผูสูงอายุไดกระทำกิจกรรมรวมกับเด็กหรือเยาวชน...

๕. การทำงานและการมีรายได

มาตรา ๓๖ ใหรัฐสงเสริมการทำงานและการมีรายไดของผูสูงอายุ

มาตรา ๓๗ ใหนายจาง รับผูสูงอายุซึ่งเกษียณอายุแลวเขาทำงานที่เหมาะสม...โดย

ไมเลือกปฏิบัติ นายจางที่รับผูสูงอายุเขาทำงานไดรับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อดำเนินกิจกรรม

สำหรับผูสูงอายุฯลฯ

มาตรา ๗ ผูมีสิทธิไดรับการลดหยอนภาษีหรือยกเวนภาษี (๑) ผูสูงอายุ (๒) ผูดูแล

ผูสูงอายุ และผูชวยผูสูงอายุ (๓) นายจางหรือเจาของสถานประกอบกิจการที่รับผู สูงอายุ

เขาทำงาน (๕) ผูบริจาคเงินใหกับกองทุน

๖. การไดรับความชวยเหลือทางกฎหมาย

มาตรา ๓๘ ผูสูงอายุมีสิทธิไดรับบริการคำปรึกษาแนะนำหรือการดำเนินการอื่นที่

เกี่ยวกับกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมจากหนวยงานของรัฐ ใหหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ

จัดใหมีบริการเพื่อใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกผูสูงอายุซึ่งไดรับอันตราย เดือดรอนจากการ

ถูกทอดทิ้ง ถูกทารุณกรรม ถูกแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดวยกฎหมายโดยไมตองเสียคาใชจาย

๗. บริการสาธารณะและส่ิงอำนวยความสะดวก

มาตรา ๓๙ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงที่เกี่ยวของกับการจัดบริการสาธารณะและ

สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผูสูงอายุออกกฎกระทรวง หรือประกาศ...การจัดใหมีอุปกรณ

สิ่งอำนวยความสะดวก หรือบริการในอาคารสถานที่ ยานพาหนะ บริการขนสงหรือบริการ

สาธารณะอื่นเพื่อผูสูงอายุ

ใหหนวยงานของรัฐจัดใหมีการยกเวนหรือลดหยอนคาโดยสารยานพาหนะหรือคาเขาชมสถานที่

ของรัฐ

๘. นันทนาการและการมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม

มาตรา ๔๐ ใหหนวยงานของรัฐจัดกิจกรรมนันทนาการและการมีสวนรวมในกิจกรรม

ทางสังคมสำหรับผูสูงอายุหรือสงเสริมใหภาคเอกชนดำเนินกิจกรรมนันทนาการเพื่อสงเสริมและ

พัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุภายใตการสนับสนุนดวยการบริจาคเงินของหนวยงานหรือองคกร

ภาคเอกชนนอกเหนือจากคาใชจายที่มาจากกองทุน

๙. การไดรับจัดการศพตามประเพณี

มาตรา ๔๑ ใหหนวยงานของรัฐจายเงินการจัดการศพผูสูงอายุโดยจายใหแกทายาท

โดยธรรมซึ่งเปนผูจัดการศพ หรือในกรณีที่ไมมีทายาทโดยธรรม ใหจายแกบุคคลซึ่งมีหลักฐาน

แสดงวาเปนผูจัดการศพและไดจัดการศพในอัตรารายละไมนอยกวา ๑๐๐ เทาของคาจางขั้นต่ำ

รายวัน

รอยละการคาดประมาณประชากรผูสูงอายุ(พ.ศ. 2553 - 2583)

0

5

10

15

20

25

30

35

2553 2556 2563 2573 2578 2583

13.18 14.7319.13

26.5629.63 32.13

18.2516.6914.87

10.68.137.26

5.92 6.68.52

11.7 12.93 13.9

รวมหญิง

ชาย

หลักการท่ี ๑. การขยายสิทธิผูสูงอายุ (มาตรา ๒๗)

พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ จากเดิมที่กำหนดสิทธิผูสูงอายุ ในมาตรา ๑๑

มาตราเดียว ขยายมาเปน หมวด ๕ สิทธิผูสูงอายุ ใหผูสูงอายุมีสิทธิ์ไดรับสิทธิ ๙ ประการ และ

สิทธิประโยชนอ่ืนตามท่ีกำหนดในพระราชกฤษฎีกา

Page 2: สรุปสาระสำคัญ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครอง ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

หลักการท่ี ๒. การกระจายอำนาจในการจัดโครงสรางคณะกรรมการ และกองทุน

โดยการกำหนดใหมีโครงสรางของคณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

ผูสูงอายุ ๓ ระดับ และมีกองทุนคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ ๓ ระดับ ที่

เชื่อมรอยการดำเนินการกันอยางตอเนื่อง คือ กองทุนกลางระดับชาติ กองทุนระดับจังหวัด และ

กองทุนระดับทองถ่ิน

อำนาจหนาท่ี

(๑) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนระดับจังหวัด ใหกองทุนทองถ่ิน

(๒) พิจารณาและอนุมัติจายเงินเพ่ือสนับสนุนโครงการผูสูงอายุ

(๓) บริหารกองทุน ติดตามตรวจสอบ กำกับดูแลและจัดสรรรายได

(๔) ประสานและสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการทองถ่ิน

(๕) รายงานผลการดำเนินงาน ปญหา อุปสรรครวม รายงานการเงิน....

• คณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุกรุงเทพมหานคร (กทม.)

องคประกอบ

(๑) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนประธาน

(๒) องคกรผูสูงอายุระดับ กทม. เปนรองประธาน

(๓) ผูแทนจากองคกรชุมชนผูสูงอายุเลือกกันเอง ๗ คน

(๔) ผูแทนสภาองคกรชุมชน กทม. ๒ คน

(๕) ใหผูวาราชการกรุงเทพมหานครแตงต้ังเลขานุการ และผูชวยเลขานุการ

คณะกรรมการ กทม.มีอำนาจแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเปนท่ีปรึกษาจำนวนไมเกิน ๓ คน

อำนาจหนาท่ี นำอำนาจหนาท่ีคณะกรรมการจังหวัดมาใชโดยอนุโลม

๑.๓ คณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุทองถ่ิน

องคประกอบ

(๑) นายกเทศมนตรี หรือนายก อบต.เปนประธาน

(๒) ผูแทนจากสภาองคกรชุมชนตำบล ๑ คน

(๓) ผูสูงอายุแตละหมูบานหรือชุมชนเลือกกันเอง ๑ คน

(๔) ผูแทนองคกรชุมชนผูสูงอายุทองถ่ินเลือกกันเอง ๒ คน

(๔) เจาหนาท่ีองคการบริหารสวนตำบล เปนเลขานุการ

คณะกรรมการทองถ่ินมีอำนาจแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเปนท่ีปรึกษา จำนวนไมเกิน ๓ คน

อำนาจหนาท่ี

มาตรา ๑๙ ใหคณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุระดับ

ทองถ่ิน มีอำนาจหนาท่ีดังตอไปน้ี

(๑) บริหารกองทุน รวมท้ังติดตามตรวจสอบ และจัดสรรรายไดหรือผลประโยชนท่ีเกิดจากเงิน

หรือทรัพยสินของกองทุน

๑. โครงสรางคณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ

๓ ระดับ (ดูแผนภาพประกอบ) คือ

๑.๑ คณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุแหงชาติ

องคประกอบ (๑) นายกรัฐมนตรี เปนประธาน

(๒) รัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย เปนรองประธาน

(๓) ประธานสมาคมสภาผูสูงอายุแหงประเทศไทยฯ เปนรองประธาน

(๔) ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัด

กระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวง

เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เลขาธิการสภากาชาดไทย

(๕) ผูแทนสมาคมองคการบริหารสวนจังหวัด สมาคมสันนิบาตเทศบาลฯ และสมาคม

องคการบริหารสวนตำบลแหงละ ๑ คน และผูแทน อปท.รูปแบบอ่ืน เลือกกันเอง ๑ คน

(๖) ผูแทนองคกรเอกชนซึ่งเกี่ยวของกับผูสูงอายุจำนวนไมเกิน ๕ คน

(๗) ผูสูงอายุที่เปนสมาชิกองคกรชุมชนผูสูงอายุจำนวนไมเกิน ๕ คน

ใหเลขาธิการสำนักงานสงเสริมและพัฒนาผูสูงอายุฯ เปนกรรมการและเลขานุการ

มีอำนาจหนาท่ีดังตอไปน้ี

(๑) กำหนดนโยบาย และจัดทำแผนยุทธศาสตร

(๒) จัดสรรเงินกองทุนกลางใหกองทุนจังหวัด

(๓) กำหนดมาตรฐานการบริหารเงินกองทุนกลาง จังหวัด และทองถ่ิน

(๔) กำหนดหลักเกณฑเก่ียวกับคาตอบแทน สิทธิประโยชนตามมาตรฐาน

(๕) กำหนดมาตรฐานและมาตรการสงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ

(๖) เสนอความเห็นและขอสังเกตตอครม. หรือรัฐมนตรีเพ่ือออกกฎกระทรวงประกาศหรือ

ระเบียบเพ่ือการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี

(๗) กำกับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตรและตามพระราชบัญญัติน้ี

(๘) กำหนดหลักเกณฑเก่ียวกับการพิจารณาขอรองเรียนของผูสูงอายุ

(๙) วินิจฉัยและมีคำส่ังเพิกถอนการกระทำหรือหามมิใหกระทำการท่ีมีลักษณะท่ีเปนการ

เลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอผูสูงอายุ

(๑๐) กำหนดมาตรฐาน และคุณสมบัติขององคกรดานผูสูงอายุหรือองคกรอ่ืนใดท่ีใหบริการ

แกผูสูงอายุ

(๑๑) ออกระเบียบหรือประกาศเพ่ือใหมีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี

(๑๒) จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานเก่ียวกับการจัดสวัสดิการสังคม

๑.๒ คณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุระดับจังหวัด

/กรุงเทพมหานคร(กทม.)

• คณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุระดับจังหวัด

องคประกอบ

(๑) นายก อบจ. เปนประธาน

(๒) ประธานสภาผูสูงอายุจังหวัด เปนรองประธาน

(๓) ผูแทนจากคณะกรรมการผูสูงอายุฯ ทองถ่ิน เลือกกันเอง ๕ คน

(๔) ผูแทนองคกรชุมชนผูสูงอายุเลือกกันเอง ๒ คน

(๕) พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (พมจ.) เปนเลขานุการ

คณะกรรมการผูสูงอายุฯ จังหวัดมีอำนาจแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเปนท่ีปรึกษา จำนวนไมเกิน

๓ คน

แผนยุทธศาสตรสงเสริมและพัฒนาผูสูงอายุ

คกก.คุมครอง สงเสริมและพัฒนา

คุณภาพชีวิตผูสูงอายุแหงชาติกองทุนกลาง

(มีคณะกรรมการกองทุนกลาง)

สิทธิผูสูงอายุคกก.คุมครอง สงเสริมและพัฒนา

คุณภาพชีวิตผูสูงอายุ จังหวัด/กทม.กองทุนจังหวัด/กทม.

(บริหารโดย คกก.ระดับจังหวัด/กทม.)

คกก.คุมครอง สงเสริมและพัฒนา

คุณภาพชีวิตผูสูงอายุ ทองถ่ินกองทุนทองถ่ิน

(บริหารโดย คกก.ระดับทองถ่ิน)๒. กองทุนคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ ๓ กองทุน

หลักการท่ี ๓. หลักการการมีสวนรวมของผูสูงอายุ ภาคประชาสังคม องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

และผูเก่ียวของ ท้ังหนวยงานรัฐ เอกชน

ใหความสำคัญในการสงเสริมสนับสนุนผูสูงอายุรวมกลุมเปนองคกรชุมชนผูสูงอายุ โดย

ใหจดแจงกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินและมาข้ึนทะเบียนเปนองคกรชุมชนผูสูงอายุตอสำนักงาน

คุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุแหงชาติ ตามรางพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือจะไดรับ

การสงเสริมสนับสนุนในดานตางๆ ตามที่กำหนดไว รวมถึงการมีสิทธิเสนอรายชื่อผูแทนเพื่อให

คณะรัฐมนตรีพิจารณาแตงตั้งเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการสงเสริมและพัฒนา

คุณภาพชีวิตผูสูงอายุแหงชาติ และการมีสิทธิรวมเปนกรรมการระดับจังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร)

และระดับทองถิ่นดวย ซึ่งจะเปนการสงเสริมใหมีการรวมตัวอยางเขมแข็งในการดูแลรักษาสิทธิ

ของผูสูงอายุ

โดย คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.)

คุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

ผูสูงอายุ พ.ศ. ....

รางพระราชบัญญัติ

ถึงเวลาปฏิรูปกฎหมายสิทธิ

และสวัสดิการผูสูงอายุ

(๒) พิจารณาและอนุมัติจายเงินเพ่ือสนับสนุนโครงการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตผูสูงอายุท่ีมีผูย่ืนขอสนับสนุน

(๓) รับผิดชอบการเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดเก็บบัญชีเงินหรือทรัพยสินใน

กองทุน ใหเปนไปตามท่ีสำนักงานคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุแหงชาติ

กำหนด

(๔) ดำเนินการใหประชาชนและกลุมเปาหมายตางๆ ในความรับผิดชอบสามารถเขาถึงสิทธิ

ของผูสูงอายุตามท่ีกำหนดไว

(๕) จัดทำขอมูลและแผนดำเนินงานท่ีเก่ียวกับปญหาของการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผูสูงอายุ

(๖) ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน ปญหาและอุปสรรค รวมท้ังรายงาน

การรับจายเสนอคณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุระดับจังหวัด

อยางนอยปละหน่ึงคร้ัง

(๗) รับเร่ืองและพิจารณาขอรองเรียนเก่ียวกับสิทธิตามราชบัญญัติน้ี

(๘) แตงต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติงานอยางหน่ึงอยางใด

(๙) ปฏิบัติหนาท่ีใหเปนไปตามระเบียบประกาศขอกำหนดหรือตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย

• กองทุนกลาง

• กองทุนระดับจังหวัด / กทม.

• กองทุนระดับทองถ่ิน

องคกรปกครองสวนทองถิ่น จะมีบทบาทโดยตรงในโครงสรางคณะกรรมการระดับ

ทองถิ่น ที่ทำหนาที่บริหารจัดการกองทุน การอนุมัติจายเงินในโครงการตางๆ ของผูสูงอายุ การ

รับเรื่องรองเรียนและพิจารณาคำรอง

ภาคประชาสังคม และหนวยงานอื่นๆ กำหนดไวตลอดกระบวนการดำเนินงาน การ

มีสวนรวมขององคกรเอกชนที่ทำงานคุมครอง สงเสริมคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ เนื่องจากการดูแล

ตัวเองของผูสูงอายุ หรือโดยครอบครัวก็ยังไมสมบูรณหรือมีประสิทธิภาพเพียงพอ ตองอาศัย

ชุมชนภาคประชาสังคมตางๆ รวมทั้งภาคธุรกิจ เขามารวมดวย ตั้งแตการกำหนดแผนยุทธศาสตร

และแผนปฏิบัติงานทุกระดับ

แผนภาพโครงสรางคณะกรรมการคุมครอง สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ