ร่างรัฐธรรมนูญของรัชกาลที่ 7

2
รางรัฐธรรมนูญของประชาธิปก มาตรา 1 อํานาจอธิปไตยเปนของพระมหากษัตริย มาตรา 2 พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งนายกรัฐมนตรีนายหนึ่งซึ่งรับผิดชอบตอพระองคในการบริหารราชการ แผนดินทั้งปวง และใหนายกรัฐมนตรีอยูในตําแหนงตามพระราชอัธยาศัย มาตรา 3 ใหนายกรัฐมนตรีเปนผูรับผิดชอบในการแตงตั้งและถอดถอนรัฐมนตรีทั้งหลายซึ่งเปนเจากระ ทรวงตางๆโดยนายกรัฐมนตรีเปนผูรับผิดชอบตอพระมหากษัตริยในกิจการทั้งปวงของแตละกระทรวง และ จะตองรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจตามนโยบายทั่วไปของรัฐบาล ดังที่มีพระบรมราชโองการ และ รับผิดชอบในการประสานงานระหวางกระทรวงตางๆเพื่อใหบรรลุนโยบายดังกลาว มาตรา 4 ใหรัฐมนตรีแตละนายรับผิดชอบโดยตรงตอนายกรัฐมนตรี สําหรับงานในกระทรวงของตน และ ใหรวมปฏิบัติภาคกิจตามนโยบายทั่วไปของรัฐบาลตามคําบัญชาของนายกรัฐมนตรี มาตรา 5 ใหมีการประชุมคณะรัฐมนตรี โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน โดยใหคณะรัฐมนตรีประกอบ ดวยรัฐมนตรีทุกนาย คณะรัฐมนตรีอาจอภิปรายปญหาสําคัญอันเปนประโยชนไดเสียรวมกันไดแตใหนายก รัฐมนตรีเปนผูรับผิดชอบในการลงมติทั้งปวง มาตรา 6 ใหนายกรัฐมนตรีกราบบังคมทูลพระมหากษัตริยเพื่อขอรับพระบรมราชวินิจฉัย ในปญหาทั้งปวง อันเกี่ยวดวยนโยบายทั่วไป และไมวากรณีจะเปนประการใดก็ตาม นายกรัฐมนตรีตองปฏิบัติตามพระบรม ราชโองการ มาตรา 7 พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งมนตรี 5 นาย ประกอบกันเปน อภิรัฐมนตรีสภา ใหนายกรัฐมนตรีเปน สมาชิกอภิรัฐมนตรีสภาโดยตําแหนง แตหามรัฐมนตรีนายอื่นดํารงตําแหนงสมาชิกดวย อภิรัฐมนตรีไมมี อํานาจทางบริหาร ไมวาในกรณีใดๆก็ตาม อํานาจหนาที่ของอภิรัฐมนตรีสภามีเพียงถวายความคิดเห็นแด พระมหากษัตริย ในปญหาเกี่ยวดวยนโยบายทั่วไป หรือปญหาอื่นใดอันมิใชรายละเอียดเกี่ยวกับงานบริหาร ราชการแผนดินของรัฐบาลเทานั้น อภิรัฐมนตรีสภาไมมีอํานาจเสนอแนะใหแตงตั้งใครดํารงตําแหนงใดตลอดจนเสนอแนะรายละเอียดเกี่ยวกับ การปกครอง อยางไรก็ตาม อภิรัฐมนตรีสภามีอํานาจเปลี่ยนแปลงผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรี มาตรา 8 พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งและถอดถอนสมาชิกองคมนตรีสภาตามพระราชอัธยาศัย มาตรา 9 ภายในระยะเวลา 3 วันนับแตวันเสวยราชสมบัติ พระมหากษัตริยจะทรงเลือกบุคคลหนึ่งเปนทา ยาทดวยคําแนะนําและยินยอมขององคมนตรีสภา บุคคลผูจะเปนรัชทายาทไดนั้น จะตองเปนโอรสของ พระมหากษัตริยและสมเด็จพระบรมราชินี หรือเปนบุคคลอื่นซึ่งอยูในราชตระกูล แตทั้งนี้ไมจําตองอยูใน ลําดับฐานะมีพระอิสริยยศสูง หรือมีอาวุโสสูง การกําหนดบุคคลใดใหเปนรัชทายาทยอมไมอาจเพิกถอนได แตอาจถูกทบทวนใหมไดในเวลาสิ้นสุดของทุกกําหนด 5 โดยพระมหากษัตริยดวยคําแนะนําและยินยอม

Upload: muzaxi

Post on 27-Jul-2015

2.882 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

ร่างรัฐธรรมนูญของประชาธิปกมาตรา 1 อำนาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ มาตรา 2 พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีนายหนึ่งซึ่งรับผิดชอบต่อพระองค์ในการบริหารราชการแผ่นดินทั้งปวง และให้นายกรัฐมนตรีอยู่ในตำแหน่งตามพระราชอัธยาศัย มาตรา 3 ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบในการแต่งตั้งและถอดถอนรัฐมนตรีทั้งหลายซึ่งเป็นเจ้ากระ ทรวงต่างๆโดยนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบต่อพระมหากษัตริย์ในกิจการทั้งปวงของแต่ละกระทรวง และจะต้องรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจตามนโยบายทั่วไปของรัฐบาล ดังที่มีพระบรมราชโองการ และรับผิดชอบในการประสานงานระหว่างกระทรวงต่างๆเพื่อให้บรรลุนโยบายดังกล่าว

TRANSCRIPT

Page 1: ร่างรัฐธรรมนูญของรัชกาลที่ 7

รางรัฐธรรมนูญของประชาธิปก มาตรา 1 อํานาจอธิปไตยเปนของพระมหากษัตริย มาตรา 2 พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังนายกรัฐมนตรีนายหนึ่งซ่ึงรับผิดชอบตอพระองคในการบริหารราชการแผนดินท้ังปวง และใหนายกรัฐมนตรีอยูในตําแหนงตามพระราชอัธยาศัย มาตรา 3 ใหนายกรัฐมนตรีเปนผูรับผิดชอบในการแตงต้ังและถอดถอนรัฐมนตรีท้ังหลายซ่ึงเปนเจากระ ทรวงตางๆโดยนายกรัฐมนตรีเปนผูรับผิดชอบตอพระมหากษัตริยในกิจการท้ังปวงของแตละกระทรวง และจะตองรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจตามนโยบายท่ัวไปของรัฐบาล ดังท่ีมีพระบรมราชโองการ และรับผิดชอบในการประสานงานระหวางกระทรวงตางๆเพ่ือใหบรรลุนโยบายดังกลาว มาตรา 4 ใหรัฐมนตรีแตละนายรับผิดชอบโดยตรงตอนายกรัฐมนตรี สําหรับงานในกระทรวงของตน และใหรวมปฏิบัติภาคกิจตามนโยบายท่ัวไปของรัฐบาลตามคําบัญชาของนายกรัฐมนตรี มาตรา 5 ใหมีการประชุมคณะรัฐมนตรี โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน โดยใหคณะรัฐมนตรีประกอบ ดวยรัฐมนตรีทุกนาย คณะรัฐมนตรีอาจอภิปรายปญหาสําคัญอันเปนประโยชนไดเสียรวมกันไดแตใหนายก รัฐมนตรีเปนผูรับผิดชอบในการลงมติท้ังปวง มาตรา 6 ใหนายกรัฐมนตรีกราบบังคมทูลพระมหากษัตริยเพื่อขอรับพระบรมราชวินิจฉัย ในปญหาท้ังปวงอันเกี่ยวดวยนโยบายท่ัวไป และไมวากรณีจะเปนประการใดก็ตาม นายกรัฐมนตรีตองปฏิบัติตามพระบรมราชโองการ มาตรา 7 พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังมนตรี 5 นาย ประกอบกันเปน อภิรัฐมนตรีสภา ใหนายกรัฐมนตรีเปนสมาชิกอภิรัฐมนตรีสภาโดยตําแหนง แตหามรัฐมนตรีนายอ่ืนดํารงตําแหนงสมาชิกดวย อภิรัฐมนตรีไมมีอํานาจทางบริหาร ไมวาในกรณีใดๆก็ตาม อํานาจหนาท่ีของอภิรัฐมนตรีสภามีเพียงถวายความคิดเห็นแดพระมหากษัตริย ในปญหาเกี่ยวดวยนโยบายท่ัวไป หรือปญหาอ่ืนใดอันมิใชรายละเอียดเกี่ยวกับงานบริหารราชการแผนดินของรัฐบาลเทานั้น อภิรัฐมนตรีสภาไมมีอํานาจเสนอแนะใหแตงต้ังใครดํารงตําแหนงใดตลอดจนเสนอแนะรายละเอียดเกี่ยวกับการปกครอง อยางไรก็ตาม อภิรัฐมนตรีสภามีอํานาจเปล่ียนแปลงผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี มาตรา 8 พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังและถอดถอนสมาชิกองคมนตรีสภาตามพระราชอัธยาศัย มาตรา 9 ภายในระยะเวลา 3 วันนับแตวันเสวยราชสมบัติ พระมหากษัตริยจะทรงเลือกบุคคลหนึ่งเปนทา ยาทดวยคําแนะนําและยินยอมขององคมนตรีสภา บุคคลผูจะเปนรัชทายาทไดนั้น จะตองเปนโอรสของพระมหากษัตริยและสมเด็จพระบรมราชินี หรือเปนบุคคลอ่ืนซ่ึงอยูในราชตระกูล แตท้ังนี้ไมจําตองอยูในลําดับฐานะมีพระอิสริยยศสูง หรือมีอาวุโสสูง การกําหนดบุคคลใดใหเปนรัชทายาทยอมไมอาจเพิกถอนได แตอาจถูกทบทวนใหมไดในเวลาส้ินสุดของทุกกําหนด 5 ป โดยพระมหากษัตริยดวยคําแนะนําและยินยอม

Page 2: ร่างรัฐธรรมนูญของรัชกาลที่ 7

ขององคมนตรีสภา หากพระมหากษัตริยสวรรคตกอนมีการเลือกรัชทายาท ใหองคมนตรีสภาเลือกบุคคลหนึ่งข้ึนเปนรัชทายาททันทีหลังจากท่ีพระมหากษัตริยสวรรคต ไมวากรณีจะเปนประการใดก็ตาม สามในส่ีของสมาชิกองคมนตรีสภาซ่ึงอยูในราชอาณาจักร ยอมประกอบกันเปนองคประชุมกําหนดตัวรัชทายาท มาตรา 10 ภายใตบังคับแหงพระราชอํานาจสูงสุด ศาลฎีกาและศาลอ่ืนใดท้ังหลายซ่ึงพระมหากษัตริยทรงต้ังข้ึนเปนคราวๆเปนผูใชอํานาจตุลาการ มาตรา 11 อํานาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเปนของพระมหากษัตริย มาตรา 12 การแกไขเปล่ียนแปลงรัฐธรรมนูญนี้กระทําไดโดยพระมหากษัตริยประกอบดวยคําแนะนําและยินยอมจากสามในส่ีของสมาชิกองคมนตรีสภา