ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน aec...

14
บทที2 ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA) 2.1 ความเปนมา ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement) หรือชื่อยอวา “ATIGA” เปนความตกลงที่เกิดขึ้นภายในแผนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC Blueprint) ที่ตองการใหอาเซียนเปนตลาดเดียวและเปนฐานการ ผลิตรวมกัน โดยมีการเคลื่อนยายอยางเสรีของสินคา บริการ การลงทุน แรงงานที่มี ทักษะ และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น ความตกลง ATIGA เปนความ ตกลงที่มีเกี่ยวของกับความตกลง สินคาหลายฉบับที่อาเซียนเคยใหสัตยาบันมา กอนหนานีคือ (1) ความตกลงวาดวยสิทธิพิเศษทางการคาอาเซียน (the Agreement on ASEAN Preferential Trading Arrangements : ASEAN PTA) ซึ่งเปนการใหสิทธิ พิเศษโดยสมัครใจ และแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา สิทธิพิเศษสวนใหญเปนการลด ภาษีศุลกากรขาเขา และการผูกพันอัตราอากรขาเขา อัตราที่เรียกเก็บอยู ลง นามเมื่อป 1977 มีผลบังคับใชเมื่อ 1 มกราคม 1978 (2) การใชความตกลงวาดวยการใชอัตราภาษีพิเศษที่เทากันสําหรับเขต การคาเสรีอาเซียน 1992 (the Agreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area : CEPT) ซึ่งเกิด จากการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที4 เมื่อวันที27-28

Upload: -

Post on 29-May-2015

256 views

Category:

Documents


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

บทที่ 2

ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA)

2.1 ความเปนมา

ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement)

หรือช่ือยอวา “ATIGA” เปนความตกลงที่เกิดขึ้นภายในแผนประชาคมเศรษฐกิจ

อาเซียน (AEC Blueprint) ที่ตองการใหอาเซียนเปนตลาดเดียวและเปนฐานการ

ผลิตรวมกัน โดยมีการเคลื่อนยายอยางเสรีของสินคา บริการ การลงทุน แรงงานที่มี

ทักษะ และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น ความตกลง ATIGA เปนความ

ตกลงที่มีเกี่ยวของกับความตกลง สินคาหลายฉบับท่ีอาเซียนเคยใหสัตยาบันมา

กอนหนานี้ คือ

(1) ความตกลงวาดวยสิทธิพิเศษทางการคาอาเซียน (the Agreement on

ASEAN Preferential Trading Arrangements : ASEAN PTA) ซ่ึงเปนการใหสิทธิ

พิเศษโดยสมัครใจ และแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา สิทธิพิเศษสวนใหญเปนการลด

ภาษีศุลกากรขาเขา และการผูกพันอัตราอากรขาเขา ณ อัตราที่เรียกเก็บอยู ลง

นามเมื่อป 1977 มีผลบังคับใชเม่ือ 1 มกราคม 1978

(2) การใชความตกลงวาดวยการใชอัตราภาษีพิเศษที่เทากันสําหรับเขตการคาเสรีอาเซียน ป 1992 (the Agreement on the Common Effective

Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area : CEPT) ซ่ึงเกิด

จากการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน (ASEAN Summit) คร้ังที่ 4 เม่ือวันที่ 27-28

Page 2: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

AEC Prompt 

14

มกราคม 1992 ณ ประเทศสิงคโปร โดยผูนําอาเซียนตกลงที่จะใหมีการจัดตั้งเขต

การคาเสรี (ASEAN Free Trade Area : AFTA) โดยมีการกําหนดการปรับลดอัตรา

ภาษีระหวางอาเซียนดวยกันคือ อาเซียนเดิม 6 ประเทศ และอาเซียนใหม

4 ประเทศ โดยมีตารางการปรับลดอัตราภาษีดังนี้ ตารางที่ 4 กรอบระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีของอาเซียนเดิม

ป 2000 ป 2001 ป 2002 ป 2003 ป 2010

รอยละ 85 ของ IL

มีอัตราภาษี เหลือ

0-5%

รอยละ 90 ของ IL

มีอัตราภาษี เหลือ

0-5%

ทุกรายการของ IL

มีอัตราภาษี เหลือ

0-5%

ทุกรายการของ IL มี

อัตราภาษีเหลือ 0-5%

และรอยละ 60 ของ IL

มีภาษีรอยละ 0

ทุกรายการของ IL

มีอัตราภาษีเหลือ 0

หมายเหตุ : IL คือ บัญชีภาษีสินคา (Inclusion List)

ที่มา : กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย ตารางที่ 5 กรอบระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีของอาเซียนใหม

เวียดนาม ลาวและพมา กัมพูชา

1.ป 2010 รอยละ 80 ของ IL มีอัตรา

ภาษีรอยละ 0

2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี

อัตราภาษีรอยละ 0

1.ป 2010 รอยละ 80 ของ IL มีอัตรา

ภาษีรอยละ 0

2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี

อัตราภาษีรอยละ 0

1.ป 2010 รอยละ 60 ของ IL มีอัตรา

ภาษีรอยละ 0

2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี

อัตราภาษีรอยละ 0 หมายเหตุ : IL คือ บัญชีภาษีสินคา (Inclusion List)

ที่มา : กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย

(3) ความตกลงดานศุลกากรอาเซียน (ASEAN Agreement on Custom)

ป 1997 เปนผลจากการประชุมอธิบดีกรมศุลกากรอาเซียนเมื่อวันที่ 4-5 กันยายน

1996 ที่ประเทศอินโดนีเซีย โดยขอตกลงดังกลาวมีวัตถุประสงคคือมีการรวมมือ

ดานศุลกากรในอาเซียน เชน Harmonization of Customs Valuation Systems,

Harmonization of Tariff Nomenclature, Common Customs Form และ

Harmonization of Customs Procedures เปนตน

Page 3: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 

15

(4) กรอบความตกลงในขอตกลงยอมรับรวมกันของอาเซียน (the ASEAN

Framework Agreement on Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ป

1998 อาเซียนไดเรงปรับประสานมาตรฐานสินคาและจัดทําความตกลงการยอมรับ

รวม (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) เพื่ออํานวยความสะดวกทาง

การคา ซึ่งเทากับเปนการลดอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษีระหวางกัน โดยไดเริ่ม

ดําเนินการปรับประสานมาตรฐานสินคา 20 กลุม สวนใหญเปนเครื่องใชไฟฟา เชน

เครื่องปรับอากาศ ตูเย็น วิทยุ และโทรทัศน เปนตน ในสวนของการจัดทํา MRAs นั้น

ปจจุบันอาเซียนไดจัดทําความตกลงวาดวยการยอมรับรวมรายสาขา สําหรับอุปกรณ

ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (Electrical and Electronic Equipment) และความตกลง

วาดวยการยอมรับรวมวาดวยการรับรองการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑเครื่องสําอาง

(ASEAN MRA on Product Registration Approvals for Cosmetics) และอยู

ระหวางการจัดทํา MRAs สําหรับสินคายา และอาหาร (Prepared Foodstuff)

(5) กรอบความตกลงดานอิ เล็กทรอนิกสของอาเซียน (e-ASEAN

Framework Agreement) เปนการลงนามของผูนําของอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ใน

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2000 ณ ประเทศสิงคโปร ซ่ึงจะกําหนดแนวทางเสริมสราง

ความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนในดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ

สื่อสารเพื่อใหภูมิภาคอาเซียนเชื่อมโยงกันดานอิเล็กทรอนิกสอยางสมบูรณแบบ

สาระสําคัญของกรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของอาเซียน ไดแก การ

กําหนดมาตรการที่จะพัฒนาอาเซียนใหเขาสูยุคเทคโนโลยีสารสนเทศอยางแทจริง

ใน 5 ดานหลัก คือ

1) การวางโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

2) การสงเสริมและอํานวยความสะดวกในการใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

Page 4: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

AEC Prompt 

16

3) การเปดเสรีดานการคา การบริการและการลงทุนที่เกี่ยวของกับ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

4) การพัฒนาสังคมแหงเทคโนโลยี

5) การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการบริการของรัฐ

(6) พิธีสารเกี่ยวกับการดําเนินการเกี่ยวกับพิกัดอัตราศุลกากรฮารโมไนซของ

อาเซียน (the Protocol Governing the Implementation of the ASEAN

Harmonized Tariff Nomenclature) ป 2003 และในป 2004 อาเซียนไดเริ่มเปล่ียน

มาใชระบบพิกัดอัตราศุลกากรฮารโมไนซอาเซียน หรือ AHTN เพื่อใหศุลกากรของทุก

ประเทศสมาชิกใชพิกัดอัตราศุลกากรที่เปนมาตรฐานเดียวกันในระดับตัวเลข 8 หลัก

(7) กรอบความตกลงวาดวยการรวมกลุมสาขาสําคัญของอาเซียน (ASEAN

Framework Agreement for the Integration of Priority Sectors) (2004) ผูนํา

อาเซียนไดลงนามในกรอบความตกลงวาดวยการรวมกลุมสาขาสําคัญ และรัฐมนตรี

เศรษฐกิจอาเซียนลงนามในพิธีสารรายสาขา (ASEAN Sectoral Integration

Protocol) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2004 ณ

กรุง เวียงจันทร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

(8) ความตกลงวาดวยการอํานวยความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบ

อิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASEAN Agreement to Establish and

Implement the ASEAN Single Window) ป 2005 โดยกําหนดใหประเทศสมาชิก

อาเซียนเดิม 6 ประเทศ จัดตั้ง National Single Window ใหแลวเสร็จ ภายในป

2008 และประเทศ CLMV ใหดําเนินการใหแลวเสร็จ ภายในป 2012 เพื่อเชื่อมตอ

เปน ASEAN Single Window ตอไป

Page 5: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 

17

2.2 สาระสําคัญของความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement)

หรือ ATIGA ปรับปรุงจากความตกลงฉบับเดิม ที่เรียกวา ความตกลงวาดวยการใช

อัตราภาษีพิเศษที่เทากันสําหรับเขตการคาเสรีอาเซียน หรือ “the Agreement on

the Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade

Area : CEPT” มีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อสรางกฎเกณฑทางการคาระหวางอาเซียน

ใหมีความชัดเจน โปรงใสมากขึ้น และครอบคลุมเร่ืองมาตรการทางภาษี และมิใช

ภาษี ซ่ึงจะทําใหการคาสินคาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนมีอุปสรรคทางการคา

ระหวางกันนอยที่สุดนําไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN

Economic Community : AEC) ในป 2015 โดยเปนไปในทํานองเดียวกับประชาคม

เศรษฐกิจยุโรปในระยะเริ่มแรกที่มีตลาดและฐานการผลิตรวมกัน และจะมีการ

เคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝมือโดยปราศจาก

อุปสรรคใดๆ ซ่ึงเนื้อหาของความตกลง ATIGA ประกอบดวย เนื้อหา 11 บท มี 98

ขอ สามารถสรุปไดดังนี้

เมื่อพิจารณาในบทแรก จะเปนรายละเอียดของบทบัญญัติทั่วไปในการ

จัดทําความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) สาระสําคัญจะกลาวถึง

วัตถุประสงค คํานิยามตางๆ เชน อากรศุลกากร ขอจํากัดการปริวรรตเงินตรา

ตางประเทศ สินคาที่ไดถิ่นกําเนิด เปนตน เพื่อความเขาใจที่ตรงกันของประเทศ

สมาชิก และการทําความเขาใจในขอบเขตการจําแนกพิกัดของสินคา การประติบัติ

เยี่ยงชาติที่ไดรับความอนุเคราะหยิ่ง คาธรรมเนียมและคาภาระเกี่ยวกับการนําเขา

สงออก มาตรการปกปองเพื่อรักษาดุลการชําระเงิน การเก็บรักษาขอมูลการคา

อาเซียน การสงเสริมการมีสวนรวมของกลุมประเทศสมาชิก ขอยกเวนทั่วไป

Page 6: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

AEC Prompt 

18

โดยขอยกเวนทั่วไปน้ี ไดระบุชัดเจนวาประเทศสมาชิกจะตองไมเลือกปฏิบัติตาม

อําเภอใจหรือไมมีเหตุผลระหวางประเทศสมาชิกดวยกัน สวนขอยกเวนดานความ

ม่ันคงนั้น ไดทําความเขาใจวาในขอตกลงฉบับน้ีไมมีขอความใดๆ ที่ตีความไป

ในทางกีดกันหรือหามไมใหประเทศสมาชิกดําเนินตามกรอบพันธกรณีภายใตกฎ

บัตรสหประชาชาติเพื่อการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ เปนตน

ในบทตอมาจะวาดวยเรื่องการเปดเสรีอัตราภาษี มีเนื้อหาครอบคลุมในเรื่อง

การลดหรือยกเลิกอากรขาเขาของประเทศในกลุมสมาชิก ซึ่งในความตกลง

ประเทศสมาชิกจะตองยกเลิกอากรขาเขาของสินคาทุกรายการที่มีการคาระหวาง

ประเทศสมาชิกภายในป 2010 สําหรับประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ5 และ

สําหรับประเทศ CLMV6 ภายในป 2015 โดยมีความยืดหยุนใหถึงป 2018 สวนการ

ยกเลิกโควตาอัตราภาษี (Tariff Rate Quotas : TRQs) ที่ประเทศสมาชิกแตละ

ประเทศจะตองไมนําโควตาอัตราภาษีมาใชกับการนําเขาสินคาใดที่มีถิ่นกําเนิด

จากประเทศสมาชิก หรือการสงออกสินคาใดๆ ไปยังอาณาเขตของประเทศสมาชิก

และในความตกลงนี้ประเทศที่ระบุวาจะตองยกเลิกโควตาอัตราภาษี (TRQs) มี 2

ประเทศดวยกัน คือ ไทยและเวียดนาม โดยไทยจะตองยกเลิกตั้งแต 1 มกราคม

2008 , 2009 และสิ้นสุดที่ป 2010 สวนเวียดนามจะตองยกเลิกตั้งแต 1 มกราคม

2013, 2014, 2015 และยืดหยุนไดถึงป 2018 สวนอีกประเด็นในบทนี้ที่มี

ความสําคัญก็คือ วิธีการและขั้นตอนในการแกไขหรือการระงับการใหขอลดหยอน

ช่ัวคราว ในกรณีที่ประเทศสมาชิกประสบกับความยากลําบากในสถานการณ

5ประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ ประกอบดวย บรูไน ดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและ ไทย 6 ประเทศ CLMV ประกอบดวย กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม

Page 7: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 

19

ที่ไมอาจคาดการณได ซ่ึงประเทศสมาชิกสามารถแกไขหรือระงับการการลดหรือ

ยกเลิกอากรขาเขาได ในกรณีตัวอยางที่ยกมาในความตกนี้ คือ ขาว และน้ําตาล

สําหรับกฎวาดวยถิ่นกําเนิดสินคา จะอยูในบทที่ 3 สาระสําคัญจะกลาวถึง

หลักเกณฑการไดถิ่นกําเนิดของสินคา โดยแยกเปนสินคาที่ไดมาหรือมีการผลิต

ทั้งหมดในประเทศสมาชิกผูสงออก และสินคาที่ไมไดมาหรือไมมีการผลิตทั้งหมด

ทั้งนี้สัดสวนมูลคาการผลิตของอาเซียน หรือ สัดสวนมูลคาการผลิตในภูมิภาค

(Regional Value Content : RVC) ตองไมนอยกวารอยละ 40 จึงจะมีสิทธิไดรับ

การปฏิบัติที่เปนพิเศษทางภาษีศุลกากร ซ่ึงสูตรในการคํานวณสัดสวนมูลคาการ

ผลิตของอาเซียน มีใหเลือกใช 2 วิธีดังตอไปน้ี

1) วิธีทางตรง

RVC = ตนทนุวัสดุในอาเซยีน+คาแรงทางตรง+ตนทนุคาดําเนนิการทางตรง+ตนทนุอื่นๆ+กําไร X100

ราคา FOB

2) วิธีทางออม

RVC = ราคา FOB – มูลคาวัสดุหรือ ชิ้นสวนสนิคาที่ไมไดถิ่นกาํเนิด X 100

ราคา FOB

Page 8: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

AEC Prompt 

20

โดย

ตนทุนวัสดุในอาเซียน คือ มูลคา CIF ของวัสดุ ช้ินสวน หรือสินคาที่ไดถิ่น

กําเนิด ซ่ึงไดรับมาหรือผลิตไดเองโดยผูผลิตในการผลิตสินคานั้น

มูลคาของวัสดุ ช้ินสวน หรือสินคาที่ไมไดถิ่นกําเนิด คือ มูลคา CIF ณ ขณะที่

นําเขาสินคา หรือสามารถพิสูจนการนําเขาได หรือราคาที่ไดรับการยืนยันครั้งแรก

ที่ชําระสําหรับสินคาที่ไมทราบถิ่นกําเนิดภายในอาณาเขตของประเทศสมาชิกที่ซ่ึง

การผลิตหรือการแปรสภาพไดกระทําขึ้น

ตนทุนคาแรงทางตรง จะรวมไปถึง คาจางแรงงาน คาตอบแทน และ

สวัสดิการแรงงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต

ราคา FOB หมายถึง มูลคาของสินคา ณ ทาเรือตนทาง ซ่ึงรวมคาขนสงจนถึง

ทาเรือหรือสถานที่สุดทายสําหรับขนสงสินคาไปตางประเทศ ราคา FOB จะตอง

คํานวณโดยการบวกรวมมูลคาของวัสดุ ตนทุนการผลิต กําไร และตนทุนอื่นๆ

นอกจากนั้นการสะสมสินคาที่ไดถิ่นกําเนิดในประเทศสมาชิก เมื่อสินคานั้น

ถูกนําไปใชในอีกประเทศสมาชิกหนึ่งเพื่อเปนวัสดุสําหรับการผลิตสินคาสําเร็จรูปท่ี

มีสิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติที่เปนพิเศษทางภาษีศุลกากรนั้น ใหถือวาไดถิ่นกําเนิด

ในประเทศสมาชิกประเทศหลังซึ่งการผลิตหรือการแปรรูปของสินคาขั้นสุดทายได

เกิดขึ้น ถา RVC ของวัสดุ นอยกวารอยละ 40 สัดสวนมูลคาการผลิตของอาเซียนที่

ใชสะสมไดตามหลักเกณฑ RVC จะถือสัดสวนโดยตรงตามมูลคาที่เกิดขึ้นจริง

ภายในประเทศ โดยมีเงื่อนไขวา สัดสวนนั้นเทากับหรือมากกวารอยละ 20 สินคาที่

ไดถิ่นกําเนิดในอาณาเขตของประเทศสมาชิกจะยังคงรักษาไวซ่ึงสถานะของ

Page 9: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 

21

ถิ่นกําเนิดแรก หากถูกสงออกจากอีกประเทศสมาชิกหนึ่งซึ่งยังไมมีการดําเนินการ

ที่เกินไปจากรายการที่ระบุไว

โดยหลักเกณฑขั้นต่ําในการผอนปรน คือ สินคาที่ไมผานการเปลี่ยนพิกัด

อัตราศุลกากร จะถือวาไดถิ่นกําเนิด ถามูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดที่ใชในการ

ผลิตสินคาซึ่งไมผานการเปลี่ยนพิกัดอัตราศุลกากรที่กําหนด คิดแลวไมเกินรอยละ

10 ของมูลคา FOB ของสินคา และสินคานั้นเปนไปตามหลักเกณฑการไดถิ่นกําเนิด

อื่นๆ ที่กําหนดไวในความตกลง สําหรับการมีคุณสมบัติของการเปนสินคาที่ไดถิ่น

กําเนิด และมูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดตามที่ระบุในขางตน จะตองรวมอยูใน

มูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดสําหรับกฎวาดวยถิ่นกําเนิดสินคา RVC ที่ใชบังคับ

สําหรับสินคานั้น รวมไปถึงหลักเกณฑในการพิจารณาวาสินคานั้นไดถิ่นกําเนิด

หรือไม ของวัสดุที่ใชเปนบรรจุภัณฑและใชในการบรรจุหีบหอ อุปกรณประกอบ

อะไหล เครื่องมือ วัสดุที่เหมือนกันและใชแทนกันไดและองคประกอบใดที่ไมมีผล

ตอถิ่นกําเนิดสินคา ซ่ึงการอางสิทธิวาสินคามีคุณสมบัติที่จะไดรับการปฏิบัติที่เปน

พิเศษทางภาษีศุลกากรนั้น ตองไดรับการรับรองโดยหนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา

(From D) ซ่ึงออกโดยหนวยงานราชการที่ไดรับมอบหมายโดยประเทศสมาชิกผู

สงออกและไดแจงใหประเทศสมาชิกอื่นทราบแลวตามระเบียบปฏิบัติในการออก

หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคาที่ไดระบุไวในความตกลง

ในดานมาตรการที่มิใชภาษีศุลกากร ในบทที่ 4 ในความตกลงไดระบุไววา

ประเทศสมาชิกจะตองไมนํามาตรการที่มิใชภาษีศุลกากรใดๆ มาใช ในการนําเขา

สินคาของประเทศสมาชิก หรือการสงออกสินคา ไปยังประเทศสมาชิกอื่น เวนแต

จะเปนไปตามสิทธิและพันธกรณีของตนภายใต WTO หรือเปนไปตามความตกลง

ATIGA ซ่ึงครอบคลุมการยกเลิกขอจํากัดดานปริมาณโดยทั่วไป การยกเลิก

Page 10: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

AEC Prompt 

22

อุปสรรคที่มิใชภาษีศุลกากรอื่นๆ ขอจํากัดการปริวรรตเงินตราตางประเทศและ

วิธีดําเนินการออกใบอนุญาตนําเขาดวย โดยเนนใหประเทศสมาชิกแตละประเทศ

จะตองทําใหม่ันใจในความโปรงใสของมาตรการที่ไมใชภาษีศุลกากรของตน

ดานการอํานวยความสะดวกทางการคา บทที่ 5 เนื้อหาจะเปนการกําหนด

วัตถุประสงค ขอบเขต และหลักการของแผนการทํางานเกี่ยวกับการอํานวยความ

สะดวกทางการคารวมกันของประเทศสมาชิก ซ่ึงจะครอบคลุมท้ังเรื่องพิธีการ

ศุลกากร กฎระเบียบและขั้นตอนทางการคา มาตรฐานและการปฏิบัติตาม

มาตรฐาน มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ความตกลงวาดวยการอํานวย

ความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว และเรื่องอื่นๆ ที่

ระบุโดยคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียน โดยจะตองมีการติดตามความคืบหนา

ของแผนการดําเนินการทุกๆ 2 ป เพื่อทําใหม่ันใจวา การดําเนินการของการอํานวย

ความสะดวกทางการคาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

สวนเรื่องขอบเขตของพิธีการศุลกากรตางๆ ที่เกี่ยวของกับสินคาที่มีการ

คาขายกันระหวางกลุมประเทศสมาชิก ในความตกลงนี้ระบุไวในบทที่ 6 โดยตาม

กฎหมาย ระเบียบขอบังคับและนโยบายของประเทศสมาชิก เนื้อหาไดระบุ

รายละเอียดของขอบเขตและแนวทางที่ประเทศสมาชิกที่จะตองทําใหม่ันใจวา พิธี

การศุลกากร และแนวปฏิบัติตางๆ ของประเทศตนสามารถคาดการณได มีความ

ตอเนื่อง โปรงใส และอํานวยความสะดวกทางการคา โดยในที่นี้รวมถึงการตรวจ

ผานสินคาที่รวดเร็วดวย

สําหรับมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและ

รับรองในบทที่ 7 เปนขอตกลงที่เกี่ยวกับการกําหนดขอบเขตดานมาตรฐาน

Page 11: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 

23

กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง ของประเทศสมาชิก

เพื่อปรับมาตรฐานแหงชาติของแตละประเทศใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให

ม่ันใจวาจะไมสรางอุปสรรคที่ไมจําเปนตอการคา ในการจัดตั้งเปนตลาดและฐาน

การผลิตเดียวกันของอาเซียน และในเวลาเดียวกันเพื่อใหม่ันใจวาสามารถบรรลุ

วัตถุประสงคอันชอบธรรมของกลุมประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิกแตละประเทศ

จะตองรับรองวาสถาบันมาตรฐานแหงชาติของตนยอมรับ ในการปรับประสาน

มาตรฐานแหงชาติเขาหากัน โดยกลุมประเทศสมาชิกตองนํามาตรฐานระหวาง

ประเทศที่เกี่ยวของมาใชเปนทางเลือกแรก ซ่ึงเมื่อจัดทํามาตรฐานแหงชาติฉบับ

ใหม หรือเมื่อทบทวนมาตรฐานที่มีอยู ในกรณีที่ไมมีมาตรฐานระหวางประเทศ

มาตรฐานแหงชาติของแตละประเทศตองถูกปรับใหไปในแนวทางเดียวกัน โดยใน

ที่นี้กลุมประเทศสมาชิกจะตองทําใหม่ันใจวากระบวนการตรวจสอบและรับรองไม

ถูกจัดทํา นํามาใช หรือใชเพื่อหรือใชโดยมีผลตอการสรางอุปสรรคทางเทคนิคที่ไม

จําเปนตอการคา และกระบวนการตรวจสอบและรับรองที่ผูจัดหาผลิตภัณฑที่มีถิ่น

กําเนิดในเขตแดนของประเทศสมาชิกอื่นจะตองปฏิบัติใหสอดคลองและจะตองไม

เขมงวดกวากระบวนการตรวจสอบและรับรองสําหรับผูจัดหาผลิตภัณฑอยาง

เดียวกันที่ มีถิ่นกําเนิดภายในประเทศ ในดานของมาตรการสุขอนามัยและ

สุขอนามัยพืช ที่ประเทศสมาชิกทุกประเทศตองใชมาตรฐานเดียวกันนั้น ในบทที่ 8

จะระบุบทบัญญัติและพันธกรณีที่ประเทศสมาชิกจะนํามาตรการสุขอนามัยและ

สุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Measures : SPS) ไปใชในประเทศ

ของตน ซ่ึงในบทนี้จะรวมไปถึงการแลกเปลี่ยนขอมูลทางดานสุขอนามัย

โดยเฉพาะกรณีในสถานการณฉุกเฉินที่เกี่ยวกับวิกฤตความปลอดภัยของอาหาร

เชนการควบคุมแมลงศัตรูพืช และการระบาดของโรค เปนตน เพื่อปกปองชีวิต

Page 12: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

AEC Prompt 

24

และสุขภาพของของมนุษย สัตว พืช ของประเทศสมาชิกผูนําเขา โดยประเทศ

สมาชิกแตละประเทศจะตองแสวงหาโอกาสที่จะขยายความรวมมือระหวางกันให

มากขึ้น ในดานการใหความชวยเหลือทางวิชาการ ดานความรวมมือและการ

แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางประเทศสมาชิกอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับมาตรการสุขอนามัย

และสุขอนามัยพืชท่ีเปนประโยชนรวมกัน ซ่ึงตองสอดคลองกับวัตถุประสงคและขอ

ผูกพันที่กําหนดในแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

สวนมาตรการเยียวยาทางการคา ไดระบุไวในบทที่ 9 โดยในความตกลงฉบับ

นี้มีเพียง 2 มาตรการเทานั้น คือ

1) มาตรการปกปอง ซ่ึงเปนการคงไวของสิทธิและพันธกรณภีายใต ขอ 19

ของ GATT 1994 และ WTO วาดวยมาตรการปกปอง หรือ ขอ 5 ของ

ความตกลงวาดวยการเกษตร

2) อากรตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุน โดยประเทศสมาชิกยืนยัน ที่

จะใชสิทธิและพันธกรณีตอกันในกรณีที่เกี่ยวกับการใชมาตรการตอบโต

การทุมตลาดและภายใต ขอ 6 ของ GATT 1994 สวนในกรณีที่เกี่ยวของ

กับการอุดหนุนและมาตรการตอบโตการอุดหนุนประเทศสมาชิกยืนยันที่

จะยังใชสิทธิและพันธกรณีภายใต ขอ 16 ของ GATT 199 4 ที่ระบุไวใน

ภาคผนวก 1 A ของความตกลง WTO เชนกัน

สําหรับในบทที่ 10 และ 11 จะกลาวถึงหนวยงานและบทบาทของหนวยงาน

ที่เกี่ยวของกับความตกลงฉบับนี้ โดยจะเปนหนวยงานที่ดูแลดานกลไกในการหารือ

และการใหคําปรึกษาในขอตกลงตางๆ ระหวางประเทศสมาชิก รวมถึงการทบทวน

และแกไขบทบัญญัติ โดยในขอตกลงไดกําหนดใหรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน

Page 13: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 

25

(AEM)7 จะตองจัดตั้งคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียน ประกอบดวยผูแทนใน

ระดับรัฐมนตรี 1 คนจากประเทศสมาชิกแตละประเทศและเลขาธิการอาเซียน ใน

การทําหนาที่ของคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียนซึ่งจะตองไดรับการสนับสนุน

จากการประชุมเจาหนาที่อาวุโสดานเศรษฐกิจของอาเซียน (SEOM)8 และเพื่อให

บรรลุผลตามหนาที่ SEOM สามารถจัดตั้งคณะทํางานตามความเหมาะสม เชน

คณะกรรมการประสานงานการดําเนินการภายใตความตกลง ATIGA (CCA)9

เพื่อใหความชวยเหลือในการทํางานของ SEOM โดยในการทํางานของ SEOM

จะตองทําใหม่ันใจในเรื่องการปฏิบัติตามความตกลงฉบับน้ี ซ่ึงจะตองประสานและ

ไดรับการสนับสนุนจากคณะทํางานดานเทคนิคและคณะกรรมการตางๆ ภายใต

ความตกลง โดยประเทศสมาชิกทุกประเทศจะตองจัดตั้งหนวยงาน AFTA เพื่อทํา

หนาที่เปนศูนยกลางในการประสานงานของประเทศใหดําเนินการตามความตกลง

ATIGA สวนความสัมพันธกับความตกลงฉบับอื่นๆ ที่เปนความตกลงดาน

เศรษฐกิจทุกฉบับของอาเซียนที่มีอยูกอนการมีผลบังคับใช ATIGA ใหมีผลบังคับ

ใชตอไป

7The ASEAN Economic Ministers : AEM 8The Senior Economic Officials Meeting : SEOM 9The Coordinating Committee on the implementation of ATIGA : CCA

Page 14: ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

AEC Prompt 

26