ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน...

56
บทที3 ตําแหนงสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยในอาเซียน ขาว 3.1 การผลิตขาวไทยกับประเทศในอาเซียน ขาวเปนอาหารหลักของคนไทยและคนในประเทศอาเซียน สําหรับประเทศ ไทยนั้นขาวเปนพืชเศรษฐกิจสําคัญที่ทํารายไดใหกับประเทศอยางมากมาตั้งแต อดีตจนกระทั่งปจจุบัน ซึ่งจากขนาดพื้นที่การเกษตรทั้งหมดของประเทศกวา 130 ลานไร พื้นที่เพาะปลูกขาวมีสัดสวนถึงรอยละ 50 หรือกวา 62 ลานไร จะเห็นได จากมูลคาการสงออกขาวในป 2531 มีมูลคา 69,352.8 ลานบาท และเพิ่มเปน 203,219.1 ลานบาท ในป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 193.0 ระหวางป 2531-2551 เมื่อพิจารณาการสงออกขาวในป 2551 พบวามีสัดสวนรอยละ 30.8 ของมูลคา สงออกสินคาเกษตร หรือคิดเปนรอยละ 3.5 ของมูลคาการสงออกรวมทั้งหมด นอกจากนี้ขาวยังเปนรายไดหลักของชาวนาถึง 3.7 ลานครัวเรือน จากครัวเรือน เกษตร 5.6 ลานครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 66 ของครัวเรือนเกษตรทั้งหมด และ เปนแหลงจางงานเกษตรกรกวา 4 ลานครัวเรือน ซึ่งสามารถสรางรายไดและความ มั่นคงใหภาคเกษตรไทยเปนอยางมาก ขณะเดียวกันแมวาไทยจะเปนประเทศผูผลิตหลักและสงออกขาวเปนอันดับ 1 ของโลก แตไทยไมไดเปนประเทศเดียวในอาเซียน ที่มีศักยภาพในการผลิตขาว เพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการสงออก ยังมีประเทศเพื่อนบานที่เปนทั้ง คูแขงและคูคาขาวของไทย คือ พมา เวียดนาม ลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย

Upload: -

Post on 29-May-2015

1.748 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

บทที่ 3

ตําแหนงสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยในอาเซียน

ขาว

3.1 การผลิตขาวไทยกับประเทศในอาเซียน

ขาวเปนอาหารหลักของคนไทยและคนในประเทศอาเซียน สําหรับประเทศ

ไทยนั้นขาวเปนพืชเศรษฐกิจสําคัญที่ทํารายไดใหกับประเทศอยางมากมาตั้งแต

อดีตจนกระทั่งปจจุบัน ซ่ึงจากขนาดพื้นที่การเกษตรทั้งหมดของประเทศกวา 130

ลานไร พื้นที่เพาะปลูกขาวมีสัดสวนถึงรอยละ 50 หรือกวา 62 ลานไร จะเห็นได

จากมูลคาการสงออกขาวในป 2531 มีมูลคา 69,352.8 ลานบาท และเพิ่มเปน

203,219.1 ลานบาท ในป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 193.0 ระหวางป 2531-2551

เม่ือพิจารณาการสงออกขาวในป 2551 พบวามีสัดสวนรอยละ 30.8 ของมูลคา

สงออกสินคาเกษตร หรือคิดเปนรอยละ 3.5 ของมูลคาการสงออกรวมทั้งหมด

นอกจากนี้ขาวยังเปนรายไดหลักของชาวนาถึง 3.7 ลานครัวเรือน จากครัวเรือน

เกษตร 5.6 ลานครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 66 ของครัวเรือนเกษตรทั้งหมด และ

เปนแหลงจางงานเกษตรกรกวา 4 ลานครัวเรือน ซ่ึงสามารถสรางรายไดและความ

ม่ันคงใหภาคเกษตรไทยเปนอยางมาก

ขณะเดียวกันแมวาไทยจะเปนประเทศผูผลิตหลักและสงออกขาวเปนอันดับ

1 ของโลก แตไทยไมไดเปนประเทศเดียวในอาเซียน ที่มีศักยภาพในการผลิตขาว

เพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการสงออก ยังมีประเทศเพื่อนบานที่เปนทั้ง

คูแขงและคูคาขาวของไทย คือ พมา เวียดนาม ลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย

AEC Promt 

28

ฟลิปปนสและกัมพูชา ซ่ึงจากรายงานสถิติของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา

(Foreign Agricultural Service, United States Department of Agriculture :

USDA) สามารถพิจารณาไดดังนี้

3.1.1 เนื้อที่เพาะปลูก เม่ือพิจารณาเนื้อท่ีเพาะปลูกขาวทั้งหมดของอาเซียน ในชวงระหวางป

2550/51 ถึง 2552/53 พบวาอาเซียนมีเนื้อท่ีเพาะปลูกทั้งหมด 283.7 ลานไร และ

เพิ่มขึ้นเปน 284.4 ลานไร คิดเปนอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 3.0 แตเมื่อ

พิจารณาเปนรายประเทศ จะพบวาอินโดนีเซียมีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด จํานวน

74.3 ลานไร รองลงมาคือ ไทย 66.3 ลานไร และเวียดนาม 46.3 ลานไร ถา

พิจารณาจากอัตราการขยายตัวในชวงปดังกลาว จะพบวาอินโดนีเซียและ

เวียดนาม มีอัตราการขยายตัวของเนื้อท่ีเพาะปลูกลดลง โดยอินโดนีเซียขยายตัว

ลดลงรอยละ 2.6 ในป 2552/53 สวนเวียดนามขยายตัวลดลง รอยละ 0.9 ในป

2551/52 และขยายตัวเพิ่มขึ้นในป 2552/53 เหลือติดลบเพียง 0.7 % สวนไทยมี

อัตราการขยายตัวของเนื้อท่ีเพาะปลูกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตารางที่ 6)

3.1.2 ผลผลิตตอไร ดานผลผลิตตอไรของอาเซียน เมื่อมองภาพรวมในระหวางป 2550/51 ถึง

2552/53 พบวามีผลผลิตตอไรเฉลี่ยอยูที่ 572.4-583.4 กิโลกรัมตอไร และเมื่อ

พิจารณาเปนรายประเทศ สามมารถแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ

1) กลุมท่ีมีผลผลิตตอไรสูงกวาคาเฉลี่ยในแตละป ซ่ึงประกอบดวย

อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟลิปปนส

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

29

2) กลุมที่มีผลผลิตตอไรต่ํากวาคาเฉลี่ยในแตละป ไดแก ไทย พมา ลาว

กัมพูชา และมาเลเซีย

ถาพิจารณาอัตราการขยายตัวของผลผลิตตอไร จะพบวาในชวงปดังกลาว

ประเทศที่มีอัตราการขยายตัวสูงสุด คือประเทศกัมพูชา มีอัตราการขยายตัว

เพิ่มขึ้นรอยละ 5.0 ในป 2551/52 รองลงมาคือไทยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอย

ละ 2.9 และลาว 2.6 ในป 2552/53 (ตารางที่ 6)

3.1.3 ผลผลิตขาวสาร สําหรับผลผลิตขาวสาร จะพบวาประเทศที่มีผลผลิตมากที่สุดคือ ประเทศ

อินโดนีเซีย รองลงมาคือเวียดนาม ไทย พมา และฟลิปปนส ซ่ึงตลอดชวงป

2550/51 ถึง 2552/53 ปริมาณผลผลิตขาวที่ผลิตไดในแตละประเทศยังไมการ

เปลี่ยนแปลงมากนัก แตประเทศที่ถูกจับตามองและกลาวถึงมากในปจจุบัน คือ

ประเทศเวียดนามเนื่องจากเปนประเทศที่สามารถผลิตขาวไดมากเปนอันดับ 2 ของ

อาเซียน และมีตลาดสงออกหลักเชนเดียวกับไทย ถือไดวาเปนคูแขงที่สําคัญของ

ไทยในตลาดโลกโดยเฉพาะกลุมสินคาขาวขาว จะเห็นไดจากผลผลิตขาวของ

เวียดนาม ในป 2552/53 เวียดนามสามารถผลิตขาวสารไดทั้งสิ้น 23.8 ลานตัน แต

ไทยผลิตไดเพียง 20.0 ลานตัน ในขณะที่พมาผลิตได 10.7 ลานตัน กัมพูชาผลิตได

4.6 ลานตัน และลาวผลิตได 1.9 ลานตัน นอกจากนี้เม่ือพิจารณาจากอัตราการ

ขยายตัวของผลผลิตที่ผลิตได พบวาประเทศที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงสุด คือ

พมา เพิ่มขึ้นรอยละ 5.7 ลาว 5.6 ไทย 3.1 กัมพูชา 2.4 สวนเวียดนามขยายตัว

เพิ่มขึ้นเพียง 0.4 เทานั้น (ตารางที่ 6)

AEC Promt 

30

สําหรับปริมาณการบริโภคขาวของประเทศในอาเซียน จากสถิติระหวางป

2548/49 ถึง 2552/53 พบวาประเทศที่มีปริมาณการบริโภคขาวสูงสุด คือ กัมพูชา

รองลงมาเวียดนาม พมา และอินโดนีเซีย และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบป 2552/53

กับป 2548/49 จะเห็นวาประเทศที่มีปริมาณการบริโภคขาวลดลง มีเพียงประเทศ

เวียดนาม พมา และไทยเทานั้น ซ่ึงในป 2552/53 ไทยเปนประเทศที่มีปริมาณการ

บริโภคขาวนอยที่สุด 143 กิโลกรัม/คน/ป ในขณะที่กัมพูชามีปริมาณการบริโภค

ขาวถึง 278.3 กิโลกรัม/คน/ป เวียดนาม 218.8 กิโลกรัม/คน/ป และพมา 162.6

กิโลกรัม/คน/ป (ตารางที่ 7) ตารางที่ 6 เนื้อที่เพาะปลูกขาว ผลผลิตตอไร และผลผลิตขาวสารของอาเซียน

เนื้อที่เพาะปลูก (ลานไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม/ไร) ผลผลิตขาวสาร (ลานตัน) ประเทศ

2550/51 2551/52 2552/53 2550/51 2551/52 2552/53 2550/51 2551/52 2552/53

อินโดนีเซยี 74.3

-

76.1

(2.3)

74.1

(- 2.6)

771.2

-

780.8

(1.2)

787.2

(0.8)

37.0

-

38.3

(3.5)

37.6

(- 1.8)

เวียดนาม 46.3

-

45.9

(- 0.9)

45.6

(- 0.7)

796.8

-

782.4

(- 1.8)

792.0

(1.2)

24.4

-

23.7

(- 2.6)

23.8

(0.4)

ไทย 66.3

-

66.8

(0.8)

67.0

(0.4)

441.6

-

440.0

(- 0.4)

452.8

(2.9)

19.3

-

19.4

(0.5)

20.0

(3.1)

พมา 44.3

-

41.9

(-5.5)

43.8

(4.5)

417.6

-

417.6

-

422.4

(1.2)

10.7

-

10.2

(- 5.4)

10.7

(5.7)

ฟลิปปนส 27.2

-

28.3

(4.1)

27.8

(- 1.8)

612.8

-

603.2

(- 1.6)

611.2

(1.3)

10.5

-

10.8

(2.6)

10.7

(- 0.4)

กัมพูชา 16.1

-

16.3

(1.6)

16.6

(1.5)

419.2

-

440.0

(5.0)

443.2

(0.7)

4.2

-

4.5

(6.6)

4.6

(2.4)

ลาว 5.1

-

5.3

(3.7)

5.5

(3.5)

561.6

-

564.8

(0.6)

579.2

(2.6)

1.7

-

1.8

(4.1)

1.9

(5.6)

มาเลเซีย 4.1

-

4.1

(1.5)

4.2

(1.5)

558.4

-

571.2

(2.3)

579.2

(1.4)

1.5

-

1.5

(3.4)

1.6

(3.3)

รวม 283.7 284.7 284.4 572.4* 575.0* 583.4* 109.3 110.2 111.0

หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บแสดงอัตราการขยายตัว และ * คือ คาเฉลี่ย

ที่มา: USDA, Foreign Agricultural Service, August, 2009

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

31

ตารางที่ 7 ปริมาณการบริโภคขาวของประเทศในอาเซียน หนวย: กิโลกรัม/คน/ป

ประเทศ 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52 2552/53

กัมพูชา 258.2 257.4 282.7 275.8 278.3

เวียดนาม 221.0 222.5 227.8 221.8 218.8

พมา 187.8 188.8 177.8 162.4 162.6

อินโดนีเซยี 163.0 161.7 161.6 165.2 163.3

ไทย 146.6 149.8 146.0 155.0 143.2

ฟลิปปนส 125.8 138.0 152.4 151.1 150.2

ที่มา: คํานวณจาก USDA, World Rice Production, Consumption, and Stock, August, 2009

หากพิจารณาจากสต็อกขาวของประเทศในอาเซียน ระหวางป 2550/51 ถึง

2552/53 จะเห็นวาอินโดนีเซียและฟลิปปนส มีจํานวนสต็อกขาวคอนขางสูงเมื่อ

เทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน โดยฟลิปปนสมีสต็อกขาว 3.0-4.5 ลานตัน สวน

อินโดนีเซียมีสต็อกขาวสูงถึง 5.6-6.8 ลานตัน เนื่องมาจากทั้งสองประเทศผลิตขาว

ไมเพียงพอตอการบริโภคของคนในประเทศ จึงทําใหทั้งสองประเทศตองมีสต็อก

ขาวไวในจํานวนมากเพื่อความมั่นคงทางดานอาหารของประเทศ

สวนประเทศผูผลิตและสงออกรายใหญของอาเซียนอยางไทยกับเวียดนาม

ที่สามารถผลิตขาวไดเพียงพอกับความตองการบริโภคภายในประเทศ และยังมี

เหลือในการสงออกเปนจํานวนมาก ในชวง 3 ปที่ผานมาสต็อกขาวของไทยเพิ่มขึ้น

จาก 2.2 ลานตัน ในป 2550/51 เปน 4.2 ลานตัน ในป 2552/53 ในขณะที่

เวียดนามสต็อกขาวของประเทศกลับมีจํานวนลดลงจาก 2.0 ลานตัน เปน 1.8 ลาน

ตัน ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบสัดสวนของสต็อกขาวปลายปกับกับปริมาณการบริโภคขาว

ภายในประเทศแลว จะพบวาไทยและอินโดนีเซียมีปริมาณสต็อกขาวเพิ่มขึ้นตลอด

จากป 2550/51 ถึง 2552/53 แตเวียดนามกับฟลิปปนสกลับมีปริมาณสต็อกที่

ลดลง และเมื่อพิจารณาในปลาสุดจะเห็นไดอยางชัดเจนวาไทยมีสัดสวนสต็อกขาว

AEC Promt 

32

ตอการบริโภคสูงที่สุดถึงรอยละ 40.6 รองลงมาคือฟลิปปนส 22.3 อินโดนีเซีย 18.2

และ เวียดนาม 9.2

3.1.4 การสงออกขาวไทยในตลาดอาเซียน สําหรับการสงออกของไทยในตลาดอาเซียน ระหวางป 2549-2552 จะเห็น

ไดวามูลคาการสงออกของไทยในป 2549-2551 เพิ่มขึ้นจาก 329.5 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ เปน 1,052.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นถึง

รอยละ 219.4 แตเมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกขาวไทยระหวางป 2551 กับป

2552 ในชวงเดือน ม.ค.-ก.ค. กลับพบวาไทยสงออกขาวในตลาดอาเซียน

ลดลงรอยละ 72.0 และเมื่อพิจารณาเปนรายประเทศพบวาในป 2552 (ม.ค.-ก.ค.)

มูลคาการสงออกขาวของไทยในอาเซียนมีอัตราการขยายตัวลดลงเกือบทุก

ประเทศ ยกเวนลาวกับอินโดนีเซีย สวนประเทศที่มีอัตราการขยายตัวลดลงมาก

ที่สุด ไดแกฟลิปปนส ขยายตัวลดลงถึงรอยละ 92.7 และมาเลเซียขยายตัวลดลง

รอยละ 83.4 (ตารางที่ 9)

3.1.5 ตําแหนงขาวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

(1) ตําแหนงขาวไทยในตลาดอาเซียน เม่ือพิจารณาสวนแบงตลาดขาวในตลาดอาเซียนในระหวางป 2547-2551

จะเห็นวาประเทศผูสงออกขาวรายใหญมีเพียง 2 ประเทศเทานั้น คือไทยกับ

เวียดนาม ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของของไทยกับ

เวียดนามแลวจะพบวาป 2547 ไทยยังมีการสงออกขาวเปนอันดบั 1 ในตลาด

อาเซียน แตก็มีอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดมากกวาเวียดนาม

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

33

เพียงเล็กนอยเทานั้น ในขณะที่ป 2548 เวียดนามมีอัตราการขยายตัวของการ

สงออกเพิ่มขึ้นอยางมากถึงรอยละ 94.2 และมีสวนแบงตลาดถึงรอยละ 67.5 ซ่ึงใน

ปเดียวกันนั้นไทยกลับมีอัตราการขยายตัวลดลงรอยละ 13.4 และมีสวนแบงตลาด

เพียงรอยละ 31.1 เทานั้น ถึงแมวาตอมาในป 2549-2551 ไทยจะมีอัตราการ

ขยายตัวในการสงออกเพิ่มขึ้นโดยตลอด แตไทยก็ยังไมสามารถแยงสวนแบงตลาด

ขาวสวนใหญมาจากเวียดนามได ดังนั้นเราคงตองยอมรับวา 5 ปที่ผานมาไทยได

สูญเสียตลาดขาวในอาเซียนใหกับเวียดนามไปแลวอยางสิ้นเชิง

ตารางที่ 8 การผลิต การบริโภค การสงออก และสต็อกขาวของประเทศในอาเซียน หนวย: ลานตันขาวสาร ประเทศ อินโดนีเซีย ไทย ฟลิปปนส เวียดนาม

2550/51 37.0 19.3 10.5 24.4

2551/52 37.3 19.4 10.6 23.7 การผลิต

2552/53 37.6 20.0 10.7 23.8

2550/51 36.4 9.6 13.5 19.4

2551/52 36.9 9.5 13.2 19.2 การบริโภค

2552/53 37.4 10.4 13.4 19.2

2550/51 n/a 10.0 n/a 4.6

2551/52 n/a 9.0 n/a 5.2 การสงออก

2552/53 n/a 8.5 n/a 5.0

2550/51 5.6 2.2 4.5 2.0

2551/52 6.3 3.1 4.0 1.8

สต็อกปลายป

2552/53 6.8 4.2 3.0 1.8

2550/51 15.4 23.0 33.7 10.4

2551/52 17.1 32.8 30.3 9.2

สต็อกปลายป/การบริโภค

(รอยละ)

2552/53 18.2 40.6 22.3 9.2

หมายเหตุ: Na คือ ไมพบขอมูล

ที่มา: USDA, Grain: World Markets and Trade, September, 2009

AEC Promt 

34

ตารางที่ 9 มูลคาการสงออกขาวไทยในตลาดอาเซียน

มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราขยายตัว (รอยละ)

ประเทศ 2549 2550 2551

2551

(ม.ค.-ก.ค.)

2552

(ม.ค.-ก.ค.) 2550 2551

2552

(ม.ค.-ก.ค.)

สิงคโปร 83.6 108.2 184.5 128.0 85.4 29.5 70.6 - 33.2

มาเลเซีย 136.5 161.5 372.5 328.6 54.4 18.3 130.6 - 83.4

อินโดนีเซยี 48.3 140.3 52.6 26.6 46.4 190.6 - 62.5 74.3

ฟลิปปนส 32.1 125.6 381.5 346.6 25.4 291.1 203.8 - 92.7

บรูไน 19.9 21.8 39.2 22.4 19.0 9.3 79.9 - 15.3

ลาว 2.0 3.2 5.2 1.5 6.9 54.1 66.0 365.7

กัมพูชา 6.0 9.0 7.8 4.4 2.7 50.2 - 13.2 - 39.2

เวียดนาม 0.9 1.4 2.2 1.4 0.5 59.7 56.1 - 62.9

พมา 0.2 0.7 6.9 1.3 0.4 221.5 970.6 - 65.4

รวม 329.5 571.5 1,052.5 860.7 241.2 73.5 84.2 - 72.0

ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552

-200.0

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0

สวนแบงตลาด (รอยละ)

อัตราการขยายต

วั (รอย

ละ)

47

5148

49

50

51

50

48

4947

50

49

47

บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม

หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009

ภาพที ่1 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกขาวในตลาดอาเซียน

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

35

(2) ตําแหนงขาวไทยในตลาดโลก ถาพิจารณาสวนแบงตลาดขาวของไทยในตลาดโลก จะเห็นวาในระหวางป

2547-2551 ไทยเปนผูสงออกขาวอันดับ 1 ของโลก อินเดียตามมาเปนอันดับ 2

และสหรัฐอเมริกาสงออกเปนอันดับ 3 โดยหากเปรียบเทียบสวนแบงตลาดในชวงป

2547-2551 จะพบวาไทยมีสวนแบงตลาดสูงกวาอินเดียและสหรัฐอเมริกา

คอนขางมาก ซ่ึงชวงปดังกลาวไทยมีสวนแบงตลาดอยูระหวางรอยละ 32.8 -41.8

ในขณะที่อินเดียมีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 17.7-24.9 และสหรัฐอเมริกามีสวน

แบงตลาดอยูเพียงรอยละ 13.8-17.5 เทานั้น ถึงแมวาถาดูจากอัตราการขยายตัว

ของการสงออก ในป 2548 และ 2550 อัตราการขยายตัวของไทยจะนอยกวา

อินเดียก็ตาม แตโดยภาพรวมแลวไทยยังคงเปนผูสงออกขาวรายใหญที่สุดของโลก

-200.0

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0

อัตราการขยายต

ัว (รอยล

ะ)

สวนแบงตลาด (รอยละ)

ไทย อินเดีย สหรัฐอเมริกา อิตาลี จีน

อุรุกวัย บราซิล เบลเย่ียม อาเจนตนิา เนเธอรแลนด

5150

4948

47

51

50 49

48

5048

51

49

47

หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009

ภาพที ่2 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกขาวในตลาดโลก

AEC Promt 

36

มันสําปะหลัง

3.2 การผลิตมันสําปะหลังของไทยกับประเทศในอาเซียน

มันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญของไทย โดยมีพื้นที่เพาะปลูกทั้ง

ประเทศกวา 8.2 ลานไร ครอบคลุม 45 จังหวัด มีเกษตรกรผูปลูกถึง 0.48 ลาน

ครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 8 ของจํานวนเกษตรกรทั้งประเทศ 5.6 ลานครัวเรือน

ซ่ึงสามารถผลิตหัวมันสดไดประมาณปละ 26-27 ลานตัน แตมีความตองการใชมัน

สําปะหลัง (หัวมันสด) ในประเทศเพียงปละไมเกิน 10 ลานตันเทานั้น ทําใหมีมัน

สําปะหลังสวนเกินอีกประมาณ 16-17 ลานตันตอป ที่สามารถสงออกและนํา

รายไดเขาประเทศเปนจํานวนมาก โดยไทยสามารถสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง

ไดหลายรูปแบบ เชน มันเสน มันอัดเม็ด แปงมันสําปะหลังทั้งในรูปของแปงดิบและ

แปงแปรรูป เปนตน ในปจจุบันไทยเปนผูสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังรายใหญ

ที่สุดของโลก โดยมีสวนแบงตลาดสูงถึงรอยละ 70 สวนในตลาดอาเซียนนั้นไทยก็

สามารถครองอันดับ 1 ในการสงออกมาเปนเวลานานกวา 10 ป เชนกัน

ถึงแมวาในปจจุบันไทยจะเปนผูนําในการสงออกและมีสวนแบงตลาดมาก

ที่สุด ทั้งในตลาดอาเซียนและตลาดโลกก็ตาม แตมันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจท่ี

มีอนาคต เพราะนอกจากสามารถนําไปผลิตเปนอาหาร และใชในอุตสาหกรรม

ตางๆ มากมายแลว ยังสามารถนําไปผลิตพลังงานทดแทนไดดวย ดังนั้นจึงทําให

หลายประเทศในอาเซียนเริ่มหันมาใหความสําคัญและสงเสริมใหมีการปลูกมัน

สําปะหลังมากขึ้น จากขอมูลการผลิตมันสําปะหลังขององคการอาหารและเกษตร

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

37

แหงสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations :

FAO) สามารถพิจารณาไดดังนี้

3.2.1 การผลิตมันสําปะหลังของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน เนื้อท่ีเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังของประเทศในอาเซียนในระหวางป 2548-2550

จะเห็นวาพื้นที่เก็บเกี่ยวรวมทั้งอาเซียนเพิ่มขึ้นจาก 18.3 ลานไร ในป 2548 เปน

20.4 ลานไรในป 2550 โดยประเทศที่มีพื้นที่ในการเก็บเกี่ยวมากที่สุดไดแก

อินโดนีเซียที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยวมากถึง 7.5-7.7 ลานไร รองลงมาคือไทย 6.2-7.3 ลาน

ไร และขยายเปน 7.4 ลานไรในป 2551 เวียดนาม 2.7-3.1 ลานไร ซ่ึงจากสถิติจะ

พบวาอินโดนีเซียมีอัตราการขยายตัวลดลงรอยละ 2.1 ในป 2550 ในขณะที่ไทย

และเวียดนามมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตารางที่ 10)

เม่ือพิจารณาจากผลผลิตตอไรในป 2550 จะพบวาโดยภาพรวมทุกประเทศมี

อัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ยกเวนกัมพูชาและเวียดนาม ที่มีอัตราการ

ขยายตัวลดลงรอยละ 9.5 และ 1.9 ตามลําดับ โดยประเทศที่มีผลผลิตตอไร

ขยายตัวเพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ ลาว มีผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นจาก 1.7 ตันตอไร ในป

2549 เปน 3.4 ตันตอไรในป 2550 คิดเปนอัตราการขยายตัวสูงถึงรอยละ 105.0

ในขณะที่ไทยมีผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากป 2548-2550 แตในป 2551

กลับมีผลผลิตตอไรลดลงเหลือเพียง 3.4 ตันตอไร และเมื่อเทียบกับป 2550 พบวา

ขยายตัวลดลงรอยละ 7.3 (ตารางที่ 10)

นอกจากนี้หากพิจารณาจากผลผลิตจะเห็นวาทั้งผลผลิตรวมของอาเซียน

และผลผลิตของแตละประเทศจะพบวามีอัตราการขยายตัว เพิ ่มขึ ้นอยาง

ตอเนื่อง โดยประเทศผูผลิตรายใหญของอาเซียนจะประกอบไปดวย 3 ประเทศ

AEC Promt 

38

คือ อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม และเมื่อเปรียบเทียบจํานวนผลผลิตทั้งสามประเทศ

ในชวงป 2548-2550 จะเห็นวาในป 2548 อินโดนีเซียมีผลผลิตมากที่สุด คือ 19.3

ลานตัน ในขณะที่ไทยและเวียดนามผลิตได 16.9 และ 6.7 ลานตัน ตามลําดับ

สวนในป 2550 จะพบวาอินโดนีเซียผลิตได 20 ลานตัน เวียดนามผลิตได 8 ลาน

ตัน ในขณะที่ไทยผลิตไดมากถึง 26.9 ลานตัน ถึงแมวาในป 2551 ผลผลิตของไทย

จะลดลงเหลือ 25.2 ลานตัน แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ แลวไทยก็ยังเปน

ประเทศที่ผลิตมันสําปะหลังไดมากที่สุดของอาเซียน ตารางที่ 10 เนื้อที่เพาะปลูกมันสําปะหลัง ผลผลิตตอไร

เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ลานไร) ผลผลิตตอไร (ตัน/ไร) ผลผลิต (ลานตัน) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551

บรูไน 0.0

-

0.0

-

0.0

- n/a

1.9

-

1.9

-

1.9

- n/a

0.0

-

0.0

-

0.0

- n/a

กัมพูชา 0.2

-

0.6

(221.3)

0.7

(12.1) n/a

2.9

-

3.6

(26.8)

3.3

(- 9.5) n/a

0.5

-

2.2

(307.4)

2.2

(1.5) n/a

อินโดนีเซีย 7.6

-

7.7

(1.2)

7.5

(-2.1) n/a

2.5

-

2.6

(2.3)

2.7

(2.2) n/a

19.3

-

20.0

(3.4)

20.0

(0.0) n/a

ลาว 0.0

-

0.1

(149.5)

0.1

(- 34.7) n/a

1.2

-

1.7

(36.3)

3.4

(105.0) n/a

0.1

-

0.2

(240.1)

0.2

(33.8) n/a

มาเลเซีย 0.3

-

0.3

(2.5)

0.3

- n/a

1.6

-

1.7

(4.9)

1.7

- n/a

0.4

-

0.4

(7.5)

0.4

- n/a

พมา 0.1

-

0.1

(4.2)

0.1

- n/a

2.0

-

2.0

(-1.5)

2.0

(1.9) n/a

0.2

-

0.2

(2.7)

0.2

(1.9) n/a

ฟลิปปนส 1.3

-

1.3

(- 0.1)

1.3

(2.5) n/a

1.3

-

1.4

(4.8)

1.4

(3.9) n/a

1.7

-

1.8

(4.7)

1.9

(6.5) n/a

ไทย 6.2

-

6.7

(8.6)

7.3

(9.7)

7.4

(0.8)

2.7

-

3.4

(22.8)

3.7

(8.6)

3.4

(-7.3)

16.9

-

22.6

(33.3)

26.9

(19.2)

25.2

(-6.5)

เวียดนาม 2.7

-

3.0

(11.7)

3.1

(4.6) n/a

2.5

-

2.6

(3.8)

2.6

(- 1.9) n/a

6.7

-

7.8

(15.9)

8.0

(2.6) n/a

รวม 18.3 19.7 20.4 n/a 1.9* 2.1* 2.3* n/a 45.8 55.1 59.9 n/a

หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บแสดงอัตราการขยายตัว และ * คือ คาเฉลี่ย

ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

39

3.2.2 การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง10 ของไทยในตลาดอาเซียนในชวง 5 ปที่

ผานมาระหวางป 2547-2551 มีมูลคาการสงออกไมสูงมาก เมื่อเทียบกับการ

สงออกไปยังตลาดโลก โดยประเทศในอาเซียนที่นําเขาจากไทยมากที่สุด คือ

มาเลเซีย ซ่ึงมีมูลคาการนําเขาเพิ่มขึ้นจาก 51.8 ลานบาทในป 2547 เปน 226.9

ลานบาทในป 2551 สวนประเทศอื่นๆ ก็นําเขาจากไทยบางแตมีมูลคาคอนขาง

นอย และเมื่อพิจารณาจากอัตราการขยายตัวของการสงออก จะพบวาการสงออก

ผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกเปนไปในทิศทาง

เดียวกัน คือมีการหดตัวของการสงออกในป 2548 โดยตลาดอาเซียนขยายตัว

ลดลงรอยละ 50.4 ในขณะที่ตลาดโลกขยายตัวลดลงรอยละ 15.0 และตอมาในป

2549-2551 การสงออกของไทยไปยังตลาดอาเซียนเริ่มมีอัตราการขยายตัวในการ

สงออกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง แตในตลาดโลกป 2551 มีอัตราการขยายตัวลดลงถึง

รอยละ 17.7 (ตารางที่ 11) ตารางที่ 11 มูลคาการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (%) ประเทศ

2547 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551

อินโดนีเซีย 1.0 - - - - - 100.0 - - -

ฟลิปปนส 18.4 - 0.3 - - - - - 100.0 -

สิงคโปร 18.3 44.3 13.9 - 0.3 142.1 - 68.6 - 100.0 100.0

พมา 0.4 - 0.1 1.1 1.3 - - 1,000.0 18.2

ลาว - 0.1 - 0.3 7.5 - - 100.0 - 2,400.0

มาเลเซีย 51.8 0.1 131.4 211.7 226.9 - 99.8 131,300.0 61.1 7.2

อาเซียน 89.9 44.6 145.7 213.1 236.0 - 50.4 226.7 46.3 10.7

โลก 15,034.1 12,778.0 17,213.8 19,313.7 15,889.5 - 15.0 34.7 12.2 - 17.7

ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552

10 ผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ประกอบดวย หัวมันสําปะหลัง มันสําปะหลังเสน มันสําปะหลังอัดเม็ด

AEC Promt 

40

3.2.3 การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

สําหรับการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป 11 ของไทยในตลาด

อาเซียน ในชวงป 2547 - 2551 จะเห็นไดวาป 2547 ไทยมีมูลคาการสงออกเพียง

3,092.1 ลานบาท แตในป 2551 มูลคาการสงออกเพิ่มขึ้นเปน 6,451.4 ลานบาท

โดยประเทศที่นําเขาจากไทยมากที่สุด คือ อินโดนีเซีย รองลงมาไดแก มาเลเซีย

สิงคโปร ฟลิปปนส เวียดนาม และลาว ตามลําดับ สวนพมา กัมพูชาและบรูไน มี

มูลคาการนําเขาจากไทยคอนขางนอย และเมื่อพิจารณาจากภาพรวมอัตราการ

ขยายตัวของการสงออก ในป 2550 ของตลาดอาเซียนพบวามีอัตราการขยายตัว

ลดลงรอยละ 12.0 ในขณะที่ตลาดโลกมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

(ตารางที่ 12) ตารางที่ 12 มูลคาการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (รอยละ) ประเทศ

2547 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551

บรูไน 0.7 0.9 1.2 1.0 2.1 28.6 33.3 - 16.7 110.0

กัมพูชา 0.7 0.1 0.1 6.7 5.1 - 85.7 - 6,600.0 - 23.9

พมา 5.7 6.1 11.8 10.6 7.7 7.0 93.4 - 10.2 - 27.4

ลาว 32.0 42.7 32.8 42.6 44.0 33.4 - 23.2 29.9 3.3

เวียดนาม 122.4 68.1 95.2 79.1 95.4 - 44.4 39.8 - 16.9 20.6

ฟลิปปนส 409.5 442.0 433.2 489.0 581.8 7.9 - 2.0 12.9 19.0

สิงคโปร 550.6 732.5 899.0 983.3 962.2 33.0 22.7 9.4 - 2.1

มาเลเซีย 841.0 1,222.9 1,450.7 1,412.4 1,868.2 45.4 18.6 - 2.6 32.3

อินโดนีเซยี 1,129.4 1,880.7 4,215.3 3,256.1 2,884.9 66.5 124.1 - 22.8 - 11.4

อาเซียน 3,092.1 4,395.9 7,139.3 6,280.8 6,451.4 42.2 62.4 - 12.0 2.7

โลก 19,053.2 20,509.7 25,221.5 27,915.7 30,340.6 7.6 23.0 10.7 8.7

ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552

11ผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป ประกอบดวย แปงมันสําปะหลัง แปงหยาบทําจากมันสําปะหลัง สตารชจากมันสําปะหลัง เด็กตริน

และโมดิไฟดสตารชอื่นๆ สาคูทําจากมันสําปะหลัง

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

41

3.2.4 ตําแหนงมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

(1) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียน ในป 2547-2551 ไทยเปนประเทศผูสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังไปยัง

ตลาดอาเซียนมากที่สุด โดยมีสวนแบงตลาดอยูระหวางรอยละ 68.6-95.7

รองลงมาคือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม ตามลําดับ ถึงแมวาในป 2548

ไทยจะมีอัตราการขยายตัวในการสงออกลดลงมากถึงรอยละ 51.9 แตในปเดียวกัน

นั้นประเทศอื่นๆ ในอาเซียนก็มีอัตราการขยายตัวลดลงเชนกัน ทําใหไมมีผลกระทบ

ตอสวนแบงตลาดของไทยในอาเซียน

-200.0

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0

อัตราการขยายต

ัว (รอยล

ะ)

สวนแบงตลาด (รอยละ)

บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม

48

50

47

51

49

48

47

51

หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009

ภาพที ่3 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสาํปะหลัง

ของไทยในตลาดอาเซียน

AEC Promt 

42

(2) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในในตลาดโลก สวนแบงตลาดของผลิตภัณฑมันสําปะหลังไทยในตลาดโลก ไทยสามารถ

ครองสวนแบงตลาดไวไดมากถึงรอยละ 72.0-87.6 ทิ้งหางคูแขงอยางคอสตาริกา

เนเธอรแลนดและอินโดนีเซีย คอนขางมาก ถึงแมวาในป 2551 อัตราการขยายตัว

ของไทยจะลดลงถึงรอยละ 17.3 ในขณะที่เนเธอรแลนด มีอัตราการขยายตัวในการ

สงออกเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 65.8 และมีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นจากรอยละ 6.6 ในป

2550 เปนรอยละ 11.9 ในป 2551 แตเมื่อเทียบกับไทยที่มีสวนแบงตลาดอยูที่

72.0 แลวถือวายังอยูในระดับที่นอยกวามาก

-200.0

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0

อัตราก

ารขยายต

ัว (รอยล

ะ)

สวนแบงตลาด (รอยละ)

ไทย คอสตาริกา เนเธอรแลนด อินโดนีเซีย เอกวาดอร

เบลเย่ียม ไนจีเรีย บราซิล ศรีลังกา ฟลิปปนส

51

50

48

49

47

หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.

ขอมูลนี้ไมรวมประเทศเวียดนาม12

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009

ภาพที ่4 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสาํปะหลัง

ของไทยในตลาดโลก

12เนื่องจากไมพบขอมูลการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลงัของประเทศเวียดนาม แตเมื่อพิจารณาจากการนําเขาผลิตภัณฑมันสําปะหลังของจีนซ่ึงเปน

ตลาดสงออกหลักของเวียดนาม พบวา ป 2550 จีนนําเขาผลิตภัณฑมันสําปะหลังจากเวียดนาม 1.2 ลานตัน และในป 2551 นําเขากวา 6 แสนตัน เมื่อ

นํามาเปรียบเทียบกับการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลงัจากทั่วโลกแลว ในป 2550-2551 เวียดนามมีปริมาณการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังเปน

อันดับ 2 รองจากไทย

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

43

(3) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียน การสงออกมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียน โดยเฉลี่ยสวนแบง

ตลาดของในชวงป 2547-2551 จะอยูที่รอยละ 79.0 ในขณะที่ประเทศที่สงออก

เปนอันดับ 2 คือสิงคโปร โดยเฉลี่ยแลวมีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 9.7 สวน

อินโดนีเซียมีการขยายตัวของสวนแบงตลาดลดลงอยางตอเนื่อง ผิดกับเวียดนามที่

มีแนวโนมของอัตราการขยายตัวของตลาดเพิ่มขึ้นจากป 2547 ที่มีสวนแบงตลาด

เพียงรอยละ 3.3 เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.1 ในป 2551 ซ่ึงแมวามูลคาการสงออกของ

เวียดนามจะนอยกวาไทยมาก แตก็นับวาเปนคูแขงที่นาจับตามองในอนาคต

-200.0

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0

อัตราการขยายต

ัว (รอยล

ะ)

สวนแบงตลาด (รอยละ)

บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม

51

49

48

5047

51

49

48

47

หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009

ภาพที ่5 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสาํปะหลังแปรรูป

ของไทยในตลาดอาเซียน

AEC Promt 

44

(4) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดโลก เมื่อพิจารณาจากภาพรวมในป 2547-2551 จะเห็นวาไทยเปนผูสงออก

ผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปอันดับ 1 ของโลก รองลงมาเปนเนเธอรแลนด

ฝร่ังเศส เยอรมัน และสหรัฐอเมริกา โดยไทยมีอัตราการขยายตัวของการสงออก

อยางตอเนื่อง สงผลใหสวนแบงตลาดของไทยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่องเชนกัน

ซ่ึงเห็นไดจากป 2547 ไทยมีสวนแบงตลาดรอยละ 22.3 แตในป 2551เพิ่มขึ้นเปน

รอยละ 29.5 และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบสวนแบงตลาดของไทยกับประเทศ

คูแขง ในชวง 5 ปที่ผานมา พบวาโดยเฉลี่ยไทยมีสวนแบงตลาดรอยละ 23.7

เนเธอรแลนดรอยละ 14.5 ฝร่ังเศสรอยละ 12.0 เยอรมันรอยละ 11.0 และ

สหรัฐอเมริการอยละ 11.4

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-5.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0

อัตราการขยายต

ัว (รอ

ยละ)

สวนแบงตลาด (รอยละ)

สหรัฐอเมริกา ไทย เนเธอรแลนด ฝร่ังเศส เยอรมัน

จีน อิตาลี อังกฤษ บราซิล สิงคโปร

51

50

495051

49

51

51

หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009

ภาพที ่6 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสาํปะหลังแปรรูป

ของไทยในตลาดโลก

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

45

ขาวโพดเลี้ยงสัตว

3.3 การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยกับประเทศในอาเซียน

ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถือเปนพืชอาหารสัตวที่นับวามีความสําคัญที่สุดในบรรดา

พืชอาหารสัตวทั้งหมด คิดเปนสัดสวน 39.7 ของปริมาณการใชวัตถุดิบท้ังหมดใน

การผลิตอาหารสัตวป 2552 (ตารางที่ 13) ขาวโพดเลี้ยงสัตวสวนใหญจะเปนการ

ใชในประเทศมากกวาสงออกไปตางประเทศ โดยใชเปนวัตถุดิบปอนเขาสู

โรงงานผลิตอาหารสัตวในประเทศ ซ่ึงแนวโนมของความตองการใชขาวโพดเลี้ยง

สัตวในประเทศไทยมีทิศทางเพิ่มขึ้น เนื่องจากจํานวนประชากรสัตว เชน ไกเนื้อ ไก

ไข โคนม เปนตน มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ป ซ่ึงการเพิ่มขึ้นของปริมาณ

ประชากรสัตวมีอัตราการขยายตัวมากกวาอัตราการขยายตัวของปริมาณการผลิต

ขาวโพดเลี้ยงสัตว จึงสงผลใหในปจจุบันปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไม

เพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศ ถึงแมวาเนื้อที่การเพาะปลูกขาวโพด

เลี้ยงสัตวและปริมาณผลผลิตจะเพิ่มขึ้นก็ตาม

นอกจากนี้ในปจจุบันยังพบวาจํานวนครัวเรือนปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมี

แนวโนมลดลง จากเดิมในป 2549 มีจํานวน 320,615.0 ครัวเรือน ลดลงมาเปน

314,287 และ 308,671 ครัวเรือนในป 2551 และ 2552 ตามลําดับ เหตุที่เปนเชนนี้

สวนหนึ่งมาจากเกษตรกรเกรงจะประสบปญหาภัยแลง รวมทั้งตนทุนในการผลิต

ขาวโพดเลี้ยงสัตวมีทิศทางเพิ่มขึ้น จาก 4.3 บาทตอกิโลกรัมในป 2549 เพิ่มขึ้น

เปน 4.5 และ 6.0 บาทตอกิโลกรัมในป 2550 และ 2551 ทําใหเกษตรกร

บางสวนเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ทนแลงไดมากกวาและใหผลตอบแทนที่ดีกวา

AEC Promt 

46

เชน มันสําปะหลัง เปนตน สําหรับสถานการณดานการผลิต การบริโภค รวมถึงการ

สงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศในอาเซียน แสดงไดดังนี้

ตารางที่ 13 ปริมาณอาหารสัตวและปริมาณการใชวัตถุดิบจําแนกตามประเภทของไทย ป 2552 หนวย: ตัน

ประเภท อาหารสัตว ขาวโพด ปลาปน กากถั่วเหลือง ปลายขาว วัตถุดิบอื่นๆ

ไกเนื้อ 3,558,298.0 2,206,144.5 106,748.9 1,067,489.3 - 177,915.3

ไกพอแมพันธุ 559,944.0 335,966.4 16,798.3 139,986.0 - 67,193.3

ไกไขเล็กรุน 663,650.0 398,190.0 19,909.5 165,912.5 - 79,638.0

ไกไขใหไข 1,482,000.0 815,100.0 74,100.0 370,500.0 - 222,300.0

ไกไขพอแมพันธุ 20,000.0 12,000.0 600.0 5,000.0 - 2,400.0

หมูขุน 3,009,000.0 752,250.0 90,270.0 601,800.0 601,800.0 962,880.0

หมูพันธุ 744,000.0 - 37,200.0 148,800.0 334,800.0 223,200.0

เปดเนื้อ 252,000.0 37,800.0 15,120.0 50,400.0 88,200.0 60,480.0

เปดพันธุ 21,900.0 2,190.0 1,314.0 6,570.0 9,855.0 1,971.0

เปดไข 130,000.0 - 10,400.0 19,500.0 52,000.0 48,100.0

โคนม 355,875.0 53,381.3 - 17,793.8 - 284,699.9

กุง 672,000.0 - 67,200.0 134,400.0 - 470,400.0

ปลา 581,800.0 174,540.0 116,360.0 174,540.0 - 116,360.0

รวม 12,050,467.0 4,787,562.2 556,020.7 2,902,691.6 1,086,655.0 2,717,537.5

สัดสวน (รอยละ) 100.0 39.7 4.6 24.1 9.0 22.6

ที่มา: สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552

3.3.1 การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทย แบงเปน 2 รุน คือ รุน 1 เกษตรกร

เพาะปลูกตั้งแต 1 พฤษภาคม-31 ตุลาคม และรุน 2 ปลูกตั้งแต 1 พฤศจิกายน-30

เมษายนของปถัดไป ซ่ึงการปลูกในรุน 1 นั้นมีพื้นที่ปลูกประมาณรอยละ 98.0 ของ

พื้นที่ปลูกทั้งหมด และหากพิจารณาสถานการณการผลิตระหวางป 2543-2551

แลว พบวาเนื้อที่การเพาะปลูกมีทิศทางลดลงนับตั้งแตป 2543 จนกระทั่งในป

2551 เนื้อท่ีการเพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมีจํานวนเพิ่มขึ้นประมาณ 7 แสนไร

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

47

(ตารางที่ 14) ซ่ึงเปนผลมาจากราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวที่เกษตรกรขายไดในป 2551

เพิ่มขึ้นเปน 7.1 บาทตอกิโลกรัม เนื่องจากการดําเนินนโยบายแทรกแซงจาก

รัฐบาลโดยโครงการรับจํานําขาวโพดเลี้ยงสัตว (ตารางที่ 15) และจากผลของการ

ลดพื้นที่ปลูกขางตนทําใหปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมีปริมาณลดลงดวย

เชนกัน จากที่เคยผลิตได 4,462 พันตันในป 2543 ลดลงเหลือ 4,249.4 พันตันในป

2551 คิดเปนปริมาณลดลงเทากับ 367.6 พันตัน สําหรับปริมาณผลผลิตขาวโพด

เลี้ยงสัตวตอไรนั้น พบวามีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกๆ ป เนื่องจากสภาพอากาศที่

เอื้ออํานวยตอการผลิต และขาวโพดไดรับน้ําฝนในปริมาณที่เพียงพอตอการ

เจริญเติบโต

ตารางที่ 14 เนื้อที่ใหผลผลิต เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทย ป 2543-2551 ป เนื้อที่เพาะปลูก (พันไร) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (พันไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน)

2543 7,802.0 7,594.0 588.0 4,462.0

2544 7,685.0 7,474.0 598.0 4,466.0

2545 7,317.0 7,167.0 590.0 4,230.0

2546 6,943.0 6,774.0 617.0 4,178.0

2547 7,040.0 6,810.0 619.0 4,216.0

2548 6,626.0 6,436.0 613.0 3,943.0

2549 6,040.0 5,871.0 633.0 3,716.0

2550 5,961.0 5,797.0 632.0 3,661.0

2551 6,691.8 6,517.7 652.0 4,249.4

ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

ตารางที่ 15 ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวความชื้นนอยกวา14% ที่เกษตรกรขายได ป 2547-2552 (ม.ค.-ส.ค.) หนวย: บาท/กิโลกรัม

ป 2547 2548 2549 2550 2551 2552

(ม.ค.-ส.ค.)

ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวความชื้นนอยกวา 14%

ที่เกษตรกรขายได* 4.5 4.8 5.4 6.8 7.1 5.5

ราคาที่โรงงานอาหารสัตวรับซ้ือ 5.3 5.7 7.0 8.4 8.1 6.1

ราคาซื้อขายลวงหนาตลาดชิคาโก 3.3 3.5 4.8 6.1 6.0 4.3

ที่มา: * สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

AEC Promt 

48

เมื่อพิจารณาดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศอาเซียนแลว พบวา

อินโดนีเซียเปนผูผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมากเปนอันดับ 1 ของอาเซียน รองลงมาคือ

ฟลิปปนส เวียดนาม และไทยเปนอันดับท่ี 4 แตหากเปรียบเทียบปริมาณผลผลิต

ตอไรของทั้ง 4 ประเทศแลว ไทยมาเปนอันดับ 1 ซ่ึงสามารถปลูกไดถึง 652.0

กิโลกรัมตอไรในป 2551 ในขณะที่อินโดนีเซียมีผลผลิตตอไรประมาณ 500.0

กิโลกรัมตอไร และฟลิปปนสประมาณ 400.0 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 16)

ตารางที่ 16 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศในอาเซียน ป 2549-2551

เนื้อที่ใหผลผลิต (พนัไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน)

ประเทศ 2549 2550 2551 2549 2550 2551 2549 2550 2551

รวมทั้งโลก 925,434.4 987,712.7 n/a 763.1 801.6 n/a 706,193.9 791,794.6 n/a

กัมพูชา 658.1 887.5 n/a 572.8 589.3 n/a 376.9 523.0 n/a

อินโดนีเซีย 20,911.3 22,689.5 n/a 555.2 585.6 n/a 11,609.5 13,287.5 n/a

ลาว 711.3 964.1 n/a 632.5 716.5 n/a 449.9 690.8 n/a

มาเลเซีย 156.3 162.5 n/a 512.0 510.8 n/a 80.0 83.0 n/a

พมา 1,718.8 1,706.3 n/a 552.7 462.4 n/a 950.0 789.0 n/a

ฟลิปปนส 16,066.7 16,552.0 n/a 378.6 407.0 n/a 6,082.1 6,736.9 n/a

ไทย 5,871.3 5,796.9 6,517.7 632.9 631.6 652.0 3,716.2 3,661.3 4,249.4

เวียดนาม 6,456.9 6,674.4 n/a 597.0 615.4 n/a 3,854.5 4,107.5 n/a

อาเซียน 52,550.7 55,433.1 n/a 516.1 539.0 n/a 27,119.2 29,879.1 n/a

ประเทศอื่นๆ 872,883.7 932,279.5 n/a 778.0 817.3 n/a 679,074.7 761,915.5 n/a

ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

3.3.2 การใชขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศของไทยและประเทศ ในอาเซียน

จากการที่ขาวโพดเลี้ยงสัตวถือวาเปนวัตถุดิบสําคัญชนิดหนึ่งในการผลิต

อาหารสัตวนั้น จึงทําใหสวนใหญแลวปริมาณความตองการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวจะ

เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับปริมาณความตองการเนื้อสัตว นั่นคือ

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

49

หากปริมาณความตองการเนื้อไกเพิ่มขึ้น สงออกไดมากขึ้น ก็ยอมทําใหปริมาณ

ความตองการขาวโพดเพิ่มขึ้นตามไปดวยนั่นเอง ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 17 ที่

แสดงจํานวนประชากรสัตวและปริมาณการใชขาวโพดเพื่อผลิตเปนอาหารสัตว

ระหวาง ป 2549-2552 สวนใหญมีทิศทางเดียวกัน โดยสัตวที่มีจํานวนประชากร

มากที่สุดคือไกเนื้อ จะเห็นวาในป 2549 ไกเนื้อมีจํานวน 858.0 ลานตัว ลดลงเปน

812.0 ลานตัวในป 2550 จึงทําใหปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวเพื่อผลิตอาหาร

ไกลดลงตามไปดวย

สําหรับปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศอาเซียนจากขอมูลของ

กระทรวงการตางประเทศของสหรัฐอเมริกา หรือ (United States Department of

Agriculture : USDA) และขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรดังแสดงไวใน

ตารางที่ 18 พบวาประเทศอินโดนีเซียที่เปนประเทศผูผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวอันดับ

1 ของอาเซียน สวนใหญผลผลิตที่ไดถูกใชภายในประเทศเปนหลักและมีปริมาณ

เพิ่มขึ้นทุกป โดยในป 2551 มีปริมาณการใชในประเทศมากถึง 8,800 พันตัน และ

เพิ่มขึ้นเปน 9,100 พันตัน ในป 2552 (ม.ค.-ส.ค.) ประเทศที่มีการบริโภคใน

ประเทศมากเปนอันดับ 2 และ 3 คือ ฟลิปปนสและเวียดนาม ซ่ึงทั้ง 2 ประเทศก็

เปนเชนเดียวกับอินโดนีเซียที่ผลผลิตถูกใชไปในประเทศเปนหลัก

AEC Promt 

50

ตารางที่ 17 ประชากรสัตวและปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวเพื่อเปนวัตถุดิบผลิตอาหารสัตวของไทย ป 2549-2552

ประเภท 2549 2550 2551 2552

ไกเนื้อ (ลานตัว) 858.0 812.0 924.0 899.0

ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 2,223,592.8 1,793,641.4 1,930,376.4 2,206,144.5

ไกพอแมพันธุ (ลานตัว) 10.6 10.0 11.4 11.1

ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 334,454.4 273,248.6 293,932.8 335,966.4

ไกไขเล็กรุน (ลานตัว) 30.6 30.6 30.6 30.6

ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 416,000.0 358,371.0 358,371.0 398,190.0

ไกไขใหไข (ลานตัว) 37.1 37.1 40.1 37.1

ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 792,000.0 733,590.0 733,590.0 815,100.0

สุกรขุน (ลานตัว) 12.1 13.2 11.1 10.2

ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 767,000.0 878,141.3 833,670.0 752,250.0

เปดเนื้อ (ลานตัว) 23.9 25.1 30.0 30.0

ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 23,940.0 28,486.1 28,486.1 37,800.0

โคนม (ตัว) 350,000.0 315,000.0 325,000.0 325,000.0

ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 65,700.0 46,564.9 48,043.1 53,381.3

ที่มา: ฝายวิชาการ ฝายการตลาด สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552

ตารางที่ 18 ปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศในอาเซียน ป 2548-2552

ปริมาณการใชในประเทศ (พันตัน) ประเทศ

2548 2549 2550 2551 2552 (มค.-สค.)

อินโดนีเซีย* 8,300.0 8,100.0 8,500.0 8,800.0 9,100.0

ฟลิปปนส* 5,800.0 6,550.0 7,150.0 7,300.0 7,400.0

เวียดนาม* 4,250.0 4,900.0 5,200.0 5,200.0 5,500.0

ไทย** 3,720.0 3,660.0 3,840.0 3,820.0

ที่มา: * Foreign Agricultural Service, United States Department of Agriculture (USDA), 2009 ** สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

3.3.3 การสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

การสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยมูลคามากกวารอยละ 90.0 เปน

การสงออกไปยังตลาดอาเซียน ซ่ึงจากตารางที่ 19 ไดแสดงประเทศอาเซียน

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

51

ที่ไทยสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวไปมากที่สุดในป 2551 คือ มาเลเซีย มีมูลคาถึง

3,856.1 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 58.6 ของการสงออกไปอาเซียน และรอย

ละ 53.6 ของการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวทั้งหมดของไทย รองลงมาคือ

อินโดนีเซียที่แมประเทศนี้จะสามารถผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไดเปนปริมาณมาก แต

ยังไมเพียงพอตอความตองการใชในประเทศ จึงมีการนําเขาจากประเทศไทย

1,184.2 ลานบาทในป 2551 สําหรับเวียดนามนั้นเคยเปนประเทศที่ไทยสงออกไป

มากเปนอันดับ 1 โดยในป 2549-2550 ไทยสามารถสงออกไดถึง 1,006.4 และ

1,497.6 ลานบาท ตารางที่ 19 มูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยในตลาดอาเซียน ป 2549-2552 (ม.ค.-ส.ค.)

มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (รอยละ)

รายการ 2549 2550 2551 2551

(ม.ค.-ส.ค.)

2552

(ม.ค.-ส.ค.)

2549 2550 2551 2551

(ม.ค.-ส.ค.)

2552

(ม.ค.-ส.ค.)

มาเลเซีย 329.7 1,006.2 3,856.1 3,010.1 933.7 227.4 205.2 283.2 529.6 - 69.0

อินโดนีเซีย 725.5 559.9 1,184.2 757.5 904.2 352.1 - 22.8 111.5 169.0 19.4

เวียดนาม 1,006.4 1,497.6 1,107.1 811.4 747.9 131.7 48.8 - 26.1 - 3.9 - 7.8

ฟลิปปนส 116.1 155.9 169.8 128.3 463.1 - 38.5 34.3 8.9 22.7 260.8

กัมพูชา 50.1 87.3 98.7 84.0 84.6 70.4 74.1 13.1 10.9 0.8

ลาว 59.9 52.8 91.2 91.1 81.4 3,118.6 - 11.9 72.8 80.6 - 10.6

สิงคโปร 1.7 0.1 41.2 30.0 48.3 - 90.4 - 92.6 31,842.2 24,479.3 61.0

พมา 76.6 10.2 29.1 28.6 30.5 421.0 - 86.6 185.0 2,645.1 6.6

สิงคโปร - - - - - - - - - -

อาเซียนรวม 2,365.9 3,369.9 6,577.5 4,941.0 3,293.7 147.9 42.4 95.2 - - 33.3

ประเทศอื่นๆ 222.7 160.0 611.3 156.6 191.3 66.6 - 28.1 282.0 - 22.2

รวม 2,588.7 3,530.0 7,188.8 5,097.5 3,485.1 137.9 36.4 103.7 - - 31.6

ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552

นอกจากนี้เมื่อพิจารณาปริมาณและมูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของ

ประเทศอาเซียนดวยแลว จะเห็นวาประเทศไทยเปนประเทศผูสงออกมาก

ที่สุดของภูมิภาคอาเซียน มีปริมาณ 375.8 พันตัน ในป 2550 เพิ่มขึ้นจากป 2549

AEC Promt 

52

ที่เคยสงออกได 306.3 พันตัน รองลงมาคือพมา มีปริมาณการสงออก 159.6

พันตัน ในป 2550 สวนอันดับท่ี 3 คืออินโดนีเซียที่มีการสงออกผลผลิตเปนปริมาณ

101.7 พันตัน ในป 2550 (ตารางที่ 20) ตารางที่ 20 ปริมาณและมูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศอาเซียนไปยังตลาดโลก ป 2547-2550

ปริมาณ (พันตัน) มูลคา (ลานบาท) รายการ

2547 2548 2549 2550 2547 2548 2549 2550

โลก 82,688.2 90,419.4 95,425.3 109,684.2 470,803.5 451,146.8 502,667.4 719,574.5

บรูไน 0.0 - - - 0.1 - - -

กัมพูชา 64.3 22.8 32.6 80.4 149.5 64.4 93.3 232.2

อินโดนีเซีย 32.7 54.0 28.1 101.7 365.4 364.4 163.3 639.5

ลาว 34.7 47.1 127.0 22.9 89.5 111.7 338.7 266.3

มาเลเซีย 6.1 4.2 11.1 1.2 65.5 39.1 86.9 19.9

พมา 254.8 60.2 64.3 159.6 1,158.2 297.1 338.9 876.9

ฟลิปปนส 0.1 0.3 0.6 0.7 7.6 9.6 31.7 22.7

สิงคโปร 2.7 1.8 0.4 0.6 16.0 11.5 4.0 5.7

ไทย 951.3 70.4 306.3 375.8 5,630.3 1,088.1 2,588.7 3,530.0

เวียดนาม 80.0 2.5 1.1 0.2 519.3 28.0 11.5 7.6

อาเซียน 1,426.8 263.4 571.3 743.1 8,001.4 2,038.3 3,677.5 5,637.0

ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

53

ถั่วเหลือง

3.4 การผลิตถั่วเหลืองไทยกับประเทศในอาเซียน

ถั่วเหลืองเปนพืชมีคุณคาทางโภชนาการ มีสารอาหารหลายประเภทที่เปน

ประโยชนตอสุขภาพ และชวยปองกันโรค ไดแก โปรตีน ไขมัน คารโบรไฮเดรท

แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามิน และเลซิทีน เปนตน ซ่ึงมีประโยชนตอมนุษยและสัตว

มากมาย คือ 1) ใชเปนอาหารที่บริโภคไดโดยตรง ทั้งการตมหรือท่ีเรียกวา ถั่วแระ

การบริโภคเปนถั่วเหลืองฝกสดหรือบรรจุกระปอง และแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหาร

ไดแก ถั่วงอก เตาเจี้ยว เตาหู ซีอิ้ว นมถั่วเหลือง โปรตีนเกษตร แปงถั่วเหลือง และกาแฟ

ถั่วเหลือง เปนตน 2) ใชในอุตสาหกรรมการสกัดน้ํามัน ทําใหไดผลิตภัณฑตางๆ คือ

น้ํามันถั่วเหลืองที่ใชสําหรับปรุงอาหาร และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารอื่นๆ ที่เปนการ

เพิ่มคุณสมบัติใหถั่วเหลือง เชน เนยเทียมหรือมาการีน น้ําสลัด น้ําพริกเผา ปลาทูนา

กระปอง กาว สี ปุย วิตามิน ยา กระดาษ ผา ฉนวนไฟฟา หมึกพิมพ สบู เครื่องสําอาง

เบียร เสนใย เปนตน นอกจากนั้นยังมีกากถั่วเหลือง ที่เปนแหลงโปรตีนสําหรับ

อุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว อุตสาหกรรมการผลิตปศุสัตวทั้งเพื่อบริโภค

ภายในประเทศและสงออก 3) ใชในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว โดยการนําเมล็ดถั่ว

เหลืองแปรรูปเปนถั่วเหลืองนึ่ง (Full Fat Soy) ใชผสมอาหารสัตว 4) ใชทําปุยหรือ

บํารุงดิน โดยไถกลบถั่วเหลืองลงไปในดินจะเปนปุยพืชสด ทําใหดินมีความอุดม

สมบูรณ และมีคุณสมบัติดีขึ้น ที่รากของถั่วเหลืองจะมีปมซึ่งมีเชื้อแบคทีเรีย

ไรโซเบียมที่สามารถดูดไนโตรเจนใหมาอยูในรูปของสารประกอบซึ่งพืชสามารถ

ใชเปนปุยได เมื่อเก็บถั่วแลว ใบ ลําตน เปลือก ไถกลบลงสูดิน รวมทั้งราก

AEC Promt 

54

และปมที่ตกคางอยูในดินจะกลายเปนปุยอินทรียที่ดีของพืชชนิดอื่นที่จะปลูกตอไป

สําหรับเปลือกสามารถนํามาใชเพาะเห็ดได เรียกวาเห็ดถั่วเหลือง

ปจจุบันการผลิตถั่วเหลืองของประเทศไทยยังไมเพียงพอตอความตองการใช

ในประเทศ จึงทําใหตองนําเขามาจากตางประเทศเปนจํานวนมาก ซ่ึงรายละเอียด

เพิ่มเติมของการผลิต การใชในประเทศ การสงออกและตําแหนงตลาดของถั่ว

เหลืองแสดงไดดังนี้

3.4.1 การผลิตถั่วเหลืองของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน การเพาะปลูกถั่วเหลืองในประเทศไทยเริ่มมาตั้งแตป 2526 เนื่องจากมีการ

เติบโตของการสงออกเนื้อไก ทําใหปริมาณการผลิตอาหารสัตวเพิ่มขึ้น รวมทั้งมี

การกําหนดนโยบายและมาตรการควบคุมการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ

จึงทําใหราคาถั่วเหลืองในประเทศอยูในระดับดีเปนที่พอใจและจูงใจใหเกษตรกร

หันมาปลูกถั่วเหลืองกันมากขึ้น โดยมีแหลงผลิตที่สําคัญ คือ จังหวัดเชียงใหม แพร

ชัยภูมิ เลย และแมฮองสอน จะเห็นวาแหลงผลิตสวนใหญเปนที่ที่มีอากาศคอนขาง

เย็นซึ่งเปนสภาพอากาศที่เหมาะสมในการปลูกถั่วเหลืองนั่นเอง

สําหรับแนวโนมของการปลูกถั่วเหลืองในประเทศไทยนั้น มีแนวโนมลดลง

เร่ือยมา ซ่ึงจากขอมูลที่แสดงไวในตารางที่ 21 จะเห็นวาในป 2549 มีพื้นที่ให

ผลผลิต 860.3 พันไร แตในปถัดมาคือ ป 2550 และ 2551 มีเนื้อที่ใหผลผลิตถั่ว

เหลืองลดลงเหลือ 805.5 และ 798.7 พันไรตามลําดับ ซ่ึงเปนผลใหปริมาณ

ผลผลิตถั่วเหลืองลดลงตามไปดวย นั่นคือในป 2551 มีปริมาณผลผลิตถั่วเหลือง

198.0 พันตัน ซึ่งลดลงจากปกอนหนา 6.0 พันตัน และเมื่อพิจารณา

เปรียบเทียบการผลิตถั่วเหลืองของไทยกับอาเซียนแลว พบวาประเทศในอาเซียน

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

55

ที่เปนผูผลิตถั่วเหลืองรายใหญ คือ อินโดนีเซีย มีเนื้อท่ีใหผลผลิต 2,869.5 พันไร

คิดเปนปริมาณผลผลิต 592.6 พันตัน ในป 2550 รองลงมาเปนเวียดนาม สวนไทย

อยูในอันดับท่ี 3 แตทั้งนี้หากเปรียบเทียบปริมาณผลผลิตตอไรของแตละประเทศ

แลว จะเห็นวาไทยเปนอันดับท่ี 1 มีผลผลิตตอไรในป 2550 เทากับ 253.2 กิโลกรัม

และลดลงเล็กนอยในป 2551 เปนเทากับ 248.0 กิโลกรัมตอไร ตารางที่ 21 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของไทยและประเทศในอาเซียน ป 2549-2551

เนื้อที่ใหผลผลิต (พนัไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน)

ประเทศ 2549 2550 2551 2549 2550 2551 2549 2550 2551

รวมทั้งโลก 593,361.4 563,747.7 n/a 367.8 391.2 n/a 218,232.7 220,532.6 n/a

กัมพูชา 402.4 475.0 n/a 244.3 246.3 n/a 98.3 117.0 n/a

อินโดนีเซีย 3,628.3 2,869.5 n/a 206.0 206.5 n/a 747.6 592.6 n/a

ลาว 55.8 50.3 n/a 214.4 208.1 n/a 12.0 10.5 n/a

มาเลเซีย - - n/a - - n/a - - n/a

พมา 762.5 768.8 n/a 157.4 158.7 n/a 120.0 122.0 n/a

ฟลิปปนส 4.9 3.9 n/a 213.2 248.1 n/a 1.1 1.0 n/a

ไทย 860.3 805.5 798.7 249.7 253.2 248.0 214.8 204.0 198.0

เวียดนาม 1,160.0 1,188.1 n/a 222.5 231.9 n/a 258.1 275.5 n/a

อาเซียน 6,874.2 6,161.0 n/a 211.2 214.7 n/a 1,451.8 1,322.5 n/a

ประเทศอื่นๆ 586,487.2 557,586.7 n/a 369.6 393.1 n/a 216,780.9 219,210.1 n/a

ที่มา: * องคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO), 2009

3.4.2 การบริโภคถั่วเหลืองของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน ปริมาณความตองการใชถั่วเหลืองในประเทศในปจจุบันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซ่ึง

เปนผลมาจากประชากรเพิ่มขึ้นจึงมีความตองการอาหารมากขึ้น ทั้งอาหารที่ทํา

จากถั่วเหลือง และอาหารที่ทําจากเนื้อสัตว โดยเฉพาะเนื้อไกและเนื้อหมู ซ่ึงจาก

ตารางที่ 22 ที่แสดงปริมาณประชากรสัตวและปริมาณการใชกากถั่วเหลืองระหวาง

ป 2549-2552 พบวากากถั่วเหลืองเปนวัตถุดิบท่ีใชผลิตอาหารสัตวสําหรับไกเนื้อ

มากที่สุด โดยในป 2549 กากถั่วเหลืองถูกใชไปเพื่อผลิตอาหารสัตวสําหรับไกเนื้อ

AEC Promt 

56

1,019.3 พันตัน และลดลงมาเปน 713.3 พันตันในป 2552 รองลงมาเปนการใช

เพื่อเลี้ยงสุกรขุน

เม่ือพิจารณาปริมาณความตองการใชในประเทศของไทยกับประเทศอาเซียน

แลว พบวาไทยเปนประเทศที่มีปริมาณการใชในประเทศสูงกวาประเทศอินโดนีเซีย

และเวียดนาม จากขอมูลของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ตามที่แสดงในตารางที่

23 พบวาในป 2551 ไทยมีปริมาณการใชถั่วเหลือง 3,225.0 พันตัน ซ่ึงลดลงจากป

2550 เทากับ 3.0 พันตัน อันดับ 2 รองจากไทยคืออินโดนีเซีย และเวียดนาม มี

ปริมาณการใชในป 2551 เทากับ 2,444.0 และ 2,300.0 พันตันตามลําดับ และมี

ทิศทางที่ประเทศทั้ง 2 จะใชบริโภคในประเทศเพิ่มขึ้นอีกเรื่อยๆ เชนเดียวกับไทย

ตารางที่ 22 ประชากรสัตวและปริมาณการใชกากถั่วเหลืองเพื่อเปนวัตถุดิบผลิตอาหารสัตวของไทย ป 2549-2552

ประเภท 2549 2550 2551 2552

ไกเนื้อ (ลานตัว) 858.0 812.0 924.0 899.0

กากถั่วเหลือง (พันตัน) 1,019.3 964.3 1,097.1 1,067.5

ไกพอแมพันธุ (ลานตัว) 10.6 10.0 11.4 11.1

กากถั่วเหลือง (พันตัน) 133.8 126.5 143.9 140.0

ไกไขเล็กรุน (ลานตัว) 30.6 30.6 30.6 30.6

กากถั่วเหลือง (พันตัน) 165.9 165.9 165.9 165.9

ไกไขใหไข (ลานตัว) 37.1 37.1 40.1 37.1

กากถั่วเหลือง (พันตัน) 370.5 370.5 400.8 370.5

สุกรขุน (ลานตัว) 12.1 13.2 11.1 10.2

กากถั่วเหลือง (พันตัน) 713.3 780.6 651.9 601.8

เปดเนื้อ (ลานตัว) 23.9 25.1 30.0 30.0

กากถั่วเหลือง (พันตัน) 40.2 42.2 50.4 50.4

โคนม (พันตัว) 350.0 315.0 325.0 325.0

กากถั่วเหลือง (พันตัน) 19.1 17.2 17.8 17.8

ที่มา: ฝายวิชาการ ฝายการตลาด สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

57

ตารางที่ 23 ปริมาณการใชถั่วเหลืองของประเทศในอาเซียน ป 2548-2551

ปริมาณการใชในประเทศ (พันตัน) ประเทศ

2548 2549 2550 2551

อินโดนีเซีย 2,085.0 2,236.0 2,420.0 2,444.0

ไทย 3,183.0 3,348.0 3,228.0 3,225.0

เวียดนาม 1,722.0 2,373.0 2,439.0 2,300.0 ที่มา: Foreign Agricultural Service, United States Department of Agriculture (USDA), 2009

3.4.3 การสงออกและนําเขาถั่วเหลืองของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน

ดานการคาระหวางประเทศของถั่วเหลือง รวมทั้งผลิตภัณฑที่ทําจากถั่ว

เหลืองของประเทศไทยและอาเซียน พบวาประเทศอาเซียนที่สามารถสงออกถั่ว

เหลืองไดมาก คือ มาเลเซียและเวียดนาม สวนประเทศที่เหลือเกือบทั้งหมดอยูใน

ฐานะของผูนําเขาเมล็ดถั่วเหลือง ทั้งเมล็ดถั่วเหลืองเพื่อการบริโภค เพื่อผลิตอาหาร

สัตว และกากถั่วเหลือง เนื่องจากปริมาณการผลิตของอาเซียนเมื่อเปรียบเทียบกับ

ผลผลิตที่ทั่วโลกผลิตไดมีประมาณรอยละ 1.0 เทานั้น ซ่ึงในสวนของประเทศไทย

พบวามีการนําเขาถั่วเหลืองเพิ่มขึ้นมาตลอด โดยเฉพาะอยางยิ่งเมล็ดถั่วเหลืองเพื่อ

อาหารสัตว โดยนําเขาในป 2547 ปริมาณ 200.2 พันตัน มูลคา 2,804.6 ลานบาท

เพิ่มขึ้นเปนปริมาณ 268.8 พันตัน คิดเปนมูลคา 3,328.9 ลานบาทในป 2550

สําหรับการนําเขาถั่วเหลืองของไทยจากอาเซียนนั้น พบวาในสินคาถั่วเหลือง

เพื่อบริโภค มีทิศทางการนําเขาจากอาเซียนลดลงทุกป จากเดิมในป 2548 มีมูลคา

การนําเขาจากอาเซียนรวมทั้งสิ้น 290.6 ลานบาท ลดลงเหลือ 0.2 ลานบาทในป

2551 สวนเมล็ดถั่วเหลืองเพื่ออาหารสัตวนั้นโดยมากจะเปนการนําเขาจากอาเจนติ

นาและสหรัฐอเมริกา แตในป 2550 พบวามีการนําเขาจากกัมพูชาดวย คิดเปน

มูลคา 70.5 ลานบาท และกากถั่วเหลืองนั้นมีการนําเขาจากอาเซียนนอยมากๆ

AEC Promt 

58

ซ่ึงสวนใหญไทยจะนําเขาจากประเทศนอกอาเซียน คือ บราซิล อาเจนตินา และ

อินเดีย (ตารางที่ 24 ถึงตารางที่ 26)

ตารางที่ 24 ปริมาณและมูลคาการนําเขาถั่วเหลืองเพื่อบริโภคของประเทศไทย ป 2548-2551 ปริมาณ (พันตัน) มูลคา (ลานบาท)

รายการ 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551

สิงคโปร - - 0.0 0.0 - - 0.0 0.1

พมา 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.4 0.3 0.2

กัมพูชา 27.3 18.0 8.6 - 290.1 185.6 110.0 -

ลาว 0.1 0.2 - - 0.5 1.5 - -

อาเซียน 27.3 18.2 8.6 0.0 290.6 187.6 110.4 0.2

อื่นๆ 1,345.2 1,098.9 592.1 1,387.1 15,565.1 11,230.5 7,372.3 26,106.5

บราซิล 597.1 718.9 208.3 1,228.3 6,996.8 7,244.3 2,492.8 23,080.5

สหรัฐอเมริกา 415.0 293.1 309.8 150.7 4,639.6 3,069.3 3,912.1 2,828.8

อาเจนตินา 327.1 69.1 61.5 - 3,850.2 688.3 787.4 -

รวม 1,372.6 1,117.1 600.7 1,387.1 15,855.7 11,418.1 7,482.7 26,106.7

ที่มา: www.feedusers.com อางถึง ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร

2552

ตารางที่ 25 ปริมาณและมูลคาการนําเขาถั่วเหลืองเพื่ออาหารสัตวของประเทศไทย ป 2547-2550

ปริมาณ (พันตัน) มูลคา (ลานบาท) รายการ

2547 2548 2549 2550 2547 2548 2549 2550

กัมพูชา - - - 6.7 - - - 70.5

ลาว - - 0.0 0.0 - - 0.1 0.5

พมา - - - 0.0 - - - 0.1

อาเซียน - - 0.0 6.8 - - 0.1 71.1

อื่นๆ 200.2 235.2 278.1 262.0 2,804.6 2,780.7 2,807.8 3,257.9

อาเจนตินา 106.1 155.1 190.0 132.9 1,577.5 1,875.8 1,920.5 1,738.1

สหรัฐอเมริกา 67.3 63.9 41.0 106.7 834.7 716.5 427.5 1,227.7

บราซิล 26.8 16.1 47.0 18.7 392.5 186.0 457.0 234.1

รวม 200.2 235.2 278.1 268.8 2,804.6 2,780.7 2,807.9 3,328.9

ที่มา: www.feedusers.com อางถึง ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร

2552

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

59

ตารางที่ 26 ปริมาณและมูลคาการนําเขากากถั่วเหลืองของประเทศไทย ป 2548-2551 ปริมาณ (พันตัน) มูลคา (ลานบาท)

รายการ 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551

อินโดนีเซีย - - - - - - - 0.0

ฟลิปปนส - 0.0 - - - 0.0 - -

มาเลเซีย 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อาเซียน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

อื่นๆ 1,881.4 2,174.2 2,104.5 2,193.2 19,311.7 19,411.1 21,463.6 34,200.2

บราซิล 945.8 1,214.2 790.0 847.9 10,033.1 11,007.1 7,985.1 13,229.9

อาเจนตินา 697.4 599.9 1,003.8 814.2 6,906.9 5,201.2 10,182.3 13,171.3

อินเดีย 176.9 357.2 301.6 524.9 1,808.8 3,131.8 3,155.0 7,689.8

สหรัฐอเมริกา 60.8 0.0 6.5 6.1 557.5 0.0 68.8 107.9

รวม 1,881.4 2,174.2 2,104.5 2,193.2 19,311.7 19,411.1 21,463.6 34,200.3

ที่มา: www.feedusers.com อางถึง ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร

2552

ในสวนการนําเขาถั่วเหลืองของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศใน

อาเซียนที่เปนผูนําเขาสําคัญๆ โดยอาศัยขอมูลจากกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา

ซ่ึงแสดงไวในตารางที่ 27 พบวาไทยมีปริมาณนําเขาถั่วเหลืองมากกวาอินโดนีเซีย

มาโดยตลอด แตในสวนของการนําเขากากถั่วเหลืองนั้นพบวาอินโดนีเซียมีการนํา

เขามากกวาไทย โดยอินโดนีเซียมีการนําเขามากที่สุด มีปริมาณการนําเขาในป

2552 (ม.ค.-ส.ค.) เทากับ 2,600.0 พันตัน รองลงมาเปนอันดับ 2 คือเวียดนาม

สวนไทยนั้นอยูในอันดับ 3 และฟลิปปนสเปนผูนําเขาอันดับที่ 4

AEC Promt 

60

ตารางที่ 27 ปริมาณและมูลคาการนําเขาถั่วเหลืองและกากถั่วเหลืองของประเทศไทยและประเทศอาเซียน ป 2548-2552

(ม.ค.-ส.ค.) 2548 2549 2550 2551 2552 (ม.ค.-ส.ค.)

ปริมาณนําเขาถั่วเหลือง (พันตัน)

ไทย* 1,473.0 1,532.0 1,753.0 1,500.0 1,705.0

อินโดนีเซีย* 1,187.0 1,309.0 1,147.0 1,200.0 1,600.0

ปริมาณนําเขากากถั่วเหลือง (พันตัน)

อินโดนีเซีย* 2,071.0 2,237.0 2,429.0 2,450.0 2,600.0

เวียดนาม* 1,722.0 2,373.0 2,439.0 2,300.0 2,500.0

ไทย** 1,881.4 2,174.2 2,104.5 2,193.2 2,208.0

ฟลิปปนส* 1,374.0 1,357.0 1,213.0 1,315.0 1,450.0

ที่มา: * Foreign Agricultural Service, United States Department of Agriculture (USDA), 2009 ** www.feedusers.com อางถึง ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร

2552

3.4.4 ตําแหนงการตลาดของถั่วเหลืองไทยในอาเซยีน จากตารางที่ 28 และภาพที่ 6 แสดงใหเห็นวาไทยมีปริมาณสงออกถั่วเหลือง

อาเซียนคอนขางนอย คิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 2.9 ของมูลคาที่ประเทศสมาชิก

ทั้งหมดสงออกไปยังอาเซียน โดยประเทศที่ครองตลาด คือ มาเลเซียและกัมพูชา

โดยมีสวนแบงตลาดในป 2551 รอยละ 59.8 และ 32.4 ตามลําดับ และเมื่อ

พิจารณาอัตราการขยายตัวของการสงออกของทั้ง 2 ประเทศขางตนแลว จะพบวา

มาเลเซียมีอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้น ตางจากกัมพูชาที่อัตราการขยายตัวลดลงใน

ป 2551 ทั้งนี้เปนผลจากสภาพอากาศที่ทําใหผลผลิตของกัมพูชาลดลง

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

61

ตารางที่ 28 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกถั่วเหลืองของประเทศตางๆ ในตลาดอาเซียน ป 2547-2551 สวนแบงตลาด (รอยละ) อัตราการขยายตัว (รอยละ)

รายการ 2547 2548 2549 2550 2551 2547 2548 2549 2550 2551

บรูไน - - - - - - - - - -

กัมพูชา 1.3 49.8 47.2 41.2 32.4 - 6,549.1 - 28.6 47.1 - 7.0

อินโดนีเซีย 5.0 0.8 0.1 0.3 0.2 1,437.5 - 71.5 - 88.5 324.6 - 33.1

ลาว 0.0 0.1 0.4 0.3 0.1 53.7 205.0 259.0 24.4 - 58.1

มาเลเซีย 64.5 37.6 38.8 48.3 59.8 - 21.9 2.5 - 22.2 109.7 46.4

พมา 12.4 6.2 6.7 1.0 2.6 56.0 - 12.2 - 18.5 - 74.3 206.9

ฟลิปปนส - - - - - - - - - -

สิงคโปร 13.9 3.5 4.2 2.7 1.9 98.5 - 55.4 - 11.0 10.4 - 16.1

ไทย 2.7 1.9 2.6 6.2 2.9 58.8 27.7 1.9 299.6 - 44.9

เวียดนาม 0.2 0.1 - - - - 84.6 - 15.0 - 100.0 - -

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009

-200.0

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80

สวนแบงตลาด (รอยละ)

อัตราการขยายต

ัว (รอย

ละ)

.0

บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม

4751

48

49

5051

5047

49

47

หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009

ภาพที ่7 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกถัว่เหลอืงในตลาดอาเซียน

AEC Promt 

62

ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม

3.5 การผลิตปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมของไทยกับประเทศในอาเซียน

ปาลมนํ้ามันเปนพืชนํ้ามันชนิดหนึ่ง เม่ือผานการสกัดมาเปนน้ํามันปาลมแลว

จะเปนน้ํามันที่ มีคุณประโยชนมากมายไมวาจะเปนคุณประโยชนในดาน

สารอาหารซึ่งประกอบดวยกรดไขมันหลายชนิด อุดมดวยวิตามินอี และวิตามินเอ

อีกทั้งยังสามารถเปนวัตถุดิบหรือสารตั้งตนในอุตสาหกรรมอื่นๆ เชน อุตสาหกรรม

อาหารสําเร็จรูป อุตสาหกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป อุตสาหกรรมเครื่องสําอาง

อุตสาหกรรมที่ใชโอเลฟนเปนวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมการผลิตไบโอดีเซล เปนตน

ปาลมน้ํามันปลูกไดเพียงประมาณ 42 ประเทศทั่วโลกเทานั้น เนื่องจากพื้นที่

เหมาะสมปลูกปาลมนํ้ามันจะอยูระหวางเสนรุงที่ 10 เหนือ-ใตเสนศูนยสูตร หรือไม

เกินเสนรุงที่ 20 เหนือ-ใตเสนศูนยสูตร จึงทําใหประเทศในอาเซียนโดยอยางยิ่ง

มาเลเซียและอินโดนีเซีย กลายแหลงผลิตปาลมนํ้ามันหลักของโลก โดยประเทศ

ไทยก็เปนหนึ่งในประเทศที่อยูบริเวณที่เหมาะสมสําหรับปลูกปาลมนํ้ามัน อยูตรง

จุดที่ไดเปรียบและสามารถปลูกไดดีเชนกัน

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาประเทศที่สามารถผลิตปาลมน้ํามันแยกตาม

ศักยภาพในการผลิตน้ํามันพืชแลวจะสามารถแยกได 3 กลุม ซ่ึงไดแก

(1) ประเทศที่ผลิตน้ํามันเกินความตองการใชในประเทศ มีจํานวน 11

ประเทศ แตมีเพียง 4 ประเทศที่มีศักยภาพในการสงออกน้ํามันพืช คือ มาเลเซีย

อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา และบราซิล

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

63

(2) ประเทศที่ผลิตน้ํามันพืชเพียงพอกับความตองการใชในประเทศ มี

จํานวน 18 ประเทศ ซ่ึงประเทศไทยก็เปนประเทศหนึ่งที่จัดอยูในกลุมน้ี

(3) ประเทศที่ผลิตน้ํามันพืชไมเพียงพอตอความตองการใชในประเทศ มี

จํานวน 47 ประเทศ ประเทศที่เปนผูนําเขารายใหญ ไดแก รัสเซีย จีน เกาหลีเหนือ

เกาหลีใต อินเดีย ปากีสถาน รวมถึงเวียดนาม และกัมพูชา

3.5.1 การผลิตปาลมน้ํามัน การผลิตปาลมน้ํามันของไทย มีความสัมพันธกับชีวิตของเกษตรกรกวา

100,000 ครัวเรือน จังหวัดที่มีการปลูกปาลมนํ้ามันมากที่สุด 5 อันดับแรกไดแก

จังหวัด กระบี่ สุราษฎรธานี ชุมพร ประจวบคีรีขันธ และนครศรีธรรมราช เม่ือ

พิจารณาการผลิตน้ํามันปาลมของไทย จะพบวานับตั้งแตป 2547 เปนตนมา

พบวาผลผลิตปาลมน้ํามันของไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จาก 5.2 ลานตันในป

2547 เพิ่มเปน 9.4 ลานตันในป 2552 หรือคิดเปนรอยละ 82.1 ในขณะที่พื้นที่ยืน

ตนและพื้นที่ใหผลก็เพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 63.1 และ 65.8 เชนเดียวกัน (ตารางที่

29) ตารางที่ 29 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตปาลมน้ํามันของไทย ป 2547-2552

ป พื้นที่ยืนตน

(ลานไร)

พื้นที่ใหผล

(ลานไร)

ผลผลิตเฉลี่ย

(กิโลกรัม/ไร)

ผลผลิต

(ลานตัน)

ตนทุนผลปาลม (บาท/

กิโลกรัม)

2547 2.4 2.0 2,682.0 5.2 1.3

2548 2.8 2.0 2,469.0 5.0 1.7

2549 3.0 2.4 2,828.0 6.7 1.5

2550 3.2 2.7 2,399.0 6.4 1.8

2551 3.6 2.9 3,225.0 9.3 2.1

2552* 3.9 3.2 2,952.0 9.4 2.3

หมายเหตุ: *การคาดการณ ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

AEC Promt 

64

ทั้งนี้ลักษณะโดยทั่วไปของการผลิตปาลมนํ้ามันของไทย จะพบวาเปนการ

ผลิตโดยเกษตรกรรายยอย สามารถแบงผูปลูกปาลมออกไดเปน 3 ประเภท คือ

เกษตรกรรายยอย รอยละ 60 ที่เหลือเปนการปลูกปาลมของบริษัท และสหกรณ

หรือนิคมอีกรอยละ 20 และรอยละ 10 ตามลําดับ โดยแตกตางจากประเทศ

อินโดนีเซียและมาเลเซีย ซ่ึงเปนผูผลิตปาลมนํ้ามันรายใหญของโลก ดังนั้นการผลิต

ปาลมนํ้ามันของไทยจะประสบปญหาในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการ

แขงขันกับนํ้ามันปาลมในตลาดโลก นอกจากนี้การเพิ่มขึ้นของผลผลิตปาลมน้ํามัน

ของไทยโดยสวนใหญเปนผลมาจากการขยายพื้นที่ปลูกไมไดเกิดจากการพัฒนา

ประสิทธิภาพการผลิตดวยการเพิ่มผลผลิตตอไร โดยเมื่อเปรียบเทียบกับมาเลเซีย

แลวคุณภาพผลปาลมและผลผลิตของไทยยังอยูในระดับต่ํา ประกอบกับการรับซ้ือ

ผลปาลมของไทยยังขาดมาตรฐานในการกําหนดราคาอีกดวย

อาเซียนถือไดวาเปนแหลงผลิตปาลมน้ํามันรายใหญของโลก โดยเฉพาะ

ประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซ่ึงถือไดวาเปนผูผลิตปาลมน้ํามันอันดับท่ี 1 และ

2 ของโลก มีผลผลิตรวมกันกวารอยละ 80.0 ของผลผลิตรวม หรือกวา 160 ลาน

ตัน (ตารางที่ 30) สําหรับเนื้อท่ีใหผลผลิตจะพบวาเนื้อท่ีใหผลผลิตของอินโดนีเซีย

มีแนวโนมเพิ่มขึ้น จากประมาณ 23.1 ลานไร ในป 2548 จะเพิ่มขึ้นเปน 37.0 ลาน

ไรในป 2552 สวนหนึ่งเปนผลมาจากการบุกรุกพื้นที่ปาเพื่อปลูกปาลมนํ้ามัน การ

สนับสนุนของรัฐบาล รวมถึงการขยายการลงทุนของนักลงทุนชาวมาเลเซียใน

อินโดนีเซีย แมวาอินโดนีเซียจะมีพื้นที่ปลูกปาลมนํ้ามันมากกวามาเลเซียแต

ผลผลิตโดยรวม และผลผลิตเฉลี่ยกลับต่ํากวา เนื่องดวยมาเลเซียมีเทคโนโลยีการ

ผลิตที่ดีกวา สวนมาเลเซียการปลูกปาลมในมาเลเซียเปนการปลูกแบบครบวงจร

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

65

ตั้งแตสวนปาลมน้ํามันไปจนถึงโรงกลั่นน้ํามันภายในบริษัทหรือกลุมบริษัทเดียวกัน

จึงสามารถวางแผนการผลิตและควบคุมตนทุนการผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ

เกษตรกรผูปลูกปาลมนํ้ามันของมาเลเซียอยูในรูปบริษัทผูปลูกรายใหญ ประมาณ

รอยละ 60.0 ในขณะที่ผูปลูกปาลมนํ้ามันอยูในรูปสหกรณหรือนิคม และเกษตรกร

รายยอย เพียงรอยละ 30.5 และ 9.5 ตามลําดับ ทั้งนี้แมวามาเลเซียจะมีเกษตรกร

รายผูปลูกปาลมเพียงรอยละ 9.5 แตโดยสวนใหญมีพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 250

ไร ในขณะที่เกษตรกรรายยอยของไทยมีพื้นที่เพาะปลูกไมเกิน 25 ไร เทานั้น ตารางที่ 30 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตปาลมน้ํามันของไทยและประเทศในอาเซียน ป 2548-2550

เนื้อที่ใหผลผลิต (ลานไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (ลานตัน) ประเทศ

2548 2549 2550 2548 2549 2550 2548 2549 2550

รวมทั้งโลก 80.5 82.8 86.6 2,262.8 2,356.9 2,224.3 182.1 195.1 192.6

อินโดนีเซีย 23.1 25.7 28.4 3,208.7 3,124.1 2,748.9 74.0 80.3 78.0

มาเลเซีย 22.2 23.0 23.4 3,369.4 3,454.1 3,383.1 74.8 79.4 79.1

ไทย 2.0 2.4 2.8 2,469.0 2,828.3 2,349.8 5.0 6.7 6.4

อาเซียน 47.4 51.2 54.7 3,249.0 3,256.3 2,997.1 154.0 166.6 163.9

ประเทศอื่นๆ 33.1 31.6 31.9 847.9 900.2 900.3 28.0 28.4 28.7 ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009

3.5.2 การผลิตนํ้ามันปาลม ปาลมนํ้ามันจัดวาเปนพืชน้ํามันที่มีแนวโนมการขยายตัวความตองการของ

อุตสาหกรรมตอเนื่องอยางโดดเดนเมื่อเทียบกับบรรดาพืชนํ้ามันอื่นๆ อีกทั้งยังมี

ศักยภาพการผลิตน้ํามันสูงที่สุดถึง 512 กิโลกรัมตอไร เนื่องจากการขยายตัวของ

อุตสาหกรรมที่ตองการปาลมนํ้ามันเปนวัตถุดิบของน้ํามันพืชเพื่อการบริโภค และ

อุตสาหกรรมตอเนื่องอื่นๆ การวางแนวทางในการขยายพื้นที่ปลูกปาลมนํ้ามันเพื่อ

เปนวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล นับวาเปนขยายอุตสาหกรรมรองรับปาลมน้ํามัน

AEC Promt 

66

ในการใชเปนแหลงพลังงานทดแทน สําหรับการผลิตน้ํามันปาลมของไทยนั้น

ประเทศไทยสามารถผลิตไดประมาณ 1 ลานตันเทานั้น หรือคิดเปนรอยละ 3.0

ของการผลิตน้ํามันปาลมของโลกในขณะที่อินโดนีเซียและมาเลเซีย ผลิตไดเกือบ

20 ลานตัน หรือคิดเปนกวารอยละ 80 ของการผลิตน้ํามันปาลมของโลก (ตารางที่

31)

สําหรับประเทศมาเลเซีย ซ่ึงเปนประเทศที่ผลิตปาลมน้ํามันรายใหญของโลก

ไดมีการนํามาปลูกครั้งแรกในมาเลเซียในป 1870 เพื่อใชเปนไมประดับและเริ่ม

ปลูกเปนพืชทางการเกษตรเพื่อการคาในป 1917 รัฐบาลมาเลเซียไดริเร่ิมขยายเปน

อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมอยางจริงจังในชวงป 1960 เพื่อใหสอดคลองกับโครงการ

ความหลากหลายทางเกษตรกรรม (Program of Agricultural Diversification)

ของมาเลเซีย และเพื่อเพิ่มรายไดอื่นนอกเหนือจากรายไดที่ไดจากการสงออก

ยางพารา ซ่ึงขณะนั้นยางพาราเปนสินคาสงออกหลักของมาเลเซีย ตอมาในป

1970 รัฐบาลมาเลเซียมีนโยบายพัฒนาประเทศใหเปนประเทศอุตสาหกรรม ดังนั้น

มาเลเซียจึงไดริเร่ิมการกลั่นน้ํามันปาลมดิบขึ้นในประเทศ ชวงป 2000 มาเลเซียได

พัฒนาอุตสาหกรรมปาลมน้ํามันไปอีกขั้น โดยขยายไปสูอุตสาหกรรม Oleo

chemical and Palm Kernel ปจจุบันมาเลเซียสามารถผลิตน้ํามันปาลมไดเปน

อันดับ 2 ของโลก โดยผลิตไดถึงรอยละ 41.3 ของการผลิตโลก หรือถือไดวาเปน

อุตสาหกรรมหลักของมาเลเซีย

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

67

ตารางที่ 31 ปริมาณการผลิตน้ํามันปาลมของไทยและประเทศในกลุมอาเซียน

ปริมาณการผลิต (ลานตัน) ประเทศ

2549 2550 2551 2552

รวมทั้งโลก 35.8 37.2 41.0 42.6

อินโดนีเซีย 15.6 16.6 18.0 19.5

มาเลเซีย 15.5 15.3 17.6 17.5

ไทย 1.2 1.1 1.5 1.6

ประเทศอื่นๆ 3.6 4.3 3.8 4.0 ที่มา: The U.S. Department of Agriculture (USDA), 2009

3.5.3 การบริโภคและการใชน้ํามันปาลมของไทย การบริโภคและการใชน้ํามันปาลมดิบของไทยเปนไปตามวัตถุประสงคใหญๆ

ดวยกัน 3 ประการ ซ่ึงไดแก การใชเพื่อผลิตน้ํามันพืช การผลิตเพื่อสงออกน้ํามัน

ปาลมบริสุทธิ์ และการผลิตไบโอดีเซล โดยแนวโนมการใชมีทิศทางเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

(ตารางที่ 32) ซ่ึงโดยสวนใหญเปนการใชเพื่อผลิตน้ํามันพืช และเริ่มมีการนําน้ํามัน

ปาลมมาใชเพื่อผลิตไบโอดีเซลตั้งแต ป 2550 ตารางที่ 32 การบริโภคและการใชน้ํามันปาลมดิบของไทย ป 2549-2552 หนวย: ตันน้ํามันปาลมดิบ

รายการ 2549 2550 2551 2552*

ผลิตน้ํามันพืช 905,408 809,175 858,115 905,000

ผลิตเพื่อสงออกน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ 52,273 90,794 147,412 150,000

ผลิตไบโอดีเซล - 28,000 269,781 290,000

รวมการใชในประเทศทั้งหมด 957,681 927,969 1,275,308 1,345,000 ที่มา: กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย 2552

3.5.4 การสงออกและนําเขาน้ํามนัปาลมของไทย แมวาไทยจะเปนผูผลิตน้ํามันปาลมเปนอันดับที่ 3 ของโลก แตเมื่อพิจารณา

จากสัดสวนแลวถือวานอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับผูผลิตรายใหญอยางอินโดนีเซีย

และมาเลเซีย สําหรับการสงออกน้ํามันปาลมของไทย ทิศทางมูลคาการสงออก

AEC Promt 

68

น้ํามันปาลม13ของไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตั้งแตป 2549 จนกระทั่งปจจุบัน โดยในป

2551 ที่ผานมาไทยมีมูลคาการสงออกน้ํามันปาลมรวมทั้งสิ้นกวา 355.6 ลานบาท

(ตารางที่ 33) แตในชวงครึ่งแรกของป 2552 แนวโนมการสงออกน้ํามันปาลมของ

ไทยไดปรับตัวลดลงอันเนื่องมากจาการลดลงของราคาน้ํามันดิบ สงผลใหความ

ตองการพลังงานทดแทนลดลง อีกทั้งผูสงออกน้ํามันปาลมของไทยยังตองเผชิญ

ตนทุนการผลิตที่สูงกวาตลาดโลกดวย โดยประเทศที่เปนคูคาที่สําคัญของไทย

ไดแก อินเดีย พมา จีน และมาเลเซีย และเมื่อพิจารณาคูคาในอาเซียนจะพบวา

อาเซียนเปนประเทศคูคาที่สําคัญของไทย โดยไทยมีมูลคาการสงออกน้ํามันปาลม

ไปยังประเทศกลุมอาเซียนในป 2551 ประมาณรอยละ 44.2 ในขณะที่สงไปอินเดีย

และจีน รอยละ 22.0 และ 15.4 ตามลําดับ

สําหรับมาเลเซีย แมวาจะเปนผูผลิตและสงออกปาลมนํ้ามันรายใหญของ

โลก แตมาเลเซียก็มีการนําเขามันปาลมจากไทยในชวงที่ผลผลิตของไทยมีราคา

ใกลเคียงกับมาเลเซียเพื่อนําไปแปรรูป สรางมูลคาเพิ่มเพื่อจําหนายตออีกครั้งหนึ่ง

นอกจากนี้ดวยลักษณะของน้ํามันปาลมของมาเลเซียสวนใหญเปนการผลิตเพื่อใช

ในอุตสาหกรรมทําใหมีสีและไขปนมากกวาของไทย ในขณะที่ไทยเนนการผลิตเพื่อ

บริโภคโดยตรง ทําใหตองผลิตน้ํามันปาลมคุณภาพสูงกวา สงผลใหไทยตองเผชิญ

ที่ตนทุนการผลิตที่สูงกวามาเลเซีย แตการสงออกไปยังมาเลเซียนั้น ยังมีมาตรการ

ที่มิใชภาษีที่ตองเผชิญอยู ไดแก ระเบียบการขอใบอนุญาตนําเขา

13พิกัดศุลกากร HS 1511 ประกอบดวย น้ํามันปาลมหรือแฟรกชันของน้ํามันปาลม จะทําใหบริสุทธิ์หรือไมก็ตาม แตตองไมดัดแปลงทางเคมี

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

69

ตารางที่ 33 มูลคาการสงออกน้ํามันปาลมของไทยป 2547-2551 หนวย: ลานดอลลารสหรัฐ ประเทศ 2547 2548 2549 2550 2551

รวมทั้งโลก 76.6 45.7 88.1 212.7 355.6

อินเดีย 0.2 - 22.7 32.0 78.4

พมา 67.0 36.4 9.5 30.4 57.5

จีน 5.9 5.5 14.7 21.3 54.9

มาเลเซีย 1.3 3.6 24.6 57.1 50.5

เวียดนาม - 0.0 2.5 35.5 40.4

อาเซียนอื่นๆ 0.2 0.2 7.1 5.7 8.9

ประเทศอื่นๆ 2.1 0.1 7.1 30.9 65.2 ที่มา: The Global Trade Atlas, 2009

สวนดานการนําเขาแมวาไทยจะสามารถผลิตและสงออกน้ํามันปาลมได แต

ไทยยังตองมีการนําเขาน้ํามันปาลมอีกบางสวน โดยทั้งหมดเปนการนําเขาจาก

อินโดนีเซียและมาเลเซีย (ตารางที่ 34) ทั้งนี้การนําเขาน้ํามันปาลมของไทยตอง

ขึ้นกับปริมาณความตองการใชในประเทศ รวมถึงการดูแลการนําเขาน้ํามันปาลม

ขององคการคลังสินคา เนื่องจากการนําเขาตองเปนไปตามนโยบายของรัฐบาลใน

การปกปองผูผลิตน้ํามันปาลมในประเทศ

ตารางที่ 34 มูลคาการนําเขาน้ํามันปาลมของไทยป 2547-2551 หนวย: ลานดอลลารสหรัฐ

ประเทศ 2547 2548 2549 2550 2551

รวมทั้งโลก 38.8 9.2 1.0 1.3 34.6

อินโดนีเซีย - 0.0 - - 25.7

มาเลเซีย 38.8 9.0 0.9 1.1 8.7

จีน - 0.2 0.1 0.1 0.2

สิงคโปร 0.0 - 0.0 0.1 0.0

ประเทศอื่นๆ 0.0 - 0.0 0.0 0.0 ที่มา: The Global Trade Atlas, 2009

AEC Promt 

70

3.5.5 ตําแหนงการตลาดของปาลมน้ํามันแลน้ํามันปาลมของไทยในตลาดอาเซียน

(1) ตําแหนงการตลาดของปาลมน้ํามัน14ของไทยในตลาดอาเซียน ปาลมนํ้ามันเปนพืชท่ีอินโดนีเซียและมาเลเซียสามารถผลิตไดมากที่สุดเปน

อันดับท่ี 1 และ 2 ของโลกตามลําดับ และสามารถสงออกไปยังตลาดโลกไดเปน

จํานวนมาก แตเมื่อพิจารณาเฉพาะตลาดอาเซียนแลว พบวาประเทศไทยเปน

ประเทศที่สงออกปาลมน้ํามันในประเภทเมล็ดปาลมและเนื้อในเมล็ดปาลมไปใน

ตลาดนี้มากท่ีสุด โดยในป 2547 มีสวนแบงตลาดรอยละ 98.4 ตอมาในป 2548 มี

สวนแบงตลาดลดลงเปนรอยละ 51.6 จากนั้นก็เพิ่มขึ้นเปนประมาณรอยละ 90.0

ในป 2549-2550 และลดลงอีกครั้งในป 2551 มาอยูที่รอยละ 37.0 ซ่ึงเปนสวนแบง

ตลาดอันดับ 2 ของอาเซียน จากการที่สวนแบงตลาดของไทยลดลงในป 2551 นี้

เปนผลมาจากมาเลเซียเพิ่มการสงออกเมล็ดปาลมและเนื้อในเมล็ดปาลมไปยัง

ตลาดอาเซียนมากขึ้นจนทําใหมีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นมาเปนอันดับ 1 แทนที่ไทย

คิดเปนสวนแบงตลาดรอยละ 57.6

14พิกัดศุลกากร HS 120799 ประกอบดวย เมล็ดปาลมและเนื้อในเมล็ดปาลม

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

71

-5,000.0

0.0

5,000.0

10,000.0

15,000.0

20,000.0

25,000.0

30,000.0

-20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0

สวนแบงตลาด (รอยละ)

อัตรากา

รขยา

ยตัว

(รอย

ละ)

5150

49

4849 4851

47

บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม

หมายเหตุ: ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009

ภาพที ่8 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกปาลมน้ํามนัในตลาดอาเซียน

(2) ตําแหนงการตลาดของน้ํามันปาลม15ของไทยในตลาดอาเซียน ปจจุบันประเทศอินโดนีเซียสามารถผลิตน้ํามันปาลมไดมากที่สุดเปนอันดับ

1 ของโลก ดวยสัดสวนกวารอยละ 45.0 ในป 2552 ทําใหสามารถสงออกไปยัง

ตลาดโลกไดเปนจํานวนมาก เม่ือพิจารณาเฉพาะตลาดอาเซียนแลว พบวา

อินโดนีเซียมีการสงออกน้ํามันปาลมไปในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 1 เชนกัน มี

สวนแบงตลาดในป 2551 รอยละ 58.5 รองลงมาเปนมาเลเซียรอยละ 34.0 สวน

ไทยอยูในอันดับ 3 มีสวนแบงตลาดรอยละ 6.3 ซ่ึงถือวานอยมากเมื่อเปรียบเทียบ

กับประเทศผูสงออกหลักทั้ง 2

15พิกัดศุลกากร HS 1511 ประกอบดวย นํ้ามันปาลมหรือแฟรกชันของนํ้ามันปาลม จะทําใหบริสุทธิ์หรือไมก็ตาม แตตองไมดัดแปลงทางเคมี

AEC Promt 

72

ตารางที่ 35 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกน้ํามันปาลมประเทศตางๆ ในตลาดอาเซียน ป 2547-2551 สวนแบงตลาด (รอยละ) อัตราการขยายตัว (รอยละ)

ประเทศ 2547 2548 2549 2550 2551 2547 2548 2549 2550 2551

บรูไน - - - - - - - - - -

กัมพูชา - - - - - - - - - -

อินโดนีเซีย 47.1 49.2 55.0 57.9 58.5 45.4 1.2 45.8 59.1 46.4

ลาว - - - - - - - - - -

มาเลเซีย 44.4 45.1 40.2 33.5 34.0 20.1 - 1.7 16.6 25.9 47.1

พมา - - - - - - - - - -

ฟลิปปนส 0.0 0.0 0.0 - 0.0 - 100.0 602.6 61.9 - 100.0 -

สิงคโปร 0.9 1.1 1.0 1.2 1.2 18.8 30.6 16.0 74.9 42.6

ไทย 7.6 4.6 3.8 7.4 6.3 61.3 - 41.4 8.8 194.5 22.2

เวียดนาม - - - - - - - - - -

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009

-200.0

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0

สวนแบงตลาด (รอยละ)

อัตราการขยายตั

ว (รอย

ละ)

47 51

48

49

50

51

50

49

47

4851

49

50

47

48

บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม หมายเหตุ: ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009

ภาพที ่9 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกน้าํมนัปาลมในตลาดอาเซียน

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

73

เมล็ดกาแฟ

3.6 การผลิตเมล็ดกาแฟของไทยกับประเทศในอาเซียน

กาแฟ เปนหนึ่งในอาหารเชายอดนิยมของคนทั่วโลกมาเปนเวลานาน และ

สําหรับประเทศไทยนั้น กาแฟนอกจากจะเปนเครื่องดื่มที่ไดรับความนิยมมากขึ้น

เร่ือยๆ ในปจจุบันแลว กาแฟยังเปนพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญของเกษตรกรในภาคใต

และภาคเหนือของไทย ในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎรธานี กระบี่ และเชียงราย

ซ่ึงเปนจังหวัดที่มีการเพาะปลูกกาแฟเปนจํานวนมาก ครอบคลุมครัวเรือน

เกษตรกร 28,698 ครัวเรือนในป 2551 และสามารถทํารายไดเขาประเทศจากการ

สงออกเมล็ดกาแฟในป 2551 เปนมูลคา 150.9 ลานบาท หรือคิดเปนปริมาณ

เทากับ 1,662 ตัน ซ่ึงหากเทียบกับประเทศคูแขงในอาเซียนดวยกันแลว พบวาไทย

เปนประเทศผูสงออกอันดับ 3 รองจากประเทศเวียดนามซึ่งเปนประเทศสงออก

กาแฟอันดับหนึ่งของเซียนและอันดับสองของโลก และประเทศอินโดนีเซีย

จากการเขาสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่จะเร่ิมตนในป

หนาคือป 2553 นั้น ไดมีขอกําหนดที่เกี่ยวของกับสินคาเมล็ดกาแฟ และกาแฟ

สําเร็จรูปดวย โดยสินคากาแฟสําเร็จรูปตองลดภาษีนําเขาเปน 0% ใหแกประเทศ

สมาชิกอาเซียน แตสําหรับสินคาเมล็ดกาแฟนั้นถูกจัดวาเปนสินคาออนไหว

(Sensitive List) ที่จําเปนตองใชเวลาในการปรับตัวนานกวาสินคากลุมอื่นๆ จึง

กําหนดใหลดภาษีนําเขาในป 2553 มาอยูที่ 5% และจะลดลงเปน 0% ในป 2558

เชนเดียวกับประเทศบรูไนและมาเลเซียที่กําหนดใหสินคากาแฟเปนสินคาออนไหว

เชนกัน สําหรับสถานการณดานการผลิต การบริโภค รวมถึงการสงออกกาแฟของ

ไทยและประเทศในอาเซียน แสดงไดดังนี้

AEC Promt 

74

3.6.1 การผลิตกาแฟของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน เมื่อพิจารณาดานการผลิตเมล็ดกาแฟของประเทศไทย จะพบวานับตั้งแตป

2547 เปนตนมา ปริมาณผลผลิตเมล็ดกาแฟของไทยลดลงอยางตอเนื่อง จากทีเ่คย

ผลิตได 61.8 พันตัน ในป 2547 ลดลงเหลือ 56.3 พันตัน ในป 2552 (ตารางที่ 36)

หรือลดลง 5.69 พันตัน คิดเปนอัตราการลดลงเทากับรอยละ -9.17 เหตุผลท่ี

ปริมาณการผลิตลดลงนี้เปนเพราะพื้นที่เพาะปลูกกาแฟลดลงเรื่อยมา เนื่องจาก

เกษตรกรเปลี่ยนไปเพาะปลูกพืชอื่นที่มีราคาแพงกวา เชน ยางพารา เปนตน

โดยเฉพาะพื้นที่เพาะปลูกในบริเวณภาคใต ซ่ึงถือเปนบริเวณเพาะปลูกกาแฟพันธุ

โรบัสตาที่สําคัญ ทั้งชุมพร ระนอง สุราษฎรธานี และกระบี่ แตแมวาในปจจุบัน

พื้นที่เพาะปลูกกาแฟยังคงลดลง แตหากพิจารณาปริมาณผลผลิตตอไรแลวจะ

พบวาในป 2552 นี้ปริมาณผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นมากเทากับ 154.0 กิโลกรัมตอไร

ซ่ึงอาจเปนผลมาจากเกษตรกรผูปลูกกาแฟเห็นวาราคากาแฟที่เกษตรกรขายได

สูงขึ้น โดยในป 2552 มีราคาเทากับ 69.4 บาทตอกิโลกรัม (ตารางที่ 37) จึงใหมี

ความใสใจและบํารุงรักษาตนกาแฟเพิ่มขึ้น

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

75

ตารางที่ 36 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตเมล็ดกาแฟของไทย ป 2543-2552 ป เนื้อที่ยืนตน (พันไร) เนื้อที่ใหผล (พันไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน)

2543 478.0 422.0 192.0 80.6

2544 489.0 432.0 199.0 85.4

2545 488.0 439.0 122.0 53.4

2546 476.0 440.0 122.0 53.9

2547 465.0 443.0 139.0 61.8

2548 448.0 435.0 137.0 59.6

2549 441.0 429.9 109.0 46.9

2550 437.0 424.6 131.1 55.7

2551 403.0 388.7 127.4 49.5

2552 381.2 365.3 154.0 56.3

ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

ตารางที่ 37 ราคาสารกาแฟที่เกษตรกรขายไดในประเทศ ราคาสงออกเมล็ดกาแฟดิบอาราบิกาและโรบัสตา ณ ตลาดนิวยอรก ป

2547-2552 (ม.ค.-ส.ค.) หนวย: บาท/กิโลกรัม

ป 2547 2548 2549 2550 2551 2552

(ม.ค.-ส.ค.)

ราคาสารกาแฟโรบัสตาคละที่เกษตรกรขายได* 27.6 28.8 36.5 45.6 58.1 69.4

ราคาสงออกเมล็ดกาแฟดิบอาราบิกา ณ ตลาดนิวยอรก** 68.8 98.5 93.4 91.6 99.7 107.9

ราคาสงออกเมล็ดกาแฟดิบโรบัสตา ณ ตลาดนิวยอรก** 33.1 47.4 58.8 67.3 78.2 59.7

ที่มา: * สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

** International Coffee Organization (ICO), 2009

นอกจากนี้หากพิจารณาเปรียบเทียบปริมาณผลผลิตเมล็ดกาแฟของไทยกับ

ประเทศคูแขงในอาเซียนดวยกันจากตารางที่ 38 แลว จะเห็นวาประเทศเวียดนาม

และอินโดนีเซียเปนประเทศคูแขงหลักที่สามารถผลิตเมล็ดกาแฟไดมากเปนอันดับ

1 และ 2 ของอาเซียน คิดเปนปริมาณการผลิตในป 2551 เทากับ 960.0 และ

518.3 พันตันตามลําดับ ซ่ึงสําหรับเวียดนามนั้นถือเปนประเทศที่มีความสามารถ

ในการผลิตเมล็ดกาแฟสูงมาก โดยพิจารณาจากปริมาณผลผลิตตอไร ที่แมวาจะมี

พื้นที่การเพาะปลูก 3,049,4 พันไร ซ่ึงนอยกวาพื้นที่ปลูกของอินโดนีเซียถึงเทาตัว

AEC Promt 

76

แตมีปริมาณผลผลิตตอไรสูงถึง 314.8 กิโลกรัมตอไร ซ่ึงเปนปริมาณผลผลิตตอไร

สูงที่สุดในอาเซียน สูงกวาอินโดนีเซียกวา 3 เทาตัว และสูงกวาประเทศไทยเกือบ 1

เทาตัว

ตารางที่ 38 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตเมล็ดกาแฟของไทยและประเทศในอาเซียน ป 2549-2551

เนื้อที่ใหผลผลิต (พนัไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน) ประเทศ

2549 2550 2551 2549 2550 2551 2549 2550 2551

รวมทั้งโลก 63,572.5 64,793.3 64,757.3** 123.7 120.3 119.3 7,861.0 7,793.0 7,727.4***

(-3.0) (1.9) (-0.1) (11.4) (-2.7) (-0.8) (8.0) (-0.9) (-0.8)

กัมพูชา 2.4 2.4 2.4 130.5 130.5 130.5 0.3 0.3 0.3***

- - - - - - - - -

อินโดนีเซีย 6,127.0 6,056.8 6,056.8 111.3 111.7 85.6 682.2 676.5 518.3***

(-30.7) (-1.1) - (53.7) (0.3) (-23.4) (6.5) (-0.8) (-23.4)

ลาว 269.6 281.2 281.2 93.6 118.1 85.4 25.3 33.2 24.0***

(1.3) (4.3) - (-0.3) (26.1) (-27.7) (1.0) (31.5) (-27.7)

มาเลเซีย 331.3 331.3 331.3 120.8 120.8 Na 40.0 40.0 Na

- - - - - Na - - Na

พมา 37.5 37.5 37.5 88.0 93.3 Na 3.3 3.5 Na

(5.3) - - (4.5) (6.1) Na (10.0) (6.1) Na

ฟลิปปนส 787.9 774.8 774.8 132.1 126.3 54.2 104.1 97.9 42.0***

(-1.5) (-1.7) - (-0.2) (-4.4) (-57.1) (-1.7) (-6.0) (-57.1)

ไทย 429.9 424.6 388.7* 109.0 131.1 127.4 46.9 55.7 49.5***

(-1.1) (-1.2) (-8.5) (-20.5) (20.2) (-2.8) (-21.4) (18.7) (-11.1)

เวียดนาม 3,020.0 3,049.4 3,049.4 326.3 315.2 314.8 985.3 961.2 960.0***

(-2.9) (1.0) - (34.9) (-3.4) (-0.1) (31.0) (-2.4) (-0.1)

อาเซียน 11,005.5 10,957.9 10,922.0** 171.5 170.5 149.9 1,887.3 1,868.2 1,594.1**

(-20.4) (-0.4) (-0.3) (45.7) (-0.6) (-14.4) (16.1) (-1.0) (-14.7)

ประเทศอื่นๆ 52,567.0 53,835.3 53,835.3** 113.6 110.1 113.1 5,973.7 5,924.7 6,133.3**

(1.7) (2.4) (0.0) (4.0) (-3.2) (3.5) (5.7) (-0.8) (3.5)

หมายเหตุ: * ขอมูลจากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552

** คํานวณโดยศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 2552

*** ขอมูลจาก International Coffee Organization (ICO), 2009

Na คือ ไมพบขอมูล

ตัวเลขในวงเล็บ แสดงอัตราการขยายตัว (รอยละ)

ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

77

3.6.2 การบริโภคกาแฟของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน เมล็ดกาแฟที่เกษตรกรผลิตไดนั้น สวนหนึ่งถูกสงออกไปขายยังตางประเทศ

และอีกสวนหนึ่งถูกขายเปนวัตถุดิบในการผลิตกาแฟผงสําเร็จรูปใหแกผูผลิตใน

ประเทศ ซ่ึงหากพิจารณาจากปริมาณการใชภายในประเทศของไทยและประเทศ

ในอาเซียนโดยอาศัยขอมูลจากองคการกาแฟระหวางประเทศ หรือ ICO แลว

พบวาประเทศที่มีการใชเมล็ดกาแฟภายในประเทศตนเองมากที่สุดคือ อินโดนีเซีย

เนื่องจากประชากรภายในประเทศมีมากและเริ่มนิยมดื่มกาแฟกันมากขึ้น

รองลงมาคือ เวียดนาม ฟลิปปนส และไทย ตามลําดับ ซ่ึงในป 2551 มีปริมาณการ

บริโภคกาแฟของทั้ง 4 ประเทศขางตนเทากับ 200.0 65.0 63.6 และ 30.0 พันตัน

ตามลําดับ (ตารางที่ 39)

ตารางที่ 39 ปริมาณการใชเมล็ดกาแฟในประเทศของประเทศในอาเซียน ป 2546-2551

ปริมาณการบริโภค (พันตัน) ประเทศ

2546 2547 2548 2549 2550 2551

บรูไน 1.5 1.2 1.3 1.5 Na Na

กัมพูชา 0.3 0.2 1.0 0.6 Na Na

อินโดนีเซีย 110.0 120.0 150.0 170.0 200.0 200.0

ลาว 6.2 8.1 8.4 8.4 8.4 9.0

มาเลเซีย* 6.5 7.1 8.2 22.3 22.7 20.8

พมา 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ฟลิปปนส 55.0 55.0 55.0 55.0 63.6 63.6

ไทย 30.0 30.0 30.0 30.0 30.0 30.0

เวียดนาม 30.0 30.0 30.0 55.0 60.0 65.0

อาเซียน 239.4 251.6 283.9 342.9 384.7 388.3

หมายเหตุ: * ขอมูลจาก United States Department of Agriculture (USDA), 2009

Na คือ ไมพบขอมูล

ที่มา: International Coffee Organization (ICO), 2009

AEC Promt 

78

3.6.3 การสงออกเมล็ดกาแฟของประเทศไทยในตลาดอาเซยีน ดานการสงออกเมล็ดกาแฟของไทยไปยังตลาดอาเซียนนั้น พบวาระหวางป

2549-2552 (ม.ค.-ส.ค.) ไทยมีมูลคาการสงออกลดลงเรื่อยมานับตั้งแตป 2550 ที่มี

มูลคาการสงออกไปตลาดอาเซียน 593.7 ลานบาท ลดลงจากป 2549 เทากับ

440.9 ลานบาท ในป 2551 มูลคาการสงออกลดลงเหลือ 126.6 ลานบาท และ

เทากับ 17.4 ลานบาทในระหวางเดือนมกราคา-สิงหาคมของป 2552 โดยลดลง

จากชวงเวลาเดียวกันในป 2551 เทากับ 101.6 ลานบาท (ตารางที่ 40) และหาก

พิจารณาประเทศในอาเซียนที่ไทยสงออกไปมากที่สุดในป 2551 คือพมา มีมูลคา

การสงออกเทากับ 6.5 ลานบาท รองลงมาเปนลาว 1.5 ลานบาท สวนในป 2552

(ม.ค.-ส.ค.) มีมูลคาการสงออกไปยัง 2 ประเทศขางตนเทากับ 6.7 และ 1.1 ลาน

บาท ตามลําดับ จากขอมูลขางตนจะเห็นวาตลาดอาเซียนไมใชตลาดหลักของไทย

เนื่องจากไทยสงออกเมล็ดกาแฟไปอาเซียนในป 2550-2552 (ม.ค.-ส.ค.) เพียง

7.1, 8.2 และ 7.8 ตามลําดับ คิดเปนสัดสวนไมถึงรอยละ 10.0 ของการสงออก

ทั้งหมดของไทย

นอกจากนี้หากพิจารณาถึงปริมาณและมูลคาการสงออกเมล็ดกาแฟของ

ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดโลกระหวางป 2547-2550 จากที่แสดงไวในตารางที่

41 แลว จะพบวาประเทศในอาเซียนที่สงออกมากที่สุดคือ เวียดนาม มีปริมาณการ

สงออกในป 2550 เทากับ 1,229.0 พันตัน คิดเปนมูลคา 66,067.2 ลานบาท ซ่ึงถือ

วาเปนประเทศผูสงออกเมล็ดกาแฟเปนอันดับ 2 ของโลกรองจากบราซิล สวน

ประเทศอาเซียนที่สงออกรองลงมาคือ อินโดนีเซีย มีปริมาณการสงออกป 2550

เทากับ 320.6 พันตัน คิดเปนมูลคา 21,918.7 ลานบาท ประเทศสงออกอันดับท่ี 3

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

79

ของอาเซียนคือลาว สวนไทยนั้นเปนผูสงออกอันดับ 4 ของอาเซียน มีปริมาณการ

สงออกป 2550 เทากับ 11.1 พันตัน คิดเปนมูลคา 577.7 ลานบาท

ตารางที่ 40 มูลคาการสงออกเมล็ดกาแฟของไทยในตลาดอาเซียน ป 2549-2552 (ม.ค.-ส.ค.) มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (รอยละ)

รายการ 2549 2550 2551 2551

(ม.ค.-ส.ค.)

2552

(ม.ค.-ส.ค.)

2549 2550 2551 2551

(ม.ค.-ส.ค.)

2552

(ม.ค.-ส.ค.)

พมา 0.6 5.1 6.5 3.3 6.7 642.9 756.0 28.0 50.2 101.3

ลาว 1.0 1.1 1.5 0.9 1.1 - 66.6 17.6 29.6 56.7 24.7

สิงคโปร 0.0 0.1 0.1 0.0 0.0 - 359.7 - 41.9 - 45.1 - 18.3

อินโดนีเซีย - 0.7 0.0 0.0 0.0 - - - 100.0 - 17,900.0

เวียดนาม - 0.0 - - 0.0 - - - - -

มาเลเซีย 0.0 - - - 0.0 - - - - -

ฟลิปปนส - - 0.1 0.1 - - - - - -

อาเซียนรวม 1.6 7.1 8.2 4.3 7.8 - 47.6 339.7 15.5 - 81.4

ประเทศอื่นๆ 1,033.0 586.7 118.4 114.6 9.5 91.7 - 43.2 - 79.8 - - 91.7

รวม 1,034.6 593.7 126.6 119.0 17.4 92.0 - 42.6 - 78.7 - - 85.4

ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552

ตารางที่ 41 มูลคาและปริมาณการสงออกเมล็ดกาแฟของไทยและประเทศอาเซียนไปยังตลาดโลก ป 2547-2550

ปริมาณ (พันตัน) มูลคา (ลานบาท) รายการ

2547 2548 2549 2550 2547 2548 2549 2550

โลก 5,682.6 5,424.4 5,757.9 6,150.6 285,359.8 379,321.0 420,123.6 469,481.3

บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 1.2 1.2 2.4 2.2

กัมพูชา - 0.0 0.0 0.0 - 0.4 0.2 0.7

อินโดนีเซีย 339.9 443.4 411.7 320.6 11,409.6 20,069.3 22,131.8 21,918.7

ลาว 16.0 14.1 7.3 16.9 523.3 529.8 355.0 863.9

มาเลเซีย 0.6 0.7 1.5 1.0 37.5 54.5 82.3 66.4

พมา 0.3 0.1 0.1 0.1 8.9 1.4 2.5 3.3

ฟลิปปนส 0.2 0.1 0.4 0.1 9.0 14.5 17.6 5.5

สิงคโปร 10.2 8.9 9.2 6.6 613.7 801.6 792.1 794.2

ไทย 22.9 16.0 25.7 11.1 475.6 539.9 1,026.3 577.7

เวียดนาม 976.0 892.0 981.0 1,229.0 25,852.2 29,617.8 46,165.4 66,067.2

อาเซียน 1,366.2 1,375.3 1,436.8 1,585.4 38,931.0 51,630.4 70,575.8 90,299.9

ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009

AEC Promt 

80

3.6.4 ตําแหนงการตลาดของเมล็ดกาแฟไทยในอาเซยีน เวียดนามเปนประเทศผูผลิตและสงออกเมล็ดกาแฟเปนอันดับ 2 รองจาก

บราซิล ซ่ึงหนึ่งในตลาดสงออกหลักของเวียดนามก็คือตลาดอาเซียนที่ถือวา

เวียดนามเปนผูสงออกรายใหญ มีสวนแบงในตลาดอาเซียนเกือบรอยละ 50.0 โดย

ในป 2551 นั้นมีสวนแบงตลาดถึงรอยละ 47.9 ของมูลคาการสงออกจากประเทศ

อาเซียนทั้งหมด (ตารางที่ 42 และภาพที่ 10) ประเทศผูสงออกรายใหญรองลงมา

คืออินโดนีเซียที่มีสวนแบงตลาดในป 2551 รอยละ 36.4 ของมูลคาการสงออกจาก

ประเทศอาเซียนทั้งหมด และพบวามีอัตราการขยายตัวของการสงออกเพิ่มขึ้น

อยางตอเนื่อง โดยในป 2551 มีอัตราการขยายตัวรอยละ 9.4 ซ่ึงตรงขามกับ

เวียดนามที่พบวาสวนแบงตลาดลดลงจากป 2550 คิดเปนอัตราการขยายตัวรอย

ละ -12.7 ทั้งนี้เปนผลมาจากภัยพิบัติในประเทศเวียดนามทั้งพายุและมีอากาศ

หนาวเย็นที่สุดในรอบ 40 ปเม่ือปลายป 2550

สําหรับสวนแบงตลาดของไทยในอาเซียนนั้น พบวามีสวนแบงตลาดนอย

มาก โดยในระหวางป 2547-2550 มีสวนแบงตลาดในอาเซียนประมาณรอยละ 0.2

และเพิ่มขึ้นในป 2551 เปนรอยละ 1.4 ซ่ึงคิดเปนอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากป

2550 รอยละ 440.7 ทั้งนี้เนื่องจากตลาดอาเซียนนั้นไมใชตลาดสงออกเมล็ดกาแฟ

หลักของไทย มีสัดสวนการสงออกในป 2550-2551 นอยกวารอยละ 2.0 และนอย

กวารอยละ 8.0 ตามลําดับ สวนตลาดสงออกเมล็ดกาแฟหลักของไทยนั้นคือ

สหรัฐอเมริกา ที่ไทยสงออกไปประมาณรอยละ 60.0 ของการสงออกเมล็ดกาแฟ

ทั้งหมดของไทยในป 2551 ที่ผานมา

ทางรอดสนิคาเกษตรที่สาํคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซยีน 

81

ตารางที่ 42 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกเมล็ดกาแฟของประเทศตางๆ ในตลาดอาเซียน ป 2547-2551 สวนแบงตลาด (รอยละ) อัตราการขยายตัว (รอยละ)

รายการ 2547 2548 2549 2550 2551 2547 2548 2549 2550 2551

บรูไน - - - - - - - - - -

กัมพูชา - - - - - - - - - -

อินโดนีเซีย 23.6 24.1 27.5 30.0 36.4 26.2 79.5 36.3 40.9 9.4

ลาว 2.2 1.4 0.5 - - - 71.8 9.1 - 58.9 - 100.0 -

มาเลเซีย 1.4 0.6 1.0 0.7 2.7 - 15.9 - 23.1 96.7 - 8.6 234.0

พมา - - - - - - - - - -

ฟลิปปนส 0.0 - 0.1 0.0 0.0 2,906.9 - 100.0 - - 71.6 10.0

สิงคโปร 23.4 24.1 21.4 19.5 11.6 26.2 79.9 6.6 17.7 - 46.6

ไทย 0.2 0.3 0.2 0.2 1.4 66.4 101.5 - 23.8 82.1 440.7

เวียดนาม 49.2 49.6 49.4 49.5 47.9 9.5 76.6 19.3 29.5 - 12.7

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009

-200.0

-100.0

0.0

100.0

200.0

300.0

400.0

-10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0

สวนแบงตลาด (รอยละ)

อัตราการขยายต

วั (รอยละ

)

บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม

47

51

48

49

50

5150

4947

4850

51

49

หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.

ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009

ภาพที ่10 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตวัของการสงออกเมล็ดกาแฟในตลาดอาเซียน

AEC Promt 

82