ไซคลอยด์ (cycloid) รางโค้งเว้ามหัศจรรย์

2
>> นิตยสาร สสวท. 38 ฟิสิกส์ รอบรู้วิทย์ >> สาขาฟิสิกส์ สสวท./E-mail: [email protected] แนะนำไซคลอยด์ (cycloid) รางโค้งเว้ามหัศจรรยไซคลอยด์ (CYCLOID) ภาพที่เห็นนี้คือรางลื่น 4 ราง ที่มีรูปร่างและ ระยะทางต่างกัน มีรางที่เป็นรางโค้ง 3 ราง และราง ตรง 1 ราง มาทดลองและทายกันดูว่า ถ้าเคลื่อนทีจากจุดบนสุด เส้นทางของรางอันใดจะถึงพื้นก่อน นี่คือกิจกรรมของสาขาฟิสิกส์ สสวท. ที่ตั้งใจนำเสนอ ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2554 ที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ไซคลอยด์เป็นเส้นโค้งที่เกิดจากแนวทางเดินของจุดตรึง จุดหนึ่งบนเส้นรอบวงของวงกลม เมื่อกลิ้งวงกลมนั้นไปตามแนว ระดับเป็นเส้นตรงจนครบ 1 รอบ เบื้องหลังมหัศจรรย์ทางด่วนเว้า cycloid ไซ คลอ ยด์ ได้ถูก ศึกษา ครั้ง แรก โดย นิ โคลั สออฟ คู ซา (Nicholas of Cusa) และตามมาด้วย แมร์แซน (Mersenne) และถูกตั้งชื่อโดย กาลิเลโอ (Galileo) ในปี ค.ศ. 1658 ปกติระยะทางระหว่างจุด 2 จุดใด ที่สั้นที่สุดคือเส้นตรง และถ้าเคลื่อนที่ระหว่างจุดคู่นั้นด้วยอัตราเร็ว คงตัวเท่ากันทุก เส้นทาง เส้นตรงจะใช้เวลาน้อยที่สุด แต่ในกรณีของการเคลื่อนทีบนรางโค้งเว้าไซคลอยด์ (cycloid) เหตุใดใช้เวลาสั้นที่สุด เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่บนรางทั้งหลายตั้งแต่เส้นตรง ไปยังรางโค้งเว้าในรูปแบบหลากหลาย รูปแบบที่เชื่อมระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ต่างระดับคู่เดียวกันจากตำแหน่งสูงไปยังตำแหน่งต่ำ ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกและไม่มีแรงเสียดทาน ผลคือการ เคลื่อนที่ของวัตถุที่ขนาดเป็นจุดบนรางไซคลอยด์ใช้เวลาน้อยที่สุด ค้นพบโดยโยฮันน์ แบร์นูลลี (Johann Bernoulli) ในปี ค.ศ. 1669 เรียกสมบัตินี้ว่า บราคิสโทโครน (brachistochrone) ต่อมา คริสเตียน ฮอย เกน ส์ (Christiaan Huygens) ค้นพบ สมบัติ เทาโทโครน (tautochrone) ในปี ค.ศ. 1673 อธิบายว่า บนทาง โค้งเว้าไซคลอยด์ เมื่อปล่อยวัตถุจากที่สูงกว่าระดับใดก็ตาม วัตถุ จะเคลื่อนที่ถึงตำแหน่งปลายที่ต่ำกว่าระดับเดียวกัน จะใช้เวลา เท่ากันเสมอ และต่อมาได้มีการออกแบบสร้างนาฬิกาลูกตุ้มแบบ ไซคลอยด์โดยใช้สมบัติเทาโทโครน

Upload: suppiya-siranan

Post on 29-Jul-2015

559 views

Category:

Documents


30 download

TRANSCRIPT

Page 1: ไซคลอยด์ (Cycloid) รางโค้งเว้ามหัศจรรย์

>> นิตยสาร สสวท. 38

ฟิสิกส์รอบรู้วิทย์

>> สาขาฟิสิกส์ สสวท./E-mail: [email protected]

แนะนำไซคลอยด์(cycloid)

รางโค้งเว้ามหัศจรรย์ไซคลอยด์(CYCLOID)

ภาพที่เห็นนี้คือรางลื่น 4 ราง ที่มีรูปร่างและระยะทางต่างกันมีรางที่เป็นรางโค้ง3รางและรางตรง 1 ราง มาทดลองและทายกันดูว่า ถ้าเคลื่อนที่จากจุดบนสุด เส้นทางของรางอันใดจะถึงพื้นก่อน นี่คอืกจิกรรมของสาขาฟสิกิส์สสวท.ทีต่ัง้ใจนำเสนอ ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2554ที่ศนูย์นทิรรศการและการประชมุไบเทคบางนา

ไซ คลอ ยด์ เป็น เส้น โค้ง ที่ เกิด จาก แนวทาง เดิน ของ จุด ตรึง จุด หนึ่ง บน เส้น รอบ วง ของ วงกลม เมื่อ กลิ้ง วงกลม นั้น ไป ตาม แนว ระดับ เป็น เส้น ตรง จน ครบ 1 รอบ

เบื้องหลังมหัศจรรย์ทางด่วนเว้าcycloid

ไซ คลอ ยด์ ได้ถูก ศึกษา ครั้ง แรก โดย นิ โคลั สออฟ คู ซา (Nicholas of Cusa) และ ตาม มา ด้วย แมร์แซน (Mersenne) และ ถูก ตั้ง ชื่อโดย กา ลิ เลโอ (Galileo) ใน ปี ค.ศ. 1658

ปกติ ระยะ ทาง ระหว่าง จุด 2 จุด ใด ๆ ที่ สั้น ที่สุด คือ เส้น ตรง และ ถ้า เคลื่อนที่ ระหว่าง จุด คู่ นั้น ด้วยอัตราเร็ว คงตัว เท่า กัน ทุก เส้น ทาง เส้น ตรง จะ ใช้ เวลา น้อย ที่สุด แต่ ใน กรณี ของ การ เคลื่อนที่ บน ราง โค้ง เว้า ไซ คลอ ยด์ (cycloid) เหตุ ใด ใช้ เวลา สั้น ที่สุด

เมื่อ พิจารณา การ เคลื่อนที่ บน ราง ทั้ง หลาย ตั้งแต่ เส้น ตรง ไป ยงั ราง โคง้ เวา้ ใน รปู แบบ หลาก หลาย รปู แบบ ที ่เชือ่ม ระหวา่ง จดุ 2 จุด ที่ อยู่ ต่าง ระดับ คู่ เดียวกัน จาก ตำแหน่ง สูง ไป ยัง ตำแหน่งต่ำ

ภาย ใต้ แรง โน้ม ถ่วง ของ โลก และ ไม่มี แรง เสียด ทาน ผล คือ การ เคลือ่นที ่ของ วตัถ ุที ่ขนาด เปน็ จดุ บน ราง ไซ คลอ ยด ์ใช ้เวลา นอ้ย ทีส่ดุ คน้ พบ โดยโย ฮนัน ์แบร ์นลู ล ี (Johann Bernoulli) ใน ป ีค.ศ. 1669 เรียก สมบัติ นี้ ว่า บราคิสโทโครน (brachistochrone) ต่อ มา คริสเตียน ฮอย เกน ส์ (Christiaan Huygens) ค้น พบ สมบัติ เทาโทโครน(tautochrone)ใน ป ีค.ศ. 1673 อธบิาย วา่ บน ทาง โค้ง เว้า ไซ คลอ ยด์ เมื่อ ปล่อย วัตถุ จาก ที่ สูง กว่า ระดับ ใด ก็ตาม วัตถุ จะ เคลื่อนที่ ถึง ตำแหน่ง ปลาย ที่ ต่ำ กว่า ระดับ เดียวกัน จะ ใช้ เวลา เทา่ กนั เสมอ และ ตอ่ มา ได ้ม ีการ ออกแบบ สรา้ง นาฬกิา ลกู ตุม้ แบบ ไซ คลอ ยด์โดย ใช้ สมบัติ เทา โท โค รน

Page 2: ไซคลอยด์ (Cycloid) รางโค้งเว้ามหัศจรรย์

ปที่ 39 > ฉบับที่ 173 > กันยายน-ตุลาคม 2554 >> 39

สมการ ของ ไซ คลอ ยด

เมื่อ ใช วงกลม รัศมี r เสน โคง ไซ คลอ ยด หา ได ดังนี้

สูตร ตรีโกณมิติ ที่ ใช

ความ ยาว ของ เสน โคง ไซ คลอ ยด หา ได จาก

จาก รูป จะ เห็น วา จุด x กับ y ของ จุด b หา ได ดังนี้

แทน คา ลงในสมการที่ 1 จะ ได

นา ประหลาด ไหม ถา จดุ b เคลือ่นที ่บน วงกลม รศัม ีr ความ ยาว รอบ วง คอื 2 หรอื ประมาณ 6.28r แต เมือ่ วงกลม เคลือ่นที ่ จดุ b ตดิ ไป กบั ขอบ วงกลม เกดิ เปน ไซ คลอ ยด ความ ยาว ที ่b เคลือ่นที ่ได ใน 1 รอบ เพิม่ ขึน้ เปน 8rแลว กลับมาพบ กับ “ไข ปญหา ฟสิกสในชีวิต ประจำวัน” ไดใหมในฉบับตอไป

วงกลม รศัม ีr ความ ยาว รอบ วง คอื 2 หรอื

จาก

แทน คา ลงในสมการที่ 1 จะ ได

yr

0 x a

b