แนวข้อสอบ กสย...

30
1

Upload: -

Post on 02-Nov-2014

9 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือสอราคา 249 บาท สั่งซื้อได้ที่ : www.Sheetram.com สอบถามรายละเอียด Facebook http://www.facebook.com/Sheetram LINE ID : sheetram บริษัท ชีทราม จำกัด ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่ 453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53) หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102 โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740 FAX : 02-718-6528 เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน

TRANSCRIPT

Page 1: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

1

Page 2: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

2

ขอบเขตเนื้อหา

สวนท่ี 1 ความรูเกีย่วกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวตัิ สกย. 5 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11 วิสัยทัศน 12 คานิยมองคกร 12 พันธกิจ 13 วัตถุประสงค 13 เปาหมายหลัก 13 ยุทธศาสตร 14 ภารกิจ/บริการ 15 ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับสวนยาง 19 การปลูกยางพารา 19 การบํารุงรักษา 32 โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 37 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 45 การแปรรูปผลผลิต 47 มาตรฐานคณุภาพของยางแผนดิบ 50

สวนท่ี 2 กฎหมายท่ีเกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคมุยาง พ.ศ. 2542 53 พระราชบัญญัติกองทนุสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503

แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 68 แนวขอสอบพรบ.กองทนุสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที ่4)

แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 79 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคมุยาง พ.ศ. 2542 86

สวนท่ี 3 ความรูเฉพาะตําแหนง

Page 3: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

3

นโยบาย 93 แผน (Plan) 104 โครงการ (Program) 129 การบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ ์ 143 กระบวนการของการบรหิารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ 143 การจัดทําแผนยุทธศาสตรตามแนวทางของสํานักงาน ก.พ.ร. 144 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร 160 แนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตรที่มีประสิทธิภาพ 162 ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร 173 ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณ 173 งบประมาณแผนดิน 191 แนวความคดิในการจัดทํางบประมาณแผนดิน 202 เทคนิคในการวิเคราะหงบประมาณแผนดิน 204 งบประมาณแบบวางแผนวางโครงการ 210 การติดตามประเมินผลโครงการ (Program Evaluation) 224 การวิจัยและการพัฒนาระบบงาน 240 การวิจัย 240 การบริหารการพัฒนา 246

สวนท่ี 4 กฎหมายท่ีเกี่ยวของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบบัที่ 11 250 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 259 แนวขอสอบ ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 274 ระเบียบสํานักนายสรุปพระราชบญัญตัิขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 296 สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 310 แนวขอสอพระราชบญัญตัิขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 320 แนวขอสอบ วิเคราะหนโยบายและแผน 328

ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง

Page 4: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

4

ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเช่ือม่ันแกชาวสวนยาง

การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษด์ิ ธนรัชต มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวางวันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดานภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือนายณรงค สุจเร นายสมศักด์ิ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงินและบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวย่ิงข้ึน ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางานในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวยความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และนํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในท่ีสุด อีกท้ังใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมีหนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ย่ิงส่ิงที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อบรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุกคนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียงของ สกย. โดดเดนข้ึนมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป

วิสัยทัศน

Page 5: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

5

"มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและย่ังยืน” พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูปเบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสูครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง

คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน

หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคล่ือนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต

พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่

ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง

ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา

ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของเกษตรกร

4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและส่ิงแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ

วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได

และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร

Page 6: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

6

2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง

3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความเหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปล่ียนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล

เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางท่ีใหผลิตสูงกวา ตน

ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถใหผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม

2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยางคุมคา อนุรักษส่ิงแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษาสวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนายผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ

3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล

4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคาในตลาดทองถิ่น

5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสรางทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปล่ียนแปลง รวมถึง เสริมสรางศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล

Page 7: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

7

ความรูทั่วไปเก่ียวกับสวนยาง

การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก

ยางท้ังดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําข้ันบันไดเปนตน

การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย

กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง

แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําข้ันบันได

ประโยชนของการทาํแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ

ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด

เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผ่ึงแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย

Page 8: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

8

ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)

สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุมเย้ืองไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควนมากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี การปลูก

วัสดุปลูกและวิธีการปลูก วัสดุปลูก วัสดุปลูก หรือตนยางท่ีใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2

ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกท่ีแข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช ตนตอตา ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก

ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไมนอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว

ตนยางชําถุง ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกท่ีไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา

ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไปปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู

พันธุยาง กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม 1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251

สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600 2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง

เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงและมีการเจริญเติบโตดีลักษณะลําตนตรง และใหปริมาตรเนื้อไมในสวนลําตนสูง มี4 พันธุ คือ พันธุPB 235 PB 255 PB 260 และ RRIC 110

3. กลุมพันธุยางผลผลิตเนื้อไมสูง

Page 9: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

9

พระราชบัญญัตคิวบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ

รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้

“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตนยางพันธุที่เหมาะสมท่ีจะใชปลูกเปนสวนยาง

“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยางแทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ

Page 10: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

10

หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับสารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง

“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดยคํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด

“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่งไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่งไร ตองมีสวนเฉล่ียไมนอยกวาไรละย่ีสิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด

“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษาตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ

“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง

“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผ่ึงแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิตยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ

“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศจัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอกราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยางตามวิธีการท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนด

“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปล่ียนยาง และหมายความรวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหน่ึงบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดยประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน

“ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย

Page 11: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

11

แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทาํสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530

6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด

ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป

ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป

“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใดไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม

ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา

กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุย่ีสิบหาปข้ึนไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย

ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ

กวาย่ีสิบหาปข้ึนไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย

Page 12: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

12

9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอวาอะไร

ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย.

10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับการยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน

คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณมอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรมศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่นอีกไมเกินหกคนซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับการยางสองคน

Page 13: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

13

12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนงคราวละกี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป

ตอบ ข. 2 ป กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป

13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ก. รอยละหา

ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอยละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปนประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีรัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปนรายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ

ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอยละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ใหรัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน

Page 14: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

14

ความรูเก่ียวกับตําแหนงวิเคราะหนโยบายและแผน

นโยบายและนโยบายสาธารณะ การศึกษานโยบายนั้นโดยทั่วไปอาจจําแนกการศึกษาออกเปน 2 แนวทาง คือ การศึกษานโยบายทั่วๆ ไป (General Policy) และการศึกษานโยบายสาธารณะ (Public Policy) ในความหมายทั่วไป นโยบาย หมายถึง แนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงาน ซึ่งในความหมายนี้จะไมแยกแยะวาจะเปนนโยบายของเอกชนหรือของรัฐก็ลวนแลวแตเปนแนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงานทั้งส้ิน เชน นโยบายของธนาคารกรุงเทพฯ ก็หมายถึง แนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงานของรัฐ เปนตน สําหรับในกรณีนี้จะกลาวถึงเฉพาะนโยบายสาธารณะเปนสําคัญ ซึ่งในความหมายของนโยบายสาธารณะมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายไวดังนี้ Thomas R. Dye กลาววา นโยบายสาธารณะเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับเรื่องราวหรือกิจกรรมที่รัฐบาลเลือกจะกระทําหรือไมกระทํา และเกี่ยวของกับเหตุผลวาทําไมจึงเลือกเชนนั้น William T. Greenwood กลาววา นโยบาย หมายถึง การตัดสินใจข้ันตนที่กําหนดแนวทางทั่วไปอยางกวางๆ เพื่อนําไปสูการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว Ira Sharkansky นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่รัฐบาลหรือองคกรของรัฐจัดทําข้ึน เชน การจัดบริการสาธารณะ การออกกฎหมายและการบังคับใชกฎหมาย การจัดพิธีกรรมอันเปนสัญลักษณของสังคม และการควบคุมกระบวนการกําหนดนโยบายหรือการกระทําทางการเมืองอื่นๆ เปนตน ดร.กระมล ทองธรรมชาติ กลาววา นโยบาย คือ แนวทางที่แตละประเทศไดเลือกปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่งตามที่กําหนดไว อันเปนวัตถุประสงคที่เชื่อวาถาทําไดสําเร็จจะยังเปนประโยชนกับประเทศของตนได สรุปก็คือ นโยบายสาธารณะ (Public Policy) นั้น อาจเปนนโยบายของรัฐบาลหรือของเอกชนก็ได หากนโยบายนั้นมุงผลประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญ แตสําหรับนโยบายของรัฐบาล (Government Policy)แลว จะตองเปนนโยบายสาธารณะเทานั้น

Page 15: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

15

ลักษณะทั่วไปของนโยบาย จากความหมายทั้งหมดจะเห็นวา นโยบายทั่วๆ ไปจะมีลักษณะดังนี้ 1. เปนแนวทางอยางกวางๆ คือ ไมเจาะจง ยังมีลักษณะยืดหยุนอยูมาก 2. มีจุดมุงหมาย ซึ่งอาจเปนวัตถุประสงคอยางหนึ่งอยางใดที่สําคัญมากๆ เชน เปนประโยชนขององคการ เปนตน 3. เปนขอเสนอเกี่ยวกับการปฏิบัติ คือ นโยบายจะเปนเครื่องชี้นําใหมีการปฏิบัติตาม พรอมทั้งเสนอแนะแนวทางที่สามารถปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดวางไวดวย องคประกอบที่สําคัญของนโยบาย 1. นโยบายจะตองแสดงถึงความแนนอน และชัดเจนในการทํางาน กลาวคือ ในการกําหนดนโยบายแหงรัฐนั้นจะตองคํานึงถึงความแนนอนในการที่จะทําใหนโยบายบรรลุผลดวย 2. นโยบายจะตองนําไปสูการสรางเสถียรภาพ และความมั่นคงของประเทศ 3. นโยบายจะตองทําและปฏิบัติอยางตอเนื่อง และกระบวนการทํางานทั้งหลายจะตองมีการเปล่ียนแปลงตามกระบวนการดวย รูปรางของนโยบาย นโยบายมีหลายรูปรางและหลายลักษณะตามการใชประโยชนของนโยบาย ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้ 1. มีรูปเปนกฎหมาย กฎ ระเบียบ คือ เปนนโยบายที่มีลักษณะบังคับใหตองปฏิบัติตาม ไดแก กฎหมายตางๆ ของรัฐ เปนตน 2. มีรูปเปนแผนงาน โครงการ คือ เปนนโยบายที่มีลักษณะเปนขอเสนอแนะ และเปนแนวทางสําหรับการปฏิบัติงานขององคการ และไมมีลักษณะบังคับใหทุกคนตองปฏิบัติตาม 3. มีรูปเปนประกาศ แจงความ คือ มีลักษณะเพื่อแจงขาวสาร เชิญชวน และมีลักษณะบังคับนอยที่สุด เชน นโยบายเชิญชวนเฉลิมฉลองในวาระโอกาสที่สําคัญๆ เปนตน 4. มีรูปเปนสัญญา คือ เปนนโยบายที่รัฐใหสัญญากับสังคม เชน การแถลงนโยบายของรัฐบาลตอรัฐสภา เปนตน

Page 16: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

16

นักวางแผน (Planner) หมายถึง บุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งไดรับมอบหมายใหมีหนาที่วางแผน เพื่อสรางสรรคแผนงาน (Plan) ตามแนวทางที่องคการตองการ โดยปกติหนาที่ในการวางแผนในระดับองคการนั้นจะถือเปนหนาที่ของนักบริหารระดับกลาง (Middle – Level Administrator) คือนักบริหารระดับหัวหนาหนวย (Department) นั่นเอง สวนนักบริหารระดับสูง (Top – Level Administrator) จะวางนโยบายและนักบริหารระดับลาง (Lower – Level Administrator) จะวางโครงการ ทักษะสําหรับนักวางแผน การวางแผนเปนการใชสติปญญาเพื่อกําหนดแนวทางสําหรับการดําเนินงานขององคการในอนาคต ดังนั้นการวางแผนจึงตองอาศัยทักษะหลายดานประกอบกัน เชน ตองใชทั้งการจินตนาการท่ีกวางไกล มีความคิดริเริ่มสรางสรรคที่ดี ตองมีความรูในหลักวิชาการหลายๆ สาขา ตองรูจักใชเทคนิค – ทฤษฎีการพยากรณใหเหมาะสม เปนตน จึงจะชวยใหการวางแผนสมบูรณไดมากข้ึน จะเห็นไดวากิจกรรมการวางแผนมีขอจํากัดมาก ดังนั้นงานวางแผนจึงมักเปนงานระดับกลุมหรือตองประกอบดวยผูเชี่ยวชาญหลายๆ สาขามารวมกันสรางแผน โดยมีนักวางแผนเปนตัวประสานใหการวางแผนไปสูจุดหมายรวมกันขององคการได บทบาทของนักวางแผนในองคการ Cleland และ King กลาววา บทบาทของนักวางแผนในองคการจําแนกไดตามระดับความรับผิดชอบดังนี้ 1. ในระดับองคการ นักวางแผนจะมีบทบาทได 2 ลักษณะ ดังนี้ 1) ชวยกําหนดยุทธวิธีหลักตางๆ เพื่อชวยผูบริหาร ไดแก

- เลือกแบบแผนของแนวความคิดในระบบการวางแผนเชิงยุทธวิธีที่เหมาะสม

- ชวยอํานวยความสะดวกในการใชระบบการวางแผน โดยอภิปรายรวมกับผูบริหารเพื่อเลือกใชระบบที่เหมาะสม

- รับผิดชอบในการปรับปรุงระบบ เชน เปล่ียนรูปแบบ ขยายขอบเขต เปล่ียนจุดเนนและอื่นๆ

2) ปรับปรุงดานกายภาพของระบบราชการ เชน ปรับปรุง แจกจายคูมือการวางแผน ปฏิบัติการวางแผน เปนตน

Page 17: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

17

ขั้นตอนการวางแผน (Planning Processes) กลาวโดยสรุป ข้ันตอนทั้งหลายในการวางแผนอาจจําแนกยอยๆ ได 3 กระบวนการ ไดแก 1. ขั้นเตรียมการ เปนการกําหนดเคาโครงกลยุทธของแผน ซึ่งมีกิจกรรมสําคัญๆ ไดแก 1) การกําหนดวัตถุประสงคของแผน 2) การกําหนดแนวทางของแผน 2. ศึกษาวิเคราะหสถานการณ เปนการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิเคราะหความถูกตองของงานในขั้นเตรียมการ ซึ่งขอมูลในการวางแผนอาจจําแนกไดเปน 2 กลุม คือ 1) ความเปนจริง (Fact) เกี่ยวกับขอมูลที่ตองใชในการวางแผน 2) ความโนมเอียง (Trend) เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของขอมูลที่ตองใชในการวางแผนในอนาคต 3. ลงมือวางแผน หลังจากกําหนดความถูกตองของแผนไดแลวจึงลงมือเขียนแผนใหถูกตองตามรูปแบบที่ควรจะเปนของแผนงาน โดยตองกําหนดรายละเอียดใหชัดเจนวาจะทําที่ไหน เมื่อไหร อยางไร เปนตน นอกจากนี้กระบวนการหรือข้ันตอนของการวางแผนนั้น ยังสามารถแบงไดเปน 2 ระยะ คือ 1) การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning Process) 2) การวางแผนดําเนินการ (Operational Planning Process) อยางไรก็ตาม มีนักวิชาการหลายทานไดเสนอแนะขั้นตอนการวางแผนอยางละเอียดตางๆ กันไป ซึ่งจะยกตัวอยางดังตอไปนี้ 1. กระบวนการวางแผนตามทัศนะของ ศ. Le Breton มี 14 ขั้นตอน คือ 1. พิจารณาถึงความจําเปนที่จะตองมีการวางแผน วามีความจําเปนมากนอยขนาดไหนที่จะตองมีการกําหนดแผนเพื่อนํามาปฏิบัติ โดยปกติตองมั่นใจวาการวางแผนจะตองเปนเรื่องสําคัญ และไมมีวิธีอื่นใดจะชวยแกไขปญหาใหมีประสิทธิภาพไดมากกวาการวางแผน จึงจะมีการวางแผน ทั้งนี้เพราะการวางแผนตองเสียคาใชจาย กําลังงาน ตองใชเวลามาก และมีข้ันตอนที่ยุงยากหลายข้ันตอน

Page 18: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

18

กระบวนการของโครงการ (Processes of Program) กระบวนการของโครงการมีลักษณะเชนเดียวกับกระบวนการนโยบายและ

แผน กลาวคือ ประกอบดวยกระบวนการยอยๆ 4 ข้ันตอน คือ 1. การรางหรือวางโครงการ (Program Planning) 2. การวิเคราะหและประเมินโครงการ (Program Analysis Appraisal Processes) 3. การบริหารหรือการนําโครงการไปปฏิบัติ (Program Implementation) 4. การติดตามประเมินผลโครงการ (Program Evaluation) รายละเอียดของแตละขั้นตอนมีดังนี้ กระบวนการวางโครงการ (Program Planning Processes) ข้ันตอนนี้เปนข้ันตอนการกอรูป (Formulation) ของโครงการซึ่งโดยท่ัวไปมีแนวคิดดังนี้ 1. ใชหลักการวางแผนทั่วไป 2. มีหลักเพิ่มเตมิคือ - โครงการทั้งหลายจะไมอยูโดดเด่ียว จะตองสัมพันธกับโครงการอื่นอยูเสมอ ไมวาจะเปนดานการสงเสริมกัน หรือขัดแยงกันก็ตาม - การวางโครงการตองมีรายละเอียดซึ่งสามารถมองเห็นเปนรูปธรรมได เพื่อฝายปฏิบัติและฝายติดตามประเมินผลจะไดปฏิบัติตามไดโดยสะดวก 1. หลักทั่วไปในการวางแผนโครงการ ในทางทฤษฎีการวางโครงการแบงออกไดเปน 2 ระยะ คือ 1. การวางโครงการขั้นกลยุทธ (Strategic Program Planning) 2. การวางโครงการขั้นกําหนดรายละเอียดและวิธี ดําเนินการ (Operation Program Planning) ระยะที่ 1 การวางโครงการกลยุทธ กิจกรรมในข้ันตอนนี้เปนงานกําหนดเคาโครง และแนวทางสําคัญของโครงการ โดยมีเปาหมายที่สําคัญเพื่อใหไดแนวทางในการดําเนินโครงการที่ดีที่สุด (The best way program) หรือเพื่อวิเคราะหหาทางเลือกท่ีเหมาะสมท่ีสุด (The best alternative) ของโครงการใหไดนั่นเอง ระยะที่ 2 การวางโครงการดําเนินการ

Page 19: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

19

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559)

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อมุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนาประเทศสูความสมดุลและย่ังยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”

การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดท่ีมีความตอเนื่องจากแนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมท้ัง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และขับเคล่ือนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนย่ิงข้ึนในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและบริหารประเทศเปนไปบนทางสายกลาง

การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ตองเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ ดังนี ้

1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคณุภาพ 1.1 การสรางความเปนธรรมในสังคม 1.2 การพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชวีิต

2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ที่มุงพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง เพื่อลดการพึง่พาปจจัยภายนอก 2.1 การสรางความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน

2.2 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและย่ังยืน ใหความสําคัญกับ

การปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิปญญา 2.3 การสรางความเชือ่มโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง

เศรษฐกิจและสังคม ใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความรวมมอืระหวางประเทศในภูมิภาคตางๆ

3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

Page 20: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

20

สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) 2. การประเมินสถานการณ ความเสี่ยงและการสรางภูมิคุมกันของประเทศ 2.1 สถานการณการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยยัง

ตองเผชิญกบัการเปล่ียนแปลงที่สําคัญทั้งในระดับโลก และภายในประเทศ ซึ่งมีผลกระทบท้ังที่เปนโอกาสและความเสีย่งตอการพฒันาประเทศ ดังนี้

2.1.1 การเปลี่ยนแปลงสําคัญระดับโลก 1) กฎ กติกาใหมของโลกหลายดานสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัว

2) การปรับตัวเขาสูเศรษฐกจิโลกแบบหลายศูนยกลาง รวมทั้งภูมภิาคเอเชียทวีความสําคัญเพิม่ข้ึน การรวมกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญตอประเทศไทยในชวงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 11 ไดแก การรวมกลุมในภมูิภาคเอเชีย ภายใตกรอบการคาเสรีของอาเซียนกับจีน ญี่ปุน และอินเดียและการเปนประชาคมอาเซยีนในป 2558

3) การเขาสูสังคมผูสูงอายุของโลกอยางตอเนื่อง 4) การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกสงผลใหสภาพภูมิอากาศแปรปรวน 5) ความมัน่คงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโนมจะเปนปญหา

สําคัญ 6) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพฒันา

เศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งตอบสนองตอการดํารงชีวิตของประชาชนมากย่ิงข้ึน 7) การกอการรายสากลเปนภัยคุกคามประชาคมโลก

2.1.2 การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ 1) การเปล่ียนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ 2) การเปล่ียนแปลงสภาวะดานสังคม ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุ

จากการมีโครงสรางประชากรที่วัยสูงอายุเพิ่มข้ึน วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยไดรับการพัฒนาศักยภาพทุกชวงวัยแตมปีญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปญญาของเด็ก

3) การเปล่ียนแปลงสภาวะดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 4) การเปล่ียนแปลงสภาวะดานการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ

2.2 การประเมินความเสี่ยง ประเทศไทยจะเผชิญกับความเสี่ยงที่ตองเตรียมการสรางภูมิคุมกันใหประเทศพรอมเผชญิการเปล่ียนแปลงอยางมีประสิทธภิาพ 6 ประการ ดังนี้

2.2.1 การบริหารภาครัฐออนแอ 2.2.2 โครงสรางทางเศรษฐกิจไมสามารถรองรบัการเจริญเติบโตอยางย่ังยืน

เศรษฐกิจไทยยังคงพึ่งพาเศรษฐกิจภายนอกประเทศ

Page 21: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

21

ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548

ความหมาย “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการจัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย

“หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่น

ใดของรัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือในตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการใหปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน

ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้

ชนิดของหนังสือ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง

บุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวน

ราชการ 4. เอกสารท่ีทางราชการจัดทําข้ึนเพื่อเปนหลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําข้ึนตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ หนังสือ มี 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือส่ังการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ

Page 22: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

22

6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําข้ึน หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ

หนังสือภายนอก หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการท่ีเปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ

เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก

หนังสือภายใน หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก

เปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ

หนังสือประทับตรา หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวน

ราชการระดับกรมข้ึนไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก

1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ ส่ิงของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การตอบรับทราบท่ีไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน 4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 5. การเตือนเรื่องที่คาง 6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไปกําหนดโดยทําเปนคําส่ัง ใหใชหนังสือ

ประทับตรา หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ

Page 23: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

23

แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548

7.ขอใดมิใชความหมายของหนังสือราชการ ก. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ ข. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นที่มใิชสวนราชการ ค. เอกสารทีท่างราชการจัดทําข้ึนเพื่อใชเปนหลักฐานในราชการ ง. หนังสือที่มีข้ึนเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก ตอบ ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซ่ึงมิใชสวนราชการ หรอืที่มีไปถึงบุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ

4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําข้ึนตามกฎหมาย ระเบียบหรือขอบังคับ (ขอ 9 ระเบยีบฯ งานสารบรรณ)

8."หนังสือภายนอก" หมายถึงขอใด ก. หนังสือตดิตอราชการที่เปนแบบพธิ,ี ใชกระดาษบันทึก ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธ,ี ใชกระดาษตราครฑุ ค. หนังสือทีใ่ชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครฑุ ตอบ ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธ,ี ใชกระดาษตราครุฑ

หนังสือภายนอก คอื หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพธิีโดยใชกระดาษตราครุฑ เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมถีึงหนวยงานอื่นซึ่งมิใชสวนราชการ หรอืที่มีถึงบคุคลภายนอก (ขอ 11 ระเบยีบฯ งานสารบรรณ) 9."หนังสือภายใน" หมายถึงขอใด ก. หนังสือตดิตอราชการที่เปนแบบพธิี, ใชกระดาษบันทึก

Page 24: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

24

ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธ,ี ใชกระดาษตราครฑุ ค. หนังสือทีใ่ชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครฑุ ตอบ ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก

หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก เปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทกึขอความ (ขอ 12 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 10.ผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตราในหนังสือประทับตราคือใคร ก. หัวหนาหนวย ข. หัวหนาสวนราชการระดับกอง ค. เจาหนาที่ภายในหนวยงาน ง. หัวหนาฝาย ตอบ ข. หัวหนาสวนราชการระดับกอง

หนังสือประทับตรา คอื หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรอืผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการระดบักรมข้ึนไป เปนผูรับผิดชอบลงชือ่ยอกํากับตรา (ขอ 13 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 11.ขอใดไมควรใชหนังสือประทบัตรา ก. การสงสําเนาหนังสือ ส่ิงของ เอกสาร ข. การตอบรับทราบท่ีไมเกี่ยวกบัรายการสําคัญ ค. การเตือนเรื่องที่คาง ง. หนังสือสําคัญเกี่ยวกับการเงิน ตอบ ง. หนังสือสําคัญเก่ียวกับการเงิน

หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก 1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ ส่ิงของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ

Page 25: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

25

สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540” มีผลใชบังคบัเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป และมีายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบญัญัตนิี้ และมีอํานาจออกกฎกระทรวง ผูรับสนองพระบรมราชโองการ คือ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตร ี “ขอมูลขาวสาร” หมายความวา ส่ิงที่ส่ือความหมายใหรูเรื่องราวขอเทจ็จริง ขอมูล หรือส่ิงใดๆ ไมวาการส่ือความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทําใหส่ิงที่บันทึกไวปรากฏได “ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภมูิภาค ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการพิจารณาพพิากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวชิาชพี หนวยงานอสิระของรัฐและหนวยงานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ “ขอมูลขาวสารสวนบคุคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือส่ิงบอกลักษณะอื่นที่ทําใหรูตัวผูนั้นได เชน ลายพิมพนิ้วมอื แผนบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมลูขาวสารเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตวัของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ “คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยู ในประเทศไทย และนิตบิุคคลดังตอไปนี้ (1) บริษัทหรือหางหุนสวนที่มีทุนเกนิกึ่งหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแกผูถือ ใหถือวาใบหุนนั้นคนตางดาวเปนผูถือ (2) สมาคมที่มีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว

Page 26: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

26

(3) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนของคนตางดาว (4) นิติบุคคลอื่นใดที่มีผูจัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว การเปดเผยขอมูลขาวสาร หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา (1) โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน (2) สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธกีารดําเนินงาน (3) สถานที่ติดตอเพือ่ขอรับขอมูลขาวสาร หรือคาํแนะนําในการติดตอกบัหนวยงานของรัฐ (4) กฎ มตคิณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คําส่ัง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดใหมีข้ึนโดยมีสภาพอยางกฎ เพื่อใหมีผลเปนการทั่วไปตอเอกชนท่ีเกี่ยวของ (5) ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด หนวยงานของรัฐตองจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ไวใหประชาชนเขาตรวจดูได (1) ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงตอเอกชน รวมทั้งความเห็นแยงและคําส่ังที่เกี่ยวของในการพจิารณาวินิจฉัยดังกลาว (2) นโยบายหรือการตีความที่ไมเขาขายตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา (3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจําปของปที่กําลังดําเนินการ (4) คูมือหรอืคําส่ังเกี่ยวกับวิธีปฏิบตังิานของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหนาที่ของเอกชน (5) ส่ิงพิมพที่ไดมีการอางอิง (6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุนกบัเอกชนในการจัดทําบริการสาธารณะ (7) มติคณะรัฐมนตร ี หรือมตคิณะกรรมการที่แตงตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ใหระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลขาวสารที่นํามาใชในการพิจารณาไวดวย (8) ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด

Page 27: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

27

แนวขอสอบ วิเคราะหนโยบายและแผน

3. ในกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติปจจัยอะไรที่ไมสามารถจะควบคุมได (1) วัตถุประสงคของนโยบาย (2) การทํางานเปนทีม (3) งบประมาณ (4) ความเห็นที่ขัดแยงกันของบุคคล (5) โครงสรางขององคกร ตอบ 4 ในกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัตินั้นจะมีปจจัยมากมาย ทั้งปจจัยภายใน

และปจจัยภายนอกที่นโยบายไมสามารถควบคุมได ซึ่งปจจัยเหลานี้จะกระทบกระเทือนตอการนํานโยบายไปปฏิบัติได เชน สภาวะทางธรรมชาติ ความเห็นที่ขัดแยงกันของบุคคลหรือหนวยงานตาง ๆ

4. Walter Williams กลาววา การนํานโยบายไปปฏิบัติหมายถึงการตระเตรียมวิธีการดําเนินการกับอะไร (1) การวิเคราะหนโยบาย (2) เลือกแนวทางดําเนินการ (3) ดําเนินการใหสําเร็จ (4) ประเมินผลแนวทางการดําเนินการ (5) คัดเลือกนโยบาย ตอบ 3 Walter Williams กลาววา การนํานโยบายไปปฏิบัติ (Implementation) มี

ความหมาย 2 ประการ คือ 1. การจัดหาหรือการตระเตรียมวิธีการท้ังหมดทั้งปวงที่จะทําใหการดําเนินการสําเร็จลุลวงใหพรักพรอม 2.การดําเนินการใหสําเร็จลุลวง

5. ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับความจําเปนในการประเมินนโยบาย

(1) เพื่อสรางความยอมรับดานมาตรฐานของการดําเนินงาน (2) เพื่อตรวจสอบความถูกตองของนโยบาย (3) เพื่อเรียนรูถึงผลกระทบตาง ๆ ที่เกิดข้ึนตอชุมชนและสังคมสวนรวม (4) เพื่อประหยัดงบประมาณที่ใชในการนํานโยบายไปปฏิบัติ (5) เพื่อการตัดสินใจโดยเฉพาะการตัดสินใจในเชิงนโยบายวาควรทําตอเนื่องหรือ

ส้ินสุดนโยบาย ตอบ 4 ความจําเปนในการประเมินนโยบาย มีดังนี้ 1.เพื่อตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม และสัมฤทธิผลของการใชจายเงิน

ตามนโยบาย

Page 28: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

28

2.เพื่อสรางความยอมรับในดานมาตรฐานของการดําเนินงานตามนโยบาย 3.เพื่อการตัดสินใจในเชิงนโยบายวาควรจะทําตอเนื่องหรือไม

4.เพื่อเรียนรูถึงผลกระทบตาง ๆ ที่มิไดคาดคิดเอาไว 5. เพื่อเปนการพัฒนาตัวนโยบายไดดีข้ึน

6. แบบอะไรถูกตองในการวัดประสิทธิผล (Effectiveness Evaluation) ของนโยบาย (1) แผนการรายงาน (2) แผนตรวจงาน (3) แผนประเมินผลงาน (4) แบบวิธีทดลอง (5) แบบการวัดประสิทธิภาพ ตอบ 3 การประเมินผลโดยการวัดประสิทธิผลของนโยบาย ถือเปนการประเมินผล

แบบซ่ึงทําไดโดยการเปรียบเทียบผลลัพธที่เกิดข้ึนจริงในรูปของหนวยของผลิตผลหรือบริการกับผลที่คาดวาจะเกิดข้ึนเอง ถาผลลัพธที่ไดเปนไปตามเปาหมายท่ีตั้งเอาไวก็แสดงวาสามารถดําเนินกิจการตามนโยบายไดอยางมีประสิทธิผล

7. ขอใดกลาวไมถูกตองในความจําเปนที่จะตองมีการเปล่ียนแปลงนโยบาย

(1) มีสภาพปญหาความตองการเปล่ียนไป (2) มีความคิดริเริ่มใหมเกิดข้ึน ซึ่งการเปล่ียนแปลงในสภาพแวดลอมทางดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยีเปล่ียนไป

(3) เกิดการเปล่ียนแปลงในระดับของทรัพยากร ซึ่งอาจสงผลทําใหผูกําหนดนโยบายตองตัดสินใจเปล่ียนแปลงนโยบาย

(4) เกิดจากความรูสึกเสียดายที่ไดมีการลงทุนลงแรงไปมากพอสมควรแลว (5) มีกระแลการเรียกรองใหญจากประชาชนเกิดข้ึน ตอบ 4. นโยบายสาธารณะนั้นสามารถที่จะเปล่ียนแปลงได เมื่อมีความจําเปน

บางอยางเกิดข้ึน เชน มีสภาพปญหาความตองการเปล่ียนไป มีความคิดริเริ่มเกิดข้ึน หรือเกิดการเปล่ียนแปลงในระดับของทรัพยากรที่มีอยู ซึ่งอาจสงผลใหผูกําหนดนโยบายตองตัดสินใจเปล่ียนแปลงนโยบาย เปนตน

8. การนํานโยบายไปปฏิบัติมีลักษณะทั่วไป 3 อยาง คือ

(1) ตองเปนกระบวนการ ตองเปนธรรมชาติ และตองลงมือกระทํา

Page 29: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

29

(2) ตองเปนกระบวนการ ตองเปนธรรมชาติ และตองมีผลงานออกมา (3) ตองเปนกระบวนการ ตองเปนกระบวนการที่มีระบบ ตองลงมือกกระทําจริง (4) ตองเปนกระบวนการ ตองมีกลุมบุคคลทํา และตองมือกระทําจริง (5) ตองเปนกระบวนการ ตองไดรับอนุมัติ และตองมีการลงมือกระทําจริง ตอบ 3. ลักษณะของการนํานโยบายไปปฏิบัติ มีลักษณะทั่วไปดังนี้ 1.ตองเปนกระบวนการ 2. ตองเปนกระบวนการที่มีระบบ 3.ตองมีการลงมือกระทําจริง

9. กระบวนการของนโยบาย (Processes of Policy) เรียกตามลําดับไดอยางไร (1) กําหนด – วิเคราะห – ปฏิบัติ – ประเมิน (2) วิเคราะห – กอรูป – ประเมิน (3) ประเมิน – ปฏิบัติ – วิเคราะห (4) ปฏิบัติ – วิเคราะห – ประเมิน (5) กําหนด – ปฏิบัติ – วิเคราะห – ประเมิน ตอบ 1. . กระบวนการของนโยบาย ประกอบดวย 1. การกําหนดหรือการกอรูปนโยบาย 2. การวิเคราะหนโยบาย 3. การนํานโยบายไปปฏิบัติ 4. การติดตามประเมินผลการปฏิบัตินโยบาย

10. ปจจัยสําคัญที่ผูกําหนดนโยบายตองรูเขาใจและตองทําใหกระจางชัดกอนเริ่มกระบวนการกําหนดนโยบาย (1) ปญหาของนโยบาย (2) ส่ิงแวดลอมของนโยบาย (1) ข้ันตอนในการกําหนดนโยบาย (4) ถูกทุกขอ (5) ถูกเฉพาะขอ 1 กับ 2 ตอบ 4. ปจจัยสําคัญที่ผูกําหนดนโยบายจะตองรูและเขาใจกอนที่จะเริ่มกระบวนการกําหนดนโยบาย ไดแก 1. ปญหาของนโยบาย 2. ส่ิงแวดลอมของนโยบาย 3. ข้ันตอนในการกําหนดนโยบาย

Page 30: แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส?

30

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740