(ร าง) คู มือแนวทางปฏิบัติ การ...

118
(ราง) คูมือแนวทางปฏิบัติ การสอบเพื่อประเมินความรูและทักษะ ทางดานวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก (OSLER) เพื่อประกอบการขอขึ้นทะเบียนและ รับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพทันตก รรม ทันตแพทยสภา

Upload: phamdan

Post on 09-Jun-2018

214 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

(ราง) คูมอืแนวทางปฏบิตั ิการสอบเพือ่ประเมนิความรูและทกัษะ ทางดานวทิยาศาสตรการแพทยคลนิกิ

(OSLER)

เพือ่ประกอบการขอขึน้ทะเบยีนและ รบัใบอนญุาตเปนผูประกอบวชิาชพีทนัตก

รรม

ทนัตแพทยสภา

รางคูมือ OSLER 2

พ.ศ. 2556

หลกัการของศนูยประเมนิและรบัรองความรูความสามารถ ในการประกอบวชิาชพีทนัตกรรม (ศปท.)

แนวทางการประเมินเพ่ือรับรองความรูความสามารถในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม จัดการประเมิน ๒ ข้ันตอนหลักคือ 1. Comprehensive Assessment ประเมินภาคทฤษฎี Part I Basic med & dent sciences Part II Clinical Sciences 2. Skill Assessment ประเมินภาคปฎิบัติ OSLER (institution) OSCE (CDA - central)

หลักการของ OSLER (Objective Structured Long Examination Record)

รางคูมือ OSLER 3

- OSLER or The Long-case examination is focused the patient as a whole. การประเมินภาคปฎิบัติดวย OSLER เปนการมุงเนนท่ีการดูแลผูปวยแบบองครวม

- OSLER is performance-based examination การประเมินภาคปฎิบัติดวย OSLER เปนการประเมินทักษะการปฎิบัติ และเปนการประเมินการบวนการจัดการปรากฎการณการเจ็บปวยดวยทักษะทางคลีนิค การส่ือสาร และจรรยาบรรณวิชาชีพ

- หลักการทํางานของคณะอนุกรรมการจัดทํา OSLER เริ่มตนจากการนําเกณฑ มาตรฐานผูประกอบวิชาชีพทันตกรรมของทันตแพทยสภา หรือ competency มี 3 ดาน 41 ขอ ประกอบดวย

ดานที ่1 ความเปนวิชาชพี (11 ขอ): Critical thinking, Communication and Professionalism

ดานที ่2 ความรูพืน้ฐาน (1 ขอ): Basic medical & dental sciences and Clinical dental sciences

ดานที ่3 ทกัษะทางคลนิกิ (29 ขอ): Data gathering, Diagnosis & Treatment plan and treatment procedure ซึ่งมีงาน - Health promotion สงเสริมปองกันสุขภาพชองปาก - Practice management and informatics การจัดการขอมูล - Patient care การดูแลผูปวย:

รางคูมือ OSLER 4

a) assessment, diagnostic and treatment planning

b) establishment and maintain oral health สิ่งที่ OSLER จะประเมิน

1. Patient approach or Interview the patient: Professionalism and Communication skill

2. Oral and physical examination, diagnosis and treatment planning:

Mechanism of disease, Basic knowledge and Critical thinking

3. Health promotion and disease prevention 4. Patient management and treatment: Clinical skill,

Professionalism and Interaction with patient

ขั้นตอนการดําเนินงานของอนุกรรมการฯ ก) รางข้ันตอนการทํางานในคลินิกแตละงาน ข ) กํ า ห น ด น้ํ า ห นั ก ใ น แ ต ล ะ ข้ั น ต อ น ต า ม dental competency ค) ราง table of specifation โดย กําหนด supporting competency and must know information ง) สรางแบบฟอรม และ แฟมรายงานผูปวย

รางคูมือ OSLER 5

ขอตกลงเบื้องตนของการประเมินภาคปฎิบัติแบบ OSLER การสอบปฏิบัติ แบงออกเปน 9 งาน ดังนี้คือ

1. การสอบตรวจ วินิจฉัยและวางแผนการรักษาทางทันตกรรม 2. การสอบบูรณะฟน 3. การสอบรักษาคลองรากฟน 4. การสอบศัลยศาสตรชองปาก 5. การสอบขูดหินน้ําลายและเกลารากฟน 6. การสอบทันตกรรมประดิษฐ 7. การสอบทันตกรรมปองกัน 8. การสอบทันตกรรมบดเคี้ยว 9. การสอบทันตกรรมเด็ก

การสอบปฏิบัติ Objective Structure Long Examination Record (OSLER) เปนการสอบเพ่ือประเมินทักษะทางคลินิก โดยผูสอบตองคัดเลือกผูปวยอยางนอย 1 ราย เพ่ือตรวจ วินิจฉัย และวางแผนการรักษาท้ังปาก จากนั้นผูสอบตองใหการรักษาทางทันตกรรมตามแผนการรักษาท่ีวางไวจนเสร็จส้ินอยางนอย 3 งาน

การพิจารณาผลผลการประเมินการสอบปฎิบัติทางคลินิก ในผูปวย แตละงานใหข้ึนกับดุลยพินิจของกรรมการในสถานบันการศึกษาท่ีไดรับการแตงต้ังจากศูนยประเมินและรับรองความรูความสามารถในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม (ศปท.) เม่ือทําการประเมินเสร็จส้ินแลว ผูสอบตองทํารายงานสรุปการตรวจ การวินิจฉัย การวางแผนการรักษาและรายละเอียดการรักษาในแตละงานท่ีผูสอบใชในการประเมิน เพ่ือนําสงทันตแพทยสภาตอไป

หมายเหตุ ในกรณีเหตุสุดวิสัยท่ีผูปวยไมสามารถใหการบริการตามแผนการรักษาท่ีผูสอบวางไว 3 งาน อาทิเชน ผูปวยไมมารับบริการตอเนื่อง Loss of follow up เปนตน ผูสอบสามารถคัดเลือกผูปวยเพ่ิมข้ึน เพ่ือจะไดใหการบริการทันตกรรมเพ่ิมจนกระท่ังรวมกันครบ 3 งาน แตผูสอบตองทําการตรวจ วินิจฉัย และวางแผนการรักษาท้ังปาก

รางคูมือ OSLER 6

Diagnosis and Treatment planning ในผูปวยรายใหมนี้ ท้ังนี้การจะรับผูปวยเพ่ิมตองข้ึนอยูกับดุลยพินิจของกรรมการในสถานบันการศึกษาท่ีไดรับการแตงต้ังจากศูนยประเมินและรับรองความรูความสามารถในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม (ศปท.) ลกัษณะเคสทีน่าํมาสอบได การสอบตรวจ วนิิจฉยั และวางแผนการรกัษา เคสท่ีสามารถนํามาสอบไดนั้น ตองเปนผูปวยเคสใหม หรือกรณีท่ีเปนผูปวยเคสท่ีเคยนํามาสอบแลวนั้น สามารถนํามาสอบไดใหม ตองมีระยะเวลาในการวางแผนการรักษาหางจากการวางแผนการรักษาครั้งแรกไมนอยกวา 2 ป ทันตกรรมบูรณะ

1. เปนฟนมีชีวิตท่ีจําเปนตองไดรับการบูรณะในแบบ Class II, Class III หรือ Class IV (มีวัสดุบูรณะเกาได แตตองมีรอยผุเพ่ิม)

2. มีคูสบ (คูสบเปนฟนเทียมได) 3. มี proximal contact (หากฟนขางเคียงมีรอยผุ ตองไดรับการ

บูรณะกอนท่ีจะทําการสอบ) 4. จะบูรณะฟนดวยวัสดุชนิดใดก็ได

การรักษาคลองรากฟน 1. ฟนหนา หรือฟนกรามนอยบนหรือลางท่ีมีขอบงช้ีวาตองรักษา

คลองรากฟน 2. เปนฟนท่ีมีคลองรากเดียวหรือมากกวา และรูปรางของคลองราก

ฟนไมซับซอน เชน ปลายรากฟนคอนขางตรง คลองรากฟนไมตีบมาก

3. ฟนตองมีรูปรางของสวนตัวฟน ท่ีสามารถใสแผนยางกันน้ําลาย และแคลมปไดตลอดการรักษา

รางคูมือ OSLER 7

4. ถาไดรับบําบัดฉุกเฉินมากอนจะตองทําการบูรณะตัวฟนดวยวัสดุบูรณะถาวร เพ่ือสามารถประเมินข้ันตอนเปดทางเขาสูโพรงเนื้อเย่ือในฟน (access opening)

5. ผานความเห็นชอบของอาจารยแผนกผูปวยนอกหรืออาจารยสาขาวิทยาเอ็นโดดอนต

ศัลยศาสตรชองปาก ฟนกรามลางท่ีโยกไมมากกวาระดับ 1

การรักษาทางปริทันตวิทยา กรณีท่ีผูประเมินตองการประเมินการรักษาทางปริทันตวิทยาในรายผูปวยท่ีเลือกนั้น ไมวาระดับความรุนแรงของโรคปริทันตท่ีผูปวยเปนอยูจะมีความรุนแรงอยูในระดับใด ผูสอบตองทําการรักษาทางปริทันตใหผูปวยรายนั้นจนเสร็จส้ินถึงข้ันตอน complete hygienic phase

แนวทางการจดัทาํรายงานผูปวย (ฉบบัราง) ในการจัดทํารายงานผูปวยเพ่ือเสนอตอคณะกรรมการประเมินฯ ทันตแพทยสภา จะมีองคประกอบของรายงานดังตอไปนี้

1. หนาปก ใหมีรายละเอียดตามรูปแบบท่ีกําหนด 2. เนื้อหารายงานผูปวย จะตองประกอบดวยหัวขอดังตอไปนี ้( หั ว ข อ ใ ช ตั ว อั ก ษ ร TH Sarabun ขนาด 18 พอยต ตัวหนา เนื้อหา ใชตัวอักษร TH Sarabun ขนาด 16 พอยต ตัวปกติ)

2.1 ขอมูลท่ัวไป (Demographic data) - อายุ เพศ สถานภาพ อาชีพ 2.2 สาเหตุสําคัญท่ีมาพบทันตแพทย (Chief complaint)

รางคูมือ OSLER 8

2.3 ประวัติของอาการสําคัญในปจจุบัน (Present illness) 2.4 ประวัติทางการแพทยและการมีโรคประจําตัว (Medical

history) 2.5 ประวัติสุขภาพของครอบครัว (Family history) 2.6 ประวัติการรักษาทางทันตกรรม (Dental history) พฤติกรรม

การดูแลสุขภาพชองปาก (Oral Health Care) พฤติกรรมการรับประทานอาหาร (Nutritional status) และนิสัยชองปาก (Oral habits)

2.7 ประวัติทางสังคมและพฤติกรรมการใชชีวิต ท่ีเปนปจจัยเส่ียงท่ีอาจสงผลใหเกิดขอจํากัดในขณะทําการรักษาอยางตอเนื่อง และการคงสภาพทันตสุขภาพภายหลังการรักษาเสร็จสมบูรณ (Social history and life style including risk factors)

2.8 ผลการตรวจทางคลินิก (Clinical examination) ประกอบดวย 2.8.1 ผลการตรวจภายนอกชองปาก (Extra-oral examination) 2.8.2 ผ ล ก า ร ต ร ว จ ภ า ย ใ น ช อ ง ป า ก (Intra-oral examination) ท่ีมีขอมูลประกอบดังนี้

2.8.2.1 รูปแผนภูมิภาพฟนท้ังปากท่ีระบุตําแหนงและส่ิงผิ ด ป ก ติ ท่ี พ บ (Dental charting สแกนจากตนฉบับ) 2.8.2.2 รายละเอียดของการสบฟน (Occlusion) 2.8.2.3 รูปถายภายในชองปากจํานวน 5 ภาพ (Dental

images) ประกอบดวย • รูปท่ีแสดงใหเห็นการกัดสบชองฟนดานหนา

รางคูมือ OSLER 9

• รูปท่ีแสดงใหเห็นการกัดสบของฟนหลัง ดานซายและขวา

• รูปท่ีแสดงใหเห็นภาพฟนบนท่ีมีอยูท้ังหมด • รูปท่ีแสดงใหเห็นภาพฟนลางท่ีมีอยูท้ังหมด

2.8.2.4 การประเมินและสงตรวจภาพถายรังสีในผูปวย ( รู ป ภ า พ ถ า ย รั ง สี พ ร อ ม ระบุเหตุผลการสงถาย สแกนจากตนฉบับ) 2.8.2.5 การวินิจฉัยและวางแผนการรักษาทางทันตกรรมโ ด ย นํ า ข อ มู ล ส่ิ ง ท่ี ตรวจพบท้ังหมดมาประมวลผล

สําหรับตารางบรรยายสรุปผลการตรวจ ประกอบดวยหัวขอดังนี้ • ผลการการตรวจดวยวิธีการตรวจทางคลินิก ท่ีมี

รายละเอียดของสภาพอนามัย ในชองปาก ลักษณะของเนื้อเย่ือออน สภาพเนื้อเย่ือแข็ง (Clinical examinations) • ก า ร แ ป ล ผ ล ก า ร ต ร ว จ ท า ง ภ า พ ถ า ย รั ง สี

(Radiographic interpretations) • การวินิจฉัยโรคท้ังปาก (Full mouth diagnosis) • ทางเลือกในการรักษา (Treatment options: Ideal

and alternative treatment plan)

2.8.2.6 การสรุปรายงานผลหลังการรักษาทางทันตกรรมใ น ผู ป ว ย (Results and post treatment)

ผูสอบตองสรุปถึงผลการรักษาผูปวยและสามารถใหเหตุผลการเปลี่ยนแปลงแผนการรักษา (ถามี)

รางคูมือ OSLER 10

โดยทําการสรุปการรักษาจริงท่ีไดทําการรักษามาตามลําดับต้ังแตตนจนส้ินสุดการรักษา

ตัวอยางตารางแสดงการบรรยายลักษณะที่ตรวจพบทางคลินิก ภาพถายรังสี ผลการวินิจฉัย และการวางทางเลือกในการรักษา

ซี่ฟน (Tooth

#)

ลักษณะท่ีตรวจพบทางคลินิก

(Clinical examinations)

ผลการตรวจทางภาพถาย

รังสี (x-ray

interpretations)

ผลการวินิจฉัย

(Diagnosis)

ทางเลือกในการรักษา (Tx.

Options)

ตัวอยางแสดงแผนการรักษาและวันที่ทําการรักษาเสร็จสมบูรณ

Visit Tooth # Treatment procedure

Date completed

รางคูมือ OSLER 11

ตวัอยางแบบประเมนิ (รางรปูแบบปกหนา)

รายงานผูปวยทนัตกรรมพรอมแผนการรกัษา เสนอตอทนัตแพทยสภาเพื่อประกอบการประเมนิความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตรการแพทยคลนิิก (ภาคปฏบิตั)ิ เพื่อการขอขึน้ทะเบยีนและรบัใบอนญุาตเปนผูประกอบวิชาชีพทนัตกรรม ประจาํป

การศกึษา ........ (ตัวอักษร TH Sarabun ตัวหนา ขนาด 20 พอยต)

ผู ข อ รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น.......................................................... ห ม า ย เ ล ข บั ต ร ป ร ะ จํ า ตั วประชาชน……………………………...

นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร ม ห า วิ ท ย า ลั ย......................................................................

รางคูมือ OSLER 12

(ตัวอักษร TH Sarabun ขนาด 16 พอยต ตัวปกติ)

รางคูมือ OSLER 13

(ราง) แบบรายงานผลการประเมนิรายงานผูปวย

การประเมนิเพือ่ความรูและทกัษะทางดานวิทยาศาสตรการแพทยคลนิิก (ภาคปฏิบตั)ิ

เพื่อประกอบการขอขึน้ทะเบียนและรบัใบอนญุาตเปนผูประกอบวชิาชีพทันตกรรม

ชื่อ นาย/นาง/นางสาว........................................................................................................................ เลขบัตรประจาํตวัประชาชน.............................................................................................................

นสิติ/นักศกึษา คณะทนัตแพทยศาสตร มหาวิทยาลยั....................................................................

มีผลการประเมนิรายงานผูปวย ดงันี ้หัวขอประเมนิ ผาน ไม

ผาน รูปแบบรายงาน • ความเรียบรอยท่ัวไปของรายงาน • การใชภาษาในรายงาน • การเรียบเรียงหัวขอ และการจัดเคาโครงของ

รายงาน

คุณภาพรายงาน • ความถูกตองตามหลักวิชา และความครอบคลุมของ

เนื้อหา

• ความสามารถในการวิเคราะหวิจารณและการ

รางคูมือ OSLER 14

จัดการปญหาของผูปวย

สรุปผลการสอบรายงานผูปวย ผาน ไ ม ผ า น เ นื่ อ ง จ า ก..................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................................

(…………….…..……………………………………………………)

วันท่ีประเมิน........................../......................../.....................

กรรมการคุมสอบตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี.........................../………………………………..

แบบรายงานผลการตรวจ วนิจิฉยั และวางแผนการรกัษาทางทนัตกรรม

เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตรการแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ

รางคูมือ OSLER 15

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. การรวบรวมขอมูล (Data gathering) การซักประวัติ (History Taking)

2. การตรวจทางคลินิก (Clinical Examination)

3. การประมวลขอมูลและการนําเสนอ (Data organization and presentation)

4. การใหเหตุผลและการวิเคราะหและวินิจฉัยโรค (Reasoning, Analysis and Diagnosis)

5. การตัดสินใจ และการวางแผนรักษา (Decision making and Treatment Planning)

6. การส่ือสารกับผูปวยจรรยาบรรณ และเจตคติวิชาชีพ (Communication, Ethics and

รางคูมือ OSLER 16

Professionalism)

สรุปผลการสอบตรวจ วินิจฉัย และวางแผนการรักษาทางทันตกรรม ผาน ไ ม ผ า น เ นื่ อ ง จ า ก..................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................................

(…………….…..……………………………………………………)

วันท่ีประเมิน........................../......................../.....................

กรรมการคุมสอบตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี.........................../………………………………..

แบบรายงานผลการประเมนิงานทนัตกรรมบรูณะ เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตร

การแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ

รางคูมือ OSLER 17

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. Beginning check and cavity design

2. Cavity preparation

3. Moisture control

4. Matrix and wedge

5. Etching and bonding

6. Restoration

7. Polishing

สรุปผลการประเมินงานงานทันตกรรมบูรณะ

ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

รางคูมือ OSLER 18

ลงช่ือ..................................................................

(…………………………………………………………………) .........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

แบบรายงานผลการประเมนิงานรกัษาคลองรากฟน เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตร

การแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. การซักประวัติ การตรวจ การวินิจฉัย และวางแผนการรักษา (Charting and treatment plan)

2.การเปดทางเขาสูโพรงเนื้อเย่ือในฟน (Access opening)

3. การวัดความยาวทํางาน (Working length determination)

รางคูมือ OSLER 19

4. การขยายคลองรากฟน (Mechanical instrumentation)

5. การลองกัตตาเปอรชาแทงเอก (Trial main cone)

6. การลาง (Irrigation)

7. การอุดคลองรากฟน (Root canal obturation)

8. การบูรณะฟน (Interim or permanent)

9. ประเมินทุกข้ันตอนการรักษาคลองรากฟน

- การจัดการผูปวย (Patient management)

- การควบคุมการติดเช้ือ (Infection control)

- การใสแผนยางกันน้ําลาย (Rubber dam

- การใสยาและอุดช่ัวคราว (Medication & Temporary seal)

สรุปผลการประเมินงานรักษาคลองรากฟน ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ...........................................................................................................................................................

รางคูมือ OSLER 20

ลงช่ือ..................................................................

(…………………………………………………………………) .........…………/…………………../……………..

แบบรายงานผลการประเมนิงานศลัยศาสตรชองปาก เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตร

การแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. การสัมภาษณประวัติและตรวจรางกาย 2. การตรวจภายในชองปาก

3. การแปลผลภาพรังสี

4. การฉีดยาชา 5. การถอนฟน 6. การปฏิบัติตอผูปวยภายหลังการถอนฟน

สรุปผลการประเมินงานศัลยศาสตรชองปาก

ผาน

รางคูมือ OSLER 21

ไมผาน เนื่องจาก.........................................................................................................

.....................................................................................................

......................................................

.....................................................................................................

.................................................

ลงช่ือ.................................................................. (…………………………………………………………………)

.........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

แบบรายงานผลการประเมนิงานปรทินัตวทิยา เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตร

การแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน

รางคูมือ OSLER 22

.....................................................................................................

. นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. การรวบรวมขอมูล การวางแผนการรักษา และการบําบัดฉุกเฉิน

2. การสอนการดูแลอนามัยชองปาก

3. การขูดหินน้ําลาย และเกลารากฟน - ครังที 1 - ครังที 2 - ครังที 3 - ครังที 4 4. Rescaling and root planing 5. Re-evaluation 6. การสือสาร 7. เจตคติวิชาชีพ (Professionalism) สรุปผลการประเมินงานปริทันตวิทยา

ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ........................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

รางคูมือ OSLER 23

ลงช่ือ..................................................................

(…………………………………………………………………) .........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

แบบรายงานผลการประเมนิงานทนัตกรรมประดษิฐ (ฟนปลอมถอดได)

เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตรการแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. Communication and professionalism

2. Oral examination and charting

3. Preliminary impression and tooth shade selection

4. Denture design

5. Tooth alteration

รางคูมือ OSLER 24

6. Impression

6.1Final impression with stock tray

6.2border molding & final impression with individual tray

7.Occlusion rim & bite registration (if need)

8.Tooth arrangement , wrought wire rest & clasp and denture base waxing

9.Denture delivery

10.Recheck

สรุปผลการประเมินงานทันตกรรมประดิษฐ (ฟนปลอมชนิดถอดได) ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ...........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................. (…………………………………………………………………)

.........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

รางคูมือ OSLER 25

แบบรายงานผลการประเมนิงานทนัตกรรมประดษิฐ (ฟนปลอมตดิแนน)

เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตรการแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. Communication and professionalism

2. Oral examination and charting

3.Preliminary impression and tooth shade selection

4.Treatment plan

5. Abutment preparation in cast

6.Canal preparation and X-ray

7.Post preparation

7.1 Cast post try in and cementation

7.2 Prefabricated post and core build-up

8.Abutment preparation and final impression and bite

รางคูมือ OSLER 26

registration

9.Temporary crown cementation

10. Permanent crown cementation

11. Recheck

สรุปผลการประเมินงานทันตกรรมประดิษฐ (ฟนปลอมชนิดติดแนน) ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ...........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................. (…………………………………………………………………)

.........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

แบบรายงานผลการประเมนิงานทนัตกรรมปองกนั เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตร

การแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

รางคูมือ OSLER 27

ขัน้ตอน ผาน ไม

ผาน หมายเหต ุ

1. การประเมินความเส่ียงตอโรคในชองปาก

1.1 การประเมินความเส่ียงจากปจจัยทางชีวการแพทย

1.2 การประเมินความเส่ียงจากปจจัยทางสังคม

1.3 การประเมินความเส่ียงจากปจจัยทางจิตวิทยา

1.4 สรุปผลการประเมินความเส่ียง

2. การวางแผนการใหทันตกรรมปองกัน

2.1 การวางแผนการใหสุขศึกษาและการเลือกใชส่ือท่ีเหมาะสม

2.2 การวางแผนการปรับพฤติกรรม

2.3 การวางแผนการสรางเสริมปจจัยทางสังคมและส่ิงแวดลอม

2.4 การวางแผนการใหทันตกรรมปองกันโดยทันตแพทย

3. การดําเนินการทันตกรรมปองกัน

3.1 การดําเนินการตามแผนทันตกรรมปองกันท่ีวางไว

3.2 การปรับแผนการใหแผนทันตกรรมปองกัน

4. ผลการดําเนินการทันตกรรมปองกัน

4.1 ผลการปรับความรู/พฤติกรรม/ส่ิงแวดลอม/ชีวการแพทย

รางคูมือ OSLER 28

4.2 การประเมินความเส่ียงซ้ําภายหลังการใหทันตกรรมปองกัน

สรุปผลการประเมินงานทันตกรรมปองกัน

ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ........................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................. (…………………………………………………………………)

.........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

รางคูมือ OSLER 29

แบบรายงานผลการประเมนิงานทนัตกรรมบดเคีย้ว เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวทิยาศาสตร

การแพทยคลนิกิ(ภาคปฏบิตั)ิ ช่ือ นาย/นาง/นางสาว.....................................................................................................

รางคูมือ OSLER 30

......หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน

.....................................................................................................

. นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. การรวบรวมขอมูล (Data gatering)

1.1 การซักประวัติ

1.2 การตรวจรางกาย

1.3 Transfer face bow

1.4 CR bite registration

1.5 Taking impression

1.6 Mounting

2. การวางแผนการรักษา

3. การส่ือสาร

4. Patient management & treatment

4.1 Waxing

4.2 Insertion

4.3 Recheck

5. เจตคติวิชาชีพ (Professionalism)

สรุปผลการประเมินงานทันตกรรมบดเคี้ยว ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

....................

รางคูมือ OSLER 31

.....................................................................................................

...................................................... ลงช่ือ..................................................................

(…………………………………………………………………) .........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

แบบรายงานผลการประเมนิการรกัษาประสาทฟนดวยวธิ ีPulpotomy ในฟนน้ํานม เพือ่ประเมนิความรูและทักษะทางดาน

วิทยาศาสตรการแพทยคลนิกิ (ภาคปฏบิตั)ิ

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย.......................................................................... ผลการประเมินการรักษาประสาทฟนดวยวิธี pulpotomy ในฟนกรามน้ํานม ผูปวยช่ือ ด.ช./ด.ญ........................................................เลขท่ีบัตร.........................ซี่ฟน.......................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. การตรวจและซักประวัติกอนทําการรักษา

2. การฉีดยาชา

3. การใสแผนยางกันน้ําลาย

รางคูมือ OSLER 32

4. การกรอเปดเขาไปในโพรงประสาทฟน

5. การกรอตัดเนื้อเย่ือในโพรงฟนและการหามเลือดและ fixed เนื่อเย่ือประสาทฟนสวนท่ีเหลือ

6. การอุดโพรงประสาทฟน

สรุปผลการประเมินการรักษาประสาทฟนดวยวิธี Pulpotomy ในฟนน้ํานม

ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ...........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................. (…………………………………………………………………)

.........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

รางคูมือ OSLER 33

แบบรายงานผลการประเมนิการรกัษาคลองรากฟนในฟนกรามน้าํนม เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดาน

วิทยาศาสตรการแพทยคลนิกิ (ภาคปฏบิตั)ิ

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย.......................................................................... ผลการประเมินการรักษาคลองรากฟนในฟนกรามน้ํานม ผูปวยช่ือ ด.ช./ด.ญ........................................................เลขท่ีบัตร.........................ซี่ฟน.......................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. การตรวจและซักประวัติกอนทําการรักษา

2. การฉีดยาชา

3. การใสแผนยางกันน้ําลาย

4. การกรอเปดเขาไปในโพรงประสาทฟน

5. การกรอตัดเนื้อเย่ือในโพรงฟนและการทําความสะอาด เนื่อเย่ือประสาทฟนสวนท่ีเหลือในคลองรากฟน

6. การอุดคลองรากฟน

7. การอุดปดสวนโพรงประสาทฟน

สรุปผลการประเมินการรักษาคลองรากฟนในฟนกรามน้ํานม

รางคูมือ OSLER 34

ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ...........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................. (…………………………………………………………………)

.........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

แบบรายงานผลการประเมนิการทาํครอบฟนโลหะไรสนิมฟนกรามน้ํานม

เพือ่ประเมนิความรูและทกัษะทางดานวิทยาศาสตรการแพทยคลนิกิ (ภาคปฏบิตั)ิ

ช่ือ นาย/นาง/นางสาว...........................................................................................................หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน...................................................................................................... นิสิต/นักศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย..........................................................................

รางคูมือ OSLER 35

ผลการประเมินการทําครอบฟนโลหะไรสนิมฟนกรามน้ํานม ผูปวยช่ือ ด.ช./ด.ญ........................................................เลขท่ีบัตร.........................ซี่ฟน.......................

ขัน้ตอน ผาน ไมผาน หมายเหต ุ

1. การตรวจและซักประวัติกอนทําการรักษา

2. การฉีดยาชา

3. การใสแผนยางกันน้ําลาย

4. การกรอแตงตัวฟน (crown preparation)

5. การเลือกขนาดครอบฟน

6. การยึดครอบฟนโลหะ

สรุปผลการประเมินงานครอบฟนโลหะไรสนิมฟนกรามน้ํานม

ผาน ไมผาน เนื่องจาก

.....................................................................................

.................... ...........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................. (…………………………………………………………………)

.........…………/…………………../……………..

กรรมการคุมสอบ ตามคําส่ังทันตแพทยสภาท่ี........................................................

รางคูมือ OSLER 36

ภาคผนวก แนวทางการประเมนิการรกัษาทางทนัตก

รรม

รางคูมือ OSLER 37

แนวทางการประเมนิการสอบตรวจ วนิจิฉัยและวางแผนการรกัษาทางทันตกรรม

รางคูมือ OSLER 38

แนวทางการประเมนิการสอบบรูณะฟน การสอบบูรณะฟนประกอบดวยข้ันตอนหลัก 7 ข้ันตอน ไดแก

1. Beginning check and cavity design 2. Cavity preparation 3. Moisture control 4. Matrix and wedge 5. Etching and bonding

รางคูมือ OSLER 39

6. Restoration 7. Polishing รายละเอียดการประเมิน ประกอบดวย

ขัน้ตอน/step สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know information

ขอผดิพลาดที่ควรพจิารณา

1. Beginning check and cavity design

Choice of materials

Rational for materials of choice

Properties of materials

Cavity design • Outline form • Resistant form • Retention form

มีความเขาใจไมถูกตอง 2 ประเด็น

2. Cavity preparation

Initial outline เตรียม cavity ตาม outline ท่ีไดออกแบบไว

Over preparation

Caries removal กําจัดรอยผุไดหมด หรือถูกตอง

Over or under caries removal

Pulp protection ตัดสินใจเลือกวัสดุและใชไดอยางถูกตอง

ตัดสินใจเลือกวัสดุไมถูกตอง ใชวัสดุไมถูกตอง

Final cavity preparation

• Resistant form • Retention form • Surface

smoothness and

มีขอบกพรอง 2 ประเด็นข้ึนไป

รางคูมือ OSLER 40

proper surface finishing

• Cleanliness

ขัน้ตอน/step สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know information

ขอผดิพลาดที่ควรพจิารณา

3. Moisture control

Knowledge of Moisture control

• Field of operation • การเลือกวิธีก้ันนา

ลายไดถูกตอง

การเลือกวิธีก้ันน้ําลายไดไมถูกตอง

4. Matrix and wedge

Application of matrix and wedge

• Adaptation of matrix

• Contact and contour of matrix

• Height of band

มีขอบกพรอง 2 ประเด็นข้ึนไป

5. Etching and bonding

Material manipulation

6. Restoration

Function and esthetics

• Anatomy • Contour • Contact • Margin • Occlusion

มีขอบกพรอง 2 ประเด็นข้ึนไป

7. Polishing Function, esthetics and

• Anatomy • Contour

มีขอบกพรอง 2 ประเด็นข้ึนไป

รางคูมือ OSLER 41

longevity • Contact • Margin • Smoothness

แนวทางการประเมนิการรกัษาคลองรากฟน การสอบรักษาคลองรากฟนประกอบดวยข้ันตอนหลัก 6 ข้ันตอน ไดแก

1. การซักประวัติ การตรวจ การวินิจฉัยและการวางแผนการรักษา 2. การเปดทางเขาสูโพรงเนื้อเย่ือในฟน 3. การวัดความยาวทํางาน 4. การขยายคลองรากฟน 5. การลองกัตตาเปอรชาแทงเอก 6. การลาง 7. การอุดคลองรากฟน 8. การบูรณะฟน 9. การจัดการผูปวย การควบคุมการติดเช้ือ การใสแผนยางกันน้ําลาย และการใสยาและอุดช่ัวคราว (ประเมินทุกข้ันตอนของการรักษาคลองรากฟน)

รายละเอียดการประเมิน ประกอบดวย

รางคูมือ OSLER 42

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู

Must know informations

ขอผดิพลาด ที่ควรพจิารณา

1. Charting and treatment plan - การซักประวัติ และการตรวจ

• สามารถซักถามอาการนํา และสาเหตุของอาการนํา ประวัติของความเจ็บปวยของโรค

• สามารถซักประวัติทางการแพทย ใหไดประวัติโรคทางระบบและ/หรือการใชยาท่ีเก่ียวของกับโรค

• สามารถเลือกและใชเครื่องมือในการตรวจ ผูปวยทางเอ็นโดดอนติกสไดอยางถูกตอง เหมาะสม

• สามารถถายและแปลผลภาพรังสีไดถูกตองเหมาะสม

• วิธีการซักถามอาการนํา ประวัติทางการแพทย และทันตกรรม

• วิธีใช ขอจํากัด การแปลผลเครื่องมือท่ีใชในการทดสอบ และการตรวจทางเอ็นโดดอนติกส

• อาการและอาการแสดงของโรคเนื้อเย่ือในและเนื้อเย่ือรอบปลายรากฟน

• เทคนิคการถายและแปลผลภาพรังสี

- ขาดความรู/ไมมีความพรอมในการตรวจ วินิจฉัย และวางแผนการรักษา - ไมสามารถนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห วินิจฉัยและวางแผนการรักษา - วินิจฉัยโรคผิด

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู

Must know

ขอผดิพลาด ที่ควรพจิารณา

รางคูมือ OSLER 43

informations

1. Charting and treatment plan - การซักประวัติ และการตรวจ

• การประเมินภาพรังสี - ตําแหนงของฟนบนภาพรังสี

- ภาพถายรังสีครอบคลุม พยาธิสภาพ - มุมของภาพถายรังสี - คุณภาพของภาพถายรังสี - จํานวนครั้งในการถายภาพ รังสี

- การวินิจฉัยโรค - การวางแผนการ

• สามารถวินิฉัยแยกโรคท่ีมีสาเหตุจากฟนหรือไมใชจากฟน

• สามารถวินิจฉัยโรคของเนื้อเย่ือในและเนื้อเย่ือรอบรากฟนได

• สามารถบันทึกเวชระเบียนไดถูกตอง ครบถวนและเปนระบบตามแนวทางมาตรฐานสากล

• สามารถใหการพยากรณโรคทาง

• อาการและอาการแสดงของโรคท่ีไมมีสาเหตุจากฟนท่ีเก่ียวของ

• อาการและอาการแสดงของโรคของเนื้อเย่ือในและเนื้อเย่ือรอบรากฟน

• การบันทึกเวชระเบียนของผูปวยโรคทางเอ็นโดดอนติกส

รางคูมือ OSLER 44

รักษา

เอ็นโดดอนติกส • สามารถวางแผน

รักษาโรคทางเอ็นโดดอนติกส ไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับบริบทผูปวย

• วิธีการพยากรณโรคทางเอ็นโดดอนติกส

• การวางแผนการรักษาและลําดับข้ันตอนการรักษาโรคทางเอ็นโดดอนติกส

2. การเปดทางเขาสู โพรงเนื้อเย่ือในฟน (Access opening)

- สามารถเปดทางเขาสูโพรงฟนไดถูกตองและเหมาะสม • Straight line

access - ไมมี root of pulp chamber - continuous flare - ไมมี dentin shelf

• Anatomy ของ โพรงเนื้อเย่ือในฟน

วิธีการเปดทางเขาสูโพรงเนื้อเย่ือใน

Error perforation ท่ี

ไมมีผลตอพยากรณโรค

- หัวกรอหัก - over

preparation

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู

Must know informations

ขอผดิพลาด ที่ควรพจิารณา

รางคูมือ OSLER 45

2. การเปดทางเขาสู โพรงเนื้อเย่ือในฟน (Access opening) (ตอ)

- smooth wall - clean in pulp chamber • กําจัดรอยผุและ

เหลือเนื้อฟนเพียงพอ

• ตําแหนงและขนาดของ access สอดคลองกับขนาดและตําแหนงของ coronal pulp chamber

- under preparation

- กรอผิดทิศทาง

- gouging Critical error

- perforation มีผลตอ พยากรณโรค - excess tooth removal, large gouging - tooth fracture - เปดผิดซี่

3. การวดัความยาวทาํงาน (Working length determination)

• เลือกขนาด IAF ท่ีเหมาะสม

• Pre-estimate length เหมาะสม

• การเลือก reference point เหมาะสม

• การรายงานคาความยาวทํางานท่ีถูกตอง

• วิธีการหาความยาวทํางานโดยใชเครื่อง electronic apex locator และภาพรังสี

• ขอผิดพลาดและขอควรระวังในการใช เครื่อง electronic

Error - ไมสามารถ คํานวณหาคา ความยาวทํางานได -หาคาความยาว ทํางาน คลาดเคลื่อน มากกวา +2 มม. - เลือกขนาด IAF ไมเหมาะสม - ถายรังสี หลาย

รางคูมือ OSLER 46

• การประเมินภาพรังสี

- ตําแหนงของฟนบนภาพรังสี - ภาพถายรังสีครอบคลมุพยาธิ สภาพ - มุมของภาพถายรังสี - คุณภาพของภาพถายรังสี - จํานวนครั้งในการถายภาพรังสี

apex locator • ความยาวเฉลี่ย

ของฟน

ครังเกินความ จําเปน

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู

Must know informations

ขอผดิพลาด ที่ควรพจิารณา

4. การขยายคลองรากฟน(Mechanical instrumentation)

• รักษา apical constriction/ มี apical stop

• MAF มีขนาดและความยาวเหมาะสม

• ขนาด ความเรียบและความผายของคลองรากฟน

• วิธีการขยายคลองรากฟน

• ชนิดและมาตรฐานของเครื่องมือ

• การทํางานของเครื่องมือ

• ขนาดของคลองฟนสวนปลายท่ี

Error - loss of apical stop Instrumentation short of WL - ledge - มีส่ิงแปลกปลอม

รางคูมือ OSLER 47

• ไมมี dentin plug • maintain canal

shape

ควรขยาย ตกลงในคลอง รากฟน - ผายคลองราก ฟนไมเพียงพอ

Critical error - Perforation - Ledge - Canal deviation - Broken instrument - Over root canal preparation

5. การลองกตัตาเปอรชาแทงเอก (Trial main cone)

• ขนาดของ main cone ใกลเคียงกับ MAF

• main cone ไมเสียรูปราง

• main cone มี tug back และไดความยาวเหมาะสม

• มี reference point ท่ี gutta- percha

• วิธีการเลือกและลองกัตตาเปอรชาแทงเอก

- main cone ส้ันหรือ ยาว มากกวา +2 มม. - Tug back ไมด ี

6. การลาง(Irrigation)

• เลอืกใชน้ํายาลางคลองรากฟนไดอยางเหมาะสม

• - วิธีการลางคลอง

• ชนิด คุณสมบัติ และวิธีการลางคลองรากฟนท่ีเหมาะสมและ

Error - ใชนํ้ายาผิดชนิด - นํ้ายากระเด็น

รางคูมือ OSLER 48

รากฟนเหมาะสมและปลอดภัย

ปลอดภัย โดนเสือผาผูปวย Critical error -นํ้ายารัว่ไหลไป โดนอวัยวะอ่ืน ของผูปวย

ข้ันตอน/หัวขอประเมิน

ส่ิงท่ีตองประเมิน Supporting

competency

สาระท่ีนักศึกษาควรรู

Must know informations

ขอผิดพลาด ท่ีควรพิจารณา

7. การอดุคลองรากฟน (Root canal obturation)

• Procedure ท่ีประเมิน - การผสม root canal sealer

- การ sterile gutta-percha - การฉาบผนังคลองรากฟน ดวย sealer • คุณภาพการอุด

คลองรากฟน - density of root canal filling

- ความแนบและความแนน - ความยาวของการอุดคลอง รากฟน

• ชนิด วิธีการผสม root canal sealer และการฉาบผนังคลองรากฟน

• วิธีการอุดคลองรากฟน

Error - อุดไมแนน - อุดส้ันและ/หรือ อุดเกินปลาย รากฟน

Critical error Over extension/filling ที่แกไขไมได Under extension/filling ที่แกไขไมได

Root fracture

รางคูมือ OSLER 49

- การตัด gutta-percha ท่ีระดับ คอฟน - การประเมินภาพรังสี

8. การบรูณะฟน (Interim or permanent restoration)

• เลือกวัสดุบูรณะไดถูกตอง เหมาะสม

• การบูรณะถูกตอง เหมาะสม

• ชนิดวัสดุและวิธีการบูรณะฟน

9. ประเมนิทุกขัน้ตอนการรกัษาคลองรากฟน

- การจดัการผูปวย (Patient management)

• สามารถส่ือสารกับผูปวยเก่ียวกับแผนการรักษาไดอยางถูกตองและเหมาะสม

สามารถบอกลําดับข้ันตอนการรักษาโรคไดอยางถูกตอง

วิธีการส่ือสารกับผูปวย

- การควบคุมการ ตดิเชื้อ

• เกาอ้ีทําฟนและเครื่องมือผานการฆาเช้ืออยาง

• วิธีการควบคุมการแพรกระจายเช้ือ

รางคูมือ OSLER 50

(Infection control)

เหมาะสม • ปองกันการ

แพรกระจายเช้ือสูตนเองและผูปวยอยางเหมาะสม

ข้ันตอน/หัวขอประเมิน

ส่ิงท่ีตองประเมิน Supporting

competency

สาระท่ีนักศึกษาควรรู

Must know informations

ขอผิดพลาด ท่ีควรพิจารณา

- การควบคุมการ ตดิเชื้อ (ตอ) (Infection control)

• แยกเครื่องมือไมผานการฆาเช้ือ ออกจากเครื่องมือท่ี ผานการฆาเช้ือ

• แยกเครื่องมือท่ีปนเปอนไวในท่ี ๆ เหมาะสม

• รักษาความสะอาดและจัดระเบียบของเครื่องมือ เครื่องใช

• ทํางานดวย Aseptic technique

- การใสแผนยางกนัน้ําลาย (Rubber dam application)

เตรียมวัสด ุอุปกรณทใีชในการใส rubber dam ไดครบถวนและถูกตอง - เลือก clamp ไดเหมาะสม สามารถเกาะฟนในลักษณะ four-point contact - Clamp ไมกดลงบน

- วิธีการใส แผนยางกัน น้ําลาย

- ไมสามารถ isolate ฟนท่ีจะ ทําการรักษาดวย วิธีการท่ีถูกตอง - ไม sterile

รางคูมือ OSLER 51

เหงือกของ ผูปวยโดยไมจําเปน - แผน rubber dam คลุมปาก ทั้งหมด และอยูในตําแหนงที ่ เหมาะสมบนใบหนา - แผน rubber dam ผาน contact point ของฟน และแนบกับคอฟน - Rubber dam frame อยูใน ตําแหนงที่เหมาะสม ไมรบกวน ผูปวย หรือ field of operation - Rubber dam ที่ใสสามารถ isolate ฟนท่ีทําการรักษาไดดี ไมมีการ รัว่ซึมของนํ้าลาย และหรือนํ้ายา ลางคลองรากฟน - Sterile field of operation ดวยวิธีการที่ ถกูตอง

field of operation

ข้ันตอน/หัวขอประเมิน

ส่ิงท่ีตองประเมิน Supporting

competency

สาระท่ีนักศึกษาควรรู

Must know

ขอผิดพลาด ท่ีควรพิจารณา

รางคูมือ OSLER 52

informations

- การใสยาและอดุชั่วคราว (Medication & Temporary seal)

• เลือก root canal medication เหมาะสม

• ใส root canal medication ไดถูกวิธี

• เตรียมชองวางสําหรับวัสดุอุดช่ัวคราวไดเหมาะสม

• ชนิด คุณสมบัติ และวิธีการใสยาในคลองรากฟน

• วิธีการอุดช่ัวคราว

- ผลัก root canal medication ออก นอกปลายรากจน ทําใหผูปวยม ี อาการปวด รุนแรง - ตําแหนง root canal medication สูงเกินไป (พ้ืนท่ี สําหรับวัสดุอุด ชั่วคราวนอย เกินไป)

รางคูมือ OSLER 53

แนวทางการประเมนิงานศลัยศาสตรชองปาก การสอบถอนฟนประกอบดวยข้ันตอนหลัก 6 ข้ันตอน ไดแก

1. การสัมภาษณประวัติและตรวจรางกาย 2. การตรวจภายในชองปาก 3. การแปลผลภาพรังสี 4. การฉีดยาชา 5. การถอนฟน 6. การปฏิบัติตอผูปวยภายหลังการถอนฟน

การสัมภาษณประวัติและตรวจรางกาย: ผูสอบจะตองรายงานขอมูลตอไปนี้

− chief complaint − present illness − past medical history − สัญญานชีพ − ความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนซึ่งสามารถตรวจพบไดบริเวณใบหนาและ

ลําคอ การตรวจภายในชองปาก: ผูสอบตองรายงานขอมูลตอไปนี้

รางคูมือ OSLER 54

− สภาวะสุขภาพชองปากโดยท่ัวไป (Oral hygiene) − สภาพฟนและอวัยวะปริทันตโดยรอบท่ีเปนอาการสําคัญ − การวินิจฉัย

การแปลผลภาพรงัส:ี ผูสอบตองรายงานขอมูลตอไปนี้ − ลักษณะรูปรางและจํานวนของรากฟนซี่ท่ีจะถอน − พยาธิสภาพท่ีพบในกระดูกรอบรากฟนดังกลาว − พยาธิสภาพอ่ืนๆในกระดูกขากรรไกรท่ีพบ (หากมี)

การฉดียาชา: ผูสอบจะตองสามารถ − บอกชนิดของยาชาท่ีจะใชและปริมาณไดอยางถูกตอง เหมาะสม

กับผูปวยท่ีจะใชสอบ − บอกเทคนิคท่ีเหมาะสมในการฉีดยาชาสําหรับการถอนฟนซี่ท่ีจะ

สอบ − ทดสอบอาการชาหลังการฉีดยาชาไดและพบวาผูปวยมีอาการชา

พอท่ีจะสามารถถอนฟนไดโดยไมมีความเจ็บปวด − มีการพูดคุยกับผูปวยเพ่ือระงับหรือลดความวิตกกังวลท่ีเกิดข้ึนกับ

ผูปวยไดอยางเหมาะสม

การถอนฟน: ผูสอบสามารถ − เลือกใชเครื่องมือท่ีเหมาะสมกับการถอนฟนซี่ท่ีจะสอบ − ถอนฟนซี่ท่ีจะสอบออกไดดวยตนเองและไมเกิดผลแทรกซอนไม

พึงประสงคขณะถอน โดยท่ีอาจารยผูประเมินไมจําเปนตองสาธิตวิธีการใชเครื่องมือ

− สามารถจัดการกับแผลถอนฟนไดอยางถูกตอง ในการทําความสะอาด การจัดการกับกระดูกเบาฟน และเนื้อเย่ือออนโดยรอบ

− หากเกิดผลแทรกซอนไมพึงประสงคภายหลังจากนําฟนออกจากกระดูกเบาฟน (เชนเลือดออกมาก กระดูกเบาฟนแตกหัก เนื้อเย่ือออนฉีกขาด) ผูสอบจะตองบอกวิธีแกไขอาการดังกลาวได

การปฏิบตัิตอผูปวยภายหลงัการถอนฟน: ผูสอบจะตองปฏิบัติตามข้ันตอนตอไปนี ้

− อธิบายการปฏิบัติตนภายหลังการถอนฟนใหผูปวยเขาใจพรอมใหเอกสารท่ีเก่ียวกับขอปฏิบัติตนภายหลังการถอน

รางคูมือ OSLER 55

− ใหยาระงับปวดท่ีเหมาะสมกับผูปวยท้ังชนิดและขนาดยารวมท้ังอธิบายวิธีการใชยาไดอยางถูกตอง

− หากตองจายยาปฏิชีวนะจะตองบอกขอบงช้ีของการใชยาปฏิชีวนะในผูปวยรายนั้นไดถูกตอง

รายละเอียดการประเมิน ประกอบดวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู

Must know informations

ขอผดิพลาดทีค่วร

พิจารณา

1. การสัมภาษณ ประวัติและ ตรวจรางกาย

1. สามารถระบุและซักถามอาการนํา สาเหตุของอาการนํา ประวัติของความ เจ็บปวย 2. ซักประวัติทางการแพทยและทาง ทันตกรรมใหไดประวัติการใชยา การแพยา หรือ โรคทางระบบในอดีต และปจจุบันท่ีเก่ียวของกับอาการสําคัญ และการวางแผนการรักษา 3. สามารถบันทึกขอมูลการซักประวัติและ การตรวจผูปวยไดอยางถูกตองครบถวน และเปนระบบ

1.การซักประวัติท่ัวไปของ ผูปวย(อาการสําคัญ อาการเจ็บปวยปจจุบัน) 2.การซักประวัติทาง การแพทย และทาง ทันตกรรม เชน การแพยา โรคทางระบบท่ีเก่ียวของ รวมท้ังการรักษา 3.บันทึกขอมูลการซัก ประวัติและการตรวจ ผูปวยไดอยางถูกตอง ครบถวนและเปนระบบ

ขาดขอมูลจากส่ิงท่ีตองประเมินอยางนอย 1 ขอ

รางคูมือ OSLER 56

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ

Supporting competency สาระทีน่กัศึกษาควร

รู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วร

พิจารณา

1. การสัมภาษณ ประวัติและ ตรวจรางกาย(ตอ)

4. สามารถวัดสัญญานชีพและแปลผลได รวมท้ังตรวจรางกายสวนอ่ืนๆโดยเฉพาะ บริเวณศรีษะ ใบหนาและลําคอ หากพบ ความผิดปกติใหทําการวินิจฉัยแยกโรคได

4.การเลือกและใชเครื่องมือ ในการตรวจ วิธีการตรวจ และทําการตรวจผูปวยท้ัง ในและนอกชองปากได อยางเหมาะสม รวมถึงวัด สัญญาณชีพได

2. การตรวจภายในชองปาก

1. สามารถเลือกและใชเครื่องมือในการ ตรวจวิธีการตรวจ และทําการตรวจ ชองปากและฟนซี่ท่ีเปนอาการสําคัญได อยางเหมาะสม 2. นําขอมูลท่ีไดจากการซักประวัติและตรวจ มาใหการวินิจฉัยไดอยางถูกตองและ สัมพันธกับการวางแผนการรักษา

1. การเลือกและใชเครื่องมือ ในการตรวจ วิธีการตรวจ และทําการตรวจผูปวย 2. ใหคําวินิจฉัยโดยท่ีนํา ขอมูลท่ีได จากการซัก ประวัติและตรวจทาง คลินิกมาบูรณาการและ สัมพันธกับ

ใหการวินิจฉัยท่ีผิดหรือไมเหมาะสมกับการวางแผนการรักษา

รางคูมือ OSLER 57

แผนการรักษา

3. การแปลผล ภาพรงัส ี

สามารถแปลผลการตรวจ ภาพถายรังสีได และบอกพยาธิสภาพท่ีเกิดข้ึนไดอยางถูกตอง

การแปลผลการตรวจ ภาพถายรังสี periapical และ panoramic และใหการวินิจฉัยสุดทาย (definitive diagnosis)

แปลผลภาพรังสีผิดหรือไมรายงานความผิดปกติท่ีพบและเก่ียวของกับการวินิจฉัยหรือวางแผนการรักษา

4. การฉดียาชา

1. สามารถเลือกชนิดของยาชาเฉพาะท่ีและใชยาชาเฉพาะท่ีไดอยางถูกตองและเหมาะสมกับการถอนฟนตําแหนงดังกลาว

2. สามารถจัดการความวิตกกังวลและความเจ็บปวดของผูปวยไดอยางเหมาะสม

1. การเลือกชนิดของยาชา เฉพาะท่ีและใชยาชา เฉพาะท่ีไดอยางถูกตอง และเหมาะสมกับการถอน ฟนตําแหนงตางๆ 2. เทคนิคการฉีดยาชาฯ สําหรับการถอนฟนใน ตําแหนงตางๆ

1.เลือกใชยาชา ผิดประเภท หรือใชเกิน ขนาด 2.ฉีดยาชาผิด เทคนิคท่ี ควรจะใช

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู

Must know

ขอผดิพลาดทีค่วร

พิจารณา

รางคูมือ OSLER 58

informations 4. การฉดียาชา (ตอ)

3. การจัดการความวิตก กังวลและความเจ็บปวด ของผูปวยท้ังวิธีการไมใชยา และใชยารวมดวย

5. การถอนฟน

สามารถถอนฟนไดโดยไมเกิดภาวะแทรกซอนท่ีรุนแรง และสามารถจัดการแกไขอาการแทรกซอนท่ีไมซับซอนท่ีเกิดข้ึนระหวางหรือหลังการถอนฟน/ผาตัดฟนคุดได

1.การถอนฟนท่ัวไป - ขอบงช้ี - เครื่องมือท่ีควร

ใช - เทคนิคการ

ถอนฟน - การจัดการ

แผลถอนฟน 2. การจัดการแกไขอาการ แทรกซอนท่ีไมซับซอนท่ี เกิดข้ึนระหวางหรือหลัง การถอนฟน/ผาตัดฟนคดุได

1.ไมสามารถ ถอนฟนออกได ดวยตนเอง 2. เกิดภาวะ แทรกซอนท่ี รุนแรง เชน กระดูกเบาฟน แตกอยางมาก หรือมี ภยันตรายเกิด กับเสนประสา

รางคูมือ OSLER 59

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู

Must know informations

ขอผดิพลาดทีค่วร

พิจารณา

6. การปฏบิัตติอ ผูปวย ภายหลงัการ ถอนฟน

1. สามารถส่ือสารกับผูปวยเก่ียวกับแผนการ รักษาทางศัลยศาสตรชองปากและใบหนา ได 2. สามารถตัดสินใจไดวามีความจําเปนใน การใชยาประเภทตางๆท่ีจําเปนไดอยางมี เหตุผลตามขอบงช้ีและแผนการรักษา 3. สามารถบริหารยาตามชนิดและขนาดยา ไดอยางถูกตอง และสามารถจัดการตอ

1. การส่ือสารกับผูปวย (Communication skill) 2. การตัดสินใจไดวามีความ จําเปนในการใชยาเพ่ือการ บําบัดรักษาทางทันตกรรม ไดอยางมีเหตุผลตามขอ บงช้ีและแผนการรักษา 3. การบริหารยา

1.ไมอธิบาย ผูปวยหรือ ผูปวยไมเขาใจ ในส่ิงท่ีแพทย อธิบาย 2.ใหยาไม ถูกตองตาม ขอบงช้ี

รางคูมือ OSLER 60

ปญหาหรือผลขางเคียงท่ีเกิดข้ึนจากการ ใชยาแกผูปวยไดรวมท้ังสงตอผูปวยตาม ความจําเปน

ตามชนิด และขนาดยา ในการรักษา ผูปวยทันตกรรมไดอยาง ถูกตอง 4. การจัดการตอปญหาหรือ ผลขางเคียงท่ีเกิดข้ึนจาก การใชยาแกผูปวยไดอยาง ถูกตองและเหมาะสม

รางคูมือ OSLER 61

แนวทางการประเมนิงานขดูหนิน้าํลายและเกลารากฟน การสอบขูดหินน้ําลายและเกลารากฟนประกอบดวยข้ันตอนหลัก 6 ข้ันตอน ไดแก

1. การรวบรวมขอมูล การวางแผนการรักษา และการบําบัดฉุกเฉิน 2. การสอนการดูแลอนามัยชองปาก 3. การขูดหินน้ําลาย และเกลารากฟน 4. Re-evaluation 5. การส่ือสาร 6. เจตคติวิชาชีพ

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

1. การรวบรวม ขอมลู การวางแผน การรกัษาและ การบาํบดั ฉุกเฉนิ

• สามารถใหการพยากรณโรคแบบท้ังปากและแบบเฉพาะซี่ เพ่ือการวางแผนการรักษา

• สามารถวางแผนรักษาทางปริทันตไดอยางบูรณาการ ถูกตองและเหมาะสมกับบริบทผูปวย

• สามารถบอกลําดับข้ันตอนการรักษาทางปริทันตได

• สามารถใหทางเลือกของแผนการรักษาตามความจําเปนและเหมาะสม โดยสามารถอธิบายถึงขอดี ขอเสียของการรักษาแตละแบบ

1. สาเหตุการเกิดโรคเหงือกและโรคปริทันตของปจเจกบุคคล

- Host/Agents/Environment 2. Systemic and Local

modifying factors - Systemic related diseases - Tobacco smoking - Alcohol consumption 3. Concept and goals of

periodontal treatment 4. Periodontic –

Endodontic /Orthodontic / Prosthodontic/

Restorative

รางคูมือ OSLER 62

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

• สามารถตัดสินใจไดวามีความจําเปนในการใชยาและ/หรือสารเคมีในการดูแลรักษาผูปวยโรคเหงือกและโรคปริทันตไดอยางเหมาะสม - สามารถระบุสาเหตุ ใหการวินิจฉัยและบําบัดรักษาผูปวยท่ีเปนฝเหงือกและฝปริทันตไดอยางถูกตองเหมาะสม

• สามารถจัดการภาวะเจ็บปวดเฉียบพลัน เลือดออก การบาดเจ็บ และการติดเช้ือ ของอวัยวะปริทันตได

Interrelationships a management 5. ยาและสารเคมี - ยาตานจุลชีพ (Antimicrobial agents) - ยาฆาเช้ือ (Antiseptics) - ยาตานการอักเสบ (Anti- inflammatory drugs) - ยาลดอาการเสียวฟน (Desensitizing agents) - ยาสีฟน (Dentifrices) 6. Emergency treatment - Bleeding, Trauma, Infection - Gingival abscess - Periodontal abscess 7. Trauma from occlusion & Occlusal

รางคูมือ OSLER 63

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

therapy - Signs & symptoms - Management

2. การสอนการ ดแูลอนามัย ชองปาก

• สามารถใหความรูแกผูปวยเก่ียวกับสาเหตุของการเกิดโรคปริทันต และกระตุนใหผูปวยมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพชองปาก

• การเลือกใชอุปกรณ: การเลือกแปรงสีฟน และอุปกรณเสริม

• การสอนวิธีการดูแลอนามัยชองปาก: การเลือกเทคนิคการแปรงฟน การสอนวิธีแปรงฟน การสอนวิธีใชอุปกรณเสริม

• การแกปญหาในการดูแลสุขภาพชองปากของผูปวย

1. การควบคุมการสะสมแผนคราบ จุลินทรีย 1.1 Mechanical plaque control - Toothbrush, Brushing techniques and Indications - Interproximal cleansing aids and Indications 1.2 Chemical plaque control - Types, Active ingredients and Indications 2. Patient education and motivation

3. การขดูหนิ น้ําลายและ เกลารากฟน

• เครืองมือมีความคม • การควบคุมการติดเช้ือ • การเลือกเครื่องมือและทักษะการ

ใชเครื่องมือ

1. Periodontal Instrumentation

รางคูมือ OSLER 64

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

• ความสามารถในการขูดหินน้ําลายและเกลารากฟน

• การบาดเจ็บของเนื้อเย่ือขางเคียง

• ความสะอาดของบริเวณปฏิบัติงาน

• สามารถระบุสาเหตุ ใหการวินิจฉัยและบําบัดรักษาผูปวยท่ีมีภาวะแทรกซอนจากการบําบัดรักษาทางปริทันตไดอยางเหมาะสม

1.1 Hand instrumentations -ประเภทของเครื่องมือท่ีใชในการ รักษาโรคปริทันต -ลักษณะของเครื่องมือท่ีใชในการ รักษาโรคปริทันตแตละประเภท -การใชเครื่องมือท่ีใชในการรักษา โรคปริทันตแตละประเภท - การคงสภาพและการลับ เครื่องมือท่ีใชในการรักษาโรค ปริทันต - ผลเสีย ขอควรระวังในการใช เครื่องมือท่ีใชในการรักษาโรค ปริทันตแตละประเภท 1.2 Ultrasonic - ประเภทของ Ultrasonic ท่ีใชใน การรักษาโรคปริทันต

รางคูมือ OSLER 65

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

- ผลเสีย ขอควรระวังในการใช Ultrasonic ท่ีใชในการรักษาโรค ปริทันตแตละประเภท 2. Rationale of scaling and root planing 3. การขูดหินน้ําลายและการเกลารากฟน

− ตําแหนงนั่งของทันตแพทย

− ตําแหนงนอนของผูปวย − การมองบริเวณทํางาน

และการใชแสงไฟสองปาก

− การจับเครื่องมือในแบบตาง ๆ

− การวางนิ้วเพ่ือเขาทํางาน (rest + guard)

4. วิธีการขูดหินน้ําลายและเกลารากฟน ดวยเครื่องมือตาง ๆ − Sickle − Universal curette − Gracey curette − Ultrasonic

การหายของเหงือกหลังการ

รางคูมือ OSLER 66

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

รักษาโดยวิธีขูดหินน้ําลายและเกลารากฟน 5. Complication หลังการขูดหินน้ําลาย เกลารากฟน และการแกไข

4. Re-evaluation

• ความใสใจ และความสามารถของผูปวยในการดูแลสุขภาพชองปาก

• ตรวจดูวามีบริเวณใดท่ียังมีการอักเสบอยูบาง

• ประเมินสภาวะปริทันตของผูปวย บริเวณใดท่ีควรไดรับการรักษาโดยการผาตัด ( Corrective phase)

• ประเมินระยะเวลาท่ีควร Recall ผูปวย

1. การประเมินพฤติกรรมผูปวย 2. Concept, rationale and goals of periodontal surgery 3. วัตถุประสงค ขอบงช้ีและขอหาม ขอดี และขอเสีย และวิธีการทําศัลยกรรม รูปแบบตาง ๆ ข้ันตอนการรักษา การ เตรียมผูปวยกอนและหลังการรักษา ขอควรระวังเก่ียวกับภาวะแทรกซอน - Resective procedures and wound healing - Regenerative procedures and wound healing 4. Maintenance phase

รางคูมือ OSLER 67

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

- Supportive periodontal therapy

5. การสือ่สาร • การแนะนําตัว ขออนุญาต อธิบายเหตุผลของการซักประวัติและการตรวจรางกาย มีปฏิสัมพันธกับผูปวย

• การซักประวัติใชคําถามเหมาะสม เรียงตามลําดับเหตุการณ ส่ือสารไดชัดเจน เขาใจงาย ใหคําปรึกษาและแนะนําผูปวยไดถูกตอง เหมาะสมในลักษณะของการส่ือสาร 2 ทาง

• ตอบคําถามผูปวยไดถูกตองเหมาะ สม ใชเวลาเหมาะสม เปนสวนใหญ รับฟงผูปวย ส่ือสารท้ัง verbal และ non-verbal

• ความรูและวิธีปฏิบัติตัวของผูปวย

• ข้ันตอนการบําบัดรักษาโรคปริทันตอักเสบ

6. เจตคติวิชาชพี

(Professionalism)

เคารพสิทธิและคํานึงถึงความรูสึกของผูปวย/ญาติ มองปญหาผูปวยอยางเปนองครวม กิริยามารยาท คําพูด และการแตงกายสุภาพเรียบรอย เหมาะสม ควบคุมอารมณและตอบสนองไดอยางเหมาะสมเปนสวนใหญ

บทบาทของทันตแพทยตอการดูแลผูปวย และ ขอควรคํานึงทางจริยธรรม

แนวทางการประเมนิงานทนัตกรรมประดษิฐ

รางคูมือ OSLER 68

การสอบทันตกรรมประดิษฐประกอบงานฟนเทียมแบบถอดไดและงานฟนเทียมแบบติดแนน งานฟนเทียมแบบถอดได ประกอบดวยข้ันตอนหลัก 10 ข้ันตอน ไดแก

1. Communication and professionalism 2. Oral examination and charting 3. Preliminary impression and tooth shade selection 4. Denture design 5. Tooth alteration 6. Impression 7. Occlusion rim & bite registration 8. Tooth arrangement , wrought wire rest & clasp and denture base waxing 9. Denture delivery 10. Recheck

งานฟนเทียมชนิดถอดได: รายละเอียดการประเมิน ประกอบดวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

1.Communication and professionalism

1. สามารถซักถาม พูดคุย อ ธิ บ า ย ห รื อ อ ภิปราย กับผู ป วยอย างเหมาะสมเพ่ือ นําไปสูการดูแลท่ีสอดคลองกับความ ตองการและความคาดหวังของผูปวย

1. หลักการส่ือสารเพ่ือใหไดถึง ความตองการ และความ คาดหวังของผูปวยในการรักษา ทางทันตกรรมประดิษฐ รวมท้ัง

รางคูมือ OSLER 69

โดยสอดคลองกับหลักวิชาการ รวมท้ัง ส่ือสาร ปฏิสัมพันธกับผูปวย ดวยความ สุภาพ นุมนวล และใหเกียรติ

การมีปฏิสัมพันธกับผูปวย ดวย ความสุภาพ นุมนวล ระมัดระวัง และใหเกียรติ

2. Oral examination and charting

1. สามารถซักประวัติทางการแพทย ใหได ประวัติโรคทางระบบและยาท่ีเก่ียวของ กับโรคของผูปวยเพ่ือประเมินการใสฟน เทียม

1. การซักประวัติท่ัวไปของผูปวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

2. Oral examination and charting (ตอ)

2. สามารถซักประวัติทางทันตกรรมและ ประเมินพฤติกรรมของผูปวยตอการ ตองการฟนเทียม 3. สามารถบันทึกขอมูลการซักประวัติท่ี เก่ียวของกับการรักษาทางทันตกรรม ประดิษฐ ประวัติการรักษาทาง ทันตกรรมและการตรวจ

2. การซักประวัติผูปวยท่ีมีปญหา โรคทางระบบและ/หรือ การใชยา ท่ีมีผลตอการใสฟน เทียม 3. ข้ันตอน และวิธีการตรวจผูปวย ท่ีเก่ียวของกับการใสฟนเทียม และการบันทึกขอมูลจากการ

รางคูมือ OSLER 70

ผูปวยใสฟน เทียมไดอยางถูกตองครบถวนและเปน ระบบ 4. สามารถรวบรวมขอมูลการซักประวัติ และการตรวจผูปวยเพ่ือประเมินและ ทํานายผลการใสฟนเทียมได 5. สามารถอธิบายข้ันตอนและวิธีการ ตรวจผูปวยท่ีเก่ียวของกับการใสฟน เทียมไดอยางถูกตอง เปนระบบ (13.1) 6. สามารถเลือกและใชเครื่องมือในการ ตรวจผูปวยท่ีเก่ียวของกับ การใสฟนเทียมไดอยางถูกตอง เหมาะสม (13.2) 7. สามารถเลือกใชวิธีการตรวจทาง หองปฏิบัติการ การตรวจทางภาพถาย รังสี และการตรวจเพ่ิมเติมทางคลินิก อ่ืนๆ สําหรับผูปวยใสฟนเทียมแตละ รายไดอยางถูกตองเหมาะสมและมี

ตรวจผูปวย เชน สภาพและ ขนาดฟน สันเหงือก ลิ้น tone ของกลามเนื้อใบหนา ขอตอ ขากรรไกร น้ําลาย 4. การเลือกและใชเครื่องมือใน การตรวจและการตรวจ เพ่ิมเติมทางคลินิกอ่ืนๆ สําหรับ ผูปวยใสฟนเทียม เชน bite registration, facebow transfer, articulator 5. การจําแนกชองวางการสูญเสีย ฟน และ/หรือการวินิจฉัยโรค ทางทันตกรรมประดิษฐ เชน Kennedy classification 6. รวบรวมขอมูลการซักประวัติ และการตรวจผูปวยเพ่ือประเมิน

รางคูมือ OSLER 71

เหตุผล (13.3) 8. สามารถบันทึกการใหการรักษาและผล ของการรักษาทางทันตกรรมประดิษฐ ไดอยางถูกตอง ครบถวน และเปนระบบ ในเวชระเบียนของผูปวย (15.1)

และทํานายผลการใสฟนเทียม 6.1. ปจจัยผูปวย เชน สุขภาพ ท่ัวไป การเปลี่ยนแปลงของ สรีรวิทยาเหตุสูงอายุ สภาพ จิตใจ ทัศนคติ พฤติกรรมของ ผูปวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

2. Oral examination and charting (ตอ)

9. สามารถซักประวัติทางการแพทย ใหได ประวัติโรคทางระบบและยาท่ีเก่ียวของ กับโรคของผูปวยเพ่ือประเมินการใสฟน เทียม (14.1) 10. สามารถซักประวัติทางทันตกรรมและ ประเมินพฤติกรรมของผูปวยตอการ ตองการฟนเทียม (14.2) 11. สามารถบันทึกขอมูลการซักประวัติท่ี เก่ียวของกับการรักษาทาง ทันตกรรมประดิษฐ ประวัติการรักษา

6.2. ขอมูลจากการซักประวัติ และตรวจผูปวย เชน ความ แตกตางของเนื้อเย่ือ สันเหงือก สภาพฟนท่ีเหลือในชองปาก ความสัมพันธของขากรรไกร interarch space 6.3. การแปลผลภาพถายรังสีท่ี มีการเปลี่ยนแปลงของ เนื้อเย่ือออน-แข็ง 6.4. การพยากรณ

รางคูมือ OSLER 72

ทางทันตกรรมและการตรวจผูปวยใส ฟนเทียมไดอยางถูกตองครบถวนและ เปนระบบ (14.3) 12. สามารถบอกข้ันตอน และอธิบาย วิธีการตรวจผูปวยท่ีเก่ียวของกับการใส ฟนเทียมได อยางถูกตอง เปนระบบ (13.1) 13. สามารถเลือกและใชเครื่องมือในการ ตรวจผูปวยท่ีเก่ียวของกับการใสฟน เทียมไดอยางถูกตองเหมาะสม (13.2) 14. สามารถเลือกใชวิธีการตรวจทาง หองปฏิบัติการ การตรวจทางภาพถาย รังสี และการตรวจเพ่ิมเติมทางคลินิก อ่ืนๆ สําหรับผูปวยใสฟนเทียมแตละ รายไดอยางถูกตองเหมาะสมและมี เหตุผล (13.3) 15. สามารถแปลผลภาพถายรังสีท่ีมีการ เปลี่ยนแปลงของเนื้อเย่ือ

โรคแบบท้ัง ปากและเฉพาะซี่ 6.5. ความสัมพันธกับงานทัน ตกรรมอ่ืนๆ (Prostho – Endo – Perio –Restorative inter- relationships)

รางคูมือ OSLER 73

ออน-แข็งใน ชองปากไดอยางถูกตอง เพ่ือใสฟน เทียม (16.1)

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

2. Oral examination and charting (ตอ)

16. สามารถรวบรวมขอมูลการซักประวัติ และการตรวจผูปวยเพ่ือประเมินและ ทํานายผลการใสฟนเทียมได (14.4)

3. Preliminary impression and tooth shade selection

1. สามารถเตรียมเครื่องมือ และการจัดทา นั่งผูปวย 2. มี Universal precaution 3. สามารถเลือก และลองถาดพิมพได อยางเหมาะสม 4. เทคนิคการผสมอัลจิเนตท่ีถูกตอง 5. เทคนิคการพิมพท่ีถูกตอง 6. ความสมบูรณของรอยพิมพ 7. สามารถเทียบ และเลือกสีฟนไดอยาง ถูกตอง

1. หลักการ Universal precaution 2. วิธีการลองถาดพิมพปาก 3. คุณสมบัติของวัสดุพิมพปาก อัลจิเนต เทคนิคการผสม และ การพิมพ 4. เทคนิคการเทียบ และเลือกสี ฟน 5. Model analysis

4. Denture 1. สามารถวางแผนการ 1.Concept, goals,

รางคูมือ OSLER 74

design บูรณะและฟนฟู สุขภาพชองปากดวยการรักษาทาง ทันตกรรมประดิษฐ เพ่ือใหไดมาซึ่งการ ทําหนาท่ีและความสวยงามไดตามความ จําเปนและเหมาะสมกับสภาพชองปาก สุขภาพและเศรษฐานะของผูปวย (19.1) 2. สามารถวางแผนและลําดับข้ันตอนการ รักษางานฟนเทียมติดแนน และ/หรือ ฟนเทียมถอดไดทุกชนิดไดอยางมีเหตุผล และเหมาะสมกับผูปวย (19.2)

indications and contraindications 1.1 งานฟนเทียมถอดได 1.2 Immediate denture 2. ทันตวัสดุและคุณสมบัติ การ เลือกและใชงานใหเหมาะสมกับ งานท้ังในแงคุณภาพและ แงเศรษฐกิจ - gypsum metallergy - alloy in dentistry - dental casting alloy ชนิดตางๆ - dental ceramic - polymer - dental acrylic resin - impression materials - soft lining meterial

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ สาระทีน่กัศึกษาควรรู ขอผดิพล

รางคูมือ OSLER 75

Supporting competency Must know informations

าดทีค่วรพิจารณา

4. Denture design (ตอ)

- artificial teeth - restorative materials (cement and luting materials, glass ionomer materials, amalgam)

5 . Tooth alteration

1. สามารถกรอปรับแตงตัวฟ น ใ ห เ ห ม า ะ ส ม ร อ ง รั บ กั บ ฟ น เ ที ย ม ท่ีออกแบบไว

1. การออกแบบ และเ ท ค นิ ค ก า ร กรอปรับแตง ตัวฟนเพ่ือรอง รับฟนเทียม

ก า ร ก ร อทะลุโพรง ป ร ะ ส า ทฟน

6.Impression 6.1Final impression with stock tray 6.2 border molding & final impression with

1. สามารถวางแผนเลือกใชวัสดุตามความ จําเปนและเหมาะสมกับฟนเทียมแตละ ชนิดและสภาพชองปากของผูปวย (19.4) 2. สามารถเตรียมเครื่องมือ และการจัดทา นั่งผูปวย 3. มี Universal precaution 4. สามารถเลือก และลองถาดพิมพได อยางเหมาะสม

1. หลักการ Universal precaution 2. วิธีการลองถาดพิมพปาก 3. คุณสมบัติของวัสดุพิมพปาก เทคนิคการผสม และการพิมพ

รางคูมือ OSLER 76

individual tray

5. เทคนิคการผสมวัสดุพิมพปากท่ีถูกตอง 6. เทคนิคการพิมพท่ีถูกตอง 7. ความสมบูรณของรอยพิมพ

7.Occlusion rim & bite registration (if need)

1. สามารถจําลอง และแตงข้ีผึ้งของสัน เหงือกวางไดสวยงาม และถูกตองตาม กายวิภาคของสันเหงือก 2. สามารถจําลองรอยสบฟนบน และลาง โดยใชวัสดุท่ีเหมาะสมไดอยางถูกตอง

1. ลักษณะทางกายวิภาคของสัน เหงือก 2. ลักษณะความสัมพันธของการ สบฟน 3. คุณสมบัติของข้ีผึ้ง และวัสดุ จําลองการสบฟน 4. เทคนิคการแตงข้ีผึ้งเพ่ือใหไดสัน เหงือกท่ีถูกตอง

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

8.Tooth arrangement , wrought wire rest & clasp and

1. สามารถเรียงฟนไดถูกตองตามกาย วิภาคของสันเหงือก และความสัมพันธ ของการสบฟน 2. สามารถออกแบบ ดัด และ

1. คุณสมบัติของตัวฟนเทียม 2. เทคนิคการเรียงฟน 3. เทคนิคในการดัด และวางตะขอ ในตําแหนงท่ีถูกตอง

รางคูมือ OSLER 77

denture base waxing

วางตะขอใน การยึดตัวฟนเทียมกับฟนธรรมชาติท่ี เปนตัวหลักยึดไดอยางถูกตอง 3. สามารถตกแตงข้ีผึ้งของฐานฟนปลอม ไดอยางสวยงาม และถูกตองตามกาย วิภาค 4. สามารถส่ือสาร เขียนใบสงLab และให คําแนะนําแกชางทันตกรรมได (35.7)

4. เทคนิคการวาด การออกแบบ และการเขียนใบสง Lab

9. Denture delivery

1. สามารถจัดการกับภาวะความเจ็บปวด และความวิตกกังวล ของผูปวยท่ีเกิด จากงานทันตกรรมประดิษฐ(25.1) 2. สามารถอธิบาย และสอนใหผูปวยเขาใจ วิธีการใสฟนเทียม รวมท้ังการดูแลรักษา และการใชงานอยางถูกตอง

1. วิธีการตรวจดูบริเวณท่ีมีจุดกด เจ็บจากตัวฟนเทียม 2. เทคนิคการกรอลดจุดกดเจ็บ และจุดสบสูงจากตัวฟนเทียม 3. วิธีการใชงาน และดูแลรักษาตัว ฟนเทียม

10.Recheck 1. สามารถวางแผนปองกันและควบคุม การลุกลามของโรคเหงือก โรคฟนผุและ

1. สาเหตุของการเกิดและการ ปองกันโรคเหงือก โรคฟนผุและ

รางคูมือ OSLER 78

โรคอ่ืนๆ เหตุจากฟนเทียม (39.2) 2. สามารถอธิบายผูปวยใหตระหนักในการ กลับมารับการตรวจเปนระยะ ตามท่ี ทันตแพทยนัดหมาย (39.3) 3. สามารถใหคําแนะนําท่ีเหมาะสมแก ผูปวยท่ีใสฟนเทียมแตละชนิดเพ่ือ สงเสริมใหสุขภาพชองปากดี (39.1) 4. สามารถติดตาม ประเมินผลการรักษา และแกไขผลท่ีเกิดจากฟนเทียมใหผูปวย ได จนกวาผูปวยจะสามารถใชฟนเทียม ไดดี (38.1)

โรคอ่ืนๆ เหตุจากฟนเทียม 1. Personal oral hygiene (การ ทําความสะอาดฟนเทียม ฟน และเนื้อเย่ือออน-แข็งในชอง ปาก) 2. Oral diseases (Dental caries, Periodontal disease, Denture-induced stomatitis เชน Candida spp รวมท้ังปจจัย เสริม เชน ill-fitting denture ท่ี ทําใหโรครุนแรงข้ึน)

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

10.Recheck (ตอ)

3. Systemic disease and medicine (เชนโรคทางระบบ

รางคูมือ OSLER 79

และยาท่ีใช ท่ีมีผลตอการลด ปริมาณและการไหลของ น้ําลาย) 2. การกลับมารับการตรวจ สุขภาพชองปากและฟนเทียม เปนระยะ - หลักการประเมิน - ข้ันตอน วิธีการ การแกไข 3. การใหคําแนะนําและดแูล ผูปวยใหใชฟนเทียมไดถูกตอง 1.1 การทําความสะอาดฟน เทียม ฟนและเนื้อเย่ือออน-แข็ง ในชองปาก 1.2 การออกกําลังของกลามเนื้อ ใบหนา –บดเคี้ยว 1.3 การควบคุมพฤติกรรมการ บริโภค เชน การดื่ม แอลกอฮอล อาหารรสเปรี้ยว

รางคูมือ OSLER 80

ใชเคี้ยวท้ังสองขาง เคี้ยวอาหาร ช้ินเล็กๆ 1.4 การดูแลโรคทางระบบ เชน กรดไหลยอน ผลของยาท่ี เก่ียวของ 1.5 พฤติกรรมท่ีควรระวังและ หลีกเลี่ยงในการใชฟนเทียม ของผูปวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

10.Recheck (ตอ)

4. วิธีประเมินผลท่ีเกิดจากการใส ฟนเทียมและการแกไข ปญหา เชน การยึดอยูและ เสถียรภาพ ท่ีมีผลตอการลดปริมาณและ การไหลของน้ําลาย) 3. Systemic

รางคูมือ OSLER 81

disease and medicine (เชนโรคทางระบบ และยาท่ีใช ท่ีมีผลตอการลด ปริมาณและการไหลของ น้ําลาย) 2. การกลับมารับการตรวจ สุขภาพชองปากและฟนเทียม เปนระยะ - หลักการประเมิน - ข้ันตอน วิธีการ การแกไข 3. การใหคําแนะนําและดแูล ผูปวยใหใชฟนเทียมไดถูกตอง 1.1 การทําความสะอาดฟน เทียม ฟนและเนื้อเย่ือออน-แข็ง ในชองปาก 1.2 การออกกําลังของกลามเนื้อ ใบหนา –บดเคี้ยว 1.3 การควบคุม

รางคูมือ OSLER 82

พฤติกรรมการ บริโภค เชน การดื่ม แอลกอฮอล อาหารรสเปรี้ยว ใชเคี้ยวท้ังสองขาง เคี้ยวอาหาร ช้ินเล็กๆ

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

10.Recheck (ตอ)

1.4 การดูแลโรคทางระบบ เชน กรดไหลยอน ผลของยาท่ี เก่ียวของ 1.5 พฤติกรรมท่ีควรระวังและ หลีกเลี่ยงในการใชฟนเทียม ของผูปวย 4. วิธีประเมินผลท่ีเกิดจากการใส ฟนเทียมและการแกไข ปญหา เชน การยึดอยูและ เสถียรภาพ ท่ีมีผลตอการลด

รางคูมือ OSLER 83

ปริมาณและ การไหลของน้ําลาย)

งานฟนเทียมแบบติดแน ประกอบดวยข้ันตอนหลัก 11 ข้ันตอน ไดแก 1. Communication and professionalism 2. Oral examination and charting 3. Preliminary impression and tooth shade selection 4. Treatment plan

รางคูมือ OSLER 84

5. Abutment preparation in cast 6. Canal preparation and X-ray 7. Post preparation 8. Abutment preparation, final impression and bite registration 9. Temporary crown cementation 10. Permanent crown cementation 11. Recheck

งานฟนเทียมชนิดติดแนน: รายละเอียดการประเมิน ประกอบดวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

1.Communication and professionalism

1. สามารถซักถาม พูดคุย อธิบาย หรือ อภิปรายกับผูปวยอยางเหมาะสมเพ่ือ นําไปสูการดูแลท่ีสอดคลองกับความ ตองการและความคาดหวังของผูปวย โดยสอดคลองกับหลักวิชาการ รวมท้ัง ส่ือสาร ปฏิสัมพันธกับผูปวย ดวยความ สุภาพ นุมนวล และใหเกียรติ

1. หลักการส่ือสารเพ่ือใหไดถึง ความตองการ และความ คาดหวังของผูปวยในการรักษา ทางทันตกรรมประดิษฐ รวมท้ัง การมีปฏิสัมพันธกับผูปวย ดวย ความสุภาพ นุมนวล ระมัดระวัง และใหเกียรติ

รางคูมือ OSLER 85

2. Oral examination and charting

1. สามารถซักประวัติทางการแพทย ใหได ประวัติโรคทางระบบและยาท่ีเก่ียวของ กับโรคของผูปวยเพ่ือประเมินการใสฟน เทียม 2. สามารถซักประวัติทางทันตกรรมและ ประเมินพฤติกรรมของผูปวยตอการ ตองการฟนเทียม

1. การซักประวัติท่ัวไปของผูปวย 2. การซักประวัติผูปวยท่ีมีปญหา โรคทางระบบและ/หรือ การใชยา ท่ีมีผลตอการใสฟน เทียม

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

2. Oral examination and charting (ตอ)

3. สามารถบันทึกขอมูลการซักประวัติท่ี เก่ียวของกับการรักษาทางทันตกรรม ประดิษฐ ประวัติการรักษาทาง ทันตกรรมและการตรวจผูปวยใสฟน เทียมไดอยางถูกตองครบถวนและเปน ระบบ 4. สามารถรวบรวมขอมูลการซักประวัติ และการตรวจผูปวยเพ่ือ

3. ข้ันตอน และวิธีการตรวจผูปวย ท่ีเก่ียวของกับการใสฟนเทียม และการบันทึกขอมูลจากการ ตรวจผูปวย เชน สภาพและ ขนาดฟน สันเหงือก ลิ้น tone ของกลามเนื้อใบหนา ขอตอ ขากรรไกร น้ําลาย 4. การเลือกและใช

รางคูมือ OSLER 86

ประเมินและ ทํานายผลการใสฟนเทียมได 5.สามารถอธิบายข้ันตอนและวิธีการตรวจ ผูปวยท่ีเก่ียวของกับการใสฟนเทียมได อยางถูกตอง เปนระบบ (13.1) 6. สามารถเลือกและใชเครื่องมือในการ ตรวจผูปวยท่ีเก่ียวของกับ การใสฟนเทียมไดอยางถูกตอง เหมาะสม (13.2) 7. สามารถเลือกใชวิธีการตรวจทาง หองปฏิบัติการ การตรวจทางภาพถาย รังสี และการตรวจเพ่ิมเติมทางคลินิก อ่ืนๆ สําหรับผูปวยใสฟนเทียมแตละ รายไดอยางถูกตองเหมาะสมและมี เหตุผล (13.3) 8. สามารถบันทึกการใหการรักษาและผล ของการรักษาทางทันตกรรมประดิษฐ ไดอยางถูกตอง ครบถวน และเปนระบบ

เครื่องมือใน การตรวจและการตรวจ เพ่ิมเติมทางคลินิกอ่ืนๆ สําหรับ ผูปวยใสฟนเทียม เชน bite registration, facebow transfer, articulator 5. การจําแนกชองวางการสูญเสีย ฟน และ/หรือการวินิจฉัยโรค ทางทันตกรรมประดิษฐ เชน Kennedy classification 6. รวบรวมขอมูลการซักประวัติ และการตรวจผูปวยเพ่ือประเมิน และทํานายผลการใสฟนเทียม 6.1. ปจจัยผูปวย เชน สุขภาพ ท่ัวไป การเปลี่ยนแปลงของ สรีรวิทยาเหตุสูงอายุ สภาพ

รางคูมือ OSLER 87

ในเวชระเบียนของผูปวย (15.1) 9. สามารถซักประวัติทางการแพทย ใหได ประวัติโรคทางระบบและยาท่ีเก่ียวของ กับโรคของผูปวยเพ่ือประเมินการใส ฟนเทียม (14.1)

จิตใจ ทัศนคติ พฤติกรรมของ ผูปวย 6.2. ขอมูลจากการซักประวัติ และตรวจผูปวย เชน ความ แตกตางของเนื้อเย่ือ สันเหงือก สภาพฟนท่ีเหลือในชองปาก

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

2. Oral examination and charting (ตอ)

10.สามารถซักประวัติทางทันตกรรมและ ประเมินพฤติกรรมของผูปวยตอการ ตองการฟนเทียม (14.2) 11. สามารถบันทึกขอมูลการซักประวัติท่ี เก่ียวของกับการรักษาทางทันตกรรม ประดิษฐ ประวัติการรักษาทาง ทันตกรรมและการตรวจผูปวยใสฟน เทียมไดอยางถูกตองครบถวนและเปน ระบบ (14.3) 12.สามารถบอกข้ันตอน และ

ความสัมพันธของขากรรไกร interarch space 6.3. การแปลผลภาพถายรังสีท่ี มีการเปลี่ยนแปลงของ เนื้อเย่ือออน-แข็ง 6.4. การพยากรณโรคแบบท้ัง ปากและเฉพาะซี่ 6.5. ความสัมพันธกับงาน ทันตกรรมอ่ืนๆ (Prostho – Endo – Perio –

รางคูมือ OSLER 88

อธิบาย วิธีการตรวจผูปวยท่ีเก่ียวของกับการใส ฟนเทียมไดอยางถูกตอง เปนระบบ (13.1) 13. สามารถเลือกและใชเครื่องมือในการ ตรวจผูปวยท่ีเก่ียวของกับการใสฟน เทียมไดอยางถูกตองเหมาะสม (13.2) 14. สามารถเลือกใชวิธีการตรวจทาง หองปฏิบัติการ การตรวจทางภาพถาย รังสี และการตรวจเพ่ิมเติมทางคลินิก อ่ืนๆ สําหรับผูปวยใสฟนเทียมแตละ รายไดอยางถูกตองเหมาะสมและมี เหตุผล (13.3) 15.สามารถแปลผลภาพถายรังสีท่ีมีการ เปลี่ยนแปลงของเนื้อเย่ือออน-แข็งใน ชองปากไดอยางถูกตอง เพ่ือใสฟนเทียม (16.1) 16. สามารถรวบรวมขอมูลการซักประวัติ

Restorative inter-relationships)

รางคูมือ OSLER 89

และการตรวจผูปวยเพ่ือประเมินและ ทํานายผลการใสฟนเทียมได (14.4)

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

3. Preliminary impression and tooth shade selection

1. สามารถเตรียมเครื่องมือ และการจัดทา นั่งผูปวย 2. มี Universal precaution 3. สามารถเลือก และลองถาดพิมพได อยางเหมาะสม 4. เทคนิคการผสมอัลจิเนตท่ีถูกตอง 5. เทคนิคการพิมพท่ีถูกตอง 6. ความสมบูรณของรอยพิมพ 7. สามารถเทียบ และเลือกสีฟนไดอยาง ถูกตอง

1. หลักการ Universal precaution 2. วิธีการลองถาดพิมพปาก 3. คุณสมบัติของวัสดุพิมพปาก อัลจิเนต เทคนิคการผสม และ การพิมพ 4. เทคนิคการเทียบ และเลือกสี ฟน 5. Model analysis

4.Treatment plan

1. สามารถวางแผนการบูรณะและฟนฟู สุขภาพชองปากดวยการรักษาทาง ทันตกรรมประดิษฐ เพ่ือใหไดมาซึ่งการ

1.Concept, goals, indications and contraindications 1.1 งานฟนเทียมติดแนนครอบฟน

รางคูมือ OSLER 90

ทําหนาท่ีและความสวยงามไดตามความ จําเปนและเหมาะสมกับสภาพชองปาก สุขภาพและเศรษฐานะของผูปวย (19.1) 2. สามารถวางแผนและลําดับข้ันตอนการ รักษางานฟนเทียมติดแนน ไดทุกชนิดได อยางมีเหตุผลและเหมาะสมกับผูปวย (19.2)

1.2 งานฟนเทียมติดแนนสะพาน ฟน 2. ทันตวัสดุและคุณสมบัติ การเลือกและใชงานใหเหมาะสมกับงานท้ังในแงคุณภาพและ แงเศรษฐกิจ - gypsum metallergy - alloy in dentistry - dental casting alloy ชนิดตางๆ - dental ceramic - polymer - dental acrylic resin - impression materials - soft lining meterial - artificial teeth

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

รางคูมือ OSLER 91

4.Treatment plan (ตอ)

- restorative materials (cement and luting materials, glass ionomer materials, amalgam)

5. Abutment Preparation in cast

1. สามารถออกแบบ และกรอปรับแตงตัว ฟนในแบบจําลองใหเหมาะสม เพ่ือใช เปนแบบจําลองสําหรับใชเปนแบบใน การกรอแตงในฟนจริง โดยมีลักษณะ ตอไปนี้ 1.1 ปราศจากสวนคอด 1.2 เสนส้ินสุดมีลักษณะถูกตอง 1.3 มีความสอบ 5-20 องศา 1.4 มีระยะปลอดการสอบ 1.5-2 มิลลิเมตร 1.5 ฟนท่ีกรอเตรียมแลวมีลักษณะทาง กายวิภาคถูกตอง 1.6 ไมกรอโดนฟนขางเคียง(ถามี) 1.7 เสนส้ินสุดมีความเรียบ และตอเนื่อง 1.8มีวิถีการใสถูกตอง

1. เทคนิคการกรอแตงตัวฟน สําหรับการทําฟนเทียมชนิดติด แนน

รางคูมือ OSLER 92

6.Canal Preparation and x-ray

1. สามารถเตรียมคลองรากฟนไดอยาง ถูกตองในการทํา Cast post หรือ พอดี กับขนาดตัว Prefabricated post 2. สามารถใชเทคนิคการถายภาพรังสีรอบ ปลายรากฟนเพ่ือตรวจสอบการกรอ เตรียมคลองรากฟนไดอยางชัดเจน

1. ลักษณะทางกายวิภาคของ คลองรากฟน 2.วิธีการเตรียมคลองรากฟน สําหรับ Post ชนิดตางๆ 3.เทคนิคการถายภาพรังสีรอบ ปลายรากฟน

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

7.Post preparation 7.1 Cast post try in and cementation 7.2 Prefabricated post and

1. สามารถพิมพปากเพ่ือเตรียมทํา Cast post รวมท้ังการเลือกวัสดุยึดติด และ การยึดติด Cast post ได 2. สามารถเลือกชนิด และขนาดของ Prefabricated post ไดอยางเหมาะสม ถูกตอง รวมท้ังสราง core

1. วิธีการลองถาดพิมพปาก 2. คุณสมบัติของวัสดุพิมพปาก เทคนิคการผสม และการพิมพ 3. คุณสมบัติของ Post ชนิดตางๆ และวัสดุยึดติด

รางคูมือ OSLER 93

core Build-up

build-up ได ถูกตองตามลักษณะทางกายวิภาคของ ตัวฟน และการเลือกวัสดุยึดติด และ การยึดติด Prefabricated post ได

8.Abutment Preparation and final impression and bite registration

1. สามารถออกแบบ และกรอปรับแตงตัว ฟนใหเหมาะสมสําหรับการพิมพแบบ เพ่ือทําตัวฟนเทียมติดแนน โดยมี ลักษณะตอไปนี้ 1.1 ปราศจากสวนคอด 1.2 เสนส้ินสุดมีลักษณะถูกตอง 1.3 มีความสอบ 5-20 องศา 1.4 มีระยะปลอดการสอบ 1.5-2 มิลลิเมตร 1.5 ฟนท่ีกรอเตรียมแลวมีลักษณะทาง กายวิภาคถูกตอง 1.6 ไมกรอโดนฟนขางเคียง(ถามี) 1.7 เสนส้ินสุดมีความเรียบ และตอเนื่อง

1. การออกแบบ และเทคนิคการ กรอปรับแตงตัวฟนเพ่ือรอง รับฟนเทียม 2. หลักการ Universal precaution 3. วิธีการลองถาดพิมพปาก 4. คุณสมบัติของวัสดุพิมพปาก เทคนิคการผสม และการพิมพ

การกรอทะลุโพรง ประสาทฟน

รางคูมือ OSLER 94

1.8มีวิถีการใสถูกตอง 2.สามารถวางแผนเลือกใชวัสดุพิมพปาก ตามความจําเปนและเหมาะสมกับฟน เทียมชนิดติดแนนและสภาพชองปาก ของผูปวย (19.4) 3. สามารถเตรียมเครื่องมือ และการจัดทา นั่งผูปวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

8.Abutment Preparation and final impression and bite registration (ตอ)

4. มี Universal precaution 5. สามารถเลือก และลองถาดพิมพได อยางเหมาะสม 6. เทคนิคการผสมวัสดุพิมพปากท่ีถูกตอง 7. เทคนิคการพิมพท่ีถูกตอง 8. ความสมบูรณของรอยพิมพ

9.Temporary crown cementation

1. สามารถเลือก และ/หรือทําตัวครอบฟน เทียมไดอยางถูกตอง 2. สามารถเลือกวัสดุยึดติดตัว

1. ชนิด และคุณสมบัติของตัว ครอบฟนเทียม และวัสดุยึดติด

รางคูมือ OSLER 95

ครอบฟน เทียม และยึดติดตัวครอบฟนเทียมได อยางเหมาะสม รวมท้ังคงสภาพการสบ และระดับเหงือกไดอยางถูกตอง

2. ลักษณะกายวิภาคของฟน และ อวัยวะปริทันต

10. Permanent crown cementation

1. สามารถเรียงฟนไดถูกตองตามกาย วิภาคของสันเหงือก และความสัมพันธ ของการสบฟน 2. สามารถออกแบบ ดัด และวางตะขอใน การยึดตัวฟนเทียมกับฟนธรรมชาติท่ี เปนตัวหลักยึดไดอยางถูกตอง 3. สามารถตกแตงข้ีผึ้งของฐานฟนปลอม ไดอยางสวยงสม และถูกตองตามกาย วิภาค 4. สามารถส่ือสาร เขียนใบสงLab และให คําแนะนําแกชางทันตกรรมได (35.7)

1. คุณสมบัติของตัวฟนเทียม 2. เทคนิคการเรียงฟน 3. เทคนิคในการดัด และวางตะขอ ในตําแหนงท่ีถูกตอง 4. เทคนิคการวาด การออกแบบ และการเขียนใบสง Lab

11. Recheck

1. สามารถวางแผนปองกันและควบคุม การลุกลามของโรคเหงือก

1. สาเหตุของการเกิดและการ ปองกันโรคเหงือก

รางคูมือ OSLER 96

โรคฟนผุและ โรคอ่ืนๆ เหตุจากฟนเทียม (39.2) 2.สามารถอธิบายผูปวยใหตระหนักในการ กลับมารับการตรวจเปนระยะ ตามท่ี ทันตแพทยนัดหมาย (39.3)

โรคฟนผุและ โรคอ่ืนๆ เหตุจากฟนเทียม 1. Personal oral hygiene (การ ทําความสะอาดฟนเทียม ฟน และเนื้อเย่ือออน-แข็งในชอง ปาก

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

11. Recheck (ตอ)

2. สามารถใหคําแนะนําท่ีเหมาะสมแก ผูปวยท่ีใสฟนเทียมแตละชนิดเพ่ือ สงเสริมใหสุขภาพชองปากดี (39.1) 3. สามารถติดตาม ประเมินผลการรักษา และแกไขผลท่ีเกิดจากฟนเทียมใหผูปวย ได จนกวาผูปวยจะสามารถใชฟนเทียม ไดดี (38.1)

2. Oral diseases (Dental caries, Periodontal disease, Denture-induced stomatitis เชน Candida spp. รวมท้ัง ปจจัยเสริม เชน ill-fitting denture ท่ีทําใหโรครุนแรงข้ึน)

3. Systemic

รางคูมือ OSLER 97

disease and medicine (เชนโรคทางระบบ และยาท่ีใช ท่ีมีผลตอการลด ปริมาณและการไหลของ น้ําลาย) 2. การกลับมารับการตรวจ สุขภาพชองปากและฟนเทียม เปนระยะ - หลักการประเมิน - ข้ันตอน วิธีการ การแกไข 3. การใหคําแนะนําและดูแลผูปวย ใหใชฟนเทียมไดถูกตอง 1.1 การทําความสะอาดฟน เทียม ฟนและเนื้อเย่ือออน-แข็ง ในชองปาก 1.2 การออกกําลังของกลามเนื้อ ใบหนา –บดเคี้ยว 1.3 การควบคุม

รางคูมือ OSLER 98

พฤติกรรมการ บริโภค เชน การดื่ม แอลกอฮอล อาหารรสเปรี้ยว ใชเคี้ยวท้ังสองขาง เคี้ยวอาหาร ช้ินเล็กๆ

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

1.4 การดูแลโรคทางระบบ เชน กรดไหลยอน ผลของยาท่ี เก่ียวของ 1.5 พฤติกรรมท่ีควรระวังและ หลีกเลี่ยงในการใชฟนเทียม ของผูปวย 4. วิธีประเมินผลท่ีเกิดจากการใส ฟนเทียมและการแกไขปญหา เชน การยึดอยูและเสถียรภาพ ท่ีมีผลตอการลดปริมาณและ

รางคูมือ OSLER 99

การไหลของน้ําลาย)

แนวทางการประเมนิงานทนัตกรรมปองกนั การสอบทันตกรรมปองกันประกอบดวยข้ันตอนหลัก 4 ข้ันตอน ไดแก

1. การประเมินความเส่ียงตอโรคในชองปาก 2. การวางแผนการใหทันตกรรมปองกัน

รางคูมือ OSLER 100

3. การดําเนินการทันตกรรมปองกัน 4. ผลการดําเนินการทันตกรรมปองกัน

รายละเอียดการประเมิน ประกอบดวย

งาน ผาน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วร

พิจารณา

1. การประเมินความเส่ียงตอโรคในชองปาก

1.1การประเมินความเส่ียงจากปจจัยทางชีวการแพทย

ไดทําการตรวจประเมินปจจัยทางชีวการแพทยท่ีเก่ียวของกับความเส่ียงตอการเกิดโรคในชองปาก

การตรวจและประเมินปจจัยท่ีทําใหเกิดความเส่ียตอโรคฟนผุ ปริ ทันต และโรคอ่ืนๆ ไดแก - อาหาร - Caries experience - ปริมาณเช้ือจุลินทรีย

ในชองปาก - Salivary flow rate - pH – Buffer

capacity - Oral hygiene - Laboratory test - อ่ืนๆ

- Caries Risk Factors

- Risk factors ตอการเกิดโรคในชองปากอ่ืนๆ

1.2การประเมินความเส่ียงจาก

ไดทําการตรวจประเมินปจจัยทางสังคมท่ี

การตรวจและประเมินปจจัยท่ีทําใหเกิดความเส่ียตอโรคฟนผุ ปริทันต และโรคอ่ืนๆท่ีเก่ียวของกับปจจัยทาง

ความสัมพันธระหวางปจจัยทางส่ิงแวดลอมกับสภาวะสุขภาพในชองปาก

รางคูมือ OSLER 101

ปจจัยทางสังคม

เก่ียวของกับความเส่ียงตอการเกิดโรคในชองปาก

สังคม - สถานะทางเศรษฐกิจ

และสังคม - สภาพของครอบครวั

งาน ผาน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วร

พิจารณา

1.3การประเมินความเส่ียงจากปจจัยทางจิตวิทยา

ไดทําการตรวจประเมินปจจัยทางจิตวิทยาท่ีเก่ียวของกับความเส่ียงตอการเกิดโรคในชองปาก

การตรวจและประเมินปจจัยท่ีทําใหเกิดความเส่ียตอโรคฟนผุ ปริทันต และโรคอ่ืนๆท่ีเก่ียวของกับปจจัยทางจิตวิทยา

- แรงจูงใจ - ก า ร อ ธิ บ า ย

พฤติกรรมตางๆ ด ว ย ท ฤ ษ ฎี ท า งพฤติกรรมศาสตร

PRECEDE Model

1.4สรุปผลการประเมินความเส่ียง

สามารถนําปจจัยทางชีวการแพทย สังคม และจิตวิทยามาประมวลรวมกัยเพ่ือสรุปเปนความเส่ียงตอการเกิด

นํ า ป จ จั ย ท่ี เ ก่ี ย ว ข อท้ังหมดมาประเมินความเส่ียวตอการเกิดโรคในชองปากของผูปวยได

รางคูมือ OSLER 102

โรคในชองปากของผูปวย

2.การวางแผนการใหทันตกรรมปองกัน

2.1การวางแผนการใหสุขศึกษาและการเลือกใชส่ือท่ีเหมาะสม

เลือกเนื้อหาความรูและวิธีการให(1) ความรูทางทันตสุขภาพ (2) การปรับพฤติกรรม (3) การสรางเสริมปจจัยทางสังคม หรือ (4) มาตรการท่ีให

การเลือกเนื้ อหาและชนิดของส่ือการสอนใหเหมาะสมกับความเส่ียงแ ล ะ ป จ จั ย ต า ง ๆ ข อ งผูปวย

- ทฤษฎีการใหสุขศึกษา

- Communication skill

- Preventive products

- Ottawa charter (โดยเฉพาะ develop personal skill)

งาน ผาน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วร

พิจารณา

โดยทันตแพทยท่ีเหมาะสมกับผูปวย อยางนอย 2 อยางจาก

รางคูมือ OSLER 103

4 อยาง

2.2การวางแผนการปรับพฤติกรรม

การกําหนดพฤติกรรมท่ีตองปรับ เปลี่ ยน และก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ป รั บพฤติกรรมท่ีทําใหเกิดความเ ส่ียงตอโรคในชองปากของผูปวย

2.3การวางแผนการสรางเสริมปจจัยทางสังคมและส่ิงแวดลอม

การกําหนดวิธีการ และดําเนินการอ่ืนๆ เพ่ือใหส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ข อ งผูปวยเหมาะสมตอการมีสุขภาพชองปากท่ีดี

2.4การวางแผนการใหทันตกรรมปองกันโดยทันตแพทย

กา ร วา ง แผ น กา ร ใ หมาตรการ ทันตกรรมปองกันโดยทันตแพทย เชน ฟลูออไรด sealant ก า ร กํ า จั ด ส า เ ห ตุเฉพาะท่ี

รางคูมือ OSLER 104

งาน ผาน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting

competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know

informations

ขอผดิพลาดทีค่วร

พิจารณา

3.การดําเนินการทันตกรรมปองกัน

3.1การดําเนินการตามแผนทันตกรรมปองกันท่ีวางไว

มีการดําเนินการตามแผนการท่ีวางไว โดยอาจมีการปรับแผนการใหทันตกรรมปองกันหรือไมก็ได

การดํ า เนินการตามแผนการใหทันตกรรมปองกันในขอ 2

3.2การปรับแผนการใหแผนทันตกรรมปองกัน

ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย นแผนการดํา เนินการ ในกรณีมีอุปสรรคหรือการดํานเนการไปแลวระยะหนึ่ ง พบว าไมประสบความสําเร็จ

4.ผลการดําเนินก

รางคูมือ OSLER 105

ารทันตกร ร มปองกัน

4.1ผลการปรับความรู/พฤติกรรม/ส่ิงแวดลอม/ชีวการแพทย

ไดทําการสรุปผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินการใหทันตกรรมปอง กัน ท่ีเกิดตอผูปวย

4.2การประเมินความเส่ียงซ้ําภายหลังการใหทันตกรรมปองกัน

ไดทําการประเมินความเส่ียงซ้ําตามระยะเวลาท่ีกําหนด

ผลการประเมินความเ ส่ี ย ง ซ้ํ า ห ลั ง จ า กระยะเวลาผานไปไมนอยกวา 1 เดือน

แนวทางการประเมนิงานทนัตกรรมบดเคี้ยว การสอบทันตกรรมบดเคี้ยวประกอบดวยข้ันตอนหลัก 5 ข้ันตอน ไดแก

1. การรวบรวมขอมูล 2. การวางแผนการรักษา 3. การส่ือสาร 4. Patient management & treatment

รางคูมือ OSLER 106

5. เจตคติวิชาชีพ รายละเอียดการประเมิน ประกอบดวย

งาน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

1. การรวบรวมขอมูล (Data gatering) 1.1 การซักประวัติ (chief complaint, present illness, past history, systemic disease)

การซักประวัติท่ีมีความชัดเจนและครอบคลุมไดขอมูลท่ีสําคัญ สอดคลองกับปญหา และจับประเด็นปญหาของผูปวยไดเปนสวนใหญ

การซักประวัติ ตรวจระบบบดเคี้ยว และ วิเคราะหการสบฟนใหแกผูปวยท่ีมีความผิดปกติในการทําหนาท่ีของระบบบดเคี้ยว การระบุความผิดปกติท่ีตรวจพบ และ วิเคราะหปจจัยท่ีเก่ียวของตอการเกิดอาการในผูปวยรายนั้น

1.2 การตรวจรางกาย (การตรวจและบันทึกฟนในชองปาก การตรวจและบันทึกขอตอขากรรไกร การตรวจและบันทึกกลามเนื้อ)

ขนตอนและเทคนิคการตรวจถูกตอง เปนระบบ คลองแคลว ใชเวลาเหมาะสม สอดคลองกับปญหาของผูปวย และผลการตรวจถูกตองเปนสวนใหญ

กลไกการทํางานของเซลลประสาท ประสาทรับความรูสึก และ ประสาทส่ังงานของระบบบดเคี้ยวและอวัยวะท่ีเก่ียวของบริเวณชองปากและใบหนา องคประกอบของอวัยวะบดเคี้ยว ความสัมพันธระหวางซี่ฟนบนขากรรไกรเดียวกันและความสัมพันธระหวางฟนบนและฟนลาง ความหมายของตําแหนงตางๆ ของขากรรไกรลาง การเคลื่อนขากรรไกร รวมถึงปจจัยตางๆ ท่ีกําหนดการสบฟน

Transfer face bow

การประกอบและทําความสะอาดอุปกรณ, การหา reference point ในผูปวย, การ transfer เขา

บอกชนิดและอธิบายวิธีการใชเครื่องจําลองขากรรไกรและเฟซโบวชนิดตางๆ ได

รางคูมือ OSLER 107

articulator ถูกตองเปนสวนใหญ

งาน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

CR bite registration

ตําแหนง ความยาว และความหนาของ wax ถูกตองเปนสวนใหญ

ความหมายของเสถียรภาพการสบฟน ลักษณะการสบฟนท่ีเหมาะสมกับการใชงาน แนวคิดตางๆ ของการสบฟน

Taking impression

พิมพปากไดตัวฟนสมบูรณในครั้งเดียว หรือพรอม vestibule

Mounting การจัดวางตําแหนงของแบบจําลองฟน, และ การจัดต้ังความหนาของ wax ถูกตอง

การพิมพปากและจําลองความสัมพันธของ ฟน ขากรรไกร และขอตอขากรรไกรถายทอดมายังเครื่องจําลองขากรรไกรชนิดปรับไดบางสวน

2. การวางแผนการรักษา (Data organization, Diagnosis and Treatment plan)

ประมวลขอมูลท่ีเปนประเด็นสําคัญไดครบถวน สอดคลองกับปญหาของผูปวย เปนสวนใหญ การวินิจฉัย การวางแผนการรักษา หรือการสงตอมีเหตุผลและถูกตอง

การวางแผนการรักษา และ ใหการรักษาดวยวิธีอนุรักษแกผูปวย การวิเคราะหปญหา และอธิบายเหตุผลในการวางแผนการรักษาผูปวยท่ีมีอาการผิดปกติของระบบบดเคี้ยวและอาการปวดบริเวณชองปากและใบหนาได ขอบงช้ีในการรักษาดวย ปริทันตวิทยา ทันตกรรมบูรณะ ศัลยศาสตรชองปากและ แมกซลิโลเฟเชียล ฟนเทียม และ รากเทียม

รางคูมือ OSLER 108

3. การส่ือสาร (Communication) (สังเกตระหวางการซักประวัติ การตรวจรางกาย การ insertion และการใหคําปรึกษา/แนะนําแกผูปวย)

แนะนําตัว ขออนุญาต อธิบายเหตุผลของการซักประวัติและการตรวจรางกาย มีปฏิสัมพันธกับผูปวย การซักประวัติใชคําถามเหมาะสม เรียงตามลําดับเหตุการณ ส่ือสารไดชัดเจน เขาใจงาย ใหคําปรึกษาและแนะนําผูปวยไดถูกตอง เหมาะสมในลักษณะของการส่ือสาร 2 ทาง ตอบคําถามผูปวยไดถูกตองเหมาะ สม ใชเวลาเหมาะสม เปนสวนใหญ รับฟงผูปวย ส่ือสารท้ัง verbal และ non-verbal

ความรูและวิธีปฏิบัติตัวของผูปวย ข้ันตอนการบําบัดรักษาความผิดปกติของระบบบดเคี้ยวและอาการปวดบริเวณชองปากและใบหนา

งาน สิ่งที่ตองประเมนิ Supporting competency

สาระทีน่กัศึกษาควรรู Must know informations

4. Pt.management& treatment Waxing สงงานผานในครั้งแรก ชีวกลศาสตรของขากรรไกร

มนุษย

Insertion ตรวจผูปวย ประเมิน และใหคําแนะนําไดถูกตอง กรอปรับ occlusal splint ไดถูกตอง

สามารถระบุขอบงช้ี ความคุม และความเส่ียง ในการรักษาดวยเฝอกสบฟนชนิดเสถียร

Recheck สามารถประเมินผลการรักษาความผิดปกติของระบบบดเคีย้วและ

การประเมินพฤติกรรมผูปวย

รางคูมือ OSLER 109

อาการปวดบริเวณชองปากและใบหนา ติดตามผลการรักษา และ ใหความรูกับผูปวยเพ่ือคงสภาพ และ/หรือ ปองกันการกลับมาเปนอีกไดอยางถูกตอง และ เหมาะสม

5. เจตคติวิชาชีพ

(Professionalism)

เคารพสิทธิและคํานึงถึงความรูสึกของผูปวย/ญาติ มองปญหาผูปวยอยางเปนองครวม กิริยามารยาท คําพูด และการแตงกายสุภาพเรียบรอย เหมาะสม ควบคุมอารมณและตอบสนองไดอยางเหมาะสมเปนสวนใหญ

บทบาทของทันตแพทยตอการดูแลผูปวยท่ีมีอาการปวด และ ขอควรคํานึงทางจริยธรรม มาตรฐานจริยธรรมระดับนานาชาติของการทํางานวิจัยเก่ียวกับความเจ็บปวด

แนวทางการประเมนิงานทนัตกรรมเดก็

รางคูมือ OSLER 110

การสอบทันตกรรมเด็กประกอบ 1. งาน pulpotomy 2. งานรักษาคลองรากฟนในฟนกรามน้ํานม 3. ครอบฟนเหล็กไรสนิมในฟนกรามน้ํานม งาน pulpotomy: รายละเอียดการประเมินประกอบดวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ สาระทีน่กัศึกษาควรรู (supporting

competencies)

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

การตรวจและซักประวัติกอนทําการรักษา

• ความสามารถในการวินิจฉัย

• คุณภาพภาพถายรังสีและ ความสามารถแปลผลภาพถายรังสี

• Indication & contra-indication

• ไมสามารถแยกแยะความแตกตางของสภาพทางคลินิกและภาพรังสีระหวางการรักษาดวยการทํา pulpotomy และ RCT ได

การฉีดยาชา

• เทคนิคการฉีดยาชา

• ปริมาณยาชา • ตําแหนงท่ีฉีดยา

ชา • ผลสัมฤทธิ์ของ

การฉีดยาชา

• Behavior management

• Anatomy & nerve supply

• ไมใหความสําคัญตอการรับสงกระบอกฉีดยาชาใหพนสายตาเด็ก

• การใชปริมาณยาชาไมเหมาะสม

• ตําแหนงฉีดยาชาผิดพลาด

การใสแผนยางกันน้ําลาย

• ตําแหนงของแผนยางกันน้ําลายอยูในตําแหนงท่ีเหมาะสม

• จํานวนซี่ฟนท่ีถูก

• ตําแหนงของแผนยางหลังจากท่ีใสแลวอยูในตําแหนงสูงหรือตํ่าเกินไปหรือไม

รางคูมือ OSLER 111

แยกดวยแผนยาง • การเลือก clamp

ไดเหมาะสมกับสถานการณ

• การเลือกซี่ฟนเพ่ือเปนท่ีเกาะของ clamp

มีความสมมาตร • ความเหมาะสม

ของจํานวนซี่ฟนท่ีถูกแยกดวยแผนยาง

• ความเหมาะสมของตําแหนงของฟนท่ีเลือกเพ่ือเปนท่ีเกาะของ clamp

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ สาระทีน่กัศึกษาควรรู (supporting

competencies)

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

การกรอเปดเขาไปในโพรงประสาทฟน

• Outline ภายนอกท่ีมีขนาดเหมาะสม และไมบังสายตาการมองเห็นรูเปดของคลองรากฟน

• ผนังภายในโดยรอบไมถูกโดยไมจําเปน

• พ้ืนของโพรงประสาทฟนจะตองไมถูกกรอ

• Anatomy ของโพรงประสาทฟน

• กรอเปด Outline ภายนอกมีขนาดใหญเกินไป หรือมีขนาดเล็กเกินไปทําใหไมสามารถมองเห็นรูเปดคลองรากไดชัดเจน

• กรอผนังภายในทําใหมีความเสียหาบมากหรือทะลุพ้ืนของโพรงประสาทฟน

การกรอตัดเนื้อเย่ือในโพรงฟนและการหาม

• การเลือกใชเครื่องมือในการตัดประสาทฟน

• การเลือกใชน้ํายาในการฉีดลางทํา

• คุณสมบัติของน้ํายาลางคลองรากฟนชนิดตางๆ

• คุณสมบัติของน้ํายาท่ีใชในการหามเลือด

• การใชปริมาณน้ํายาในการ fixed ไมเหมาะสม

รางคูมือ OSLER 112

เลือดและ fixed เนื่อเย่ือประสาทฟนสวนท่ีเหลือ

ความสะอาดโพรงประสาทฟน

• สามาถทําการหามเลือด และ fixed เนื้อเย่ือประสาทฟนสวนท่ีเหลือ

และ fixed เนื้อเย่ือประสาทฟนสวนท่ีเหลือ

การอุดโพรงประสาทฟน

• การเลือกใชวัสดุอุดปดโพรงประสาทฟน

• คุณสมบัติและวิธีการใชวัสดุอุดปดช่ัวคราว

• การเลือกใชวัสดุอุดไมเหมาะสม

งานรกัษาคลองรากฟนในฟนกรามน้าํนม: รายละเอียดการประเมินประกอบดวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ สาระทีน่กัศึกษาควรรู (supporting competencies)

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

การตรวจและซัก

• ความสามารถในการวินิจฉัย

• Indication & • ไมสามารถแยกแยะความ

รางคูมือ OSLER 113

ประวัติกอนทําการรักษา

• คุณภาพภาพถายรังสีและ ความสามารถแปลผลภาพถายรังสี

contra-indication

แตกตางของสภาพทางคลินิกและภาพรังสีระหวางการรักษาดวยการทํา pulpotomy และ RCT ได

การฉีดยาชา

• เทคนิคการฉีดยาชา

• ปริมาณยาชา • ตําแหนงท่ีฉีดยา

ชา • ผลสัมฤทธิ์ของ

การฉีดยาชา

• Behavior management

• Anatomy & nerve supply

• ไมใหความสําคัญตอการรับสงกระบอกฉีดยาชาใหพนสายตาเด็ก

• การใชปริมาณยาชาไมเหมาะสม

• ตําแหนงฉีดยาชาผิดพลาด

การใสแผนยางกันน้ําลาย

• ตําแหนงของแผนยางกันน้ําลายอยูในตําแหนงท่ีเหมาะสม

• จํานวนซี่ฟนท่ีถูกแยกดวยแผนยาง

• การเลือก clamp ไดเหมาะสมกับสถานการณ

• การเลือกซี่ฟนเพ่ือเปนท่ีเกาะของ clamp

• ตําแหนงของแผนยางหลังจากท่ีใสแลวอยูในตําแหนงสูงหรือตํ่าเกินไปหรือไมมีความสมมาตร

• ความเหมาะสมของจํานวนซี่ฟนท่ีถูกแยกดวยแผนยาง

• ความเหมาะสมของตําแหนงของฟนท่ีเลือกเพ่ือเปนท่ีเกาะของ clamp

รางคูมือ OSLER 114

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ สาระทีน่กัศึกษาควรรู (supporting competencies)

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

การกรอเปดเขาไปในโพรงประสาทฟน

• Outline ภายนอกท่ีมีขนาดเหมาะสม และไมบังสายตาการมองเห็นรูเปดของคลองรากฟน

• ผนังภายในโดยรอบไมถูกโดยไมจําเปน

• พ้ืนของโพรงประสาทฟนจะตองไมถูกกรอ

• Anatomy ของโพรงประสาทฟน

• กรอเปด Outline ภายนอกมีขนาดใหญเกินไป หรือมีขนาดเล็กเกินไปทําใหไมสามารถมองเห็นรูเปดคลองรากไดชัดเจน

• กรอผนังภายในทําใหมีความเสียหาบมากหรือทะลุพ้ืนของโพรงประสาทฟน

การกรอตัดเนื้อเย่ือในโพรงฟนและการทําความสะอาดเนื่อเย่ือประสาทฟนสวนท่ีเหลือใน

• การเลือกใชเครื่องมือในการตัดประสาทฟน และการดึงเนื้อเย่ือในรากฟน

• การเลือกใชน้ํายาในการฉีดลางทําความสะอาดโคลองรากฟน

• สามาถทําการ

• คุณสมบัติของน้ํายาลางคลองรากฟนชนิดตางๆ

• การใชปริมาณน้ํายาในการ fixed ไมเหมาะสม

• เครื่องมือ file หรือ barb broach หักในขณะทําความสะอาดคลองรากฟน

รางคูมือ OSLER 115

คลองรากฟน

หามเลือด และ fixed เนื้อเย่ือประสาทฟนสวนท่ีเหลือ

การอุดคลองรากฟน

• การเลือกใชวัสดุอุดคลองรากฟน

• คุณภาพของการอุดคลองรากฟน

• คุณสมบัติและวิธีการใชวัสดุในการอุดคลองรากฟน

• การเลือกใชเครื่องมือไดเหมาะสม

• การเลือกใชวัสดุอุดไมเหมาะสม

• เครื่องมือหักในคลองรากฟน

• การอุดคลองรากฟนไมเต็มคลองราก

การอุดปดสวนโพรงประสาทฟน

• การเลือกใชวัสดุอุดปดโพรงประสาทฟน

• คุณสมบัติและวิธีการใชวัสดุอุดปดช่ัวคราว

• การเลือกใชวัสดุอุดไมเหมาะสม

งานครอบฟนเหลก็ไรสนิมในฟนกรามน้าํนม: รายละเอียดการประเมินประกอบดวย

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ สาระทีน่กัศึกษาควรรู (supporting competencies)

ขอผดิพลาดทีค่วรพิจารณา

การตรวจและซักประวัติกอนทําการรักษา

• ความสามารถในการวินิจฉัย

• คุณภาพภาพถายรังสีและ ความสามารถแปลผลภาพถายรังสี

• Indication & contra-indication

• ไมสามารถแยกแยะความแตกตางของสภาพทางคลินิกและภาพรังสีระหวางการรักษาดวยการทํา

รางคูมือ OSLER 116

pulpotomy และ RCT ได

การฉีดยาชา

• เทคนิคการฉีดยาชา

• ปริมาณยาชา • ตําแหนงท่ีฉีดยา

ชา • ผลสัมฤทธิ์ของ

การฉีดยาชา

• Behavior management

• Anatomy & nerve supply

• ไมใหความสําคัญตอการรับสงกระบอกฉีดยาชาใหพนสายตาเด็ก

• การใชปริมาณยาชาไมเหมาะสม

• ตําแหนงฉีดยาชาผิดพลาด

การใสแผนยางกันน้ําลาย

• ตําแหนงของแผนยางกันน้ําลายอยูในตําแหนงท่ีเหมาะสม

• จํานวนซี่ฟนท่ีถูกแยกดวยแผนยาง

• การเลือก clamp ไดเหมาะสมกับสถานการณ

• การเลือกซี่ฟนเพ่ือเปนท่ีเกาะของ clamp

• ตําแหนงของแผนยางหลังจากท่ีใสแลวอยูในตําแหนงสูงหรือตํ่าเกินไปหรือไมมีความสมมาตร

• ความเหมาะสมของจํานวนซี่ฟนท่ีถูกแยกดวยแผนยาง

• ความเหมาะสมของตําแหนงของฟนท่ีเลือกเพ่ือเปนท่ีเกาะของ clamp

ขัน้ตอน สิ่งที่ตองประเมนิ สาระทีน่กัศึกษาควรรู ขอผดิพลาดทีค่วร

รางคูมือ OSLER 117

(supporting competencies)

พิจารณา

การกรอแตงตัวฟน (crown preparation)

• รูปรางของตัวฟนมีขนาดเล็กลงในขนาดเหมาะสม และยังคงลักษณะanatomy ของดานบดเคี้ยว

• ขอบของรอยกรอแตงใตขอบเหงือกมีลักษณะ feather edge

• การเลือกใชหัวกรอขนาดถูกตอง

• Anatomy ของดานบดเคี้ยวของตัวฟน

• กรอแตงตัวฟนมากเกินไป (over preparation)

• กรอตัดเนื้อฟนของฟนขางเคียง

• ขอบดานใกลเหงือกมีลักษณะเปน ledge

การเลือกขนาดครอบฟน

• สามารถอานสัญญลักษณท่ีใชเรียกช่ือครอบฟนโลหะได

• การเลือกใชเครื่องมือในการถอดและขัดแตงขอบของครอบฟนโลหะ

• ไมสามารถอานสัญญลักษณได

• เลือกใชเครื่องมือไมถูกตอง

• เลือกขนาดครอบฟนไมพอเหมาะ

การยึดครอบฟนโลหะ

• การเลือกใชวัสดุยึดครอบฟน และวิธีการผสมไดอยางถูกตองตามอัตราสวนท่ีบริษัทกําหนด

• ปริมาณของวัสดุยึดครอบฟน

• อัตราสวนของวัสดุยึดครอบฟนแตละชนิด

• คณุสมบุตขิองวัสดุยึดครอบฟน

• วิธีการผสมวัสดุยึดครอบฟน

• เลือกใชวัสดุยึดครอบฟนไมถูกตอง

• ผสมวัสดุยึดครอบฟนไมถูกตอง

• ปริมาณของวัสดุยึดครอบฟน

• ทําความสะอาด

รางคูมือ OSLER 118

• วิธีการทําความสะอาดวัสดุยึดครอบฟนสวนเกิน

• ครอบฟนไมอยูในตําแหนงท่ีเขาท่ี