บทสรุปสําหรับผู ... · e–mail : [email protected] 3....

21
สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลยี ป 2553 คลินิกเทคโนโลยี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก 1 บทที1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร วิทยาลัยการอาชีพบานตาก ไดเขารวมเปนเครือขายคลินิกเทคโนโลยี ของกระทรวงวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ตั ้งแตปงบประมาณ 2551 จนถึงปจจุบัน นับเปนปที 3 ทั ้งนี ้เนื ่องจากประชาชนในจังหวัดตากสวน ใหญมีความเปนอยูที่ยากจน เนื่องจากพื้นที่สวนใหญของจังหวัดตากเปนพื้นที่แหงแลงอีกทั้งประชาชนขาด องคความรู ในการพัฒนาอาชีพเดิม หรือสรางอาชีพใหม จากการสํารวจขอมูลพื ้นฐานในชุมชน ทําใหทราบวา มีประชาชนและเกษตรกรอีกจํานวนมากที่รอรับการบริการ ดานคําแนะนําและปรึกษาในการนําความรู และ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับทองถิ่น เพื่อที่จะนําไปพัฒนาปรับปรุงการประกอบอาชีพของตนในอันที ่จะลด รายจายและเพิ่มรายไดใหกับครอบครัว วัตถุประสงค 1.เพื ่อเปนแหลงรวบรวมขอมูลองคความรู ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที ่เหมาะสมตลอดจน ภูมิปญญาทองถิ ่น อีกทั ้งยังชวยแกปญหาความยากจนใหกับชุมชน 2.เพื ่อถายทอดเทคโนโลยี และบริการขอมูลทางวิชาการใหกับประชาชนที ่สนใจ 3.เพื ่อนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปพัฒนาอาชีพและและความเปนอยู ของเกษตรกรในชนบท กลุ มเปาหมาย ประชาชนทั ่วไปที ่สนใจ พื ้นที ่จังหวัดตาก และจังหวัดใกลเคียง ระยะเวลาดําเนินการ เริ ่มดําเนินโครงการตั ้งแต 1 ตุลาคม 2552 วันสิ ้นสุดโครงการ 30 กันยายน 2553

Upload: dangkiet

Post on 08-Nov-2018

219 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

1

บทที่ 1

บทสรุปสาํหรับผูบริหาร

วิทยาลัยการอาชีพบานตาก ไดเขารวมเปนเครือขายคลินิกเทคโนโลยี ของกระทรวงวิทยาศาสตร และ

เทคโนโลยี ต้ังแตปงบประมาณ 2551 จนถึงปจจุบัน นบัเปนปท่ี 3 ท้ังน้ีเน่ืองจากประชาชนในจังหวัดตากสวน

ใหญมีความเปนอยูที่ยากจน เนื่องจากพื้นที่สวนใหญของจังหวัดตากเปนพื้นที่แหงแลงอีกทั้งประชาชนขาด

องคความรูในการพัฒนาอาชีพเดิม หรือสรางอาชีพใหม จากการสํารวจขอมูลพ้ืนฐานในชุมชน ทําใหทราบวา

มีประชาชนและเกษตรกรอีกจํานวนมากที่รอรับการบริการ ดานคําแนะนําและปรึกษาในการนําความรู และ

เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับทองถิ่น เพื่อที่จะนําไปพัฒนาปรับปรุงการประกอบอาชีพของตนในอันที่จะลด

รายจายและเพิ่มรายไดใหกับครอบครัว

วัตถุประสงค

1.เพ่ือเปนแหลงรวบรวมขอมูลองคความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมตลอดจน

ภูมิปญญาทองถ่ิน อีกท้ังยังชวยแกปญหาความยากจนใหกับชุมชน

2.เพ่ือถายทอดเทคโนโลยี และบริการขอมูลทางวิชาการใหกับประชาชนท่ีสนใจ

3.เพ่ือนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปพัฒนาอาชีพและและความเปนอยูของเกษตรกรในชนบท

กลุมเปาหมาย

ประชาชนท่ัวไปท่ีสนใจ พ้ืนท่ีจังหวัดตาก และจังหวัดใกลเคียง

ระยะเวลาดําเนินการ

เร่ิมดําเนินโครงการต้ังแต 1 ตุลาคม 2552 วันส้ินสุดโครงการ 30 กันยายน 2553

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

2

โครงการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตไบโอแกสเปนพลังงานทดแทนเพือ่พฒันาชนบท

ระดับชุมชนขนาดเล็ก งบประมาณสนับสนุนโครงการ 71,950 บาท

เปาหมายท่ี : จํานวน 63 คน

จํานวนผูเขารับบริการ : 63 คน

พ้ืนท่ีดําเนินการ : 1. บานสันปาลาน ม. 3 ต.ตากออก อ.บานตาก จ.ตาก 63120

2. บานทุงย้ัง ม. 10 ต. ตากตก อ.บานตาก จ. ตาก 63120

3. บานสันปาลาน ม. 3 ต.ตากออก อ.บานตาก จ.ตาก 63120

กลุมเปาหมาย : 1. กลุมชุมชนบานสันปาลาน ม. 3 ต. อ.บานตาก จ. ตาก จํานวน 21 คน

2. กลุมชุมชนบานทุงย้ัง ม. 10 ต. ตากตก. อ.บานตาก จ. ตาก จํานวน 15 คน

3. กลุมชุมชนบานสันปาลาน ม. 3 ต.ตากออก อ.บานตาก จ. ตาก จํานวน

27 คน

ประโยชนที่คาดวาจะไดรบั

1. ชุมชนไดนําความรูดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ไปพัฒนาอาชีพเดิม สรางอาชีพใหม เพ่ือลด

รายจาย เพ่ิมรายได

2. ชุมชนมีการรวมกลุมพัฒนาอาชีพ เกิดความรวมมือกับองคการปกครองทองถ่ิน เกิดการบูรณาการ

อยางเปนรูปธรรม ชุมชนรูรักสามัคคี

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

3

บทที่ 2

ขอเสนอโครงการคลินิกเทคโนโลยี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก ประจําป 2553

โครงการผลิตไบโอแกสเปนพลังงานทดแทน เพ่ือพฒันาชนบท

1. ช่ือคลินิกเทคโนโลยีเครือขายที่เสนอโครงการ : คลินิกเทคโนโลยี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

2. ชื่อโครงการ : 4.การผลิตไบโอแกซเปนพลังงานทดแทนเพื่อพัฒนาชนบท

3. ผูรับผิดชอบและหรือ

ผูรวมรับผิดชอบ

1. นายสุภาพ สายทองอินทร ผูอํานวยการคลินิกเทคโนโลยี ผูรับผิดชอบโครงการ

2. นายนมิติร อาศัย ครู ชํานาญการพิเศษ ผูจัดการคลินิกเทคโนโลยี

โทรศพัท 055 – 591426 ตอ 107 / Fax 055 – 591912 โทรศพัทมือถือ 089 5640 586

E–mail : [email protected] www.geocities.com/clinicbantak

3. นายธงชัย ศรีพันผอง นักวิชาการคลินิกเทคโนโลยี

โทรศัพทมือถือ 084 8121108

E-mail : [email protected]

วิทยาลัยการอาชีพบานตาก ต.ตากออก อ.บานตาก จ.ตาก 63120

4. ความสอดคลองกบัแผนงาน/กิจกรรม โปรดใสเครื่องหมาย P ใน * เพียงแผนงาน/กิจกรรมเดียว

R 4.1 การถายทอดเทคโนโลยี

* 4.2 การบริการใหคําปรึกษาและบริการขอมูลเทคโนโลยี

* 4.3 การวิจัยและพัฒนาตอยอด

* 4.4 การเผยแพรความรูความเขาใจทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

* 4.4 (1) ศูนยการเรียนรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีระดับชุมชน

5. ลักษณะของโครงการ :

โปรดใสเครื่องหมายP ใน

ที่ตองการและขอมูลให

ครบถวน

* 5.1 เปนโครงการตอเนื่อง (เริ่มดําเนินการป....................)

R 5.2 เปนโครงการใหม โดยเปนโครงการ

R 5.2.1 เปนความตองการของชุมชน วิสาหกิจชุมชน OTOP SMEs หรือ

ประชาชนโดยทั่วไป (โปรดแสดงเอกสาร / หลักฐานแนบมาดวย)* 5.2.2 เปนผลงานวิจัยและพัฒนาที่ตองการถายทอดฯ ไดรับทุนจาก................

* 5.2.3 เปนโจทยจากการประชุมบูรณาการจังหวัด โดยระบุคร้ังท่ีและจังหวดั

...............

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

4

6. หลักการและเหตุผล :

ตามท่ีวิทยาลัยการอาชีพบานตาก ไดเขารวมเปนเครือขายคลินิกเทคโนโลยีในปงบประมาณ

2551 ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนในจังหวัดตากสวนใหญมีความเปนอยูที่ยากจน พื้นที่สวนใหญเปน

พื้นที่แหงแลงตลอดจนประชาชนขาดองคความรูในการพัฒนาอาชีพเดิม หรือสรางอาชีพใหม

จากการสํารวจขอมูลพ้ืนฐาน ทําใหทราบวามีประชาชนและเกษตรกรในอําเภอบานตากอีก

จํานวนมากท่ีรอรับการบริการ ดานเทคโนโลยีตาง ๆ อีกท้ังประชากรสวนใหญประกอบอาชีพ

เกษตรกรรมและเลี้ยงสัตว ทําประสบปญหามูลสัตวสงกลิ่นเหม็นไปท่ัวบริเวณ สาเหตุดังกลาว

คลินิกเทคโนโลยี วิทยาลัยการอาชีพบานตากจึงมีการนําเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาปรับใชใหเขากับ

ชุมชน โดยการเสนอโครงการ “ การผลิตไบโอแกสเพื่อพัฒนาชนบท ”เพื่อเปนการเพิ่มความรู

ความเขาใจในการผลิตไบโอแกสและการนาํไปใชอยางถูกวิธีนอกจากนี้เปนการปลูกฝงจิตสํานึก

ในการใชพลังงานทดแทนและการประหยัดพลังงานตลอดจนเปนการเปนการประหยัดคาใชจาย

เพ่ิมรายไดใหกับครอบครัวและยังชวยรักษาส่ิงแวดลอมท่ีดี อีกท้ังเปนการพัฒนาทองถิ่นตลอดจน

เปนการพัฒนาประเทศใหเขมแข็งและม่ันคง เปนสังคมแหงการเรียนรูดานวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีอยางยั่งยืนสืบตอไป

7. วัตถปุระสงค :

1. เพื่อใหเกษตรกรไดนํามูลสัตวไปใชใหเกิดประโยชน

2. เพื่อลดตนทุนในการใชแกสหุงตมในครัวเรือน

3. เพื่อเปนการปลูกฝงจิตสํานึกการใชพลังงานทดแทนและการประหยัดพลังงาน

8. กลุมเปาหมาย : 1. กลุมเกษตรกร กลุมแมบาน เยาวชน และประชาชนที่สนใจทั่วไปในพื้นที่

และจังหวัดตากใกลเคียงจํานวน 42 คน

9. พืน้ที่ดําเนินการ : 1. หมู 3 บานสันปาลาน ตําบลตากออก อําเภอบานตาก จังหวัดตาก

จํานวน 25 คน

2. หมู 10 บานทุงยั้ง ตําบลตากตก อําเภอบานตาก จังหวัดตาก จํานวน 17 คน

10. ระยะเวลาดําเนินการ : เริ่มดําเนินโครงการตั้งแต 1 ตุลาคม 2552 วันสิ้นสุดโครงการ 30 กันยายน 2553

11. การดําเนินโครงการ :

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

5

11.1 กิจกรรมและวิธีดําเนินงาน ประกอบดวย 3 กจิกรรม

1. การเตรียมการ

1.1 การสํารวจปริมาณครัวเรือนและความตองการเทคโนโลยีการผลิตไบโอแกส ในชุมชน

1.2 ประสานงานกับเกษตรกรที่เขารับการฝกอบรม เพื่อจัดเตรียม วัน เวลา สถานที่ และเอกสารที่ใชในการสมัคร

เขารับการฝกอบรม

1.3 รวบรวมขอมูล และดําเนินการ

2. การดาํเนนิงานหรือการใหบรกิาร โดยจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ (ประมาณวันท่ี 5-7 เมย. และ 10-12 พค.

2553)

2.1 ถายทอดเทคโนโลยีใหความรูในการผลิตไบโอแกสและการนาํไปใช ขั้นการบรรยายใหความรู (ผูเชี่ยวชาญ

จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม / มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ)

- ความสําคัญของพลังงานทดแทนธรรมชาติ

- ประโยชนของเทคโนโลยี ไบโอแกส

- ข้ันตอนการปฎิบัติ

- การนําไปใช และการดูแลรักษาถุงดํา

2.2 การลงพ้ืนท่ีปฏิบัติจริงในพ้ืนท่ีเปาหมายของกลุมตัวแทนนํารอง

(ผูเชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม / มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ)

- เทคนิคการสรางบอไบโอแกส

- การเตมิมูลสตัว สวนผสม ปริมาณ

- และขั้นเตรียมการนําไปใช

3. การติดตามประเมินผล (ประมาณวันท่ี 19 เมษายน ,20 พฤษภาคม ,7 มถิุนายน 2553)

3.1 ทําการประเมินโดยใชแบบวัดความพึงพอใจ แบบประเมินผลเมื่อจบการฝกอบรม

3.2 ติดตามประเมินผลการนําไปใชหลังการอบรมเสร็จ

3.3 สรุปการประเมินผลติดตามผล คิดมูลคารวมทางเศรษฐกิจ

3.4 และรายงานความกาวหนาตอกระทรวงวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีทุกไตรมาศ

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

6

11.2 แผนการดําเนินงาน ( ตามตารางดานลาง)

กิจกรรม

2551 2552 รวมเงิน

(บาท)ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

แผนงาน

1.การเตรียมการ สํารวจขอมูล

ติดตอประสานงานตาง ๆP P P 5,000

2.จัดการอบรมการผลิตไบโอแกส

สําหรับชุมชน

P5-7

P10-12

P P 53,950

3.ติดตามประเมินผลการอบรม P P P 10,000

4.สรุปและรายงานความกาวหนา

ตอกระทรวงวทิยาศาสตรP 3,000

5.รายงานความกาวหนาทกุไตร

มาสของการดําเนนิงานP P P P -

แผนเงิน5,000 53,950 13,000 71,950

12. ผลผลติของโครงการ หมายถึง บริการหรือสิ่งของที่ใหแกผูรับบริการภายนอก

ผลผลิต คาเปาหมาย (หนวยนับ) วิธีการจัดเก็บขอมูล

1. จํานวนผูรบัคําปรึกษาทางเทคโนโลยี -

แบบใบสมคัร

2. จํานวนผูรับบริการขอมูลเทคโนโลยี

(ทุกชองทาง)

-

3. จํานวนผูรับการถายทอดเทคโนโลยี ไมนอยกวา 42 คน

4. จํานวนผูรับประโยชนจากการพัฒนาตอ

ยอดเทคโนโลยี

5. อื่นๆ โปรดระบุ .

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

7

13. ผลลัพธ ( อะไรคือผลลัพธหรือประโยชนที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการนี้)

ตัวชี้วัดคาเปาหมาย

(หนวยนับ)การจัดเก็บขอมูล

1. รอยละการนําไปใชประโยชนของผลผลิตตามขอ 12

(คําปรกึษา/ถายทอดฯ) การขยายผลโดยผูเขารับอบรมไปทําบอ

กาซไดเอง

รอยละ 30แบบประเมิน

2. รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ(คําปรึกษา/ถายทอดฯ) รอยละ 85

3. จํานวนสถานประกอบการที่นําผลงานวิจัยไปใชประโยชน 1 แหง แบบฟอรมของ

สวนกลาง4. จํานวนกิจกรรมสูภาคการผลิต 1 กิจกรรม

5. อืน่ๆ โปรดระบุ........................................

14. ผลกระทบ (โปรดใสเครื่องหมาย ü และระบุผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากโครงการมากท่ีสุดเพยีงขอเดียว)

R ทางเศรษฐกิจ โปรดระบุ ชุมชนไดใชพลังงานทดแทน ทําใหลดรายจายในครัวเรือนและใชวัตถุดิบในชุมชนมา

ใชประโยชนในการดําเนินชีวิตประจําวัน ประหยัดคาใชจาย 300 บาท / ครัวเรือน

* ทางสงัคม โปรดระบ ุ ....................................................................................................................

15. งบประมาณ : รวม 71,950 บาท

1.จัดการอบรมการผลิตไบโอแกสสําหรับชุมชน พื้นที่บอสาธิต 2 บอ จาํนวนเงิน 68,950 บาท

1.1 คาวัสดุ – อุปกรณ สาธิตทํา บอ ผลิตไบโอแกส = 18,086 บาท

1.2 ปายประชาสัมพันธโครงการ จาํนวน 2 ผืน = 1,000 บาท

1.3 คาอาหาร – อาหารวาง – เคร่ืองด่ืม / จํานวน 45 คน ๆ ละ 60 บาท 5 วัน = 13,500 บาท

1.4 คาวิทยากร ช่ัวโมงละ 600 บาท = 28,800 บาท

1.5 คาจางเตรียมบอหมัก 2 บอ = 5,000 บาท

1.6 คาตอบแทนทาํการนอกเวลา = 2,564 บาท

2.คาวัสดุจดัทําเอกสารสรปุและรายงานความกาวหนา จาํนวนเงิน 3,000 บาท

หมายเหตุ เฉลี่ยจายทุกรายการ

16. การติดตาม ประเมนิผลและรายงานผล :ใชแบบประเมินของสวนกลาง รายงานผลทุก 3 เดือน โดยผานระบบคลินิก

เทคโนโลยีออนไลน (www.ttc.most.go.th/online/index.htm) และรายงานฉบับสมบูรณเมื่อสิ้นสุดโครงการ

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

8

บทที ่3

การดําเนินงาน และผลการดําเนินโครงการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตไบโอแกสเปนพลังงาน

ทดแทนเพ่ือพัฒนาชนบท ระดับชุมชนขนาดเล็ก ประจําป 2553

งบประมาณสนบัสนุน 71,950 บาท

วิธีดําเนินโครงการ

1. การเตรียมการ

1.1 การสํารวจปริมาณครัวเรือนและความตองการเทคโนโลยีการผลิตไบโอแกส ในชุมชน

1.2 ประสานงานกับเกษตรกรท่ีเขารับการฝกอบรม เพ่ือจัดเตรียม วัน เวลา สถานท่ี และเอกสารท่ีใชในการ

สมคัร เขารับการฝกอบรม

1.3 รวบรวมขอมูล และดําเนินการ

2. การดําเนินงานหรือการใหบริการ โดยจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ

2.1 ถายทอดเทคโนโลยีใหความรูในการผลิตไบโอแกสและการนําไปใช ขั้นการบรรยายใหความรู

(วิทยากร : นายนิมิตร อาศัย วิทยาลัยการอาชีพบานตาก)

- ความสําคัญของพลังงานทดแทนธรรมชาติ ประโยชนของเทคโนโลยี ไบโอแกส

- เทคนิคการสรางบอไบโอแกส

- ข้ันตอนการปฎิบัติ การเติมมูลสัตว สวนผสม ปริมาณ

- การนําไปใช และการดูแลรักษาถุงหมัก

3. การติดตามประเมินผล

3.1 ทําการประเมินโดยใช แบบประเมินผลเม่ือจบการฝกอบรม

3.2 ติดตามประเมินผลการนําไปใชหลังการอบรมเสร็จ

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

9

3.3 ติดตามประเมินผล

3.4 รายงานความกาวหนาตอกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทุกไตรมาศ

4. รายงานผลประจําป

ผลผลิต/ผลลัพธของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธของโครงการ คาเปาหมาย (หนวยนบั)

1. จํานวนผูรับการถายทอดเทคโนโลยี (คน) 42 คน

2. ผูรับการถายทอดฯ มีความพึงพอใจ (รอยละ) รอยละ 90

3. ผูรับการถายทอดฯ มีการนําไปใชประโยชน

(รอยละ)รอยละ 80

4. จํานวนสถานประกอบการที่นําผลงานวจิัยไป

ใชประโยชน ( แหง/ราย)2 แหง

สรุปผลการดําเนินโครงการ

เนื่องจากกระทรวงวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดพิจารณาสนับสนุนใหคลินิกเทคโนโลยี วิทยาลัย

การอาชีพบานตาก ดําเนินโครงการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ดคุณภาพสูง ระดับชุมชน

ขนาดเล็ก ในชวงไตรมาสท่ี 2 จึงสรุปผลการดําเนินงานในไตรมาสท่ี 2 ดังน้ี

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

10

ไตรมาสท่ี 2

พ้ืนท่ีดําเนินการ : พ้ืนท่ี บานสันปาลาน หมู 3 ตําบลตากออก อําเภอบานตาก จังหวัดตาก 63120

กลุมเปาหมาย : กลุมชุมชนบานสันปาลาน หมู 3 ตําบลตากออก อําเภอบานตาก จังหวัดตาก 63120

จํานวน 21 คน

ระยะเวลา : วันที่ 6 - 10 เมษายน 2553

ผลการดําเนินงาน :

1.ดําเนินการติดตอประสานงานกับกลุมเปาหมายใหจัดเตรียมพ้ืนท่ีในการฝกอบรม

2. จัดเตรียม เอกสาร ขอมูล อุปกรณในการฝกอบรม

3. จัดการฝกอบรมกลุมเปาหมาย และติดต้ังบอไบโอแกส จํานวน 1 บอ

4. ประเมินผลหลังการฝกอบรม

5. ติดตามประเมินผลหลังการฝกอบรม

ไตรมาสท่ี 3

พ้ืนท่ีดําเนินการ : พ้ืนท่ี บานทุงย้ัง ม. 10 ต. ตากตก อ.บานตาก จ. ตาก 63120

กลุมเปาหมาย : กลุมชุมชนบานทุงย้ัง ม. 10 ต. ตากตก. อ.บานตาก จ. ตาก จํานวน 15 คน

ระยะเวลา : วันที่ 26 - 27 มิถุนายน 2553

ผลการดําเนินงาน :

1.ดําเนินการติดตอประสานงานกับกลุมเปาหมายใหจัดเตรียมพ้ืนท่ีในการฝกอบรม

2. จัดเตรียม เอกสาร ขอมูล อุปกรณในการฝกอบรม

3. จัดการฝกอบรมกลุมเปาหมาย และติดต้ังบอไบโอแกส จํานวน 1 บอ

4. ประเมินผลหลังการฝกอบรม

5. ติดตามประเมินผลหลังการฝกอบรม

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

11

ไตรมาสท่ี 4

พ้ืนท่ีดําเนินการ : พ้ืนท่ี บานสันปาลาน หมู 3 ตําบลตากออก อําเภอบานตาก จังหวัดตาก 63120

กลุมเปาหมาย : กลุมชุมชนบานสันปาลาน หมู 3 ตําบลตากออก อําเภอบานตาก จังหวัดตาก 63120

จํานวน 27 คน

ระยะเวลา : วันที่ 18 - 19 กันยายน 2553

ผลการดําเนินงาน :

1.ดําเนินการติดตอประสานงานกับกลุมเปาหมายใหจัดเตรียมพ้ืนท่ีในการฝกอบรม

2. จัดเตรียม เอกสาร ขอมูล อุปกรณในการฝกอบรม

3. จัดการฝกอบรมกลุมเปาหมาย และติดต้ังบอไบโอแกส จํานวน 1 บอ

4. ประเมินผลหลังการฝกอบรม

5. ติดตามประเมินผลหลังการฝกอบรม

สรุปประเมินผลโครงการถายทอดเทคโนโลยี การผลิตไบโอแกสเปนพลังงานทดแทนเพือ่พัฒนา

ชนบท ดังนี้

ไตรมาสท่ี 2 : กลุมชุมชนบานสันปาลาน หมู 3 ตําบลตากออก อําเภอบานตาก จงัหวัดตาก 63120

จํานวน 21 คน

รายงานประเมินผลเมื่อจบการฝกอบรม

1. ดานกระบวนการขั้นตอนการใหบริการ เชน การประกาศรับสมัคร การติดตอเชิญอบรม การ

ประสานงาน และใหขอมูล การดูแล และการทํางานอยางมีข้ันตอน มีระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด

2. ดานเจาหนาท่ีผูใหบริการ เชน อัธยาศัยดี ย้ิมแยมแจมใส มีนํ้าใจในการใหบริการ มีระดับความ

พึงพอใจมากท่ีสุด

3. ดานส่ิงอํานวยความสะดวก สถานท่ีอบรม อาหาร เคร่ืองโสตฯ เอกสารอบรม มีระดับความ

พึงพอใจมากท่ีสุด

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

12

4. ดานการนําความรูไปใชประโยชน ใชประกอบอาชีพ หรือใชในชีวิตประจําวัน มีระดับความ

พึงพอใจมาก

5. ดานความเหมาะสมของเน้ือหาหลักสูตร มีระดับความพึงพอใจมาก

6. ดานความเหมาะสมของวิทยากร ความรู ความสามารถ เทคนิคการสอน มีระดับความพึงพอใจ

มากท่ีสุด

7. ดานระยะเวลาการอบรม มีระดับความพึงพอใจมาก

8. ดานชวงเวลาการอบรม มีระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด

9. ดานความคุมคาเม่ือเทียบกับเวลาและคาใชจาย ประโยชนท่ีไดรับมากกวาเวลาและคาใชจายท่ีเสีย

ไป มีระดับความพึงพอใจมาก เกษตรกรทั้งหมด สามารถนําความรูไปใชประโยชนได และคาดวาจะมีรายได

เพ่ิมข้ึน นอยกวา 1,000 บาทตอเดือน

ผลการตดิตามผล ภายหลังการอบรม 3 เดือน

จากการสุมขอมูลผูเขารบัการฝกอบรม พบวาทั้งหมดสามารถนําความรูไปใชประโยชนได ในดาน

คุณภาพชีวิต เกษตรกรทั้งหมดประเมินไมเปนตัวเงินแตเปนการนําความรูไปใชพัฒนาอาชีพรอย เกษตรกรเริ่ม

นําความรูไปใชหลังการอบรมภายใน 1 เดือน โดยสวนใหญเกษตรกรนําความรูไปใชในกลุมชุมชน เกษตรกร

นําความรูไปขยายผลตอในดานประยุกตเปนองคความรูใหมท้ังหมด และเกษตรกรผูเขารับการฝกอบรมทุกคน

มีความพึงพอใจกับความรู เทคโนโลยีท่ีนําไปใชประโยชน และเกษตรกรไดรับผลทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 2,550

บาท

ไตรมาสท่ี 3 : กลุมชุมชนบานทุงย้ัง ม. 10 ต. ตากตก. อ.บานตาก จ. ตาก จํานวน 15 คน

รายงานประเมินผลเมื่อจบการฝกอบรม

1. ดานกระบวนการขั้นตอนการใหบริการ เชน การประกาศรับสมัคร การติดตอเชิญอบรม การ

ประสานงานและใหขอมูล การดูแล และการทํางานอยางมีข้ันตอน มีระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด

2. ดานเจาหนาท่ีผูใหบริการ เชน อัธยาศัยดี ย้ิมแยมแจมใส มีนํ้าใจในการใหบริการ มีระดับความ

พึงพอใจมากท่ีสุด

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

13

3. ดานส่ิงอํานวยความสะดวก สถานท่ีอบรม อาหาร เคร่ืองโสตฯ เอกสารอบรม มีระดับความ

พึงพอใจมากท่ีสุด

4. ดานการนําความรูไปใชประโยชน ใชประกอบอาชีพ หรือใชในชีวิตประจําวัน มีระดับความ

พึงพอใจมากท่ีสุด

5. ดานความเหมาะสมของเน้ือหาหลักสูตร มีระดับความพึงพอใจมาก

6. ดานความเหมาะสมของวิทยากร ความรู ความสามารถ เทคนิคการสอน มีระดับความพึงพอใจ

มากท่ีสุด

7. ดานระยะเวลาการอบรม มีระดับความพึงพอใจมาก

8. ดานชวงเวลาการอบรม มีระดับความพึงพอใจมาก

9. ดานความคุมคาเม่ือเทียบกับเวลาและคาใชจาย ประโยชนท่ีไดรับมากกวาเวลาและคาใชจายท่ีเสีย

ไป มีระดับความพึงพอใจมาก เกษตรกรทั้งหมด สามารถนําความรูไปใชประโยชนได และคาดวาจะมีรายได

เพ่ิมข้ึน นอยกวา 1,000 บาทตอเดือน

ผลการตดิตามผล ภายหลังการอบรม 3 เดือน

จากการสุมขอมูลผูเขารับการฝกอบรม พบวาทั้งหมดสามารถนําความรูไปใชประโยชนได โดย

ความรูที่ไดประเมินเปนรายไดเสริมทั้งหมด โดยมีรายไดเพิ่มนอยกวา 1,000 บาทตอเดือน และเกษตรกร

สามารถนําความรูไปลดรายจายนอยกวา 1,000 บาทตอเดือน ในดานคุณภาพชีวิต เกษตรกรท้ังหมดประเมินไม

เปนตัวเงินแตเปนการนําความรูไปใชพัฒนาอาชีพรอย เกษตรกรเริ่มนําความรูไปใชหลังการอบรมภายใน

1 เดือน โดยสวนใหญเกษตรกรนําความรูไปใชในครอบครัว และเมื่อมีโอกาส เกษตรกรนําความรูไปขยายผล

ตอในดานประยุกตเปนองคความรูใหมท้ังหมด และเกษตรกรผูเขารับการฝกอบรมทุกคน มีความพึงพอใจกับ

ความรู เทคโนโลยีท่ีนําไปใชประโยชน และเกษตรกรไดรบัผลทางเศรษฐกิจเฉล่ีย 2,550 บาท

ไตรมาสท่ี 4 : กลุมชุมชนบานสันปาลาน หมู 3 ตําบลตากออก อําเภอบานตาก จงัหวัดตาก 63120

จํานวน 27 คน

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

14

รายงานประเมินผลเมื่อจบการฝกอบรม

1. ดานกระบวนการขั้นตอนการใหบริการ เชน การประกาศรับสมัคร การติดตอเชิญอบรม การ

ประสานงานและใหขอมูล การดูแล และการทํางานอยางมีข้ันตอน มีระดับความพึงพอใจมาก

2. ดานเจาหนาท่ีผูใหบริการ เชน อัธยาศัยดี ย้ิมแยมแจมใส มีนํ้าใจในการใหบริการ มีระดับความพึง

พอใจมากท่ีสุด

3. ดานส่ิงอํานวยความสะดวก สถานท่ีอบรม อาหาร เคร่ืองโสตฯ เอกสารอบรม มีระดับความพึง

พอใจมากท่ีสุด

4. ดานการนําความรูไปใชประโยชน ใชประกอบอาชีพ หรือใชในชีวิตประจําวัน มีระดับความพึง

พอใจมาก

5. ดานความเหมาะสมของเน้ือหาหลักสูตร มีระดับความพึงพอใจมาก

6. ดานความเหมาะสมของวิทยากร ความรู ความสามารถ เทคนิคการสอน มีระดับความพึงพอใจมาก

ที่สุด

7. ดานระยะเวลาการอบรม มีระดับความพึงพอใจมาก

8. ดานชวงเวลาการอบรม มีระดับความพึงพอใจมาก

9. ดานความคุมคาเม่ือเทียบกับเวลาและคาใชจาย ประโยชนท่ีไดรับมากกวาเวลาและคาใชจายท่ีเสีย

ไป มีระดับความพึงพอใจมาก เกษตรกรทั้งหมด สามารถนําความรูไปใชประโยชนได และคาดวาจะมีรายได

เพ่ิมข้ึน นอยกวา 1,000 บาทตอเดือน

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

15

ผลการตดิตามผล ภายหลังการอบรม 3 เดือน

จากการสุมขอมูลผูเขารบัการฝกอบรม พบวาทั้งหมดสามารถนําความรูไปใชประโยชนได ในดาน

คุณภาพชีวิต เกษตรกรท้ังหมดประเมินไมเปนตัวเงินแตเปนการนําความรูไปใชพัฒนาอาชีพ เกษตรกรนํา

ความรูไปใชหลังการอบรมทันที รอยละ 37 ใชหลังการอบรมภายใน 1 เดือน รอยละ 63 โดยสวนใหญ

เกษตรกรนาํความรูไปใชในกลุมชุมชน เกษตรกรนาํความรูไปขยายผลตอในดานประยุกตเปนองคความรูใหม

ท้ังหมด และเกษตรกรผูเขารับการฝกอบรมทุกคน มีความพึงพอใจกับความรู เทคโนโลยีท่ีนําไปใชประโยชน

และเกษตรกรไดรบัผลทางเศรษฐกิจเฉล่ีย 2,550 บาท

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

16

บทที่ 4

งบประมาณท่ีใชจายประจําป 2553

สรุปผลการใชจายงบประมาณโครงการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตไบโอแกสเปนพลังงานทดแทน

- รายงานความกาวหนา ไตรมาสท่ี 2 ใชงบประมาณ ท้ังส้ิน 36,586 บาท

- รายงานความกาวหนา ไตรมาสท่ี 3 ใชงบประมาณ ท้ังส้ิน 32,364 บาท

- รายงานความกาวหนา ไตรมาสท่ี 4 ใชงบประมาณ ท้ังส้ิน 3,000 บาท

รวมท้ังส้ิน 71,950 บาท

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

17

บทที่ 5

ปญหา/อุปสรรค และขอเสนอแนะ

ปญหาและอุปสรรค

งบประมาณที่กระทรวงวิทยาศาสตรจดัโอนใหคลินกิเครือขาย ตองผานระบบ GFMIS ของกองคลัง

สํานักอํานวยการ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซ่ึงตองใชระยะเวลานาน ท่ีจะผานกรมบัญชีกลาง

ในการกําหนดรหัสงบประมาณ และสงกลับมาท่ีกองคลังของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แลวจึง

สงเร่ืองมาท่ีคลินิกเครือขาย ทําใหการเบิกจายเงินงบประมาณแทนกันดังกลาว ใชระยะเวลานาน สงผลใหไม

สามารถดําเนินงานไดตามแผนปฏิบัติงาน

ขอเสนอแนะ

ควรพิจารณาปรับเปล่ียนระบบการโอนเงินงบประมาณเบิกจายแทนกัน ใหมีความคลองตัวและ

รวดเร็ว เพ่ือใหคลินิกเครือขายสามารถดําเนินงานไดดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานท่ีวางไว ซ่ึงจะสงผลตอการ

ใชงบประมาณไดทันตามระยะเวลาของปงบประมาณ และสงผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ

กลุมเปาหมายที่จะรับบรกิารจากโครงการคลินกิเทคโนโลยี

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

18

ภาคผนวก

สรุปผลการดําเนินงานคลินิกเทคโนโลย ี ป 2553

คลินิกเทคโนโลย ี วิทยาลัยการอาชีพบานตาก

19

ภาพท่ี 1-8 โครงการถายทอดเทคโนโลยกีารผลิตไบโอแกสเปนพลังงานทดแทน

4 3 2 1

11 16 3.41 มาก

19 8 3.70 มากท่ีสุด

14 13 3.52 มากท่ีสุด

ขอมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร

9 14 4 3.19 มาก

6 17 4 3.07 มาก

19 8 3.70 มากท่ีสุด

12 15 3.44 มาก

12 14 1 3.41 มาก

10 16 1 3.33 มาก

รวม 3.42 มาก

10. ทานคาดวาสามารถนําควารูไปใชประโยชนไดหรือไม

1. นําไปใชประโยชนได = 27 คน 2. นําไปใชประโยชนไมได

11. ทาน คาดวา จะมีรายไดเพ่ิมขึ้นกี่บาทตอเดือน (เล ือกเพียง 1 ขอ)

26 1. นอยกวา 1,000 2. 1,001 - 2,000 1

3. 2,001 - 3,000 4. 3,001 - 4,000

5. 4,001 - 5,000 6. 5,001 - 6,000

7. 6,001 - 7,000 8. 7,001 - 8,000

9. 8,001 - 9,000 10. 9,001 - 10,000

11. มากกวา 10,00 (โปรดระบุจํานวน.............บาท)

หลกัเกณฑในการตดัสนิใจ

3.50 - 4.00 = มากท่ีสุด 2.50 -2.99 = พอใช

ควร

ปรับปรุง

คาเฉ

ลี่ย

ระดับ

ความ

คิดเห

็น

ขอมูลวัดความพึงพอใจ

1. ดานกระบวนการ ขัน้ตอนการใหบริการ (เชน การประกาศรับสมัคร การติดตอ

เชิญอบรม การประสานงานและใหขอมูล การดูแลและการทํางานอยางมีขั้นตอน ฯลฯ)

3. สิง่อํานวยความสะดวก (สถานท่ีอบรม อาหาร เคร่ืองโสตฯ เอกสารการอบรม ฯลฯ)

2. แบบประเมินผลเมื่อจบการฝกอบรม

เพื่อประโยชนการวัดความพึงพอใจและประเมินหลักสูตร จึงใครขอทานใหความเห็นตามท่ีเปนจริง

อยางตรงไปตรงมา โดยจะไมมีการระบุชื่อประเมินแตอยางใด

ขอมูลวัดความพึงพอใจในการประเมินหลักสูตรการผล ิตไบโอแกสเปนพลังงานทดแทน ไตรมาสที่ 4

รายการ

2. เจาหนาท่ีผูใหบริการ (เชน อัธยาศัยดี ยิ้มแยมแจมใส มีน้ําใจในการใหบริการ ฯลฯ)

มาก

ที่ส ุด มาก

พอ

ใช

4. การนาํความรูไปใชประโยชน (การใชประกอบอาชีพ หรือใชในชีวิตประจําวัน)

5. ความเหมาะสมของเนือ้หาหลกัสูตร

6. ความเหมาะสมของวิทยากร (ความรู ความสามารถ เทคนคิการสอน

7. ระยะเวลาการอบรม (จํานวนวัน)

8. ชวงเวลาการอบรม (วัน / เดือน / ฤดู ท่ีอบรม)

9. ความคุมคาเมื่อเทียบกับเวลาและคาใชจาย (ประโยชนท่ีไดรับมากกวาเวลาและ

คาใชจายท่ีเสียไป)

3.00 - 3.49 = มาก 1.50 - 2.49 = ควรปรับปรุง

สรุปผล

ผูเขารับการอบรมไดประเมินแบบประเมินผลเม่ือจบการฝกอบแลว มีความคิดเห็นในเรื่องชวงเวลาการฝกอบรม

ระดับมากท่ีสุด และผูเขารับการอบรมท้ังหมดไดประเมินแบบประเมินผลเม่ือจบการฝกอบแลว ประเมินวา สามารถนําความรู

ไปใชประโยชนไดท้ังหมด โดยผูประเมินคาดวา จะมีรายไดเพิ่มข้ึนจากเดิม / เดือน ดังนี้ นอยกวา 1,000 บาท 2 คน 1,001 -

2,000 บาท 16 คน 2,001 - 3,000 บาท 5 คน 3,001 - 4,000 บาท 3 คน 4,001 - 5,000 1 คน และ 6,001 - 7,000 บาท 1 คน

8,001 - 9,001 บาท 1 คน

มีระดับความพึงพอใจอยูในระดับมาก สวนดานกระบวนการ ข้ันตอนการใหบริการ เชน การประกาศรับสมัคร เจาหนาท่ีผู

ใหบริการ อัธยาศัยดี ยิ้มแยมแจมใส สิ่งอํานวยความสะดวก สามารนําไปใชประกอบอาชีพ หรือใชในชีวิตประจําวันได

เนื้อหาเหมาะสม วิทยากรมีความรู ความสามารถ และความคุมคาเม่ือเทียบกับเวลา และคาใชจาย มีระดับความพึงพอใจอยูใน