ไปที่หน า general | property เปลี่ยนหน วยโดยเล...

29
STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 31 ไปที่หนา General | Property เปลี่ยนหนวยโดยเลือกเมนู Tools | Set Current Unit ใหเปน Centimeter คลิกปุDefine… เลือก General ใสขอมูลพื้นทีAx = 10 cm2 แลวคลิกเครื่องหมาย ถูกทีMaterial = Steel คลิก Add เลือก Assign To View แลวคลิกปุAssign ไปหนายอย General | Support เพื่อที่จะใสจุดรองรับใหแกโครงสราง ซึ่งมีทั้งหมด 2 แบบ คือ แบบหมุนได (Pinned) และเลื่อนได (Roller) โดยสรางรูปแบบจุดรองรับทั้ง 2 ขึ้นมากอนดวยคําสั่ง Add แตเนื่องจากจุดรองรับเปนแบบเอียงใหเลือกแถบ Inclined แลวกรอกขอมูลตามในรูปขางลาง

Upload: vannhu

Post on 11-Apr-2018

222 views

Category:

Documents


7 download

TRANSCRIPT

Page 1: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 31

ไปท่ีหนา General | Property เปล่ียนหนวยโดยเลือกเมนู Tools | Set Current Unit

ใหเปน Centimeter

คลิกปุม Define… เลือก General ใสขอมูลพื้นท่ี Ax = 10 cm2 แลวคลิกเคร่ืองหมายถูกท่ี Material = Steel

คลิก Add เลือก Assign To View แลวคลิกปุม Assign

ไปหน าย อย General | Support เพื่อท่ีจะใส จุดรองรับให แก โครงสร าง ซ่ึงมีท้ังหมด 2

แบบ คือ แบบหมุนได (Pinned) และเล่ือนได (Roller) โดยสร างรูปแบบจุดรองรับท้ัง 2

ข้ึนมาก อนด วยคําส่ัง Add แตเนื่องจากจุดรองรับเปนแบบเอียงใหเลือกแถบ Inclined

แลวกรอกขอมูลตามในรูปขางลาง

Page 2: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 32

จุดรองรับแบบ Roller ใหเลือกชนิดจุดรองรับเปน Fixed But โดย Release ทุกองคประกอบยกเวน FX ตามแกนพิกัดโลคอล X

NOTES

จุดอางอิง (Incline Reference Point) ของท่ีรองรับแบบเอียงคือจุดสมมุติท่ีเทียบกับจุดรองรับ โดยวัดแกนพิกัดโลคอลเทียบกับแกนพิกัดโกลบอล ในแกนพิกัดโลคอล X จะมีทิศทางจากจุดรองรับไปยังจุดอางอิง ดังแสดงในรูปขางลาง

กําหนดจุดรองรับใหแกโหนดท่ีตองการ ดังในรูป

ไปท่ีหนาหน าย อย General |Load สราง Load Case 1 คลิกปุม Add เลือก Nodal

Load ใสคาแรง Fx = -200 kg และ Fy = -500 kg แลวใสลงโหนด

ปรับสเกลและกําหนดการแสดงคาใหน้ําหนักบรรทุกจนไดดังในรูปขางลาง

Global

X

Y

Reference point

30o

30o

-1

-1.732

X

YLocal

Page 3: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 33

ตอมาเราตองการกําหนดใหจุดรองรับตัวกลางทรุดตัวลง -0.5 cm ทําไดโดยกําหนดเปนน้ําหนักบรรทุกชนิดหนึ่ง คลิกเลือกรายการ LOAD CASE 1 คลิกปุม Add ในรายการ Nodal Load จะมี Support Displacement ใหเลือก

เม่ือกําหนดใหจุดรองรับตัวกลางจะไดดังในรูป

ไปท่ีหนา Analysis/Print เลือกแบบ No Print

Page 4: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 34

ส่ังให โปรแกรมทําการวิเคราะหด วยคําส่ังจากเมนูบาร Analyze | Run Analysis…

หลังการคํานวณ ลองตรวจดูแรงปฏิกิริยาท่ีจุดรองรับดูวาถูกตองหรือไม โดยเฉพาะจุดรองรับเอียงขางซายวาองคประกอบของแรงใหแรงลัพธในทิศทางต้ังฉากกับระนาบเอียง

ดู Displacement เพื่อดูผลของการทรุดตัว แสดงผลโดยเลือกเมนู Result | View Value | Node Displacement = Global Y

Page 5: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 35

P-Delta Analysis

เปนการวิเคราะหซ่ึงพิจารณาผลของการเซ (Sway) ของอาคารท่ีมีตอการรับน้ําหนักบรรทุกในแนวด่ิงของโครง เนื่องการเซจะทําใหโมเมนตจากน้ําหนักบรรทุกเพิ่มข้ึนซ่ึงผลท่ีตามมาก็จะทําใหการเซเพิ่มข้ึนอีก การวิเคราะห P-Δ จะทําหลายคร้ังจนการเซคงท่ี

เร่ิมตนโดยการสรางโมเดล SteelFrame ดังในรูปขางลาง เปนโครงสรางเหล็กสองช้ัน

DL = 1 ton/mLL = 2 ton/m

Wind = 1 ton

6 m

4 m

DL = 1 ton/mLL = 2 ton/m

Wind = 1 ton

4 mDL = 1 ton/mLL = 2 ton/m

Wind = 1 ton

6 m

4 m

DL = 1 ton/mLL = 2 ton/m

Wind = 1 ton

4 m

สรางโมเดลเปนโครงสองช้ันกวาง 6 เมตร สูง 4 เมตร

เลือกหนาตัดจากตารางเหล็ก South Korean เลือกวัสดุ STEEL กําหนดหนาตัด W300X200X56 เปนเสาท้ังหมด และ W350X250X69 เปนคานท้ังหมด

สรางจุดรองรับแบบ Fixed และ Pinned แลวกําหนดใหจุดรองรับท้ังสอง

สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 1 เปน DEAD LOAD เพิ่มน้ําหนักตัวเอง Self Weight และ Uniform Load ทิศทาง GY ขนาด -1 Mton/m

สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 2 เปน LIVE LOAD เพิ่มน้ําหนัก Uniform Load ทิศทาง GY ขนาด -2 Mton/m

สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 3 เปน WIND LOAD เพิ่มน้ําหนัก Nodal Load ทิศทาง Fx ขนาด 1 Mton

กําหนด Uniform Load ของ DEAD LOAD และ LIVE LOAD ใหแกคาน และ Nodal Load ของ WIND LOAD ใหแกโหนดดานขางอาคารดังในรูป

Page 6: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 36

สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 4 เปน Primary Load ต้ังช่ือวา DL+LL+W

คลิกปุม Add… เลือกรายการ Repeat Load ซ่ึงจะใชแทน Load Combination เพื่อใหการวิเคราะห P-Δ มีความถูกตอง ใชคาตัวคูณ 1.0 กับทุกกรณีบรรทุกดังในรูป

ไปหนา Analysis/Print ในแถบ Perform Analysis เลือก Print Option = No Print

ส่ัง Run Analysis… ไปยังโหมด Post Processing เลือกใหแสดงกรณีบรรทุก 4 ดูคา Displacement ของโหนดท่ีมุมบน ในตัวอยางนี้คือ Node 2 และ 3

Page 7: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 37

กลับมาที่โหมด Modeling ไปหนา Analysis/Print ลบรายการ Perform Analysis

ในหนาตางดานขวาออก

Page 8: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 38

คลิกปุม Define Commands… เลือกแถบ PDelta Analysis เลือก Print Option =

No Print นอกจากนั้นจะมีอีกสองชองคือ Iterations ตัวเลขท่ีใสในชองนี้จะเปนจํานวนคร้ังท่ีจะทําการคํานวณซํ้า ถาไมใสจะถูกกําหนดเปน 1 คร้ัง สวนอีกชองคือ Converge ถาเราใสจํานวนในชองนี้ โปรแกรมจะทําการคํานวณซํ้าไปจนคาการเคล่ือนท่ีของโหนดไมเปล่ียนแปลง หรือจํานวนคร้ังการคํานวณถึงคานี้กอน

ใหคลิกชอง Converge ใสคามากหนอยเชน 10 ดังรูป

Page 9: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 39

ส่ัง Run Analysis… ไปยังโหมด Post Processing เลือกใหแสดงกรณีบรรทุก 4 ดูคา Displacement ของโหนดท่ีมุมบน ในตัวอยางนี้คือ Node 2 และ 3

จะเห็นวามีคามากกวาการวิเคราะหแบบปกติ

Beam Ends Moment Release : กําหนดจุดหมุนปลายคาน

จุดตอคานและเสาในโครงสรางเหล็กมักจะเปนแบบจุดหมุน ใน STAAD.Pro เราสามารถกําหนด Moment Release ใหปลายคานท้ังสอง

ในโมเดลเดิม กลับมาท่ีโหมด Modeling ไปหนา General | Spec คลิกปุม Beam… ในแถบ Release เลือก Location = Start และ Release = MZ คลิกปุม Add

Page 10: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 40

คลิกปุม Beam… อีกคร้ัง เลือก Location = End และ Release = MZ รายการในหนาตาง Specifications จะเปนดังในรูปขางลาง

กําหนดท้ังสองรายการใหคานตัวลางดังในรูป

ส่ังรันการคํานวณ Run Analysis แลวเขาสูโหมด Post-processing

ดูแผนภูมิโมเมนตดัดของคานท้ังสองในหนา Beam | Graphs เปรียบเทียบกันดังในรูป

Page 11: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 41

Bracing with Truss or Tension Members

ในทางปฏิบัติแลวจุดตอทุกจุดในโครงสรางเหล็กมักจะเปนจุดหมุน

กลับมาท่ีโหมด Modeling เปล่ียนปลายคานตัวบนเปนจุดหมุน โดยใช Moment

Release เดิมท่ีไดกําหนดไวแลว

ส่ังรันการคํานวณ Run Analysis เม่ือรันผาน ใหเขาสูโหมด Post-processing

ดูคา Node Displacement ของโหนดท่ีช้ันบนอาคารคือโหนด 2 และ 3 ดังในรูปขางลาง จะเห็นวามีคาคอนขางมากเนื่องจากจุดตอคาน-เสาเปนจุดหมุน

Page 12: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 42

เพื่อลดการเซของอาคาร เราจะทําการยึดโยง (Bracing) โครงเหล็ก

กลับมาท่ีโหมด Modeling สรางองคอาคารยึดโยงดังในรูปขางลาง

ไปหนา General | Property คลิกปุม Define… เลือกรายการ General ใสพื้นท่ี AX

= 5 cm2 ตามในรูปขางลาง

Page 13: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 43

กําหนดหนาตัดใหแกองคอาคารยึดโยงท้ังหมด

ไปหนา General | Spec คลิกปุม Beam เลือกแถบ Truss แลวกําหนดใหองคอาคารยึดโยงท้ังหมด

ส่ังรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis คลิกปุม Run Analysis

ดูคา Node Displacement ของโหนดท่ีช้ันบนอาคารคือโหนด 2 และ 3 ดังในรูปขางลาง จะเห็นวามีคาลดลงจากเดิมมาก

ไปหนา Beam | Forces ในหนาตาง Beam Force Detail ดูคาแรงตามแนวแกน Fx ในองคอาคารยึดโยง 7 ถึง 10 จะเห็นวามีท้ังคาบวกซ่ึงเปนแรงอัด และคาลบซ่ึงเปนแรงดึง

Page 14: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 44

ในบางคร้ังเราอยากใชองคอาคารยึดโยงซ่ึงรับแรงดังไดเพียงอยางเดียว ใหกลับไปท่ีหนา General | Spec สราง Member Tension แทนท่ี Truss ดังในรูปขางลาง

Page 15: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 45

ส่ังรันการคํานวณ Run Analysis อีกคร้ัง แลวเขาสูโหมด Post-processing โดยเลือกกรณีบรรทุก 4 ไปหนา Beam | Forces

ในหนาตาง Beam Force Detail ดูคาแรงในองคอาคารยึดโยง 7 ถึง 10 ในชอง Fx คราวนี้จะเห็นวามีแตคาเปนลบซ่ึงเปนแรงดึงเทานั้น

Page 16: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 46

Flat Slab & Shear Wall : พื้นไรคานและผนังเฉือน

เปนการวิเคราะหแบบทุติยภูมิของการรับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิ่งของโครงซ่ึงมีการเซเนื่องจากแรงดานขาง เพราะการเซของโครงจะทําใหโมเมนตจากน้ําหนักบรรทุกเพิ่มข้ึนทําใหการเซมากข้ึนได การวิเคราะห P-Δ จะทําหลายคร้ังจนการเซคงท่ี

เร่ิมตนโปรแกรมใหม เลือกโครงสรางแบบ Space ต้ังช่ือวา Building ใชหนวยความยาวเปน Meter หนวยแรงเปน Metric Ton

คลิกไอคอน Snap Node/Plate เพื่อเร่ิมสรางแผนผนังเฉือนซ่ึงในตัวอยางนี้เราจะสรางเฉพาะผนังแบบงายๆรูปส่ีเหล่ียมจึงเลือกสรางเปน Plate ในกรณีท่ีมีความซับซอนเชนผนังมีรูเปด จะโมเดลเปน Surface แลวคอยแตกออกเปน Plate ยอยอีกที

คลิกเลือกมุมมอง View From –X ในหนาตาง Snap Node/Plate เลือก Plane Y-Z

และ Grid Origin : X = 6, Y = 0, Z = 0 วาดแผนสูง 6 m กวาง 6 m

คลิกขวาเลือก Structure Diagrams… เลือกใหแสดง Fill Plates

คลิกเลือกมุมมอง View From +Y ในหนาตาง Snap Node/Plate เลือก Plane X-Z

และ Grid Origin : X = 0, Y = 6, Z = 0 วาดแผน 2 แผนกวาง 6 m ยาว 6 m

Page 17: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 47

เม่ือดูจากมุมมองสามมิติ Isometric View จะไดดังในรูป

คลิกไอคอน Snap Node/Beam เพื่อวาดเสา คลิกเลือกมุมมอง View From -X ในหนาตาง Snap Node/Beam เลือก Plane Y-Z และ Grid Origin : X = 0, Y = 0, Z

= 0 วาดเสา 2 ตนยาว 6 m

Page 18: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 48

คลิกเลือกมุมมอง View From +X ในหนาตาง Snap Node/Beam เลือก Plane Y-Z

และ Grid Origin : X = 12, Y = 0, Z = 0 วาดเสาอีก 2 ตนยาว 6 m

เม่ือดูจากมุมมองสามมิติ Isometric View จะไดดังในรูป

Page 19: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 49

ไปท่ีหนา General | Property เพื่อกําหนดคุณสมบัติหนาตัดองคอาคาร

คลิกปุม Define… ในหนาตาง Property เลือกรายการ Rectangle ใสขนาดเสา 0.40 m

× 0.40 m และใช Material = Concrete แลวคลิก Add ตามดวย Close

กําหนดคุณสมบัติ R1 ใหแกเสาท้ัง 4 ตนในโมเดล

คลิกปุม Thickness… ในหนาตาง Property เลือกรายการ Plate/Surface Thickness

ใสคาความหนาท่ีมุมท้ัง 4 เปน 0.20 m เลือกMaterial = Concrete

Page 20: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 50

คลิกปุม Add ตามดวย Close แลวกําหนด R2 ใหท้ังแผนพื้นและผนัง

หรือคลิกปุม 3D Rendering

Page 21: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 51

ไปท่ีหนา General | Load เพื่อกําหนดน้ําหนักบรรทุก สราง 3 กรณีบรรทุกคือ

LOAD 1: DEAD LOAD

LOAD 2: LIVE LOAD

LOAD 3: WIND LOAD

คลิกรายการ DEAD LOAD ใสน้ําหนัก Selfweight ทิศทาง Y -1

คลิกรายการ LIVE LOAD เลือก Plate Loads | Pressure on Full Plate ใสคาดังในรูปขางลาง

คลิกปุม Add แลว Close กําหนดใหแกแผนพื้นท้ังสอง คลิกเมาทขวาเพื่อปรับสเกลและการแสดงคา

คลิกปุม Change Graphical Display Unit เพื่อปรับหนวยในการแสดงผล

Page 22: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 52

เลือกทุกองคอาคาร จากเมนู Select | By All | All Geometry

ใชคําส่ัง Translational Repeat

คลิกปุม OK ตรวจสอบดูวาคุณสมบัติหนาตัดและน้ําหนักบรรทุกถูกทําซํ้าสําหรับองคอาคารท่ีสรางข้ึนมาใหมหรือไม

Page 23: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 53

กลับวาท่ีหนา General | Load คลิกรายการ WIND LOAD คลิกปุม Add…

เลือกรายการ Nodal Load ใสคา Fz = -10 MTon แลวกําหนดใหโหนดท่ีช้ันบนสุดของอาคารดังในรูป

สรางน้ําหนักบรรทุกอีกสองกรณีแบบ Repeat Load คือ LOAD4: 1.2DL+1.6LL

และ LOAD5: 0.75[DL+LL+WIND]

Page 24: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 54

ไปท่ีหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed แลวกําหนดใหฐานรองรับอาคารดังในรูปขางลาง

ไปท่ีหนา Analysis/Print เลือกแถบ PDelta Analysis ใสคาตามในรูปขางลาง คลิกปุม Add แลว Close

ส่ัง Run Analysis ถาผานใหเลือกไป Post Processing Mode

Page 25: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 55

ไปท่ีหนา Node | Displacement

ไปท่ีหนา Plate จะมีหนาตาง Diagrams แสดงข้ึนมาใหเรากําหนด Plate Stress

Contour ใหลองเลือกดู หรือทําตามในรูปขางลาง

Page 26: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 56

Page 27: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 57

SPro2006: Transfer Force for Connection Design

เปนการคํานวณแรงที่ถายเทผานจุดตอเพื่อนําไปใชในการออกแบบจุดตอ

เปดไฟลตัวอยาง TransferForces.std ในไดเรคทอร่ี Spro200X/STAAD/Examp/US

ส่ัง Run Analysis… เม่ือรันผานแลวเลือกไปโหมด Post Processing

เลือกใหแสดงผลทุกกรณีบรรทุก คลิก OK

เลือกองคอาคารดังแสดงในรูป

Page 28: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 58

เลือกเมนู Report | Column Transfer Force…

หนาตาง Transfer Force For Selected Members… จะแสดงข้ึนมา ในชอง Loads แสดงกรณีบรรทุกท่ีจะนํามาพิจารณาในการคํานวณแรงถายเทซ่ึงจะเลือกไวท้ังหมด เราสามารถเอากรณีท่ีไมตองการออกไดโดยคลิกท่ีรายการ ในชอง Left Beams และ Right Beams

แสดงรายการคานท่ีอยูทางดานซายและขวาของเสาโดยมีคาแรงแสดงอยูในชองดานลางคือ Left TF และ Right TF

เลือกปุม Insert Table ตารางจะถูกสรางข้ึนดังในรูปขางลาง

Page 29: ไปที่หน า General | Property เปลี่ยนหน วยโดยเล ือกเมน ู ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/CourseOnline/430463/STAAD... · STAAD.Pro

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 59

เลือกเมนู File | Report Setup หรือไปท่ีหนา Report หนาตาง Report Setup จะแสดงข้ึนมา

รายการ Transfer Force จะถูกเลือกใหไวแลว เม่ือ Print Preview Report ดูจะได