การรังวัดระดับ (leveling measurement) leveling.pdf ·...

15
การรังวัดระดับ (Leveling measurement) การรังวัดหาคาระดับ เปนกระบวนการสํารวจรูปแบบหนึ่งที่ใชในการวัดระยะทางดิ่ง เพื่อเปรียบเทียบ หรือหาความสูง ตางของจุด 2 จุดที่อยูหางไกลกัน โดยมีวิธีการตางๆ มากมาย ตั้งแต การรังวัดหาคาระดับในพื้นที่เล็กๆ ไปจนถึงการรังวัดหาคา ระดับเพื่อการอื่นๆ โดยมีความละเอียดของการรังวัดเปนเกณฑ และพอที่จะอภิปรายในรายละเอียดของเกณฑชั้นตางๆ ซึ่งขอ อางถึงขอกําหนดการทําระดับของอเมริกา ที่กําหนดโดย Federal Geodetic Control Committee 1974 ดังนีงานชั้น 1 งานชั้น 2 ขอกําหนด I, II I II งานชั้น 3 1. หลักการใช มาตรฐานขั้น ต่ํา; ความละเอียดมาก อาจใชกับงานสํารวจที่มี วัตถุประสงคพิเศษ ใชทําโครงขายระดับของงานระดับชาติ และพื้นที่ในเมือง การหาคาความตางระดับของพื้นดิน การสํารวจการทรุดตัวของพื้นที่โครงการ งานวิศวกรรมที่สําคัญ ใชทําหมุดบังคับทาง ดิ่ง ชั้นสองของ ประเทศ และพื้นที่ใน เมือง โครงการงาน วิศวกรรมขนาดใหญ ตลอดจนการสํารวจ การทรุดตัว ใชกับงานวิศวกรรม ในทองถิ่น งานทําแผนที่ภูมิ ประเทศ และเพื่อใชทํางานชั้น 3 การปรับแกจะตองเขา กับโครงขายของ ประเทศ ใชในงานเฉพาะทองถิ่น อาจจะไม ปรับเขาโครงขายของประเทศ ใชในงานวิศวกรรมขนาดเล็ก ทําแผนที่ภูมิประเทศที่ใชมาตรา สวนเล็ก การศึกษาการระบายน้ํา 2. ความยาวของสายการ ระดับ โครงขายทั่วประเทศ Class I : Net A: 100 – 300 กม. กม. Class II : Net B: 50 – 100 การทําหมุดบังคับใน เมือง 2 – 8 กม. 0.5 – 1 กม. ตามที่ตองการ ตามที่ตองการ 3. ระยะของหมุด BM กม. 1 – 3 1 – 3 3 3 กม. ไมเกิน กม. ไมเกิน กม. 4. Gravity requirement gpu 10 0.2 -3 × 5. Automatic หรือ lting ประกอบ Automatic หรือ Geodetic level Geodetic level และ Staff มาตรฐานของเครื่องมือ Ti Parallel Plate Micrometer และ Invar Staff Tilting ประกอบ Parallel Plate Micrometer หรือท ระดับแบบ 3 สายใย ประกอบ Invar Staff และ Invar Staff ธรรมดา 6. วิธีปฏิบัติงานในสนาม ถายแบบไปกลับ (double run) ในแต บไปกลับ แต ถายแบบไปกลับ ถายแบบไปกลับ หรือไป ละตอนการระดับ (section) ถายแบ (double run) ใน ละตอนการระดับ (section) หรือไป (single run) (single run) ความยาวของตอน 1 – 2 กม. 1 – 3 กม. สําหรับ 1 – 3 กม. สําหรับถายไปกลับ การระดับ 1 – 2 กม. ถายไปกลับ องไป Class I : 50 . 60 . 90 . ระยะจากกล ยัง Staff Class II : 60 . 70 . างของ แตละครั้ง 5 . 10 . 10 . ความแตกต ระยะทาง BS และ FS ในการตั้งกลอง Class I : 2 . Class II : 6 . [email protected] page 1/15

Upload: doankien

Post on 18-Aug-2018

233 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

การรังวัดระดับ (Leveling measurement) การรังวัดหาคาระดับ เปนกระบวนการสํารวจรูปแบบหนึ่งที่ใชในการวัดระยะทางดิ่ง เพื่อเปรียบเทียบ หรือหาความสูง

ตางของจุด 2 จุดท่ีอยูหางไกลกัน โดยมีวิธีการตางๆ มากมาย ตั้งแต การรังวัดหาคาระดับในพื้นท่ีเล็กๆ ไปจนถึงการรังวัดหาคา

ระดับเพื่อการอื่นๆ โดยมีความละเอียดของการรังวัดเปนเกณฑ และพอที่จะอภิปรายในรายละเอียดของเกณฑชั้นตางๆ ซึ่งขอ

อางถึงขอกําหนดการทําระดับของอเมริกา ที่กําหนดโดย Federal Geodetic Control Committee 1974 ดังน้ี งานช้ัน 1 งานช้ัน 2

ขอกําหนด I, II I II

งานช้ัน 3

1. หลักการใช มาตรฐานขั้นตํ่า; ความละเอียดมาก อาจใชกับงานสํารวจที่มี

วัตถุประสงคพิเศษ

• ใชทําโครงขายระดับของงานระดับชาติ

และพื้นท่ีในเมือง • การหาคาความตางระดับของพื้นดิน • การสํารวจการทรุดตัวของพื้นท่ีโครงการ

งานวิศวกรรมที่สําคัญ

• ใชทําหมุดบังคับทาง

ด่ิง ช้ันสองของ

ประเทศ และพื้นท่ีใน

เมือง • โครงการงาน

วิศวกรรมขนาดใหญ • ตลอดจนการสํารวจ

การทรุดตัว

• ใชกับงานวิศวกรรม

ในทองถิ่น • งานทําแผนที่ภูมิ

ประเทศ • และเพื่อใชทํางานช้ัน

3 • การปรับแกจะตองเขา

กับโครงขายของ

ประเทศ

• ใชในงานเฉพาะทองถิ่น อาจจะไม

ปรับเขาโครงขายของประเทศ • ใชในงานวิศวกรรมขนาดเล็ก • ทําแผนที่ภูมิประเทศที่ใชมาตรา

สวนเล็ก • การศึกษาการระบายน้ํา

2. ความยาวของสายการระดับ • โครงขายท่ัวประเทศ

• Class I : Net A: 100 – 300 กม. กม. • Class II : Net B: 50 – 100

– – –

• การทําหมุดบังคับใน

เมือง

• 2 – 8 กม. • 0.5 – 1 กม. • ตามที่ตองการ • ตามที่ตองการ

3. ระยะของหมุด BM • กม. 1 – 3 1 – 3 3 3• กม. • ไมเกิน กม. • ไมเกิน กม.

4. Gravity requirement • gpu100.2 -3× – – –

5. Automatic หรือ lting ประกอบ • Automatic หรือ

ํา

• Geodetic level • Geodetic level และ Staff มาตรฐานของเครื่องมือ • Ti

Parallel Plate Micrometer และ Invar Staff

Tilting ประกอบ

Parallel Plate Micrometer หรือทระดับแบบ 3 สายใยประกอบ Invar Staff

และ Invar Staff

ธรรมดา

6. วิธีปฏิบัติงานในสนาม • ถายแบบไปกลับ (double run) ในแต • บไปกลับ

แต

• ถายแบบไปกลับ • ถายแบบไปกลับ หรือไป

ละตอนการระดับ (section) ถายแบ

(double run) ในละตอนการระดับ

(section)

หรือไป (single run)

(single run)

• ความยาวของตอน • 1 – 2 กม. • • 1 – 3 กม. สําหรับ • 1 – 3 กม. สําหรับถายไปกลับ การระดับ

1 – 2 กม. ถายไปกลับ

• องไป • Class I : 50 ม. • 60 ม. • • 90 ม. ระยะจากกล

ยัง Staff • Class II : 60 ม. 70 ม.

• างของ

แตละครั้ง

• 5 ม. • 10 ม. • 10 ม. ความแตกต

ระยะทาง BS และFS ในการตั้งกลอง

• Class I : 2 ม. • Class II : 6 ม.

[email protected] page 1/15

งานช้ัน 1 งานช้ัน 2 ขอกําหนด

I, II I งานช้ัน 3

II

S และ ความแตกตางของ

ระยะทาง BFS ในการตั้งกลอง

แตละตอนการระดับ

• Class I : 4 ม. • Class II : 10 ม.

• 10 ม. • 10 ม. • 10 ม.

7. ควาระด

• Class I: Net A: 300 กม. • Class II: Net B: 100 กม.

• 50 กม. • 50 กม. สําหรับถาย

ไปกลับ มยาวของสายการ

ับ ท่ียอมให

• 25 กม. เฉพาะถายไป

• 25 กม. สําหรับถายไปกลับ • 10 กม. เฉพาะถายไป

8. ในการ

เขาบรรจบหมุด

ความผิดท่ียอมให

• ตอนการระดับ

ระหวางถายไป และ

• Class I :

ถายกลับ

k3± มม.

• Class II :

k6± มม. • k8± มม. • k12± มม.

k4± มม.

สายการระดับ หรือ

วงรอบปด

• Class I : k4± มม. •

• Class II : k5± มม.

• k± 6 มม. • k± 8 มม. • k± 12 มม.

อุปกรณ ับ eling)

อุปกรณที่จําเปนสําหรับการสํารวจเพื่อหาคาระดับควรเปนไปดังน้ี ี่กําหนด)

ณ เครื่องเขียน เปนตน มีด คอน ตะปู สี แปรงทางสี หมุดเหล็ก (ตามลักษณะ และ

การหาระด (Instrum levent for

1. กลองระดับ (ตามเกณฑของงานท2. ไมวัดระดับ (ตามเกณฑของงานที่กําหนด) 3. สมุดสนาม (ตามที่หนวยงานกําหนดไว) 4. เครื่องใชสํานักงานที่จําเปน เชน เครื่องคํานว

5. อุปกรณเสริม เชน รมกันแดด หมุดไม

สภาพพ้ืนที่ปฏิบัติงาน)

[email protected] page 2/15

หลักในการทําระดับ

Ins.

Mean Sea Level (MSL)

Datum Planei±0.000

Ele

vatio

n of

Sta

tion

A

Ele

vatio

n of

Sta

tion

B

Staff / Rod AStaff / Rod B

Hei

ght o

f Ins

trum

ent (

HI)

Direction of observation

BS. Reading = 1546 FS. Reading = 1037A

ss. E

lev

= 1

0.00

0 m

.

Exiting Ground Plane

Dist. BS to Ins Dist. FS to Ins

จากภาพขางตน หากเราตองการทราบคาความตางระหวางหมุด 2 หมุด คือ หมุด A และหมุด B เราสามารถหาไดโดย

การต้ังกลองวัดระดับระหวางหมุดทั้ง 2 และตั้งไมวัดระดับที่หมุด A และหมุด B ทําการตั้งระดับของกลอง ปรับภาพใหเห็น

สายใยชัดเจน แลวจึงปรับภาพของไม Staff ใหชัดเจน แลวทําการอานคาบนไมวัดระดับทั้ง 2 (จะเปนแนวเดียวกันหรือไมก็ได แตควรจัดระยะหางจากกลองระดับถึงไมวัดระดับทั้ง 2 ในขนาดที่เทาๆ กัน หรือระยะเทากัน โดยมากจะใชวิธีการประมาณดวย

การนับกาว) ในที่น้ีจะทําการอานคาที่ Staff A กอนหรือเรียกวาคา BS (backsight) เน่ืองจากเปนหมุดท่ีทราบคาระดับ หรือคา

กําหนดสูงแลว (จากภาพ มีคาระดับเทากับ 10.000 เมตร) และอานคาได 1546 (หรือ 1.546) แลวจึงอานคาบนไม Staff B หรือเรียกวาคา FS (foresight) ไดคาเทากับ 1037 (หรือ 1.037)

การประมวลผล หรือการคิดคํานวณ

คาความตางระดับของหมุด A และ B = BS – FS = 1.546 – 1.037 คาความตางระดับของหมุด A และ B = +0.509 m. ∴

ถาหากตองการทราบคาระดับของหมุด B จากระดับน้ําทะเลปานกลาง สามารถหาไดดังน้ี

Elevation of B = HI – FS เม่ือ HI = Elevation of A + BS of staff A ดังน้ัน HI = 10.000 + 1.546 = 11.546 m. คาระดับ (Elev.) ของ B = 11.546 – 1.037 ∴

= 10.509 m.

[email protected] page 3/15

ซึ่งเราสามารถสรุปเปนสมการ หรือสูตรการคํานวณไดคือ Elevation ของหมุดหนา = Elevation ของหมุดหลัง + (BS – FS) หรือ Elevation for next = HI – FS Diff in elevation* = BS – FS * หากผลของ BS – FS มีคาเปน + เราจะเรียกวา Rise และหากผลลัพธมีคาเปน − เราจะเรียกวา Fall นอกจากน้ี เรายังอาจสรุปรูปแบบการคํานวณไดเปน 2 วิธีดวยกัน ทั้งน้ีขึ้นอยูกับสมุดสนามท่ีใชเปนหลัก ดังน้ี

1. วิธีการคํานวณโดยใชความสูงของเครื่องมือ (HI leveling) 2. วิธีการคํานวณโดยใชคาความตางระดับ (Rise & Fall Leveling)

ตัวอยางการรังวัด และการคํานวณงานระดับขั้นพื้นฐาน ขอควรคํานึงถึงกอนการปฏิบัติงานในสนามทุกครั้ง คือ ควรศึกษาวิธีการ และเลือกรูปแบบของงานปฏิบัติใหเหมาะสม

กอนลงมือปฏิบัติงานจริงทุกครั้ง เพ่ือลดความซ้ําซอนของงาน และวางแผนการรังวัดทุกครั้งหากทําได ลองพิจารณาขั้นตอน

ตางๆ ในเอกสารนี้ เพ่ือความเขาใจกอนปฏิบัติงานจริง 1. ศึกษาลักษณะของภูมิประเทศ และควรทําแผนที่สังเขป

U

U

BM.A

BM.B

t

U

U

BM.A

BM.B

t

จากภาพ เปนพ้ืนท่ีปฏิบัติงานโดยสังเขป ไมตองระบุมาตราสวน แลววางแผนการรังวัด จากสภาพจริง เพ่ือ

ความรวดเร็วของงานสนาม 2. เตรียมเครื่องมือ และอุปกรณที่จําเปนสําหรับงานภาคสนาม

2.1 กลองระดับ 2.2 ไมวัดระดับ 2.3 เครื่องคํานวณ 2.4 สมุดสนาม 2.5 อุปกรณอื่นๆ ที่จําเปน

3. เลือกรูปแบบของสมุดสนามที่ตองการ ในที่น้ีจะใชสมุดสนามทั้ง 2 วิธี เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติจริง ผูรังวัดควรเลือกแนวทางที่เหมาะสมกับงาน และตัวเอง

[email protected] page 4/15

3.1 ตัวอยางสมุดสนามแบบ HI Ins: Project:

Rec: Location:

Rod 1: Ins : No.

Rod 2: Weather :

Comp: Obs. Date :

Check: End Date :

STA BS HI FS Elevation Remark

3.2 ตัวอยางสมุดสนามแบบ Rise & Fall Ins: Project:

Rec: Location:

Rod 1: Ins : No.

Rod 2: Weather :

Comp: Obs. Date :

Check: End Date :

Diff in Elevation STA BS FS

Rise Fall Elevation Remark

4. เริ่มทําการรังวัดระดับ (ในที่น้ี จะทําการรังวัดจาก A ไป B)

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

Mean Sea Level (MSL)Datum Plane

i±0.000 Mean Sea Level (MSL)Datum Plane

i±0.000

Ele

vatio

n of

BM

.A

Ele

vatio

n of

BM

.B

ภาพตัดแสดงลกัษณะพื้นการระดับ

[email protected] page 5/15

rod #1

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

4.1 ภาพตัดแสดงลกัษณะของพื้นท่ีปฏิบัติงานสังเขป และสมมุติให A มีคาระดับเทากับ 10.000 ม. พรอมกับตั้งไม

วัดระดับตัวที่ 1 บนหัวหมุด BM.A การบันทึกสมุดสนาม

Field book for HI Field Book for Rise & Fall

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 10.000 BM.A 10.000

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

rod #1

Ins. setup #1

4.2 ตั้งกลองวัดระดับหางจาก rod #1 พอสมควร (ไมควรเกินกวามาตรฐานกําหนด) และปรับระดับ แลวอานคา

สมมุติไดคา 0.652 ทําการบันทึกคาลงในคอลมัน BS บรรทัดเดียวกับ BM.A การบันทึกสมุดสนาม

Field book for HI Field Book for Rise & Fall

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

[email protected] page 6/15

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

rod #2

TP.1

Ins. setup #1

4.3 ตั้งไมวัดระดับตัวที่ 2 บน TP.1 หางจากกลองระดับประมาณเทาๆ กับ rod #1 แลวหมุนกลองระดับ ไปอานคา

บนไมวัดระดับได 0.705 เปนคา FS บันทึกลงในคอลัมน FS บรรทัดของ TP.1 การบันทึกสมุดสนาม

Field book for HI Field Book for Rise & Fall

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

TP.1 0.705 TP.1 0.705

4.4 ผูบันทึก ทําการคํานวณคาระดับ ขณะที่ผูรังวัดทําการยายกลองระดับไป ณ ที่ใหม Field book for HI Field Book for Rise & Fall

• คํานวณหาคา HI ซ่ึงเทากับ Elev. + BS HI = 10.000 + 0.652 = 10.652

• นําคาทีไ่ดใสลงในชอง HI บรรทัดเดียวกับ BM.A • และคํานวณหาคาระดับที่ TP.1 = HI – FS

Elev. TP.1 = 10.652 – 0.705 = 9.947 • นําคาทีไ่ด ใสลงในคอลัมน Elev บรรทัดเดียวกับ TP.1

• คํานวณหาความตางระดับ = BS – FS Diff = 0.652 – 0.705 = –0.053

• คาที่ไดเปนคา Fall ก็นําไปใสในคอลมัน Fall ไมตองใชเครื่องหมาย บรรทัดเดียวกับ TP.1

• คํานวณคาระดบัของ TP.1 = Elev + [Rise or Fall] ตามเครื่องหมาย

Elev. TP.1 = 10.000 + (–0.053) = 9.947 • นําคาทีไ่ด ใสลงในคอลัมน Elev บรรทัดเดียวกับ TP.1

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

TP.1 0.705 9.947 TP.1 0.705 – 0.053 9.947

[email protected] page 7/15

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

rod #2

TP.1 Setup #2

Move

Ins. setup #1

rod #1rod #1

TP.2

4.5 ยายกลองระดับไปตั้ง ณ ที่ใหม ในขณะเดียวกัน ผูถือ rod #1 ก็ทําการวาง TP.2 โดยเลือกตําแหนงใหสะดวก

กลองระดับมองเห็นไดชัดเจน มีระยะหางประมาณเทากับ rod #2 ถึงกลองระดับ

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

rod #2

TP.1Setup #2

rod #1

TP.2

4.6 เม่ือกลองไดระดับ ก็ใหทําการอานคาบนไมวัดระดับ rod #2 ไดคา 2.254 เปนคา BS บันทึกลงในสมุดสนาม

บันทึกคอลัมน BS บรรทัดเดียวกับ TP.1 การบันทึกสมุดสนาม

Field book for HI Field Book for Rise & Fall

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

TP.1 2.254 0.705 9.947 TP.1 2.254 0.705 – 0.053 9.947

[email protected] page 8/15

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

TP.1

rod #1

TP.2Setup #2

rod #2

4.7 หมุนกลองระดับ ก็ใหทําการอานคาบนไมวัดระดับ rod #1 ไดคา 1.873 เปนคา FS บันทึกลงในสมุดสนาม

บันทึกคอลัมน FS บรรทัดเดียวกับ TP.2 การบันทึกสมุดสนาม

Field book for HI Field Book for Rise & Fall

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

TP.1 2.254 0.705 9.947 TP.1 2.254 0.705 – 0.053 9.947

TP.2 1.873 TP.2 1.873

4.8 ผูบันทึก ทําการคํานวณคาระดับ ขณะที่ผูรังวัดทําการยายกลองระดับไป ณ ที่ใหม Field book for HI Field Book for Rise & Fall

• คํานวณหาคา HI ซ่ึงเทากับ Elev. + BS HI = 9.947 + 2.254 = 12.201

• นําคาทีไ่ดใสลงในชอง HI บรรทัดเดียวกับ TP.1 • และคํานวณหาคาระดับที่ TP.2 = HI – FS

Elev. TP.2 = 12.201 – 1.873 = 10.328 • นําคาทีไ่ด ใสลงในคอลัมน Elev บรรทัดเดียวกับ TP.2

• คํานวณหาความตางระดับ = BS – FS Diff = 2.254 – 1.873 = +0.381

• คาที่ไดเปนคา Rise ก็นําไปใสในคอลมัน Rise ไมตองใชเครื่องหมาย บรรทดัเดียวกับ TP.2

• คํานวณคาระดบัของ TP.2 = Elev + [Rise or Fall] ตามเครื่องหมาย

Elev. TP.2 = 9.947 + (+0.381) = 10.328 • นําคาทีไ่ด ใสลงในคอลัมน Elev บรรทัดเดียวกับ TP.2

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

TP.1 2.254 12.201 0.705 9.947 TP.1 2.254 0.705 – 0.053 9.947

TP.2 1.873 10.328 TP.2 1.873 0.381 – 10.328

[email protected] page 9/15

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

TP.1

rod #1

TP.2 Setup #3

rod #2

4.9 ยายกลองระดับไปตั้ง ณ จุดใหม ขณะเดียวกันก็ยาย rod #2 ไปตั้งรอ ณ จุดใหมดวย

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

TP.1

rod #1

TP.2

rod #2

Setup #3

4.10 เม่ือตั้งกลองไดระดับแลว ก็ทําการสองวัดคาไมวัดระดับ rod #1 ที่ TP.2 ไดคา 1.465 เปนคา BS ก็ให

บันทึกคาลงในคอลัมน BS บรรทัดเดียวกับ TP.2 การบันทึกสมุดสนาม

Field book for HI Field Book for Rise & Fall

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

TP.1 2.254 12.201 0.705 9.947 TP.1 2.254 0.705 – 0.053 9.947

TP.2 1.465 1.873 10.328 TP.2 1.465 1.873 0.381 – 10.328

[email protected] page 10/15

BM.A

BM.B

BM.A

BM.B

TP.1TP.2

rod #2

Setup #3

4.11 หมุนกลองระดับไปสองวัดคาไมวัดระดับ rod #2 ที่ BM.B ไดคา 1.018 เปนคา FS ก็ใหบันทึกคาลงใน

คอลัมน FS บรรทัดเดียวกับ BM.B การบันทึกสมุดสนาม

Field book for HI Field Book for Rise & Fall

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

TP.1 2.254 12.201 0.705 9.947 TP.1 2.254 0.705 – 0.053 9.947

TP.2 1.465 1.873 10.328 TP.2 1.465 1.873 0.381 – 10.328

BM.B 1.018 BM.B 1.018

4.12 ผูบันทึกสมุดสนาม ทําการคํานวณหาคาระดับของ หมุด BM.B Field book for HI Field Book for Rise & Fall

• คํานวณหาคา HI ซ่ึงเทากับ Elev. + BS HI = 10.328 + 1.465 = 11.793

• นําคาทีไ่ดใสลงในชอง HI บรรทัดเดียวกับ TP.2 • และคํานวณหาคาระดับที่ BM.B = HI – FS

Elev. BM.P = 11.793 – 1.018 = 10.775 • นําคาทีไ่ด ใสลงในคอลัมน Elev บรรทัดเดียวกับ BM.B

• คํานวณหาความตางระดับ = BS – FS Diff = 1.465 – 1.018 = +0.447

• คาที่ไดเปนคา Rise ก็นําไปใสในคอลมัน Rise ไมตองใชเครื่องหมาย บรรทดัเดียวกับ BM.B

• คํานวณคาระดบัของ BM.B = Elev + [Rise or Fall] ตามเครื่องหมาย

Elev. BM.B = 10.328 + (+0.447) = 10.775 • นําคาทีไ่ด ใสลงในคอลัมน Elev บรรทัดเดียวกับ BM.B

STA BS HI FS ELEV. STA BS FS RISE FALL ELEV.

BM.A 0.652 10.652 10.000 BM.A 0.652 10.000

TP.1 2.254 12.201 0.705 9.947 TP.1 2.254 0.705 – 0.053 9.947

TP.2 1.465 11.793 1.873 10.328 TP.2 1.465 1.873 0.381 – 10.328

BM.B 1.018 10.775 BM.B 1.018 0.447 – 10.775

[email protected] page 11/15

4.13 ตรวจสอบการคํานวณ ตามรูปแบบการใชสมุดสนาม กรณี คํานวณแบบ HI

STA BS HI FS ELEV. Remark

BM.A 0.652 10.652 10.000 First Elevation

TP.1 2.254 12.201 0.705 9.947

TP.2 1.465 11.793 1.873 10.328

BM.B 1.018 10.775 Last Elevation

ΣBS 4.371 ΣFS 3.596 10.775 Last Elevation

ΣFS 3.596 10.000 First Elevation

diff 0.775 0.775 diff

• สูตรสําหรับการตรวจสอบ

ΣBS – ΣFS = Last Elevation – First Elevation

• ขีดเสนใตหลังจากการรังวัดเสร็จสิ้น

O.K.

− −

• คํานวณหาผลรวมทาง BS ได = 4.371 และนําผลรวมมาใสลงในคอลัมน BS บรรทัดสุดทาย • คํานวณหาผลรวมทาง FS ได = 3.596 และนําผลรวมมาใสลงในคอลัมน FS บรรทัดสุดทาย • เอา ΣBS – ΣFS จะได = +0.775 แลวกรอกใสลงในคอลมัน BS บรรทัดสุดทาย (diff) • ยกคา Last Elev. ลงมาเขียนในคอลัมนเดียวกัน บรรทัดถัดลงมา และบรรทัดถัดลงมา ยกคา First Elev. ลงมาใส หาผ•

บรรทัดสุดทาย สิ้นสุดการคํานวณ ลของ Last Elev. – First Elev. ได = +0.775 ก็ถือวาถูกตอง เอาคาท่ีคํานวณไดใสลงในคอลัมน ELEV

[email protected] page 12/15

กรณี คํานวณแบบ Rise & Fall

STA BS FS RISE FALL ELEV. Remark

BM.A 0.652 10.000 First Elevation

TP.1 2.254 0.705 – 0.053 9.947

TP.2 1.465 1.873 0.381 – 10.328

BM.B 1.018 0.447 – 10.775 Last Elevation

ΣBS 4.371 ΣRise 0.828 10.775 Last Elevation

ΣFS 3.596 ΣFall 0.053 10.000 First Elevation

diff 0.775 O.K. 0.775 O.K. 0.775 diff

− − −

• สูตรสําหรับการตรวจสอบ

ΣBS – ΣFS = ΣRise – ΣFall = Last Elevation – First Elevation

• ขีดเสนใตหลังจากการรังวัดเสร็จสิ้น • คํานวณหาผลรวมทาง BS ได = 4.371 และนําผลรวมมาใสลงในคอลัมน BS บรรทัดถัดลงไปของการรังวัดในสนาม

• คํานวณหาผลรวมทาง FS ได = 3.596 และนําผลรวมมาใสลงในคอลัมน BS บรรทัดถัดลงไปตอจาก ΣBS • เอา ΣBS – ΣFS จะได = +0.775 แลวกรอกใสลงในคอลมัน BS บรรทัดสุดทาย (diff) • คํานวณหาผลรวมของ Rise ได = 0.828 และนําผลรวมมาใสลงในคอลัมน Rise บรรทัดถัดลงไปของการรงัวัดในสนาม คํานวณหา•

เอา ΣRise – ΣFall จะได = +0.775 แลวกรอกใสลงในคอลัมน Rise บรรทัดสุดทาย (diff) ผลรวมทาง Fall ได = 0.053 และนําผลรวมมาใสลงในคอลัมน Rise บรรทัดถัดลงไปตอจาก ΣRise

irst Elev. ลงมา

• ลของ Last Elev. – First Elev. ได = +0.775 ก็ถือวาถูกตอง เอาคาท่ีคํานวณไดใสลงในคอลัมน ELEV

• ยกคา Last Elev. ลงมาเขียนในคอลัมนเดียวกัน บรรทัดถัดลงมา และบรรทัดถัดลงมา ยกคา Fใส หาผ

บรรทัดสุดทาย สิ้นสุดการคํานวณ

[email protected] page 13/15

แบบฝกหัด 1. จากการรังวัดงานระดับจากหมุด BM–A ไปยังหมุด BM–D ปรากฏสมุดสนามดังน้ี

Diff of reading STATION B.S. F.S. H.I.

Rise Fall Elevation Remark

BM-A 1.409 TP.1 1.011 1.189 TP.2 1.097 1.151 TP.3 1.449 1.491 TP.4 1.676 1.932 TP.5 1.530 1.525 TP.6 1.443 1.652 TP.7 1.102 1.666 TP.8 1.895 1.052 TP.9 1.392 1.998 BM-B 1.060 1.401 TP.10 1.521 1.422 TP.11 1.709 1.744 TP.12 1.175 1.542 TP.13 1.797 1.280 TP.14 1.594 1.571 TP.15 1.997 1.316 BM-C 1.177 1.013 TP.16 1.990 1.535 TP.17 1.382 1.733 TP.18 1.902 1.223 TP.19 1.698 1.850 TP.20 1.283 1.982 TP.21 1.582 1.053 BM-D 1.554

จงคํานวณหาคาระดับของจุดระดับตางๆ ใหครบถวนสมบูรณ และอยากทราบวา จุด BM-C และ BM-B สูงตางกันเทาใด และหมุดใดสูงกวา (หากกําหนดใหคากําหนดสูงของ BM-A เพิ่มข้ึนคนละ 5.000 เมตร ตามลําดับที่ โดยเริ่มที่ ลําดับที่ 1 คากําหนดสูงเทากับ 10.500 เมตร)

[email protected] page 14/15

กระดาษเขียนตอบ Diff of reading

STATION B.S. F.S. H.I. Rise Fall

Elevation Remark

BM-A 1.409 TP.1 1.011 1.189 TP.2 1.097 1.151 TP.3 1.449 1.491 TP.4 1.676 1.932 TP.5 1.530 1.525 TP.6 1.443 1.652 TP.7 1.102 1.666 TP.8 1.895 1.052 TP.9 1.392 1.998 BM-B 1.060 1.401 TP.10 1.521 1.422 TP.11 1.709 1.744 TP.12 1.175 1.542 TP.13 1.797 1.280 TP.14 1.594 1.571 TP.15 1.997 1.316 BM-C 1.177 1.013 TP.16 1.990 1.535 TP.17 1.382 1.733 TP.18 1.902 1.223 TP.19 1.698 1.850 TP.20 1.283 1.982 TP.21 1.582 1.053 BM-D 1.554

1. ความตางระดับของหมุด BM-C – BM-B = ______________ เมตร 2. ระหวางหมุด BM-C และหมุด BM-B หมุดที่สูงกวาคือ _________________

ช่ือ–สกุล ___________________________________ เลขที่ _______ ช้ัน/แผนก _____________________

[email protected] page 15/15