01 pressure gas

11
ภาชนะรับความดัน และภาชนะบรรจุกาซ ภาชนะรับความดัน ความหมาย ภาชนะที่มีความดันภายในสูงกวา 15 Psi (ปอนดตอตารางนิ้ว) ความดันที่สงเขามาอาจเปนไอน้ําหรืออากาศก็ได เชน หมออบ ,หมอตมในโรงงานปลาปน ลูกกลิ้งใหความรอนในโรงงาน กระดาษและโรงงานทําผลิตภัณฑจากผา ,หมอนึ่งฆาเชื้อ (Autoclave) ในโรงพยาบาล ,หมออบฆาเชื้อในโรงงานอาหารกระปอง หมออบยางใน โรงงานผลิตภัณฑยาง ถังลมและภาชนะอื่นๆ ASME กําหนดความหมายภาชนะรับความดันไวดังนีภาชนะที่มีความดันหรือสุญญากาศเกิดขึ้นภายใน โดยที่ภาชนะนั้น ไมไดรับความรอนหรือไฟโดยตรง ถาจะเกิดความรอนภายในภาชนะจะตอง เกิดจากปฏิกิริยาเคมีหรือการใหความรอนจากไฟฟา ไอน้ําและน้ํามันรอน (Hot oil) สวนภาชนะที่ไมเขาขายคือ ภาชนะที่มีความดันภายในหรือภายนอก ไมเกิน 15 ปอนดตอตารางนิ้ว หรือมีเสนผาศูนยกลางเล็กกวา 6 นิ้ว ภาชนะบรรจุกาซ ความหมาย ภาชนะที่สรางขึ้นมาสําหรับบรรจุกาซอยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย อยาง อยูในสภาวะเปนของเหลวหรือกาซก็ได เชน ถังกาซปโตรเลียมเหลว (ถังหุงตม) ถังกาซปโตรเลียมเหลวสําหรับ เครื่องยนตสันดาปภายใน ถังแอมโมเนีย (ในโรงงานน้ําแข็งหรือหองเย็น) ถังคลอรีน ทอออกซิเจน ทอไนโตรเจน ทอไนตรัสออกไซด และทอ คารบอนไดออกไซด เปนตน ปจจุบันมีใชกันอยางแพรหลายทั้งในโรงงาน อุตสาหกรรมและโรงพยาบาล

Upload: takorn-weyhey

Post on 30-Dec-2015

24 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

ghf

TRANSCRIPT

Page 1: 01 Pressure Gas

ภาชนะรับความดนั และภาชนะบรรจุกาซ

ภาชนะรับความดัน

ความหมาย

ภาชนะที่มีความดันภายในสูงกวา 15 Psi (ปอนดตอตารางนิ้ว) ความดันที่สงเขามาอาจเปนไอน้ําหรืออากาศก็ได

เชน หมออบ ,หมอตมในโรงงานปลาปน ลูกกลิ้งใหความรอนในโรงงานกระดาษและโรงงานทําผลิตภัณฑจากผา ,หมอนึ่งฆาเชือ้ (Autoclave)ในโรงพยาบาล ,หมออบฆาเชื้อในโรงงานอาหารกระปอง หมออบยางในโรงงานผลิตภัณฑยาง ถังลมและภาชนะอื่นๆ

ASME กําหนดความหมายภาชนะรับความดันไวดังนี้

ภาชนะที่มีความดันหรือสุญญากาศเกิดขึ้นภายใน โดยที่ภาชนะนั้นไมไดรับความรอนหรือไฟโดยตรง ถาจะเกิดความรอนภายในภาชนะจะตองเกิดจากปฏิกิริยาเคมีหรือการใหความรอนจากไฟฟา ไอน้ําและน้ํามันรอน (Hot oil) สวนภาชนะที่ไมเขาขายคือ ภาชนะที่มีความดันภายในหรือภายนอกไมเกิน 15 ปอนดตอตารางนิ้ว หรือมีเสนผาศูนยกลางเล็กกวา 6 นิ้ว

ภาชนะบรรจุกาซ

ความหมาย

ภาชนะที่สรางขึ้นมาสําหรับบรรจุกาซอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง อยูในสภาวะเปนของเหลวหรอืกาซก็ได

เชน ถงักาซปโตรเลยีมเหลว (ถังหุงตม) ถงักาซปโตรเลยีมเหลวสําหรับเครื่องยนตสันดาปภายใน ถังแอมโมเนยี (ในโรงงานน้ําแข็งหรือหองเยน็)ถังคลอรีน ทอออกซิเจน ทอไนโตรเจน ทอไนตรัสออกไซด และทอคารบอนไดออกไซด เปนตน ปจจุบันมีใชกนัอยางแพรหลายทั้งในโรงงานอุตสาหกรรมและโรงพยาบาล

Page 2: 01 Pressure Gas

อุปกรณความปลอดภยั

1. ลิ้นนิรภัย

2. มาตรวัดความดัน

3. วาลวรับไอน้ํา

4. วาลวลดความดนั

5. วาลวระบายไอ

6. วาลวถายน้ํา

7. ที่ล็อคฝา

ภาชนะรับความดัน ภาชนะบรรจุกาซ1. กลอุปกรณนิรภัยแบบระบาย

2. วาลวจายและบรรจุ

3. มาตรวัดความดัน

4. วาลวถาย

5. วาลวควบคุมการไหลเกนิ

ASMEASME แบงกลอุปกรณระบายความดันออกเปนแบงกลอุปกรณระบายความดันออกเปน 22 แบบใหญๆแบบใหญๆ ดังนี้ดังนี้

1. Pressure Relief Valve

2. Nonreclosing Pressure Relief Devices

กลอปุกรณระบายความดัน

1. Pressure Relief Valve (วาลวระบายความดัน) ลักษณะโดยทั่วไปจะมีวาลวถูกกดใหสัมผัสกับบาวาลวดวยแรงของสปริง การทํางานวาลวจะเปดก็ตอเมื่อมีความดันที่สูงกวาแรงกดสปริง วาลวระบายความดันมี 3 ชนิด คือ

กลอปุกรณระบายความดัน

88

Safety Valve เปนอุปกรณที่ระบายความดันอยางอัตโนมัติ โดยอาศัยค ว า ม ดั น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ม า ก ร ะ ทํ า ต อ ว า ล ว เ มื่ อ ค ว า ม ดั น สู ง ถึ ง จุ ด Safety Valve ทํางาน วาลวจะถูกเปดออกอยางรวดเร็วและเต็มที่ เหมาะที่จะนําไปใชกับภาชนะบรรจุกาซหรือเปนไอ

กลอปุกรณระบายความดัน

Page 3: 01 Pressure Gas

Relief Valve เปนอุปกรณที่ระบายความดันอยางอัตโนมัติ โดยอาศัยความดันที่เพิ่มขึ้นมากระทําตอวาลว เมื่อความดันสูงถึงจุดที่ตั้งไววาลวก็จะเปดออกเปนสัดสวนกันคือการเปดจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับความดันที่เพิ่มขึ้น เหมาะที่เลือกใชกับภาชนะบรรจุของเหลว

กลอปุกรณระบายความดัน

1010

Safety Relief Valve เปนอุปกรณที่ระบายความดันอยางอัตโนมัติลักษณะการทํางานเปนแบบเปดอยางรวดเร็ว หรือเปดเปนสัดสวนกับความดันที่เพิ่มขึ้น จึงสามารถนํามาใชแทน Safety Valve และ Relief Valve ได ทั้งนี้ขึ้นกับการนําไปใชงาน

กลอปุกรณระบายความดัน

2. Nonreclosing Pressure Relief Devices เปนกลอุปกรณระบายความดันชนิดที่เมื่อทํางานแลวตองเปลี่ยนหรือตองปรับตั้งใหมซึ่งจะตางกับวาลวระบายความดันที่เมื่อทํางานแลวพอความดันลดต่ําลงวาลวก็จะหยุดระบายความดันออกมาภายนอก กลอุปกรณแบบนี้มี 3 ชนิดคือ

Rupture Disk Devices ซึ่งก็คือฝาครอบปะทุ (Frangible Disc) นั่นเอง ลักษณะจะเปนฝาครอบ ทรงกลมแบบนูนออกหรือยุบเขา หรือแบน ปดไวที่ชองระบายของภาชนะรับความดัน ถาความดันภายในสูงมากกวาที่ฝาครอบปะทุจะทนไดก็จะฉีกขาดหรือระเบิดออกเพื่อระบายความดันภายในออก

กลอปุกรณระบายความดัน

1212

Rupture Disk Devices ซึ่งก็คือฝาครอบปะทุ (Frangible Disc) นั่นเอง ลักษณะจะเปนฝาครอบ ทรงกลมแบบนนูออกหรือยุบเขา หรือแบน ปดไวที่ชองระบายของภาชนะรับความดัน ถาความดันภายในสูงมากกวาที่ฝาครอบปะทุจะทนไดก็จะฉีกขาดหรือระเบิดออกเพื่อระบายความดันภายในออก

กลอปุกรณระบายความดัน

Page 4: 01 Pressure Gas

Breaking Pin Devices จะไมนํามาใชระบายความดันเดี่ยวๆ แตจะใชรวมกันและอยูระหวาง Safety Valve และ Safety Relief Valveและภาชนรับความดัน พื้นที่ระหวาง Breaking Pin Devices กับ Safety Valve ตองมีเกจวัดความดัน วาลวทดสอบ และทอระบายเพื่อใชตรวจสอบการทํางานและรอยรั่วของ Breaking Pin Devices

กลอปุกรณระบายความดัน

1414

Spring Loaded Nonreclosing Pressure Relief Devices การทํางานความดันจะไปกระทําจนชนะแรงสปริง ทําใหวาลวเปดออกที่ความดันหนึ่งที่ตั้งไว และจะเปดคางอยูจนกวาจะรับตั้งใหม อุปกรณชนิดนี้ไมจําเปนตองใชรวมกับ Pressure Relief Devices อื่นๆ

กลอปุกรณระบายความดัน

ตาม มอก. 255-2521 ครอบคลุมถึงถังกาซทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ ชนิดของกาซที่อนุญาตใหใช และไมใหใช ทั้ง เปนของเหลวและกาซ กลอุปกรณนิรภัยแบบระบายของถังกาซมีหลายชนิดดังนี้

กลอปุกรณนิรภัยแบบระบายของถงักาซ

1. ฝาครอบปะทุ (frangible disc, CG – 1) หมายถึง ชิ้นสวนทํางานที่มีรูปรางเปนฝาครอบทําดวยโลหะ ทําหนาที่ปดชองระบายของกลอุปกรณนิรภัยแบบระบายในภาวะปกติ จะระเบิดออกเมื่อถึงความดันที่กําหนดไวเพื่อปลอยใหกาซระบายจากภายในถังสูบรรยากาศ

2. จุกหลอมละลาย (fusible plug, CG – 2 หรือ CG – 3) หมายถึง ชิ้นสวนทํางานที่มีรูปรางที่เปนจุก ทําดวยวัสดุที่มีจุดหลอมตัวต่ํา โดยปกติเปนโลหะผสม ทําหนาที่ปดชองระบายของกลอุปกรณนิรภัยแบบระบายในภาวะปกติ จุกนี้จะหลอมละลายเพื่อใหกาซระบายออก เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นถึงจุดจํานนที่กําหนดไว

กลอปุกรณนิรภัยแบบระบายของถงักาซ

Page 5: 01 Pressure Gas

3. จุกหลอมละลายเสริมกําลัง (reinforced fusible plug, CG – 2 หรือ CG – 3) หมายถึง จุกหลอมละลายที่มีแกนทําดวยโลหะมีอุณหภูมิจํานนสูง ลอมรอบดวยโลหะที่มีจุดหลอมตัวต่ําและมีอุณหภูมิจํานนตามที่กําหนดไว

4. ฝาครอบปะทุควบคูกับจุกหลอมละลาย (combination frangible disc- fusible plug, CG – 5) หมายถึง ฝาครอบปะทุใชคูกับจุกหลอมละลาย เพื่ อป อ งกันฝาครอบปะทุ ระ เบิ ดออก ก อนถึ งอุณหภูมิ จํ านนของจุกหลอมละลาย

กลอปุกรณนิรภัยแบบระบายของถงักาซ

5. ลิ้นนิรภัยแบบระบาย (safety relief valve, CG – 7) หมายถึง กลอุปกรณนิรภัยแบบระบายที่มีชิ้นสวนทํางานปดชองระบายของกลอุปกรณนิรภัยแบบระบายโดยแรงดันของสปริงลิ้นจะเปดและปดเมื่อถึงความดันที่กําหนด

6. ลิ้นนิรภัยแบบระบายควบคูกับจุกหลอมละลาย (combination safety relief valve fusible plug, CG – 8) หมายถึง กลอุปกรณนิรภัยแบบระบายชนิดลิ้นนิรภัยแบบระบายใชคูกับจุกหลอมละลาย อาจอยูในตัวเดียวกัน หรือแยกกันก็ได ทําหนาที่เปดและปดเมื่อถึงความดันที่กําหนดหรือเปดออกเมื่อถึงอุณหภูมิที่กําหนด

กลอปุกรณนิรภัยแบบระบายของถงักาซ

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะรับความดัน

การตรวจภาชนะรับความดันควรกระทําทุกวันหรือทุกสัปดาห เปนการตรวจภาชนะรับความดันกําลังทํางาน สวนการตรวจสอบภาชนะรับความดันควรกระทําอยางนอยปละครั้ง การตรวจและทดสอบภาชนะรับความดันสามารถกระทําไดดังนี้

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะรับความดัน ตรวจการรั่วซึม หรือแตกราวของเปลือกและฝาปด โดยเฉพาะบริเวณรอยตอหรือรอยเชื่อม ถาพบตองหยุดใชงานแลวซอมทันที

ตรวจที่ล็อกฝา ดูการบิดงอ แตกราว สึกหรอ หรือชํารุดในลักษณะอื่น เมื่อปดฝาแลวลอคสนิท

การตรวจชํารุดหรือรั่วซึมของวาลวตางๆ เชน วาลวรับไอน้ํา วาลวระบายไอ และวาลวถายน้ํา วาลวเหลานี้ใชงานวันละหลายๆ ครั้ง มีโอกาสรั่วไดงาย โดยเฉพาะแกนวาลว

ตรวจการทํางานของเกจวัดความดัน เข็มจะตกลงที่ 0 ปอนดตอตารางนิ้ว เมื่อไมมีไอน้ําในภาชนะรับความดัน เข็มจะคอยๆ ขยับขึ้นเมื่อมีความดัน ถามีการติดขัดเปนระยะๆ ตองซอมหรือเปลี่ยนใหม

Page 6: 01 Pressure Gas

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะรับความดัน

ตรวจการทํ า ง านของลิ้ นนิ ร ภั ยทุ กสัปดาห การตรวจสอบ ทํ าขณะภาชนะรับความดันมีความดันไอน้ําขณะใชงานปกติ ดวยการยกคานหรือกานนิรภัยขึ้น ไอน้ําจะพุงออกมา และเมื่อปลอยคานนิรภัยขึ้น ไอน้ําจะพุงออกมา และเมื่อปลอยคานนิรภัยก็จะหยุดทํางาน ถาพบวามีไอน้ําซึมออกมาขณะลิ้ น นิ ร ภั ย ไ ม ไ ด ทํ า ง า น แสด ง ว า ลิ้ น กั บ ฝ า เ กิ ด ก า ร สึ ก ก ร อ น ควรจะถอดออกมาทําใหมใหเรียบ

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะรับความดัน

ตรวจทดสอบประจําป ทําไดโดยการอัดไอน้ําเขาไปในภาชนะรับความดันดวยความดัน 1.5 เทาของความดันใชงานปกติ จากนั้นก็ตรวจสอบการรั่วซึมของเปลือก ฝาปด โดยเฉพาะบริเวณรอยตอหรือรอยเชื่อม ตรวจการทํางานของลิ้นนิรภัย เกจวัดความดัน หรือที่ล็อกฝา แลวปรับตั้งลิ้นนิรภัยใหระบายไอที่ความดันสูงกวาใชงานปกติ 5 – 10 ปอนดตอตารางนิ้ว จากนั้นระบายน้ําออกใหหมดเปดฝาพรอมตรวจสอบโครงสรางภายในของภาชนะรับความดัน เกี่ยวกับการกัดกรอนทอทางที่ตอไปยังเกจวัดความดัน และวาลวทุกตัว ควรถอดออกมาทําความสะอาดพรอมปรับแตงใหเรียบรอย

การตรวจสอบและทดสอบถังกาซปโตรเลียมเหลว

การตรวจถังกาซปโตรเลียมเหลว ควรกระทําทุกวัน แตการทดสอบจะกระทําเมื่อถังมีอายุการใชงาน 5 – 10 ป วิธีการตรวจและทดสอบถังกาซปโตรเลียมเหลว กระทําไดดังนี้

1. ตรวจสอบภายนอกของถังตองไมบวม บุบ หรือไฟไหม2. ตรวจสภาพของลิ้นนิรภัย ใหอยูในสภาพพรอมใชงาน3. ตรวจแกนวาลวไมเอียง และเกลียวที่จะตอทอจายกาซไมชํารุด4. ตรวจการรั่วของกาซบริเวณวาลว ลิ้นนิรภัย รอยตอ และกนถัง5. ตรวจสอบถังโดยละเอียด ถาพบขอบกพรองจะตองนําไปซอมแซม แตถาชํารุดมาก ก็หามนํามาใช

การตรวจสอบและทดสอบถังกาซปโตรเลียมเหลว

ทําได 5 วิธี คือ .......

1. การตรวจพินจิภายนอก

2. การตรวจพินจิภายใน

3. ชั่งน้ําหนกั

4. การตรวจการรั่วซึม

5. การตรวจสอบโดยการอดัน้ํา (ไฮดรอลิก)

Page 7: 01 Pressure Gas

1. การตรวจพินิจภายนอก ตองขูดสีของถังออกใหหมดแลวพินิจดู การผุกรอน รอยบุบ หรือเปนหลุม การขูดขีด การบวม และรอยถูกไฟไหม

2. การตรวจพินิจภายใน ตองทําความสะอาดภายในถังดวยลูกเหล็ก จากนั้นใชแสงไฟสองเขาไปตรวจภายในถัง เพื่อหาการผุกรอน หรือเปนหลุม

3. ชั่งน้ําหนัก เมื่อถอดอุปกรณตางๆ ออกและทําความสะอาดถังแลว นําถังไปชั่งน้ําหนัก ถาน้ําหนักนอยกวาเดิม รอยละ 95 หามนํามาใช

การตรวจสอบและทดสอบถังกาซปโตรเลียมเหลว การตรวจสอบและทดสอบถังกาซปโตรเลียมเหลว

4. ตรวจการรั่วซึม เมื่อติดตั้งวาลวตางๆ เขาที่เรียบรอยแลว ใหอัดอากาศหรือกาซเฉื่อยเขาไปในถัง แลวจุมลงในน้ํา หรือใชน้ําสบูทารอบๆ ถังบริเวณที่เปนรอยตอหรือรอยเชื่อม

5. ตรวจสอบโดยการอัดน้ํา (อัดไฮดรอลิก) โดยการอัดน้ําเขาไปในถังดวยความดัน 2 เทาของความดันใชงานสูงของถังนาน 30 วินาที จากนั้นตรวจหารอยรั่วซึมหรือการบิดเบี้ยว แตถาถังมีอายุการใชงานครบ 10 ป ตองตรวจทดสอบหาการขยายตัวถาวรของถังดวย

เชน ทอออกซิ เจน ทอไนตรัสออกไซด และทอไนโตรเจน การตรวจเหลานี้ควรกระทําทุกวัน สวนการตรวจทดสอบจะเร็วหรือชาขึ้นอยูกับขนาดและชนิดของทอดวย เชนทอแบบไมมีตะเข็บ ขนาดบรรจุน้ําไมเกิน 500 ลิตร ควรตรวจสอบทุก 3 ป ขนาดบรรจุใหญกวานี้ตรวจทุก 5 ป ทอแบบมีตะเข็บขนาดบรรจุน้ําไมเกิน 500 ลิตร ตรวจทุก 3 ป แตถาอายุ 10หรือ 15 ป ตองตรวจทุก 2 ป วิธีการตรวจและทดสอบทําไดดังนี้

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะบรรจกุาซชนิดอื่นๆ

1. ตรวจสภาพของทอเกี่ยวกับการกัดกรอน บวม บุบหรือไฟไหม2. ตรวจสอบของกลอุปกรณนิรภัย3. ตรวจสอบของแกนวาลวตองไมเอียง และเกลียวไมสึก4. ตรวจหารอยรั่วบริเวณแกนวาลว5. การตรวจทดสอบทอบรรจุกาซโดยละเอียด

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะบรรจกุาซชนิดอื่นๆ

Page 8: 01 Pressure Gas

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะบรรจกุาซชนิดอื่นๆ

ทําได 4 วิธี คือ .......

1. ตรวจพินจิภายนอก

2. ตรวจพินจิภายใน

3. ชั่งน้ําหนกัทอ

4. ตรวจทดสอบโดยการอัดน้ํา

1. ตรวจพินิจภายนอก ตองทําความสะอาดทอพรอมลอกสีที่ทาทอออก เพื่อตรวจสอบการกัดกรอน รอยบุบ รอยขูดขีด การบวม และรอยไฟไหม

2. ตรวจพินิจภายใน ตองทําความสะอาดภายในทอดวยลูกเหล็กจนสะอาดดีแลวจึงใชแสงไฟสองเขาไปเพื่อตรวจสอบภายใน เพื่อหาการผุกรอนหรือหลุม

3. ชั่งน้ําหนักทอ ตองถอดอุปกรณของทอออกทั้งหมดแลวชั่งน้ําหนัก ถาน้ําหนักนอยกวารอยละ 95 ของน้ําหนักทอเดิม หามนําทอนั้นมาใชงาน

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะบรรจกุาซชนิดอื่นๆ

4. ตรวจทดสอบโดยการอัดน้ํา (ไฮดรอลิก) สําหรับภาชนะบรรจุกาซบางชนิด ไมสามารถใชน้ําทดสอบได ก็เปลี่ยนมาใชลมแทน การทดสอบโดยการอัดน้ําได 2 วิธีคือ แบบทดสอบในถังน้ํา และทดสอบในแบบถังไรน้ํา ความดันที่ใชทดสอบประมาณ 1.3 - 1.5 เทาของความดันใชงานสูงสุดจากนั้นตรวจหารอยรั่ว การบวม และการขยายตัวถาวรของทอ

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะบรรจกุาซชนิดอื่นๆ มาตรการปองกันอันตรายจากภาชนะรับความดันและภาชนะบรรจกุาซ

1. การเลือก

2. การติดตั้ง

3. การใชงานและการบํารุงรักษา

4. การตรวจสอบความปลอดภัยในการใชงาน

Page 9: 01 Pressure Gas

1. การเลือกเปนสิ่งแรกที่ผูใชควรจะรูวาการเลือกใชของดีมีคุณภาพในราคาพอสมควรทํา

ใหความปลอดภัยในการใชงานมากกวาการเลือกใชของถูกเพียงอยางเดียว การเลือกใชใหพิจารณาเฉพาะที่ผลิตตามมาตรฐาน ไมวาจะเปนมาตรฐานของในประเทศหรือตางประเทศ เพราะอยางนอยภาชนะรับความดันหรือภาชนะบรรจุกาซที่เราได ก็มีสถาบันที่มีชื่อเสียงรับรองคุณภาพในเรื่องของการออกแบบ วิธีการสราง วัสดุที่ใช และอุปกรณที่ติดตั้งมาให ซึ่งเพียงพอที่จะใชงานไดอยางสะดวกและปลอดภัย

1. การเลือก (ตอ)กรณีที่ไมสามารถเลือกใชผลิตภัณฑจากบริษัทที่มีผลงานดานวิศวกรรมอื่นๆ

ซึ่งมีลักษณะของงานใกลเคียงกันแทนก็ได แตตองกําหนดวาภาชนะรับความดันที่สรางจะตองไดรับการออกแบบและควบคุมการผลิตจากวิศวกร ใชวัสดุที่ไดมาตรฐานและมีเอกสารรับรอง สําหรับผูที่เลือกใชภาชนะรับความดัน หรือภาชนะบรรจุกาซของเกาจะตองหาผูเชี่ยวชาญมาตรวจสอบ โครงสราง อุปกรณความปลอดภัย พรอมทั้งทดลองใชงานจริง เมื่อไมมีขอบกพรองที่รุนแรง จึงคอยพิจารณาใช มิฉะนั้นอาจจะเสียทั้งเงินและเวลา ถารุนแรงมากอาจเสียชีวิต

2. การติดตั้ง

การเลือกทําเลที่เหมาะสม จะชวยลดความรุนแรงและความเสียหายเนื่องจากทั้งภาชนะรับความดันและภาชนะบรรจุกาซลวนแลวแตเกิดการระเบิดได ภาชนะรับความดันควรจะติดตั้งแยกออกเปนสัดสวน มีผนังที่แข็งแรงกั้น บริเวณใกลเคียงไมควรมีผูปฏิบัติงานหนาที่อื่นอยู โดยเฉพาะดานหนาของฝาภาชนะรับความดันจะมีอันตรายสูง

2. การติดตั้ง (ตอ)

สําหรับภาชนะบรรจุกาซโดยเฉพาะกาซที่ไวไฟ เชน กาซปโตรเลียม ตองพิจารณาติดตั้งไวนอกอาคารบริเวณที่ไมถูกแสงแดดและฝน อากาศถายเทไดดี ไมมีสิ่งที่จะกอใหเกิดประกายไฟ มีรั้วลอมรอบพรอมปายเตือน และที่สําคัญจะตองมีอุปกรณดับเพลิงชนิดที่เหมาะสมติดตั้งไวบริเวณใกลเคียง

Page 10: 01 Pressure Gas

3. การใชงานและการบํารุงรักษาเนื่องจากภาชนะรับความดันไดรับการออกแบบใหใชงานดวยความปลอดภัยที่

ความดันหนึ่งๆ ดังนั้นขอหามสําคัญคือ หามใชงานที่ความดันสูงกวาที่กําหนดอยางเด็ดขาด มิฉะนั้นมีโอกาสระเบิดไดตลอดเวลา สวนภาชนะบรรจุกาซซึ่งมีขนาดเล็ก สามารถเคลื่อนที่ได การนําไปใชบริเวณใดก็ควรหลีกเลี่ยงจากเปลวไฟ หรือแหลงความรอนตางๆ และสารเคมีที่กัดกรอน ผูที่ทําหนาที่ควบคุมและใชงานควรไดรับการอบรมดานความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาชนะรับความดันและภาชนะบรรจุกาซโดยเฉพาะ จะทําใหเกิดความตระหนักถึงอันตราย จะไดควบคุมหรือใชงานดวยความระมัดระวัง มีการตรวจสอบเปนระยะๆ

3. การใชงานและการบํารุงรักษา (ตอ)โดยเฉพาะอุปกรณความปลอดภัย สวนการบํารุงรักษาควรกําหนดเวลาที่

แนนอนไว 3 – 6 เดือน จะตองถอดอุปกรณทําความสะอาดหรือซอมแซมใหเรียบรอยแลวจึงประกอบไปใชใหม ซึ่งจะชวยใหอุปกรณมีอายุการใชงานนานขึ้น การบํารุงรักษาอุปกรณของภาชนะรับความดันเปนหนาที่ของผูใช สวนการบํารุงรักษาอุปกรณเพื่อความปลอดภัยของภาชนะบรรจุกาซ เปนหนาที่ของโรงงานบรรจุกาซ

4. การตรวจสอบความปลอดภัยในการใชงาน

เปนมาตรการที่สําคัญสําหรับการปองกันอันตรายจากภาชนะรับความดันและภาชนะบรรจุกาซ ควรจะดําเนินการทุกปสําหรับภาชนะรับความดัน สวนภาชนะบรรจุกาซ เชน ทอออกซิเจนตรวจทุก 3 ป ถังกาซปโตรเลียมเหลวตรวจทุก 5 หรือ 10 ป ผูตรวจจะตองเปนวิศวกร ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม (พ.ศ.2505) และมีเครื่องมือตรวจสอบเพียงพอ ถาพบขอบกพรองจะตองดําเนินการแกไขใหเรียบรอยกอนจะนํากลับมาใช ควรทําเครื่องหมายที่ภาชนะรับความดันหรือภาชนะบรรจุกาซทุกใบที่ผานการตรวจสอบความปลอดภัยในการใชงาน

ประมวลภาพเหตกุารณ

ภาชนะรับความดันและภาชนะบรรจกุาซระเบิด

Page 11: 01 Pressure Gas

ประมวลภาพเหตกุารณ

ภาชนะรับความดันและภาชนะบรรจกุาซระเบิด

ประมวลภาพเหตกุารณ

ภาชนะรับความดันและภาชนะบรรจกุาซระเบิด