1 2 haruthai thammata yutitham parama univercity · โฟโตชอป 3.2...

13
การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ครั้งที3 (ฉบับที1) 470 การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร และแสดงผลในรูปแบบสามมิติ Development on the information system of searching the route inside the Kamphaeng Phet Rajabhat University and Displaying via 3D หฤทัย ธรรมตา 1 กีรศักดิพะยะ 2 และยุติธรรม ปรมะ 2 Haruthai Thammata 1 Keerasak Paya 2 and Yutitham Parama 2 1 นักวิจัยอิสระ 2 อาจารย์โปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทาง ภายในมหาวิทยาลัย ราชภัฏกาแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบสารสนเทศ ค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ ผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรมออโต เดสก์ 3 ดีเอสแมกซ์ (Autodesk 3Ds Max) สร้างแบบจาลองอาคารสามมิติ โปรแกรมอะโดบีโฟโตชอป (Adobe Photoshop) สร้างแผนที่ภายในมหาวิทยาลัย และใช้แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศตามหลักการของวงจร ชีวิตการพัฒนาระบบ ( System Development Life Cycle: SDLC) และถูกพัฒนาด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี (PHP) ติดต่อกับฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นบนมายเอสคิวแอล (MySQL) โดยผู้ดูแลระบบสามารถบริหารจัดการสารสนเทศ ชื่ออาคาร ข้อมูลภาพสามมิติ และข้อมูลรายละเอียดเส้นทางการเดินทางต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย โดยผ่านระบบ เว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) และผู้ใช้ทั่วไปสามารถค้นหาอาคารเป้าหมายต่างๆ ได้โดยไม่ต้องเข้าสู่ระบบ ตรวจสอบชื่อผู้ใช้ ผลจากการศึกษาระบบสารสนเทศจากกลุ่มประชากร ได้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร และ ได้สุ่มจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร จานวน 285 คน พบว่า มีความพึงพอใจในการ ใช้งานระบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4. 11 สามารถแยกผลการประเมินตามด้าน ดังนี1) ด้านเนื้อหามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 2) ด้านการออกแบบมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 และ 3) ด้านประโยชน์และการนาไปใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.10 คาสาคัญ: ระบบสารสนเทศ / ค้นหา / เส้นทางภายใน / สามมิติ Abstract This research aimed 1) to study and Development on the information system of searching the route inside the Kamphaeng Phet Rajabhat University and Displaying via 3D 2 ) to determine their satisfaction with Development on the information system of searching the route inside the Kamphaeng Phet Rajabhat University and Displaying via 3D and the researchers used modeling software Autodesk 3DS Max and Adobe Photoshop building 3D mapping within the university. The development of information system development Life cycle: SDLC. Researchers are developing with the PHP programming language and interface with a database built on MySQL. Administrators manage the information three-dimensional. And detailed search location path via Web Application. The study information from the population. Including Kamphaeng Phet Rajabhat University students the random sample Kamphaeng Phet Rajabhat University students, including 285 students. The satisfaction evaluation: users were satisfied with the overall information system The 3rd Kamphaeng Phet Rajabhat Univercity National Conference

Upload: others

Post on 10-Nov-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 470

การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร และแสดงผลในรูปแบบสามมิติ

Development on the information system of searching the route inside the Kamphaeng Phet Rajabhat University and Displaying via 3D

หฤทัย ธรรมตา1 กีรศักดิ์ พะยะ2 และยุติธรรม ปรมะ2

Haruthai Thammata1 Keerasak Paya2 and Yutitham Parama2

1นักวิจยัอิสระ 2อาจารย์โปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพวิเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภฏัก าแพงเพชร

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทาง ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ ผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรมออโตเดสก์ 3 ดีเอสแมกซ์ (Autodesk 3Ds Max) สร้างแบบจ าลองอาคารสามมิติ โปรแกรมอะโดบีโฟโตชอป (Adobe Photoshop) สร้างแผนที่ภายในมหาวิทยาลัย และใช้แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศตามหลักการของวงจรชีวิตการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) และถูกพัฒนาด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี (PHP) ติดต่อกับฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นบนมายเอสคิวแอล (MySQL) โดยผู้ดูแลระบบสามารถบรหิารจัดการสารสนเทศช่ืออาคาร ข้อมูลภาพสามมิติ และข้อมูลรายละเอียดเส้นทางการเดินทางต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย โดยผ่านระบบเว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) และผู้ใช้ทั่วไปสามารถค้นหาอาคารเป้าหมายต่างๆ ได้โดยไม่ต้องเข้าสู่ระบบตรวจสอบช่ือผู้ใช้ ผลจากการศึกษาระบบสารสนเทศจากกลุ่มประชากร ได้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร และได้สุ่มจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร จ านวน 285 คน พบว่า มีความพึงพอใจในการใช้งานระบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 สามารถแยกผลการประเมินตามด้าน ดังนี้ 1) ด้านเนื้อหามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 2) ด้านการออกแบบมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 และ 3) ด้านประโยชน์และการน าไปใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 ค าส าคัญ: ระบบสารสนเทศ / ค้นหา / เส้นทางภายใน / สามมิต ิ

Abstract This research aimed 1) to study and Development on the information system of

searching the route inside the Kamphaeng Phet Rajabhat University and Displaying via 3D 2) to determine their satisfaction with Development on the information system of searching the route inside the Kamphaeng Phet Rajabhat University and Displaying via 3D and the researchers used modeling software Autodesk 3DS Max and Adobe Photoshop building 3D mapping within the university. The development of information system development Life cycle: SDLC. Researchers are developing with the PHP programming language and interface with a database built on MySQL. Administrators manage the information three-dimensional. And detailed search location path via Web Application.

The study information from the population. Including Kamphaeng Phet Rajabhat University students the random sample Kamphaeng Phet Rajabhat University students, including 285 students. The satisfaction evaluation: users were satisfied with the overall information system

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 2: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 471

at a high level ( ̅=4.11), and can be summarized satisfaction on each side as follows. The content of system: users were satisfied with the overall information system at a high level ( ̅=4.18). The design of the system: users were satisfied with the overall information system at a high level ( ̅=4.07). And the utility and apply of system: users were satisfied with the overall information system at a high level ( ̅=4.10). Keywords: information system / searching / route inside / 3D: three-dimensional ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร เป็นสถาบันอุดมศึกษาท้องถิ่นที่มีคุณภาพ ตั้งอยู่เลขที่ 69 หมู่ 1 ต าบลนครชุม อ าเภอเมือง จังหวัดก าแพงเพชร ปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรได้มีการขยายพื้นที่อาคารเรียนเพิ่มขึ้นหลายอาคารด้วยกัน ซึ่งแต่ละอาคารนั้นมีหมายเลขประจ าอาคาร หมายเลขห้อง และช่ือของอาคาร ที่แตกต่างกัน จึงท าให้บุคคลภายนอกหรือนักศึกษาสับสนกับช่ือและต าแหน่งที่ตั้งของอาคาร ในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ซึ่งในปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรยังไม่มีการพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร และแสดงผลในรูปแบบสามมิติในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชัน เพื่อแสดงรายละเอียดการเดินทาง และต าแหน่งที่ตั้งของอาคารได้ ดังนั้นการเดินทางไปยังต าแหน่งที่ตั้งของอาคารต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรยังเป็นลักษณะป้ายบอกทาง ท าให้บุคคลภายนอก ภายใน และนักศึกษา ยังไม่ได้รับความสะดวกกับการมองเส้นทางจากต้นทางไปยังจุดหมายทางได้ ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการใช้ชีวิตของคนในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น และได้น าเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเกี่ยวข้องตลอดเวลา เพราะฉะนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศที่กล่าวถึงข้างต้นสามารถช่วยอ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ได้เป็นอย่างมาก รวมทั้งการน าเทคโนโลยีสามมิติมาประยุกต์ใช้ในการสร้างการพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ เพื่อจ าลองเส้นทางการเดินทาง และอาคารของมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรเป็นลักษณะภาพสามมิติ ท าให้การมองเห็นภาพอยู่ในลักษณะภาพเสมือนจริงมากยิ่งข้ึน ดังนั้น ผู้วิจัยเล็งเห็นว่า การศึกษาวิจัยจากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นล้วนจ าเป็นต้องศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติที่สร้างด้วยหลักการการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์กราฟิก (Varsha, 2014) และสามารถค้นหาเส้นทางการเดินทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ที่เป็นประโยชน์เพื่ออ านวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ ได้แก่บุคคลภายนอก บุคคลภายใน และนักศึกษา ได้เป็นอย่างดี วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตด้านระบบ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. ขอบเขตระบบภายในเว็บไซต ์ 1.1 มีระบบค้นหาหมายเลขอาคาร ช่ืออาคารและเส้นทางการเดินทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร 1.2 มีระบบแสดงรายละเอียดเส้นทางการเดินทางภายในมหาวิทยาลัยราชภฏัก าแพงเพชร 1.3 มีระบบแผนที่ของมหาวิทยาลยัราชภัฏก าแพงเพชร 1.4 มีระบบแบบจ าลองอาคารในรปูแบบสามมิต ิ

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 3: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 472

2. ขอบเขตรูปแบบจ าลองอาคารสามมิต ิ สิ่งปลูกสร้างในปัจจุบัน 2.1 ส านักงานคณบดีคณะครุศาสตร์ (อาคาร 1) 2.2 คณะครุศาสตร์ (อาคาร 2) 2.3 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (อาคาร 3 หลังเก่า) 2.4 โปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (อาคาร 4) 2.5 ศูนย์อาหาร (อาคาร 5) 2.6 อาคารศูนย์แพทย์ทางเลือก (อาคาร 6) 2.7 อาคารดนตรีศึกษา (อาคาร 8) 2.8 โปรแกรมวิชาวิจิตรศิลป์และประยุกตศ์ิลป์ (อาคาร 9) 2.9 กองพัฒนานักศึกษา (อาคาร 10) 2.10 คณะวิทยาการจัดการ (อาคาร 11) 2.11 อาคารเรยีนรวม (อาคาร 12) 2.12 อาคารทีปังกรรัศมีโชติ (อาคาร 13) 2.13 อาคารเรยีนรวมและอ านวยการ (อาคาร 14) 2.14 อาคารศูนย์กีฬา (อาคาร 15) 2.15 อาคารจุฬาภรณ์วลัยลักษณส์ านักวิทยาศาตร์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (อาคาร 16) 2.16 อาคารเรยีนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อาคาร 17) 2.17 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิรลงกรณ์ (อาคาร 18) 2.18 อาคารภาควิชาเกษตรศาสตร์ (อาคาร 19) 2.19 อาคารเทคโนโลยีวิชาเทคโนโลยไีฟฟ้า (อาคาร 20) 2.20 อาคารศูนยส์่งเสริมและตรวจสอบการผลติ (อาคาร 21) 2.21 อาคารเรยีนภาควิชาคหกรรมศาสตร์ (อาคาร 22) 2.22 อาคารศูนย์การศึกษาพิเศษ (อาคาร 23) 2.23 อนุบาลราชภฏัก าแพงเพชร (อาคาร 24) 2.24 อาคารศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ (อาคาร 25) 2.25 อาคารบรรณาราชนครินทร ์(ส านักวิทยบริการ อาคาร 26) 2.26 อาคารโสตทัศนศึกษา (AV อาคาร 27) 2.27 หอประชุมรตันอาภา (อาคาร 28) 2.28 อาคารภูมภิาคพิทยา (ศูนยศ์ิลปะและวัฒนธรรมอาคาร 37) 2.29 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (อาคาร 50 หลังใหม่) 2.30 อาคารคณะครศุาสตร์ (อาคาร 51 หลังใหม่) 3. ขอบเขตด้านเทคโนโลยี 3.1 การสร้างแบบจ าลองภาพสามมิติ ที่พัฒนาขึ้นโดยโปรแกรมออโตเดสก์ 3 ดีเอสแมกซ์ และโปรแกรมอะโดบีโฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพ ี 3.3 การติดต่อกับฐานข้อมูลสร้างขึ้นโดยมายเอสคิวแอล

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 4: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 473

กรอบแนวคิดการวิจัย

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

วิธีด าเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงพัฒนาและทดลอง มุ่งเน้นการสร้างสรรค์วิธีการขึ้นใหม่ เพื่อใช้ในการบรหิารจัดการค้นหาเส้นทางอาคารสถานที่ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร จ านวน 1,000 คน กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร จ านวน 285 คน การก าหนดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ได้ค านวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1967) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย เครื่องมือในการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ (บุญเรือง เกิดอรุณเดช, 2550,หน้า 10) ได้แก่ การแผนภาพบริบท (Context Diagram) แผนภูมิล าดับของระบบงาน (Process hierarchy Chart) แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) และการออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) ส าหรับเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่ง ได้แก่ การสร้างแบบจ าลองภาพสามมิติ ที่พัฒนาขึ้นโดยโปรแกรมออโตเดสก์ 3 ดีเอสแมกซ์ (ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์, 2556, หน้า 15-17) และโปรแกรมอะโดบีโฟโตชอป ช่วยในการสร้างแผนที่ภายในมหาวิทยาลัย ส่วนท่ีสอง ได้แก่ การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี (จีระสิทธิ์ อึ้งรัตนวงศ์, 2553, หน้า 55-60) ส่วนการติดต่อกับฐานข้อมูลสร้างขึ้นโดยมายเอสคิวแอล (บัญชา ปะสี-ละเตสัง, 2553, หน้า 25-30) และเครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินผลการพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ ได้แก่ การสัมภาษณ์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ วิธีการด าเนินการพัฒนา ผู้วิจัยได้จัดท าแบบสอบถามความพึงพอใจออนไลน์ โดยผ่านเว็บไซต์จากกูเกิล ฟอร์ม (Google form) เพื่ออ านวยความสะดวก และรวดเร็วในการเข้าถึงกับผู้ประเมิน และได้รับความร่วมมือจากนักศึกษาในการตอบแบบสอบถาม ส่วนด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2546, หน้า 12-15 ; บุญชม ศรีสะอาด, 2543) ขั้นตอนการวิจัย การด าเนินการวิจัยได้พัฒนาระบบสารสนเทศตามหลักการวงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) ตาม 4 ขั้นตอนหลัก (Dennise, Wixom & Roth, 2010) ดังนี ้

ศึกษาและรวบรวมข้อมลูของระบบ

พัฒนาระบบโดยใช้ทฤษฎีวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC)

1. ขั้นตอนการวางแผน (Planning Phase) 2. ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis Phase) 3. ขั้นตอนการออกแบบ (Design Phase) 4. ขั้นตอนการพฒันา (Implementation Phase)

ระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลยัราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิต ิ

ประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อระบบระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร

และแสดงผลในรูปแบบสามมติ ิ

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 5: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 474

1. ขั้นตอนการวางแผน (Planning Phase) ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์นักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ปัญหาที่พบส่วนใหญ่ คือ การมาติดต่อหาสถานที่ต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ส่วนมากจะไม่พบอาคารสถานท่ีเป้าหมาย เช่น อาคารเรียน อาคารที่ติดต่อราชการ เป็นต้น ปัญหาที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากป้ายบอกเส้นทางที่มีอยู่ไม่เพียงพอ หรือมีขนาดเล็กเกินไปในการมองเห็น และยังไม่มีทิศทางการบอกจากต้นทางไปยังไปปลายทางอีกด้วย ผู้พัฒนาระบบสารสนเทศจึงเล็งเห็นว่า การพัฒนาระบบสารสนเทศนี้สามารถช่วยลดหรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีการวางแผนด าเนินการวิจัย และก าหนดระยะเวลาส าหรับแต่ละขั้นตอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้

2. ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis Phase) ผู้วิจัยได้ศึกษาความต้องการจากผู้ใช้งานกับระบบงานเดิม โดยได้รวบรวมรายละเอียดทั้งหมดจากความต้องการจากผู้ใช้ หลังจากนั้นได้วิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยการก าหนดแผนภาพบริบท (Context Diagram) แผนภูมิล าดับของระบบงาน (Process hierarchy Chart) แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) และการออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) เพื่อวิเคราะห์ และจ าลองความเกี่ยวข้องของข้อมูลทั้งหมดในการพัฒนาระบบใหม่ในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชัน (Jammycray, 2008) รวมทั้งการสร้างแบบจ าลองภาพสามมิติ ที่พัฒนาโดยโปรแกรมออโตเดสก์ 3 ดีเอสแมกซ์ และโปรแกรมอะโดบี โฟโตชอป ช่วยในการสร้างแผนที่จ าลองภายในมหาวิทยาลัย

3. ขั้นตอนการออกแบบ (Design Phase) จากนั้นผู้วิจัยได้ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งานตามหลักการท างานท่ีได้ออกแบบไว้ โดยพิจารณาร่วมกันกับผู้ใช้งาน และได้เลือกชนิดฐานข้อมูลเป็นเอสคิวเอล ได้กล่าวว่ามายเอสคิวเอล จัดเป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (RDBMS: Relational Database Management System) ใช้งานร่วมกับ Web Development Platform ได้แก่ จาวา (Java), พีเอชพี และอื่นๆ (w3schools, 2016) ได้เป็นอย่างดี รวมทั้งการออกแบบจ าลองภาพสามมิติที่มีรายละเอียดตามที่ได้ออกแบบไว้ในขั้นตอนท่ี 2

4. ขั้นตอนการพัฒนา (Implementation Phase) เป็นขั้นตอนสุดท้ายของผู้วิจัย ผู้วิจัยได้พัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ ตามการวิเคราะห์และออกแบบระบบในขั้นตอนท่ี 2 และ 3 โดยเขียนโปรแกรมด้วยภาษาพีเอชพี (ทริว พานิชสมบัติ, 2552, หน้า 112-120) จัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ด้วยมายเอสควิเอล และการสร้างแบบจ าลองภาพสามมิติด้วยโปรแกรม ออโตเดสก์ 3 ดีเอสแมกซ์ และการสร้างแผนที่จ าลองภายในมหาวิทยาลัยด้วยโปรแกรมอะโดบีโฟโตชอป การวิเคราะห์ข้อมูล จากขั้นตอนการด าเนินงานดังกล่าว ผู้วิจัยสามารถวิ เคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ โดย มี 2 ข้ันตอนหลักๆ ดังนี้ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. โครงสร้างบริบท (Context Diagram)

ภาพที่ 2 โครงสร้างบริบท (Context Diagram)

การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลยัราชภฏัก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมติิ

การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบ

สามมิต ิ

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 6: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 475

2. การเขียนแผนผังความสัมพันธ์ของกระบวนการ (Process Hierarchy Chart)

ภาพที่ 3 การเขียนแผนผังความสมัพันธ์ของกระบวนการ (Process Hierarchy Chart) การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลยัราชภฏัก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมติิ

3. แผนภาพกระแสข้อมูล (Data flow Diagram)

ภาพที่ 4 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับ 1 (Data flow Diagram Level1) การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลยัราชภฏัก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมติิ

การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 7: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 476

4. การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design)

ตารางที่ 1 รายละเอียดตารางอาคาร

Attribute Type & Length

PK FK Ref table Description Validation Output format

building_id integer Y N รหัสอาคาร ตัวเลขไม่เกิน 2 ตัว

9(2)

building_numb varchar N N หมายเลขอาคาร

ตัวอักษรไมเ่กิน 2 ตัว

X(2)

building_name varchar N N ช่ืออาคาร ตัวอักษรไมเ่กิน 255 ตัว

X(255)

building_status char N N สถานะ ตัวอักษรไมเ่กิน 10 ตัว

X(10)

building_id_admin integer N Y tb_admin

รหัสผู้ดูแลระบบ

ตัวเลขไม่เกิน 2 ตัว

9(2)

building_id_building_3D

char N Y tb_building_3D

รหัสอาคาร 3D

ตัวอักษรไมเ่กิน 3 ตัว

X(3)

ตารางที่ 2 รายละเอียดตารางภาพอาคาร 3 มิติ

Attribute Type & Length

PK FK Ref table Description Validation Output format

building_3D_id integer Y N รหัสอาคาร 3D

ตัวเลขไม่เกิน 2 ตัว

9(2)

building_3D _images

varchar N N ช่ือรูปภาพ ตัวอักษรไมเ่กิน 255 ตัว

X(255)

building_3D _start varchar N N จุดเริม่ต้น ตัวอักษรไมเ่กิน 255 ตัว

X(255)

building_3D _id_building

integer N Y tb_building

รหัสอาคาร ตัวเลขไม่เกิน 2 ตัว

9(2)

ตารางที่ 3 รายละเอียดตารางเส้นทางการเดินทาง

Attribute Type & Length

PK FK Ref table Description Validation Output format

locate_id integer Y N รหัสเส้นทางการเดินทาง

ตัวเลขไม่เกิน 2 ตัว

9(2)

locate_start_name

varchar N N ช่ือจุดเริ่มต้นเส้นทาง

ตัวอักษรไมเ่กิน 255 ตัว

X(255)

locate_end_name

varchar N N ช่ือจุดสิ้นสดุเส้นทาง

ตัวอักษรไมเ่กิน 255 ตัว

X(255)

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 8: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 477

ตารางที่ 3 รายละเอียดตารางเส้นทางการเดินทาง (ต่อ)

Attribute Type & Length

PK FK Ref table Description Validation Output format

locate_detail text N N รายละเอียดเส้นทาง

ตัวอักษรไมเ่กิน 500 ตัว

X(500)

locate_date date N N วัน / เดือน / ปี

ตัวอักษรไมเ่กิน 10 ตัว

X(10)

locate_id_building

integer N Y tb_building

รหัสอาคาร ตัวเลขไม่เกิน 2 ตัว

9(2)

locate_id_admin

integer N Y tb_admin

รหัสผู้ดูแลระบบ

ตัวเลขไม่เกิน 2 ตัว

9(2)

ตารางที่ 4 รายละเอียดตารางผู้ดูแลระบบ

Attribute Type & Length

PK FK Ref table Description Validation Output format

admin_id integer Y N รหัสผู้ดูแลระบบ

ตัวเลขไม่เกิน 2 ตัว

9(2)

admin_username

varchar N N ช่ือเข้าใช้ระบบ

ตัวอักษรไมเ่กิน 6ตัว

X(6)

admin_password

varchar N N รหัสผ่าน ตัวอักษรไมเ่กิน 10 ตัว

X(10)

admin_name varchar N N ช่ือ ตัวอักษรไมเ่กิน 10 ตัว

X(10)

admin_lastname

varchar N N นามสกลุ ตัวอักษรไมเ่กิน 10 ตัว

X(10)

admin_address text N N ที่อยู่ ตัวอักษรไมเ่กิน 250 ตัว

X(250)

admin_tel varchar N N เบอร์โทร ตัวอักษรไมเ่กิน 16 ตัว

X(16)

admin_email varchar N N อีเมล ตัวอักษรไมเ่กิน 50 ตัว

X(50)

การสร้างภาพแบบจ าลองสามมิติ

การสร้างแบบจ าลองภาพสามมิติ พัฒนาโดยโปรแกรม Autodesk 3Ds Max และโปรแกรม Adobe Photoshop (Varsha. 2014) ช่วยในการสร้างแผนที่จ าลองภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ดังภาพที ่4

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 9: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 478

(ก) (ข)

ภาพที่ 5 ภาพจ าลองอาคารสามสมิติ (ก) และภาพถ่าย (ข)

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 10: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 479

ภาพที่ 6 แผนที่จ าลองอาคารสามสมิต ิสรุปผลการวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติในครั้งนี ้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิติ 2) เพื่อจ าลองเส้นทางการเดินทางและอาคารของมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร โดยภาพสามมิติ 3) เพื่ออ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการค้นหาเส้นทางการเดินทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรผ่านระบบได้ อีกทั้งผู้ดูแลระบบสามารถจัดการข้อมูลอาคารจัดการข้อมูลอาคารสามมิติ ค้นหาอาคารเป้าหมาย จัดการข้อมูลเส้นทางการเดินทาง และจัดการข้อมูลผู้ดูแลระบบได้อย่างเป็นระบบ

ภาพที่ 7 หน้าแรกของระบบค้นหาเส้นทางสถานท่ีภายในมหาวิทยาลัยราชภฏัก าแพงเพชร

และแสดงผลในรูปแบบสามมติ ิ

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 11: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 480

ภาพที่ 8 แผนที่ และรายละเอียดการเดินทางไปยังอาคารเปา้หมาย

ภาพที่ 9 หน้าจอการภาพรวมการท างานของผู้ดูแลระบบ

ภาพที่ 10 หน้าจอการบรหิารจดัการข้อมูลในส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ จากการพัฒนาระบบสารสนเทศตามที่ได้วิเคราะห์และออกแบบไว้ข้างต้น และตรงตามวัตถุประสงค์ของ

งานวิจัยนั่นคือ ผู้วิจัยจึงได้น าไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างจริง ซึ่งก าหนดให้ให้ผู้ใช้ค้นหาเส้นทางผ่านหมายเลข

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 12: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 481

อาคารหรือช่ืออาคารหรือเส้นทางการเดินทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร และระบบสามารถแสดงแผนที่ แสดงเส้นทางการเดินทางที่อยู่ในรูปแบบจ าลองอาคารในรูปแบบสามมิติ และได้ทราบถึงความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรแสดงผลในรูปแบบสามมิติโดยรวมของระบบสารสนเทศอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 และสามารถแยกผลการประเมินตามด้านดังนี้ 1) ด้านเนื้อหามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 2) ด้านการออกแบบมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 และ 3) ด้านประโยชน์และการน าไปใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 อภิปรายผลการวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศค้นหาเส้นทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรและแสดงผลในรูปแบบสามมิตินี้ ได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานของบุคลากร และนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ที่มีความพึงพอใจในการใช้งานระบบ ได้แก่ ในการค้นหาช่ืออาคารสถานที่จากเส้นทางต้นทางไปยังปลายทางอยูใ่นระดับดีมาก รวมทั้งระบบสารสนเทศนี้ยังแสดงภาพอยู่ในรูปแบบสามมิติที่แสดงถึงอาคารสถานที่ที่เป็นภาพเสมือนจริง ท าให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่เกิดความเข้าใจง่าย เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการค้นหามากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาความล่าช้าในการค้นหาเส้นทางในรูปแบบเดิม

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ งานวิจัยครั้งนี้ ได้วิเคราะห์และออกแบบระบบ ที่พัฒนาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ ในการค้นหา

อาคารสถานที่ และยังพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการกับผู้ใช้ให้มากที่สุด โดยน าเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการค้นหาเส้นทาง สถานท่ีภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ทีแ่สดงผลอาคารสถานที่ต่างๆ ในรูปแบบสามมิติ จึงท าให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจง่าย และเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วทุกที่ที่ต้องการผ่านเทคโนโลยี Web Application ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น ดังนั้นผู้ที่สนใจจึงสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือศึกษาการท างานเพื่อให้ได้ระบบที่ตอบสนองความต้องการ และสอดคล้องกับงานตนเองใหม้ากที่สุด

ข้อเสนอแนะในการวิจัยคร้ังต่อไป ระบบสารสนเทศท่ีถูกพัฒนาขึ้นในครั้งนี้ ยังไม่สามารถระบุต าแหน่งในแผนที่ที่ต้องการได้ทันที รวมถึงการค านวณระยะทางจากจุดต้นทางไปยังปลายทางได้ และระบบยังไม่สามารถประมวลผลการน าทางในรูปแบบ Real Time ได้

เอกสารอ้างอิง

จีระสิทธ์ิ อ้ึงรัตนวงศ์. (2553). Q&A 108 สูตรส าเร็จ PHP. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน. ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2546). เทคนิคการใช้สถิติเพ่ือการวิจัย (พิมพ์ครั้งท่ี 12). กรุงเทพฯ : ไทเนรมติกิจ อินเตอร-์

โปรเกรสซิฟ. ทริว พานิชสมบัติ. (2552). รวมเด็ดเคล็ดลับ 101 Tips & Tricks PHP. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน. บัญชา ปะสลีะเตสัง. (2553). พัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นด้วย PHP ร่วมกับ MySQL และ Dreamweaver.

กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน. บุญชม ศรีสะอาด. (2541). วิธีการทางสถิติส าหรับการวิจยั เลม่ 1 (พิมพ์ครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาพ้ืนฐานของ

การศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ บุญเรือง เกิดอรุณเดช. (2550). การใช้ฐานข้อมูล UpToDate, เอกสารประกอบการสอนการวิเคราะห์และ

ออกแบบระบบ. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. ภาณุพงษ์ ปัตตสิิงห์. (2556). คู่มือการใช้โปรแกรม 3ds max 2013. กรุงเทพฯ : เดอะ ไลบรารี พับบลิชิง. Dennise, A., Wixom, B.H., & Roth, R.M. (2010). System analysis and design (4th ed.). Singapore : John Wiley & Sons. Jammycray. (2008). เรียนรู้การออกแบบเว็บเบ้ืองต้น. [Online]. Available: http://www.youtube.com

/watch?v=9PFpjdpNmbY [2558, เมษายน 10].

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 13: 1 2 Haruthai Thammata Yutitham Parama Univercity · โฟโตชอป 3.2 การสร้างเว็บแอปพลิเคชัน ด้วยภาษาโปรแกรมพีเอชพี

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ครัง้ที่ 3 (ฉบับท่ี 1) 482

w3schools. (2016). SQL Tutorial. (n.d.). [Online]. Available: http://www.w3schools.com/sql [2558, เมษายน 10]. Varsha. (2014). การใช้โปรแกรมกราฟิก. [Online]. Available: http://www.slideserve.com/Varsha /3174348 [2558, เมษายน 10]. Yamane, Taro. (1967). Statistics: An Introductory Analysis (2nd ed.). New York : Harper and Row.

The 3

rd Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence