1 ตัวแปรพื้นฐานของ quantum mechanics

28
Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-1 Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009 1ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics เนื้อหา 1.1 ธรรมชาติของอะตอม 1.2 สถานะของระบบ 1.3 Probability Amplitude 1.4 Probability (ความนาจะเปน) and Probability Amplitude 1.5 Example: Electron ในกลอง 1.6 Example: การทดลองของ Stern-Gerlach 1.7 การทดลองของ Stern-Gerlach ในรูปแบบตางๆ 1.8 คณิตศาสตรของ bra และ ket 1.9 ปญหาทายบท 1.1 ธรรมชาติของอะตอม "quantum mechanics" เปนทฤษฏีทางฟสิกสที่อธิบายพฤติกรรมของสสารที่มีขนาดเล็กในระดับ อะตอม สิ่งตางๆที่มีขนาดเล็กเชนนีมีคุณสมบัติและพฤติกรรมที่แตกตางจากสิ่งที่เราพบเห็นใน ชีวิตประจําวันอยางสิ้นเชิง วัตถุขนาดจิ๋วดังกลาว จะจัดใหอยูในประเภทของอนุภาคก็ไมได อีกทั้ง ยังไมมีสมบัติเปนคลื่นเสียเลยทีเดียว พฤติกรรมของมัน แตกตางไปจากกลุมหมอกในอากาศ ลูก บอล สปริง หรืออะไรก็ตามแตที่เราเคยไดศึกษามาแลวในวิชากลศาสตรของ Newton ภาพของเม็ดเลือดแดงจากกลอง electron microscope ที่เรียกวา SEM โดยปรกติแลวกลองจุลทรรศนที่เราคุนเคย อาศัยสมบัติ ความเปนคลื่นของแสงที่หักเหผานเลนสและทําใหมาเห็นวัตถุที่มี ขนาดเล็ก แตการที่นักวิทยาศาสตรสามารถนําอิเล็กตรอนมา ประยุกตใชเปนกลองจุลทรรศน แสดงใหเห็นชัดเจนถึงสมบัติ ความเปนคลื่นของอิเล็กตรอน (ภาพจาก National Cancer Institute)

Upload: adinan-jehsu

Post on 20-Mar-2016

224 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น [email protected] Draft Oct 2009

TRANSCRIPT

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-1

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

1ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics เน้ือหา 1.1 ธรรมชาติของอะตอม 1.2 สถานะของระบบ 1.3 Probability Amplitude 1.4 Probability (ความนาจะเปน) and Probability Amplitude 1.5 Example: Electron ในกลอง 1.6 Example: การทดลองของ Stern-Gerlach 1.7 การทดลองของ Stern-Gerlach ในรูปแบบตางๆ 1.8 คณิตศาสตรของ bra และ ket 1.9 ปญหาทายบท

1.1 ธรรมชาติของอะตอม "quantum mechanics" เปนทฤษฏีทางฟสิกสที่อธิบายพฤติกรรมของสสารที่มีขนาดเล็กในระดับอะตอม ส่ิงตางๆที่มีขนาดเล็กเชนน้ี มีคุณสมบัติและพฤติกรรมที่แตกตางจากสิ่งที่เราพบเห็นในชีวิตประจาํวันอยางสิ้นเชิง วัตถุขนาดจิ๋วดังกลาว จะจัดใหอยูในประเภทของอนุภาคก็ไมได อีกทั้งยังไมมีสมบัติเปนคล่ืนเสียเลยทีเดียว พฤติกรรมของมัน แตกตางไปจากกลุมหมอกในอากาศ ลูกบอล สปริง หรืออะไรก็ตามแตที่เราเคยไดศึกษามาแลวในวิชากลศาสตรของ Newton

ภาพของเม็ดเลือดแดงจากกลอง electron microscope ท่ีเรียกวา SEM โดยปรกติแลวกลองจุลทรรศนที่เราคุนเคย อาศัยสมบัติความเปนคลื่นของแสงที่หักเหผานเลนสและทาํใหมาเห็นวัตถุที่มีขนาดเล็ก แตการที่นักวิทยาศาสตรสามารถนําอิเล็กตรอนมาประยุกตใชเปนกลองจุลทรรศน แสดงใหเห็นชัดเจนถึงสมบัติความเปนคลื่นของอิเล็กตรอน (ภาพจาก National Cancer Institute)

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-2

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

อิเล็กตรอนที่เราเคยคิดวามันเปนอนุภาคนั้น แทจริงแลวในหลายๆสถานการณ มันก็มีสมบัติคลายๆกับคลื่น การที่ส่ิงที่มีขนาดเล็กๆเชนน้ี มีคุณสมบัติที่เปนทั้งคลื่นและอนุภาคในขณะเดียวกัน ไดสรางความสงสัยใหกับนักฟสิกสในยุคน้ันอยางมาก ขอมูลตางๆทีเ่กี่ยวของกับพฤติกรรมของอะตอม และสิ่งตางๆที่มีขนาดเล็กระดับอะตอม ไดถูกสะสมมาอยางตอเน่ือง เพราะการทุมเทศึกษาของนักวิทยาศาสตรในชวงกลางศตวรรษ การศึกษาขอมูลเหลาน้ี ไดเผยใหเห็นความแปลกประหลาดในเชิงฟสิกสของสิ่งที่มีขนาดเล็กๆ ตอมาในชวงป ค.ศ. 1926 และ ค.ศ. 1927 นักฟสิกส 3 ทานคือ Schrödinger, Heisenberg, และ Born ก็สามารถรวบรวมพฤติกรรมเหลาน้ี ใหเปนทฤษฎีที่เกี่ยวของกับสมบัติของอะตอม และในบทที่ 1 น้ี เราจะมากลาวถึงประเด็นหลักๆของทฤษฎีที่นักฟสิกสทั้ง 3 ทานนี้ ไดคนพบ

1.2 สถานะของระบบ กอนที่เราจะมากลาวถึงการนํา quantum mechanics มาอธิบายปรากฏการณตางๆในทางฟสิกสน้ัน เราจะตองทาํความรูจักกับคํานิยาม และสัญลักษณเบื้องตนกันเสียกอน ซ่ึงถึงแมคํานิยามตางๆเหลาน้ี จะไมใชสาระสาํคัญอันเปนแกนของ quantum mechanics เสียเลยทีเดียว แตก็ยังเปนเครื่องมือท่ีใชในการถายทอดเน้ือหา ท้ังน้ีเพ่ือใหเปนหลักสากลในการสื่อสาร ระหวางผูเขียน ผูอาน และผูที่สนใจศึกษาในวิชาแขนงนี้ เมื่อเรามาวิเคราะหถึงระบบที่เราตองการท่ีจะศึกษาโดยทั่วไปนั้น ไมวาจะเปนอิเล็กตรอนที่อยูภายในอะตอม หรือแมกระทั่งการทอดลูกเตา เราจะตองมีวิธีที่จะอธิบายสถานะของระบบนั้นๆ ตามระเบียบวิธีของ quantum mechanics เราใชสัญลักษณ ที่เรียกวา ket ซ่ึงเปนสัญลักษณที่ใชแทนสถานะของระบบที่เราตองการศึกษา ยกตัวอยางของการทอดลูกเตา ซ่ึงหลังจากการโยนแตละคร้ัง ระบบจะมีสถานะที่เปนไปไดอยูทั้งส้ิน 6 กรณี ดังในภาพ 1.1

ภาพ 1.1 แสดงถึงการนําสัญลักษณ ket มาแสดงถึงสถานะของระบบ ในกรณีน้ี สถานะของลูกเตาที่เกิดข้ึนได ภายหลังจากการทอดหน่ึงคร้ัง มีทั้งส้ินได 6 หนาดวยกัน

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-3

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

หรืออีกตัวอยางหนึ่ง ถาเรากําลังพิจารณาเกรดของนักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชา Quantum I อยูขณะนี้ จะไดวา สถานะของระบบที่อาจจะเปนไปได หลังจากสิ้นสุดภาคการศึกษา มีอยูทั้งส้ิน 8 กรณี กลาวคือ ABDDF ,,,,, ++ …

1.3 Probability Amplitude นอกเหนือไปจากการใช ket มาเปนคาํนิยามของสถานะในทาง quantum mechanics แลวน้ัน probability amplitude ถือไดวาเปนคํานิยามอีกอันหนึ่ง ที่มีความสําคญัเปนอยางยิ่งในการทําความเขาใจกับ quantum mechanics ซ่ึงเราจะตองมาทาํความเขาใจในรายละเอียด และยกตัวอยางที่เปนรูปธรรม ในลําดับตอไป การศึกษาวิชาฟสิกสเบื้องตนในหลายๆแขนง อาทิ ไฟฟาสถิต กลศาสตรของนิวตัน หรือทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษของไอนสไตนน้ัน ทฤษฎีเหลาน้ีลวนแลวแตมีตัวแปรพ้ืนฐานที่เปนปริมาณซึ่งบงบอกสถานะของระบบนั้นๆ ยกตัวอยางเชน กลศาสตรของนิวตันอาศัยตัวแปรพ้ืนฐานคือ ตาํแหนง และ โมเมนตัม ในการบงบอกถึงสถานะการเคลื่อนที่ของอนุภาคใดๆ หรือ ในเน้ือหาของวิชาไฟฟาสถิตที่อาศัย "ศักยไฟฟา" ซ่ึงมีหนวยเปน Volt เปนตัวแปรพ้ืนฐานของระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในเชิงไฟฟาสถิตน้ัน ถาเราทราบ "ศักยไฟฟา" ณ ตําแหนงใดๆ ซ่ึงมีสัญลักษณที่ใชทั่วไปคือ ( )rϕ เราก็สามารถคํานวณหาปริมาณอื่นๆทางฟสิกสเชน สนามไฟฟา E หรือ แมกระทั่งการกระจายตัวของประจุ )(rρ ไดจากสมการ (1.1) และ สมการ (1.2) ตามลําดับ

( )rϕ= −∇E _________________________ สมการ (1.1) 2 ( )( ) rr ρϕ

ε∇ = − _________________________ สมการ (1.2)

ถาเราวกกลับมาที่ quantum mechanics และถามวา "ตัวแปรพ้ืนฐานที่บงบอกถึงสถานะของระบบน้ัน คืออะไร?" คําตอบก็คือ "probability amplitude" ตามระเบียบวิธีของ quantum mechanics น้ัน เราใชตัวเลขหน่ึงตัว ที่เรียกวา probability amplitude ในการแสดงความสัมพันธระหวางเหตุการณสองเหตุการณ หรือ สถานะสองสถานะ ยกตัวอยางเชน ถาเรากาํหนดให student เปนสถานะของนักศึกษาที่กําลังเขาเรียนในวิชา Quantum Mechanics I ในขณะน้ี และ F เปนสถานะที่นักศึกษาไดเกรด F หลังจากการสิ้นสุดภาคการศึกษา เราสามารถเขียนความสัมพันธของสถานะสองอันน้ี ไดวา

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-4

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

probability amplitude ที่นักศึกษาจะไมผานวิชาน้ี studentF=

ใหสังเกตการใชสัญลักษณ ซ่ึงเรียกวา bra-ket ในการแสดงความสัมพันธดังกลาว โดยที่การอาน จะอานจากขวาไปซายตามลาํดับ กฎพ้ืนฐานของ quantum mechanics ก็คือ เราสามารถประเมินคาความสัมพันธของสถานะสองสถานะออกมาเปนตัวเลข ซ่ึงตัวเลขอันน้ี เรียกวา probability amplitude น่ันเอง ยกตัวอยางเชน

iD

iA

F

2.04.0Student Physics

001.0001.0StudentEngineer

5.0StudentEngineer

−=

+=

=

จากตัวอยางขางตนที่แสดง probability amplitude ของนักศึกษาจากคณะตางๆ ที่จะไดเกรดตางๆกัน จะสังเกตวา ตัวเลขดังกลาว มิไดจํากัดอยูแตเพียงเลขจํานวนจริง หากแตเปนตัวเลขจํานวนเชิงซอน ซ่ึงประกอบดวยสวนที่เปนจํานวนจริง และ สวนที่เปนจํานวนจินตภาพ มาถึงจุดน้ี เราไดทราบความหมายคราวๆ ของ probability amplitude ซ่ึงก็คือตัวเลขที่แสดงความสัมพันธระหวางสถานะสองสถานะ ตลอดจนสัญลักษณที่ใช ตามระเบียบวิธีของ quantum mechanics หากแตเรายังขาดประเด็นที่สําคัญอันหนึ่งก็คือ ความหมายที่เปนรูปธรรมของตัวเลขดังกลาวน้ีคืออะไร ? เน่ืองจาก probability amplitude เปนจํานวนเชิงซอน เราไมอาจท่ีจะตีความหมายของตัวเลขอันน้ี ไปเกี่ยวของกับปริมาณทางฟสิกสไดโดยตรง เพราะปริมาณหรือหนวยวัดที่เปนรูปธรรมนั้น เปนจํานวนจริง เชน มวล 10 กิโลกรัม ระยะทาง 2 กิโลเมตร หรือ เงิน 1 บาท คําตอบก็คือ probability amplitude ไมมีความหมายโดยตรง หากแตมีความเก่ียวของกับความนาจะเปน (probability) ตามระเบียบวิธีทาง quantum mechanics ทุกครั้งที่เราเห็นเครื่องหมาย B A ซ่ึงเรียกวา bra-ket นักศึกษาตองตีความวามันเปนเพียงตัวเลขหนึ่งตัว ที่แสดงความสัมพันธระหวาง 2 สถานะ: ket A และ ket B จะสังเกตเห็นวา ภายในเครื่องหมาย bra-ket B A มีองคประกอบอยูสองสวนคือ

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-5

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

1) สถานะที่ปรากฏอยูทางขวาของเครื่องหมาย bra-ket B A ซ่ึงในที่น้ีก็คือ A จากตัวอยางที่ผานมา ไมวาจะเปนเกรดของนักศึกษา หรือ การโยนลูกเตา เมื่อสถานะ ket ใดๆ ปรากฏอยูทางขวา มันมีความหมายเปนสถานะตั้งตน หรือ สมมติฐานตั้งตน 2) สถานะที่ปรากฏอยูทางซายของเครื่องหมาย bra-ket B A ซ่ึงในที่น้ีก็คือ B และเมื่อสถานะ ket ใดๆ ปรากฏอยูทางซาย มันมีสถานะภาพเปน ผลที่จะตามมา หรือเหตุการณที่สืบเนื่องถาสมมุติฐานในขอแรกนั้นเปนจริง ยกตัวอยางเชน Engineer StudentA สมมุติวามีนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร มี probability amplitude เทาใด ที่เขาจะไดเกรด A 4 Even Number สมมุติวามีเลขจํานวนคู มี probability amplitude เทาใด ท่ีมันจะเปนเลข 4 v 1m s 2 mx= = สมมุติวาเราพบอนุภาค ณ ตําแหนง 2 เมตรจากจุดกําเนิด มี probability amplitude เทาใด ที่มันจะมีความเร็ว 1m s Engineer Student A สมมุติวามีนักศึกษาไดเกรด A มี probability amplitude เทาใด ที่เขาจะอยูในคณะวิศว. โดยที่ขอสังเกตทั้งสองขอขางตน สามารถสรุปโดยสังเขปไดวา ถาเราสรางสมมุติฐานตั้งตนวามีสถานะ ket A เกิดขึ้น มี probability amplitude เทาใด ที่สถานะ ket B จะเกิดข้ึนตามมา __________________ สมการ (1.3) เพราะฉะนั้น สถานะ ket B เมื่อเขาไปมีความสัมพันธกับสถานะอื่นๆอยูภายในเครื่องหมาย bra-ket B A จะเขียนใหอยูในรูปที่เรียกวา "bra" หรือในเชิงสัญลักษณวา B ทั้งน้ี ขอแตกตางระหวางสถานะ ket B และ สถานะ bra B เปนเพียงขอแตกตางของการตีความในแงลําดับกอนหลังของความสัมพันธในสมการ (1.3)

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-6

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ในแงคณิตศาสตร สถานะ ket B และ สถานะ bra B มีขอแตกตางกันเล็กนอยดังจะไดกลาวถึงในลําดับตอไป โดยสรุปแลวก็คือ ทุกๆครั้งที่ bra มาเจอกับ ket จะเกิดเปนตัวเลขจํานวนเชิงซอน ซ่ึงหมายถึง probability amplitude น่ันเอง

1.4 Probability (ความนาจะเปน) and Probability Amplitude ตามกฎของ quantum mechanics น้ัน เราสามารถคํานวณความนาจะเปน (probability) ไดจาก

2probability probability amplitude = _______________ สมการ (1.4) สมมุติวาเราไดโยนลูกเตาขึ้นไปในอากาศ ในขณะที่ลอยตัวอยูในอากาศนั้น เราแทนสถานะของลูกเตาดวยสัญลักษณ ϕ ซ่ึงสถานะดังกลาวน้ียังไมใชหนาใดหนาหน่ึงของลูกเตาเสียเลยทีเดียว เน่ืองจากมันยังไมตกและยังไมหยุดน่ิงอยูบนพ้ืน ตามระเบียบวิธีในทาง quantum mechanics น้ัน

ความนาจะเปนที่ลูกเตาจะออกมาเปนเลขหน่ึง 21ϕ= __________ สมการ (1.5)

หรือเราอาจจะใชตัวอยางที่สองในเรื่องของเกรดของนักศึกษา โดยท่ีกําหนดใหสถานะของนักศึกษา ในระหวางที่มีการเรียนการสอนนั้น เปนสถานะ φ จากน้ัน เมื่อถึงเวลาสิ้นสุดภาคการศึกษา

ความนาจะเปนที่นักศึกษาคนนี้จะไดเกรด F 2φF= ________ สมการ (1.6)

จะเห็นไดวา คํานิยามของความนาจะเปน ตามระเบียบวิธีของ quantum mechanics ดังสมการ (1.5) และ สมการ (1.6) น้ัน มีขอสังเกตอยู 3 ประการดังน้ี 1. การแปลความหมายตามสญัลักษณในสมการ (1.5) และ สมการ (1.6) เราจะอานจากขวาไปซาย กลาวคือ ระบบเริ่มอยูในสถานะ ϕ ในขณะที่ลอยอยูในอากาศ จากน้ัน เราตั้งคําถามวา จะมีโอกาสเทาไหร ท่ีลูกเตาจะหงายหนาหมายเลขหนึ่ง 2. ความนาจะเปน คํานวณไดจาก absolute value ยกกําลังสองของ ϕ1 (ในกรณีของตัวอยางที่หน่ึง) ตัวเลขที่แทนดวยสัญลักษณ ϕ1 เราเรียกวา probability amplitude ซ่ึงเปนตัวเลขที่ quantum mechanics ใชในการบงบอกถึงความสัมพันธระหวางสถานะ 2 สถานะใดๆ ดังจะเห็นไดจากตัวอยางทีห่น่ึง จะไดวา ϕ1 เปน probability amplitude ที่แสดงความสัมพันธระหวาง

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-7

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

“สถานะของลูกเตาขณะลอยอยูในอากาศ” และ “สถานะของลูกเตาเมื่อตกลงมาหยุดน่ิงกับพ้ืนแลวหงายออกหนาที่หน่ึง” 3. probability amplitude น้ัน ไมใชเปนเพียงเลขจํานวนจริง หากแตเปนจํานวนเชิงซอน (complex number) ที่ประกอบดวยทั้งเลขจํานวนจริง และ จาํนวนจนิตภาพ

1.5 Example: Electron ในกลอง เพ่ือใหนักศึกษาไดมีความคุนเคยกับระเบียบวิธีของ quantum mechanics และ คาํนิยามที่เก่ียวของกับ state, probability amplitude, และ probability ดังที่ไดกลาวมาแลวในขางตน และ ใหนักศึกษาสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาของ quantum mechanics ในระดับบัณฑิตศึกษาในครั้งน้ี เขาไปกับเนื้อหาของ quantum mechanics เบื้องตนในระดับปริญญาตรี เรามาวิเคราะหดูตัวอยางของระบบอยางงายๆ กลาวคือ อิเล็กตรอนในกลอง

0=x dx =

อิเลคตรอน มวล m

0=x dx =

∞=V ∞=V

(a) (b)

0=x dx =

อิเลคตรอน มวล m

0=x dx =

∞=V ∞=V

(a) (b) ภาพ 1.2 a) ระบบที่ประกอบดวยอิเล็กตรอนมวล m ซ่ึงถูกขังอยูภายในกลองขนาดความยาว d และ b) model ที่ใชในการศึกษา โดยใหพลังงานศักย ( )V x มีคาเปนอนันต ณ บริเวณภายนอกของกลอง ซ่ึงสามารถ plot graph ของ ( )V x ไดดังภาพ ดังภาพ 1.2a ถาเราตองการศึกษาพฤติกรรมของอิเล็กตรอนที่ถูกขังอยูภายในกลอง โดยใช quantum mechanics เราสามารถที่จะ model ระบบดังกลาวน้ีโดยจําลองวามีอนุภาคมวล m ซ่ึงอยูภายในบอพลังงานศักย ท่ีมีขอบบอสูงเปนอนันต และมีความกวางของบอเปนระยะ d โดยที่มวลอันน้ีเคลื่อนที่จํากัดอยูแตเพียง 1 มิติเทาน้ัน ดังที่เห็นในภาพ 1.2b จาก Section 1.2 ที่เราไดกลาวถึงสถานะของระบบ เราอาจจะแสดงสถานะของอิเล็กตรอนอันน้ีดวยสัญลักษณ ket ดังตอไปน้ี

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-8

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ให Ψ แทนสถานะของอิเล็กตรอนในระบบ ________________ สมการ (1.7)

ซ่ึงคําวา "สถานะ" เปนคําทีมี่ความหมายกวางๆ ที่อาจจะรวมไปถึงคุณสมบัติทางฟสิกสในหลายๆประเด็น ไมวาจะเปน ตาํแหนง โมเมนตัม พลังงาน หรือ อื่นๆ สมมุติวา เราตองการที่จะวิเคราะหระบบ ในประเด็นที่เกี่ยวกับ ตําแหนงของอิเล็กตรอน

ให x แทนสถานะของอิเล็กตรอนที่อยู ณ ตําแหนง x ใดๆ ___________ สมการ (1.8) จากนั้นเราตั้งคําถามวา "อิเล็กตรอนภายในระบบนั้น มี probability amplitude เทาใด ที่มันจะอยู ณ ตําแหนง x ?" คําตอบก็คือ Ψx เราจะเห็นวา probability amplitude ซ่ึงเปนตัวเลขจาํนวนเชิงซอนอันน้ี ยอมมีคาเปลี่ยนแปลงไปตามตําแหนง x ที่เรากําลังพิจารณาอยู ยกตัวอยางเชน มันอาจจะมีคาเปน 1.23 ที่ตําแหนงตรงกลางของกลอง (x=d/2) และ มีคาเปน 3.21+1.23i ณ ตําแหนงคอนมาทางซาย (x=d/3) เปนตน การที่ probability amplitude มีคาแปรผันกับ x น้ัน เราเรียกอีกอยางหนึ่งในทางคณิตศาสตรวา มันเปนฟงชันกของ x หรือ

)(xx ψ=Ψ ___________________________ สมการ (1.9) เทอมทางขวามือของสมการ (1.9) น้ัน เปนที่รูจักกันดีในกลุมผูที่เรียน quantum mechanics เบื้องตน วาก็คือ wave function น่ันเอง

)(xψ หรือที่เรียกกันวา wave function ก็คือ probability amplitude ที่จะพบอิเล็กตรอน (หรืออนุภาคที่เรากําลังพิจารณา) ณ ตําแหนง x น่ันเอง ขอควรระวัง นักศึกษาไมควรสับสนระหวาง probability และ probability amplitude ในขณะที่ probability หรือ ความนาจะเปนน้ัน เปนปริมาณที่เปนรูปธรรมและมีความหมายชัดเจนในทางฟสิกส หากแต probability amplitude เปนตัวเลขจํานวนเชิงซอนที่โดยตัวมันเองแลว ไมมีความหมาย เมื่อกลาวถึง wave function ในวิชา quantum mechanics ในระดับปริญญาตรีน้ัน นักศึกษาจะคุนเคยกับการใชสมการ Time-Independent Schrödinger เพ่ือใชในการหา wave function โดยที่ใน

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-9

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ตัวอยางครั้งน้ี เราจะเพียงยกเอาตวัสมการข้ึนมาใช เพียงเพ่ือเปนการทบทวนเทาน้ัน และจะกลาวถงึรายละเอียดของสมการ Schrödinger ในบทอื่นๆ ในโอกาสตอไป สมการ Time-Independent Schrödinger น้ันไดกลาวถึงความสัมพันธระหวาง wave function และ พลังงานของระบบที่มีหน่ึงอนุภาคใน 3 มิติ วาดังน้ี

)(E)()()(2

22

rrrVrm

ψψψ =+∇− _________________ สมการ (1.10)

ขอสังเกต ตามหลักที่ถูกตองแลว สมการ Schrödinger หรือ wave function ที่กลาวไวในสมการ (1.9) ก็ดี มีสวนที่ขึ้นกับเวลา หรืออีกนัยหน่ึง wave function น้ัน เปนฟงชันกของเวลาดวย แตในบทที่ 1 น้ี ผูเขียนตองการที่จะเนนในการสื่อความหมายในแงของ state จึงเลี่ยงที่จะกลาวถึงความสัมพันธในแงของเวลาในคราวนี้ ซ่ึงเมื่อเรานําสมการดังกลาวน้ี มาประยุกตใชกับตัวอยางใน 1 มิติ ดังท่ีไดเสนอไวในขางตน สมการ (1.10) จะลดรูปใหงายข้ึนดังน้ี

)(E)(2 2

22

xxxm

ψψ =∂∂

− _________________ สมการ (1.11)

0)()0( == dψψ _________________ สมการ (1.12) สมการ (1.11) ผนวกกับเงื่อนไขขอบเขต ( ฺboundary condition) ในสมการ (1.12) ทําใหเราสามารถเขียน wave function ใหอยูในรูป

( ) sin( )x A kxψ = _________________ สมการ (1.13) แบบฝกหัด 1.1 boundary condition ในสมการ (1.12) น้ันเปนสมการทางคณิตศาสตร จงใหเหตุผลในทางฟสิกสวาเพราะอะไร เราจึงสามารถบอกไดวา wave function ณ บริเวณขอบของกลองทางซายและทางขวามีคาเปนศูนย ? โดยที่ A และ k น้ันเปนคาคงที่ ซ่ึงถาหากเราสนใจที่จะใหสมการ (1.11) เปนจริงแตเพียงอยางเดียวน้ัน A และ k ยอมมีคาเปนอะไรก็ได แตดวย boundary condition ที่ไดกลาวมาแลวในสมการ (1.12) และ แบบฝกหัด 1.1 คาของ k จะจํากัดอยูแตในรูปของ

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-10

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

dnk π

= ________________________ สมการ (1.14)

เมื่อ n เปนเลขจํานวนเต็ม 1,2,3,… สวนคาคงที่ A น้ัน เราสามารถหาไดจากวิเคราะหความสัมพันธระหวาง wave function และ ความนาจะเปน ดังตอไปนี้ จากคาํนิยามใน Section 1.4 จะไดวา

dxxdxx 22)(ψ=Ψ ________________________ สมการ (1.15)

คือความนาจะเปนที่จะพบอิเล็กตรอนอยูในระหวางตําแหนง x และ x dx+ จะสังเกตวาความนาจะเปนดังในสมการขางตน มีความแตกตางจากความนาจะเปนดังนิยามใน Section 1.4 อยูเล็กนอย

ในแงที่วา สมการขางตนมีการคูณดวยปริมาณ dx เพราะฉะนั้น เทอม 2( )xψ จึงไมใชความนาจะเปนเสียเลยทีเดียว หากแตเปน "ความนาจะเปนตอหน่ึงหนวยความยาว" หรือ probability density ขอแตกตางดังกลาวน้ีมีตนเหตุเน่ืองมาจาก ระบบทางฟสิกสที่ไดแสดงเปนตัวอยาง อาทิเชน การโยนลูกเตา หรือ เกรดของนักศึกษาทีเ่รียนวิชา Quantum I ลวนแตเปนระบบที่มีสถานะแบบไมตอเน่ือง และมีจาํนวนสถานะท่ีเปนไปไดอยูจํานวนจํากัด ยกตัวอยางเชน ลูกเตามีได 6 หนา หรือ เกรดมีได 8 ระดับ แตทวา สถานะของอิเล็กตรอนในกลองดังในสมการ (1.9) ที่เรากําลังวิเคราะหอยูน้ี เปนสถานะที่ตอเน่ือง และมีจาํนวนสถานะที่เปนไปได มีจํานวนเปนอนันต ดวยเหตุน้ี ในกรณีดังกลาว

เราจะตองเขียนความนาจะเปนใหอยูในรูปผลคูณระหวาง 2( )xψ และ dx ดังในสมการ (1.15) เพราะฉะนั้น ความนาจะเปนทั้งหมดที่จะพบอิเล็กตรอนอยูภายในระบบ สามารถเขียนใหอยูในรูปของ integral ไดดังน้ี

1)( 2 =∫+∞

∞−

xdxψ ________________________ สมการ (1.16)

การที่ทางขวามือของสมการ (1.16) มีคาเปน 1 น้ันก็หมายถึง มีโอกาส 100% ที่เราจะพบอิเล็กตรอนอยู ณ ที่ใดก็ไดสักแหงในระบบ ซ่ึงสมการ (1.16) น้ัน เรียกอีกอยางหน่ึงวา normalization condition น่ันเอง จากสมการ (1.13)-(1.16) จะไดวา

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-11

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

)sin(2)(dxn

dxn πψ = _________________ สมการ (1.17)

จะเห็นวาในทางคณิตศาสตรแลว wave function ในสมการ (1.17) ที่ทําให สมการ (1.11) และ สมการ (1.12) เปนจริงน้ัน มีมากกวาหน่ึงฟงกชัน ดังที่ไดใชดัชนี n เปนตัวกํากับ ในทางฟสิกสแลว เราสามารถแปลความไดวา อิเลก็ตรอนที่อยูภายในกลองดังกลาวน้ี มีอยูไดหลายสถานะดวยกัน ดังแสดงเปนตัวอยางในภาพ 1.3a

x0=x dx =

)sin(2)(dxn

dxn πψ =

1=n2=n3=n

x0=x dx =

)(sin2)( 22

dxn

dxn πψ =

)(a )(b

x0=x dx =

)sin(2)(dxn

dxn πψ =

1=n2=n3=n

x0=x dx =

)(sin2)( 22

dxn

dxn πψ =

)(a )(b

ภาพ 1.3a แสดง wave function โดยยกตัวอยางมา 3 สถานะดวยกัน อยางไรก็ตาม wave function เปนคํานิยามในทาง quantum mechanics ที่ไมมีความหมายไปเปรียบเทียบกับปริมาณทางฟสิกสไดโดยตรง 1.3b แสดง การกระจายตัวของความนาจะเปนของอิเล็กตรอน ในสถานะตางๆกัน แบบฝกหัด 1.2 ถาเราแบงกลองในหน่ึงมิติดังแสดงในภาพ 1.2 ออกเปน 4 ชอง เทาๆกัน จงหาความนาจะเปนที่จะพบอิเล็กตรอนภายในบริเวณชองแรก ความนาจะเปนดังกลาวน้ี ขึ้นอยูกับสถานะของอิเล็กตรอนตามสมการ (1.17) หรือไม อยางไร จากเนื้อหาที่ไดกลาวมาแลวในขางตน นักศึกษาจะสังเกตเห็นวาเราสามารถที่จะเชื่อมโยงคํานิยามอยางเชน state และ probability amplitude มาประยุกตใชกับ wave function ที่เราคุนเคยในวิชา quantum mechanics ระดับปริญญาตรี หากแตวาการศึกษา quantum mechanics โดยใช wave function น้ัน มีขอจํากัดอยูมากทีเดียวกับการนํามาประยุกตใชกับปรากฏการณทางฟสิกสในระดับอะตอม ยกตัวอยางเชน spin ซึ่งเปนปริมาณทางฟสิกสท่ีมีคาไมตอเน่ือง ซ่ึงตางออกไปจากปริมาณทางฟสิกสที่มีความตอเน่ืองเชน พิกัดและโมเมนตัม

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-12

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ดังน้ันในตัวอยางที่จะกลาวถึงในหัวขอตอไปนั้น เปนการทดลองของ O. Stern และ W. Gerlach ในป ค.ศ. 1922 ที่เกี่ยวเนื่องกับ spin ของอะตอม โดยที่ตัวอยางช้ินน้ีจะแสดงใหเห็นถึงความสาํคัญและความสะดวกของการศึกษา quantum mechanics โดยใช state และ probability amplitude เปนหลัก

1.6 Example: การทดลองของ Stern-Gerlach

การหยิบยกเอาการทดลองชิ้นน้ีเขามาศึกษา ก็เพ่ือเปนประโยชนใน 3 ประเด็นดวยกันคือ 1) เพ่ือทําใหนักศึกษาคุนเคยกับระเบียบวิธีเบ้ืองตนของ quantum mechanics ดังที่กลาวไวขางตน โดยใชตัวอยางจริงของการทดลองทางฟสิกส 2) เพ่ือใชผลการทดลอง ในการแสดงใหเห็นถึงความแตกตางของ quantum mechanics เมื่อเปรียบเทียบกับ Newtonian mechanics และ 3) เพ่ือเปนการพิสูจนวา probability amplitude จะตองเปนจํานวนเชิงซอน

S

N

beam ของ silver อะตอม

detector

S

N

(a) (b)

collimator

S

N

beam ของ silver อะตอม

detector

S

N

(a) (b)

collimator

ภาพ 1.4 (a) diagram แสดงการทดลองของ O. Stern และ W. Gerlach ในป ค.ศ. 1922 (b) ลักษณะการจัดวางตัวของแมเหล็กขั้วเหนือและขั้วใต ที่มีผลทําใหเกิดแรงกระทํากับอะตอมของ silver ทิศทางและขนาดของแรงนั้น ขึ้นอยูกับสมบัติเชิงแมเหล็กของอะตอม silver เอง ซ่ึงในทายที่สุดแลว จะทําใหตําแหนงของอะตอม ที่ไปตกบนแผนฟลมดานหลังน้ัน แตกตางกัน จากภาพ 1.4a การทดลองของ Stern-Gerlach ประกอบดวย beam ของอะตอม silver ซ่ึงพุงผานเครื่องมือท่ีเรียกวา collimator ท่ีมีหนาที่ทําใหเกิดลําของ beam ที่เปนเสนตรง จากนั้น อะตอมจะพุงเขาสูบริเวณที่เปนสนามแมเหล็กซ่ึงไดรับการออกแบบเปนพิเศษ ดังในภาพ 1.4b โดยทั่วไปวัตถุเชนแทงแมเหล็กขนาดเล็ก จะมีสมบัติที่เรียกวาเปน magnetic moment μ ซ่ึงเปนปริมาณ vector น่ันก็เพราะวา แทงแมเหล็กสามารถจัดเรียงในทิศทางตางๆกัน เมื่อ magnetic

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-13

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

moment ดังกลาวอยูภายในสนามแมเหล็ก B ก็จะมีอันตรกริยาเกิดข้ึนระหวาง magnetic moment และ magnetic field ซ่ึงเราสามารถเขียนพลังงานของอันตรกริยาน้ีใหอยูในรูป

U = − ⋅μ B __________________________ สมการ (1.18) หรือในกรณีที่เรากําหนดให ทิศทางของสนามแมเหล็กเรียงตัวตามแนวแกน z หรือ 0( )B z=B k จะไดวา

0( )zU B zμ= − __________________________ สมการ (1.19) เน่ืองจากความไมสม่ําเสมอของสนามแมเหล็กที่ออกแบบดังภาพ 1.4b ทําใหเกิดความไมสมํ่าเสมอของพลังงานศักยดังในสมการ (1.19) ทั้งน้ี ในทางกลศาสตร Newton ทําใหเปรียบเสมือนวาเกิดแรง

0( )z zUF B zz z

μ∂ ∂≡ − =

∂ ∂ __________________________ สมการ (1.20)

จากมุมมองของกลศาสตร Newton magnetic moment μ สามารถชี้ในทิศทางตางๆกัน สงผลใหองคประกอบตามแนวแกน z หรือ coszμ θ= μ มีคาไดแตกตางกัน ขึ้นอยูกับมุม θ ท่ี magnetic moment ของอนุภาคนั้นๆกระทาํกับแกน z และทิศทางทีแ่ตกตางกันออกไปของ μ น่ีเอง จากสมการ (1.20) ทําใหแรงที่กระทํากบัอนุภาคตามแนวแกน z มีคาไมเทากันตามไปดวย สงผลใหอนุภาคเบี่ยงเบนออกไปและตกกระทบที่แผนฟลม ณ ตําแหนงตางๆกัน อะตอมของ silver มีอิเล็กตรอนอยูทั้งหมด 47 ตัว และ ลักษณะการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนใน orbital ตางๆ เปน [Kr]5s14d10 ซ่ึงก็แสดงวา ในชั้นระดับพลังงานนอกสุดน้ัน มีอิเล็กตรอนอยูเพียงตัวเดียว ทําให spin รวมของอะตอม silver ทั้งอะตอมน้ัน มีคาไมเปนศูนย เราอาจจะมองในอีกแงหน่ึงวา อะตอม silver เปนแทงแมเหล็กเล็กๆอันหนึ่ง ดังที่แสดงในภาพ 1.5a ซ่ึงความเปนแมเหล็กขนาดจิ๋วน้ี ก็สืบเนื่องมาจาก spin ของอิเล็กตรอนในชั้น 5s ของ silver อะตอมนั่นเอง

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-14

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ภาพ 1.5 (a) เน่ืองมาจาก spin ของอิเล็กตรอนที่อยูที่ชั้นระดับพลังงานนอกสุดของ silver อะตอม เราอาจะมองอะตอมเหลาน้ีเสมือนกับแมเหล็กแทงเล็กๆท่ีกําลังพุงเขาสูชุดทดลองของ Stern-Gerlach (b) ลักษณะของภาพที่อาจจะเกิดขึ้น โดยใชกลศาสตร Newton มาวิเคราะห การที่ภาพปรากฏเปนแถบท่ีตอเน่ืองน้ัน มีที่มาจากสมมติฐานที่วา ทิศทางของแนวแกนแมเหล็กขนาดจิ๋วของ silver อะตอมน้ัน สามารถทีจ่ะเรียงตัวอยูในทิศใดก็ได (c) ลักษณะของภาพที่เกิดข้ึนจากผลการทดลองจริง ที่สะทอนใหเห็นความแปลก ความประหลาดในเชิงพฤติกรรมของระบบที่มีขนาดเล็กๆเชนอะตอม ภาพ 1.5a แสดงใหเห็นถึงอะตอมของ silver ซ่ึงเปรียบเสมือนแมเหล็กแทงเล็กๆจาํนวนมากที่กําลังพุงเขาสูสนามแมเหล็กขนาดใหญ โดยอาศัยภาพอันน้ี เราสามารถที่จะเดาไดวา ตําแหนงของอะตอมที่จะไปตกบนฉากหลัง ก็ขึ้นอยูกับทิศของแนวแกนแมเหล็กของแตละอะตอมนั่นเอง แบบฝกหัด 1.3 a) จงทบทวน quantum mechanics เบื้องตน และหาวา อิเล็กตรอนที่อยูในช้ันพลังงาน 5s น้ี มีรูปทรงอยางไร และ มี angular momentum เปนศูนยหรือไม ? b) เราสามารถที่จะสรุปไดหรือไมวา ความเปนแมเหล็กของ silver อะตอมนั้น สืบเนื่องมาจากการที่ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เปนวงโคจรภายในอะตอม แลวทาํใหเกิดกระแสไหล ? ตามหลักการของกลศาสตร Newton เราพอจะคาดการณไดวา ลักษณะของภาพที่ปรากฏบนฟลมอยูที่ฉากดานหลัง ควรจะเปนเสนที่ตอเน่ือง ดังในภาพ 1.5b ดวยเหตุผลที่วา ความนาจะเปนที่จะพบแนวแกนแมเหล็กของอะตอม silver ในทิศทางตางๆกัน ควรจะมีความเปนไปไดเทาๆกัน ไมวาจะเปนทิศข้ึน ลง หรือทํามุมกี่องศาก็แลวแต

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-15

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

แตในความเปนจริงแลว ผลการทดลองปรากฏออกมาดงัในภาพ 1.5c กลาวคือ เราสามารถวัดไดวา อะตอมของ silver มีทิศของแนวแกนแมเหล็กอยูเพียง 2 ทิศดวยกันคือ ข้ึนกับลง เน่ืองจากวาความเปนแมเหล็กของ silver อะตอม มีที่มาจาก spin ของอิเล็กตรอน เราจึงบอกวา spin ของอิเล็กตรอน

มีคาไดเพียง 2 คา คือ 2

+ และ 2

− เทาน้ัน1

กลาวโดยสรุปก็คือ ชุดทดลองของ Stern-Gerlach เปนการทดลองที่สามารถแยก beam ของ

อิเล็กตรอน2 (หรือในที่น้ี silver อะตอม) ของเปน 2 สายดวยกัน คือ แยกเปน beam ท่ีมี spin 2

+ และ

beam ที่มี spin เปน 2

ภาพแสดงไปรษณียบัตรที่ Stern สงใหกับ Neil Bohr เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ 1922 การวางตวัของแมเหล็กเปนไปในแนวนอน ซ่ึงตางจากภาพ 1.5 ที่วางตวัในแนวตั้ง ภาพทางซายเปนชุดควบคุมที่แสดงถึงแผนฟลมในขณะที่ไมมีสนามแมเหล็ก และภาพทางขวาแสดงชัดเจนถึงการแยกของ beam ของเปน 2 แถบ ภายในไปรษณียบัตรมีขอความ "Attached [is] experimental proof of directional quantization. We congratulate [you] on the confirmation of your theory." [Credit: Friedrich et. al. Physics Today. December. 2003]

1 ในบางครั้ง เราเรียกคาของ spin เหลานีว้า 1 2+ และ 1 2− หรือ 2+ และ 2− ทั้งนี้ เปนเพียงขอแตกตางของการใชภาษาและการกําหนดคาํ

นิยามเทานั้น 2 เพื่อใหงายในการทาํความเขาใจ ผูเขียนเลือกท่ีจะใชคําวา อิเล็กตรอน แทน silver อะตอมดงัที่ปรากฏใน Stern-Gerlach experiment ดวยเหตุที่นักศึกษาจะตองโยงความสัมพันธของ beam เหลานี้เขาไปกับ spin ของแตละอนุภาคท่ีรวมตวักันอยูภายใน beam แททีจ่ริงแลวอนุภาคเหลานี้เปน silver อะตอม แตดวยลักษณะการเรียงตัวในชั้นพลังงานของอิเล็กตรอนท้ัง 47 ตวัในอะตอมของ silver ทาํใหอะตอมท้ังอะตอม มีคาของ spin เปรียบเสมือนกับอิเล็กตรอนเพียงตวัเดียวเทานั้น

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-16

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

1.7 การทดลองของ Stern-Gerlach ในรูปแบบตางๆ

ในขั้นตอไป เราจะมาศึกษาผลการทดลองของ Stern-Gerlach ในรูปแบบตางๆกัน และ อาศัยผลการทดลองเหลาน้ีเปนเครื่องมือในการวิเคราะห และนําระเบยีบวิธีทาง quantum mechanics มาใชในการอธิบายผลการทดลอง ใน Section ที่กําลังจะกลาวถึงน้ี เปนเนื้อหาที่ยาว แตในทายที่สุดแลว จะนาํไปสูบทสรุปที่ทําให quantum mechanics น้ันแตกตางออกไปจากฟสิกสที่เราไดเรียนรูมา กลาวคือ quantum mechanics จําเปนจะตองใชจาํนวนเชิงซอนเขามารวมเปนกลไกของการอธิบายปรากฏการธรรมชาติ อยางหลีกเลี่ยงไมได

รูปแบบ 1 SGZ-SGZ ดังท่ีกลาวไวใน Section 1.2 เราเริ่มดวยการใหคํานิยามของสถานะของระบบที่กําลังศกึษา ในกรณีของ Stern-Gerlach experiment น้ี จากการทดลองพบวา อิเล็กตรอนมี spinไดเพียง 2 คา ดังน้ันเราอาจจะเขียน state ที่เปนไปไดของอิเล็กตรอนไดดังน้ี

Z+ แทน state ของอิเล็กตรอนท่ีมี spin เปน 2

+ เมื่อวัดตามแนวแกน z

Z− แทน state ของอิเล็กตรอนที่มี spin เปน 2

− เมื่อวัดตามแนวแกน z

โดยกําหนดใหสนามแมเหล็กขนาดใหญ เรียงตัวตามแนวแกน z ดังในภาพ 1.5a จากนั้นเราลองมาวิเคราะหผลการทดลองของ Stern-Gerlach ในรูปแบบที่ 1 ดังแสดงในภาพ 1.6

ภาพ 1.6 แสดงผลการทดลองของ Stern-Gerlach ในรูปแบบที่ 1 ซ่ึงประกอบดวยสนามแมเหล็กขนาดใหญ 2 ชุด (SGZ) เรียงตัวตามแนวแกน z ทั้งคู

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-17

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ผลการทดลองปรากฏวา เมื่ออิเล็กตรอน 100 ตัวพุงเขามาที่ SGZ ชุดแรก จะมีโอกาสครึ่งตอครึ่ง ที่

เราจะตรวจพบวามันมี spin เปน 2

+ หรือ 2

− เปนที่นาสังเกตวา ในกรณีของ SG-Z ชุดที่สอง

เราตรวจพบวา อิเล็กตรอนทั้งหมด 50 ตัวทีเ่ขามาใน SG-Z ชุดที่สอง เปน spin 2

+ ทั้งหมด หรือ

กลาวอีกนัยหน่ึงไดวา ถาอิเล็กตรอนอยูใน state Z+ ดังที่ไดตรวจพบใน SG-Z ชุดที่หน่ึง probability ที่เราจะพบอิเล็กตรอนดังกลาวน้ี อยูใน state Z+ ในการวดัของ SGZ ชุดที่สอง มีคาเปน 1 และโดยอาศัยรูปแบบของสัญลักษณใน Section 1.4 จะไดวา

12=++ ZZ ______________________ สมการ (1.21)

ถาอิเล็กตรอนอยูใน state Z+ ดังที่ไดตรวจพบใน SGZ ชุดที่หน่ึง probability ที่เราจะพบอิเล็กตรอนดังกลาวน้ี อยูใน state Z− ในการวดัของ SGZ ชุดที่สอง มีคาเปน 0

02=+− ZZ _______________________ สมการ (1.22)

จะเห็นวา สมการ (1.21) และ สมการ (1.22) น้ัน ไดมาจากการนําผลการทดลอง มาสังเคราะหในแงของความนาจะเปน ผนวกกับคํานิยามดังที่กลาวมาแลวใน Section 1.2-1.4 อยางไรก็ตาม เพ่ือใหงายตอการคํานวณทางคณิตศาสตรในอนาคต เราสามารถที่เปลี่ยน สมการ (1.21) และ (1.22) ใหอยูในรูปของ probability amplitude ไดดังน้ี

0

1

=+−

=++

ZZ

ZZ________________________ สมการ (1.23)

ขอสังเกต ตามหลักที่ถูกตองในทางคณิตศาสตรน้ัน การเปล่ียนจากสมการ (1.21) มาเปนสมการ (1.23) น้ัน โดยหลักการแลวเปนการถอด root ซ่ึงเราจะตองนํา phase ของจํานวนเชงิซอนมาเกี่ยวของ กลาวคือ θieZZ =++ แตผูเขียนจะไมกลาวถึง phase ในเวลานี้ เพราะจะทาํใหการอธิบายความและเนื้อหา มีความซับซอนเกินความจาํเปน

รูปแบบ 2 SGX-SGZ

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-18

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ในลําดับตอไปเราลองมาวเิคราะหผลการทดลอง ในกรณีที่ทิศทางของสนามแมเหล็กหลักของ Stern-Gerlach experiment ทั้งสองชุด วางตวัในทิศที่ตั้งฉากกัน ดังแสดงในภาพ 1.7b โดยที่ electron beam ที่พุงเขามาในครั้งแรกจะถูกแยกออกเปน 2 สายตามแนวแกน x จากน้ันจะเปดทางใหเฉพาะ beam ที่มีสถานะเปน X+ พุงเขาสู SGZ เพ่ือทําการตรวจ spin ในแนวแกน z

SG-XSG-Z

100 e-50 e-

50 e-

25 e-

25 e-

Z X

(a)

(b)

S

N

SG-ZSG-Z

S

N

SG-XSG-X

SG-XSG-Z

100 e-50 e-

50 e-

25 e-

25 e-

Z X

(a)

(b)

S

N

SG-ZSG-Z

S

N

SG-XSG-X S

N

SG-ZSG-Z

S

N

SG-ZSG-Z

S

N

S

N

SG-XSG-X

ภาพ 1.7 a) ผลการทดลองของ Stern-Gerlach experiment รูปแบบที่สอง b) แสดงทิศทางการวางตัวที่ต้ังฉากกันระหวาง SGX และ SGZ จากผลการทดลองดังที่แสดงในภาพ 1.7a น้ันพบวา ในจํานวนอิเล็กตรอนทั้ง 50 ตัว ซึ่งอยูในสถานะ

X+ มีอยูบางสวนที่พบวามีสถานะเปน Z+ และ บางสวนที่พบวามีสถานะเปน Z− ซ่ึงในทาง quantum mechanics เราสามารถเขียนเปนสมการไดดังน้ี

ZbZaX −++=+ ____________________ สมการ (1.24) โดยที่สัมประสิทธิ์ a และ b เปนตัวเลขที่จะตีความไดวา เมื่อเรานาํอิเล็กตรอนที่ทราบแนชัดวาอยูในสถานะ X+ จากนั้นทําการวัด spin ตามแนวแกน Z a ก็คือ probability amplitude ที่จะพบอิเล็กตรอนดังกลาวในสถานะ Z+ และ b ก็คือ probability amplitude ที่จะพบอิเล็กตรอนดังกลาวในสถานะ Z− น้ันเอง

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-19

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ถาหากเราสังเกตจํานวนของอิเล็กตรอนในภาพ 1.7a จะพบวา ถาอิเล็กตรอนอยูใน state X+ ดังที่ไดตรวจพบใน SGX ชุดท่ีหน่ึง probability ที่เราจะพบวาอิเล็กตรอนดังกลาวน้ี อยูใน state

Z+ ในการวัดของ SGZ ชุดที่สอง มีคาเปน 1/2 ดังน้ันจากสมการ (1.4) จะไดวา

212

=++ XZ ________________________ สมการ (1.25)

ซ่ึงถาเราแทนคํานิยามของ X+ ในสมการ (1.24) เขาไปในสมการ (1.25) และใชสมการ (1.23) เขาชวยในการจัดเทอมใหลดรูปไดงายขึ้น จะไดวา

( ) 2

2

2

12

12

Z a Z b Z

a Z Z b Z Z

a

+ + + − =

+ + + − + =

=

_______________________ สมการ (1.26)

และในทาํนองเดียวกัน ในกรณีของสถานะ Z− จะไดวา

212 =b ______________________ สมการ (1.27)

จากสมการ (1.26) และ สมการ (1.27) น้ัน ถาเราสมมุติวา a และ b น้ันเปนเลขจํานวนจริง จะไดวา

ZZX −++=+2

12

1 ____________________ สมการ (1.28)

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-20

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ภาพ 1.8 a) Stern-Gerlach รูปแบบที่ 3 b) Stern-Gerlach รูปแบบที่ 4

รูปแบบ 3 SGX-SGY ถาเราสังเกตจากการทดลองในชุดที่แลว ซ่ึงเริ่มดวยการวางสนามแมเหล็กในแนวแกน x กอน แลวตามมาดวยสนามในแนวแกน z แตในความเปนจริงแลว ทิศทางหรอืแกนที่เรากําหนด เปนส่ิงที่สมมุติขึ้นเพ่ืองายตอการอธิบายเทาน้ัน ที่สําคัญ ขอแตเพียงวา แนวแกนแมเหล็กทั้งสองนั้น ต้ังฉากกันก็เพียงพอแลว เพราะฉะนั้น แทนที่เราจะให beam ของอิเล็กตรอนพุงเขาใสชุด SGX-SGZ ดังในรูปแบบ 2 เราสามารถเปลี่ยนระบบการเรียงตัวของแมเหล็กใหอยูในรูปของ SGX-SGY โดยท่ีผลการทดลองในแงของความนาจะเปน ก็ควรจะยังคงเดิม ดังแสดงในภาพ 1.8a ดังน้ัน ในทํานองเดียวกันกับสมการ (1.25) จะไดวา

212

=++ XY _________________ สมการ (1.29)

สมการขางตน มีความหมายวา ถาเราพบวาอิเล็กตรอนอยูในสถานะ X+ อยูกอนแลว มีโอกาสอยู 50% ที่เราจะตรวจพบอิเล็กตรอนดังกลาวในสถานะ Y+

รูปแบบ 4 SGY-SGZ

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-21

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ในลักษณะเดียวกันกับการวิเคราะหในรูปแบบ 2 เราสามารถที่จะจัดวาง Stern-Gerlach ในรูปของ SGY-SGZ ดังในภาพ 1.8b และนําไปสูการเขียนสมการในลักษณะคลายๆกับ สมการ (1.24) ไดวา

ZdZcY −++=+ _________________ สมการ (1.30) และ

212 =c _________________ สมการ (1.31)

212 =d ________________ สมการ (1.32)

ในที่สุดเราก็มาถึงจุดที่เปนประเด็นสําคัญของการวิเคราะห Stern-Gerlach experiment ทั้ง 4 รูปแบบดังที่กลาวมาแลว น่ันก็คือ ระเบียบวิธีของ quantum mechanics น้ัน จะหลีกเลี่ยงไมไดเลยที่ probability amplitude จะตองเปนตัวเลขที่เปนจํานวนเชิงซอน ซ่ึงจะไดกลาวในขั้นตอนตอไป ดูผิวเผิน คลายกับวา สมการ (1.31) และ (1.32) น้ัน มีคําตอบที่งาย น่ันก็คือ คลายวา c และ d มีคาเปน

21 แตแทที่จริงแลว เราสามารถพิสูจนใหเห็นจริงวา

ZZY −++≠+2

12

1 _________________ สมการ (1.33)

เน่ืองดวย ถาเรากําหนดอยางผิดๆวา ZZY −++=+2

12

1 จะมีผลทําให

12=++ XY ซ่ึงขัดกับผลการทดลอง และสมการ (1.29) อยางสิ้นเชิง

มีอยูเพียงวิธีเดียวที่คาของ c และ d ที่จะทาํใหสมการ (1.28) (1.29) (1.31) และ (1.32) เปนจริงทั้งหมดพรอมๆกัน ซ่ึงก็หมายถึงคาของ c และ d ที่สอดคลองกับการทดลอง Stern-Gerlach ทุกๆรูปแบบที่

เราไดศึกษามา น่ันก็คือ 2

1=c และ

2id = โดยที่ i เปนเลขจํานวนจินตภาพที่ 1−≡i หรือ

กลาวอีกนัยหน่ึง

ZiZY −++=+22

1 _________________ สมการ (1.34)

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-22

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

แบบฝกหัด 1.4 จงพิสูจนวา ถา ZiZY −++=+22

1 แลว จะทําใหสมการ (1.28)

(1.29) (1.31) และ (1.32) เปนจริงทั้งหมดพรอมกันๆ จากการทดลองของ Stern-Gerlach ทั้ง 4 รูปแบบ ดังที่เราไดใชเวลาพอสมควรในการวิเคราะหน้ัน สมการ (1.34) ไดแสดงใหเห็นถึงลักษณะเฉพาะตัวของ quantum mechanics ซ่ึงก็คือ probability

amplitude จะตองเปนจํานวนเชิงซอน อันจะเห็นไดจาก 2id = ในสมการ (1.34) น่ันเอง

แบบฝกหัด 1.5 จงเขียน X− และ Y− ใหอยูในรูปของผลบวกของ สถานะ Z+ และ Z− ในทํานองเดียวกันกับสมการ (1.28) และ (1.34)

1.8 คณิตศาสตรของ bra และ ket ที่ผานมาเราไดใชการทดลองของ Stern-Gerlach เปนเครื่องมือในการพิสูจนวา quantum mechanics น้ันจําเปนจะตองนําเอาตัวเลขจํานวนเชิงซอนเขามาเปนกลไกหลักในการอธิบายถึงพฤติกรรมตางๆของธรรมชาติ และเนื้อหาใน Section น้ี เราจะมาดูในรายละเอียดถึงเอกลักษณตางๆในทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับ bra และ ket

Superposition สมมุติวาเรากําหนดใหสัญลักษณ ket Ψ แทนสถานะของเหรียญที่มีโอกาสจะเปนไปไดเพียง 2 สถานะคือ หัว (head) หรือ กอย (tail) ในกรณีที่มันวางน่ิงอยูกับพ้ืน และหงายออกกอย ดวยขอมูลอันน้ี เราบอกไดวา tailΨ = แตในกรณีที่มันกําลังหมุนควางอยูในอากาศ เราไมมีขอมูลที่จะแยกแยะออกไดวา Ψ มีสถานะเปนอะไรกันแน เพราะฉะนั้น ตามระเบียบวิธีทาง quantum mechanics เราเขียนสถานะของเหรียญใหอยูในรูป superposition (แปลวา การผสมกัน หรือ การรวมกัน) ไดวา

head taila bΨ = + ________ สมการ (1.35) โดยที่ตัวเลข a และ b มีความเกี่ยวพันธกับเปอรเซ็นตของนํ้าหนัก หรือ อัตราสวนผสมท่ีสถานะน้ันๆ มีอยู ยกตัวอยางเชน ถาเหรียญมีความสมมาตร จะไดวา Ψ มีโอกาสที่เปน head หรือ tail ไดเทาๆกัน

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-23

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

อยางไรก็ตามตัวเลข a และ b ไมใชความนาจะเปนที่จะพบวาเหรียญหงายออกหัวหรือออกกอย แต a และ b คือ probability amplitude ที่เหรียญจะอยูในสถานะ head หรือ tail นักศึกษาสามารถพิสูจนใหเห็นถึงความสมัพันธดังกลาว โดยการนําสถานะ bra head เขาไปประกบทางซาย ทั้งสองขางของสมการ (1.35) จะไดวา

head head head head tail

head head head tail

a b

a b

Ψ = +

= + ________ สมการ (1.36)

โดยที่ทางขวามือของสมการ (1.36) น้ัน เน่ืองจาก a และ b เปนเพียงตัวเลข จึงสามารถยายออกมาคูณ ณ ตําแหนงขางหนาของ bra-ket เพราะตวัเลข ไมวาจะเปนจํานวนจริง หรือ เลขจํานวนเชิงซอน ลวนมีสมบัติการสลับที่ของการคูณ เน่ืองจากเหรียญ มี 2 สถานะที่เปนอิสระตอกัน เพราะฉะนั้น

head tail 0= ________ สมการ (1.37) และ

head head 1= ________ สมการ (1.38) หรือกลาวอีกนัยหน่ึง ถาทราบขอมูลแนชัดแลววาเหรียญหงายออกกอย probability ที่มันจะออกหัวก็ยอมเปนศูนย สงผลให probability amplitude ดังในสมการ (1.37) เปนศูนยตามไปดวย เมื่อนําสมการ (1.37) และ (1.38) เขาไปแทนในสมการ (1.36) จะไดวา

head aΨ = ________ สมการ (1.39) โดยอาศัยคําอธิบายใน Section 1.3 เราสรุปจากสมการ (1.39) ไดวา ความหมายที่ถูกตองของตัวเลข a ก็คือ probability amplitude ที่ระบบของเรา (ซ่ึงก็คือเหรียญที่กําลังลอยควางในอากาศ) จะอยูในสถานะ head

ในเมื่อ a คือ probability amplitude Section 1.4 บอกเราวา 2a ก็คือ probability ที่เหรียญจะหงาย

ออกหัว และในทํานองเดียวกัน 2b ก็คือความนาจะเปนที่เหรียญจะหงายออกกอยน่ันเอง

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-24

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

ในเนื้อหาของวิชาสถิติ เมื่อการโยนเหรียญมีโอกาสที่จะเกิดผลลัพธไดเพียง 2 เหตุการณ คือหัวและกอย ความนาจะเปนที่เหตุการณทั้งสองจะเกิดข้ึน ตองมีผลรวมสุทธิเปน 1 หรืออีกนัยหน่ึง

2 2 1a b+ = ________ สมการ (1.40)

ขอสังเกต a เปนเลขจํานวนเชิงซอน เพราะฉะนั้น 2a a a∗= เมื่อ a∗ คือ complex conjugate ของ a นอกจากนี้ ในกรณีของเหรียญที่มีความสมมาตร ความนาจะเปนที่จะมันจะหงายของหัว

หรือกอยยอมมีคาเทาๆกัน หรือ 2 12

a = และ 2 12

b = แตก็ไมจําเปนเสมอไป นักพนันอาจจะ

ดัดแปลงเหรียญใหจุดศูนยถวงของน้ําหนักคอนมาทางดานกอย เปนผลให 2 2a b< ก็เปนได ทั้งน้ีขึ้นอยูกับระบบที่เรากําลังสนใจศึกษา ในประเด็นที่เก่ียวของกับ superposition ของ state หรือ สถานะ เราอาจจะสรุปใหอยูในรูปแบบของภาษาอยางเปนทางการของ quantum mechanics ไดวา ให Ψ เปนตัวแทนสถานะของระบบ ซ่ึงสามารถเขียนใหอยูในรูปของ superposition

1

Ni i

ic φ

=Ψ =∑ ____________________ สมการ (1.41)

เมื่อ { }iφ คือเซตของสถานะ หรือ เหตุการณพ้ืนฐานตางๆทีม่ีโอกาสจะเกิดขึ้นไดท้ังหมด ซ่ึงมี

ทั้งส้ิน N สถานะดวยกัน เซตของ { }iφ ดังกลาว มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา basis state

ซ่ึงโดยทั่วไป basis state มีสมบัติความเปน orthonormal (มาจาก orthogonal บวกกับ normal) หรือ

i j ijφ φ δ= ____________________ สมการ (1.42)

ในสมการ (1.41) ic ก็คือ probability amplitude ของการเกิดสถานะนั้นๆ น่ันก็หมายถึง

2ic = ความนาจะเปนที่ระบบ จะอยูในสถานะ iφ ____________________ สมการ (1.43)

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-25

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

และ

2

11

Ni

ic

==∑ ____________________ สมการ (1.44)

สมการ (1.44) เรียกกันโดยท่ัวไปวา sum rule ซ่ึงเปนกฎที่บอกวา ผลรวมของความนาจะเปนทั้งหมดมีคาเปนหน่ึงน่ันเอง

จาก ket ใหเปน bra เมื่อเรานาํ quantum mechanics ไปประยุกตเพ่ือแกปญหาของระบบที่ซับซอนมากขึ้น ซ่ึงเปนเนื้อหาในบทตอๆไปนั้น เอกลักษณทางคณิตศาสตรอีกอันหน่ึงที่จะมีสวนชวยในการวิเคราะห ก็คือเอกลักษณที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนสถานะ ket Ψ ในสมการ (1.41) ใหเปนสถานะ bra Ψ ซ่ึงก็คือ

1

Ni i

ic φ∗

=Ψ =∑ ____________________ สมการ (1.45)

จะสังเกตเห็นวา สัมประสิทธิ์ ic∗ ในสมการ (1.45) เปน complex conjugate ของสัมประสิทธิ์ ic ใน

สมการ (1.41) ความเปน complex conjugate ของสัมประสิทธิ์ดังกลาวน้ีเอง เปนประเด็นสําคัญที่นักศึกษาตองระวังเปนอยางยิง่ เมื่อทําการวิเคราะหเชิงคณิตศาสตร แบบฝกหัด 1.6 จงใชสมบัติความเปน orthonormal ในสมการ (1.42) และ ใชขอกําหนดที่วา

1Ψ Ψ = เพ่ือพิสูจนสมการ (1.45)

α β β α ∗= สมมุติวาเราพิจารณาระบบที่แทนดวยสถานะ α ซึ่งสามารถเขียนในรูปของ superposition ไดวา

1

Ni i

iaα φ

==∑ ____________________ สมการ (1.46)

และในทาํนองเดียวกัน สมมุติวาเรามีสถานะ β อีกสถานะหนึ่ง

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-26

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

1

Nj j

jbβ φ

== ∑ ____________________ สมการ (1.47)

ซ่ึงเราสามารถใชสมการ (1.47) เปลี่ยนใหอยูในรูปของ bra ไดวา

1

Nj j

jbβ φ∗

== ∑ ____________________ สมการ (1.48)

เพราะฉะนั้น ถาเรานํา bra ในสมการ (1.48) ขางตนไปประกบกับ ket ในสมการ (1.46) จะทาํให

1 1

1 1

1 1

N Nj j i i

j i

N Nj i j i

j iN N

j i jij i

b a

b a

b a

β α φ φ

φ φ

δ

= =

= =

= =

⎧ ⎫⎧ ⎫⎪ ⎪⎪ ⎪= ⎨ ⎬⎨ ⎬⎪ ⎪⎪ ⎪⎩ ⎭⎩ ⎭

=

=

∑ ∑

∑∑

∑∑

____________________ สมการ (1.49)

ในสมการขางตน เราทําการกระจาย summation และใชสมบัติความเปน orthonormal ของ basis state นอกจากนี้ ในสมการ (1.49) จะเห็นวา Kronecker delta function มีคาเปนศูนยเกือบทั้งหมด ยกเวนเฉพาะในกรณี i j= เพราะฉะนั้น จํานวนของ summation จะลดลงจากเดิมที่มีอยูสอง กลายเปนหน่ึง

( )1 1

1 1

N Ni i i i

i i

N Ni i i i

i i

b a a b

a b a b

β α

β α

∗ ∗

= =∗

∗∗ ∗

= =

= =

⎛ ⎞= = ⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠

∑ ∑

∑ ∑ ____________________ สมการ (1.50)

สมการ (1.50) ขางตน ใชทักษะเกี่ยวกับ complex number ในแงเอกลักษณทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับ complex conjugate อยูพอสมควร นักศึกษาที่ไมคุนเคยกับประเด็นดังกลาว ควรที่จะทบทวนเรื่อง complex number เบื้องตน เพราะเราจาํเปนตองใชคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับจํานวนเชิงซอนมากขึ้นไปอีกในเนื้อหาของบทตอๆไป

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-27

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

โดยอาศัยการเปล่ียนจาก ket β ใหเปน bra β และนําไปประกบกับ ket α เราไดมาซึ่งความสัมพันธดังสมการ (1.50) และในทํานองเดียวกัน เราสามารถพิสูจนไดวา

1

Ni i

ia bα β ∗

==∑ ____________________ สมการ (1.51)

ทั้งน้ี เมื่อพิจารณาสมการ (1.51) และ สมการ (1.50) รวมกัน ทําใหเราไดบทสรุป

α β β α ∗= ____________________ สมการ (1.52) ซ่ึงก็จะเปนเอกลักษณทางคณิตศาสตรอีกขอหน่ึง ที่จะเปนประโยชนในการวิเคราะหหรือหาผลเฉลยของสมการทาง quantum mechanics ในลําดับตอไป ในบทที่ 1 เราไดเกริ่นถึงธรรมชาติโดยทั่วไปของอะตอม หรือระบบที่มีขนาดเล็กในระดับอะตอมวาเปนส่ิงที่ผิดแผกจากกลศาสตรของ Newton ที่เราคุนเคย ทฤษฏีท่ีใชในการศึกษาระบบขนาดจิ๋วเหลาน้ีก็คือ quantum mechanics ที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมาโดย Schrödinger, Heisenberg, และ Born quantum mechanics ใชสัญลักษณที่เรียกวา ket ในการแสดงสถานะตางๆที่เราตองการศึกษา และเรียกความสัมพันธของสถานะตางๆเหลาน้ีวา probability amplitude ซ่ึงเปนจํานวนเชิงซอนที่โดยตัวมันเองแลวไมมีความหมายที่เปนรูปธรรมในทางฟสิกส หากแตมีความเกี่ยวเน่ืองในทางคณิตศาสตรกับความนาจะเปน หรือ probability ของระบบ นอกจากนี้ เรายังไดศึกษาตัวอยางของระบบที่ปริมาณทางฟสิกสมีความตอเน่ือง คือ wave function ที่แสดงถึง probability amplitude ของตําแหนงของอิเล็กตรอนภายในกลอง อีกทั้งระบบที่ไมตอเน่ือง คือ spin ของอิเล็กตรอน ดังที่ไดเห็นในการทดลองของ Stern-Gerlach โดยที่ตัวอยางเหลาน้ี พรอมๆกับแบบฝกหัดที่แทรกอยูกับเน้ือหา เปนกลไกท่ีสําคัญที่จะทาํใหนักศึกษาเขาใจในระบบตวัแปรพื้นฐานของ quantum mechanics และ ยังมีความเชีย่วชาญในดานการนําคณิตศาสตรมารวมในการแกปญหาอีกดวย

1.9 ปญหาทายบท แบบฝกหัด 1.7 จงพิสูจนสมการ (1.51)

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 1 ตัวแปรพื้นฐานของ Quantum Mechanics 1-28

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน [email protected] Draft Oct 2009

แบบฝกหัด 1.8 กําหนดให cos( ) sin( )2 2

in Z e Zϕθ θ+ = + + −

a) จงพิสูจนวา ถาเลือก θ และ ϕ ที่เหมาะสมแลว จะทาํให n+ มีคาเดียวกัน (หรือ อยูในสถานะเดียวกัน) กับ X+ และ Y+ ได b) จงใหความหมายของ θ และ ϕ

แบบฝกหัด 1.9 ถาให sin( ) cos( )2 2

in Z e Zϕθ θ− = + − − จงพิสูจนวา 0=+− nn และ

1=−− nn