10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4...

89
66 บทที4 การชันสูตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้จะกลาวถึงความเปนมาของการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย และการชันสูตร พลิกศพตามกฎหมายที่ใชบังคับอยูในปจจุบัน โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับองคกรที่เกี่ยวของ ขั้นตอนและกระบวนการ มาตรการตาง ที่เปนการตรวจสอบและถวงดุลการใชอํานาจ รวมทั้ง ปญหาที่เกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ 4.1 พัฒนาการของการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย ความเปนมาของการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย นั้น มีกฎหมายที่เกี่ยวของมาตั้งแต สมัยกฎหมายตราสามดวง โดยในปจจุบันการชันสูตรพลิกศพเปนไปตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาซึ่งแกไขเพิ่มเติม ตามพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลวิธีพิจารณา ความอาญา (ฉบับที21) .. 2542 จึงอาจแบงกฎหมายที่เกี่ยวของการชันสูตรพลิกศพ ไดเปน 2 ชวง คือ 4.1.1 กอนการประกาศใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในสมัยกอนที่จะมีการประกาศใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การ ชันสูตรพลิกศพนั้นเปนไปตามกฎหมายตาง ดังตอไปนี(1) กฎหมายตราสามดวง ไดกําหนดใหนายพะทํามะรงไปดูศพ ถามีการตีฟนแทงกันถึงตาย และถาผูรายตายลง ใหเวรมหาดไทย กระลาโหม กรมวัง ไปดูศพ (2) พระราชบัญญัติปกครองทองที.. 116 กําหนดใหกรมการอําเภอมีหนาที่ทําการชันสูตรพลิกศพในทองที่ที่มีการพบศพ เมื่อ พรรคพวกของผูตายขอใหชันสูตรพลิกศพ (3) พระราชบัญญัติชันสูตรพลิกศพ .. 2457

Upload: others

Post on 01-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

66

บทที ่4

การชันสูตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้จะกลาวถึงความเปนมาของการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย และการชนัสตูรพลิกศพตามกฎหมายที่ใชบังคับอยูในปจจุบัน โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับองคกรที่เกี่ยวของ ข้ันตอนและกระบวนการ มาตรการตาง ๆ ที่เปนการตรวจสอบและถวงดุลการใชอํานาจ รวมทั้งปญหาที่เกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ

4.1 พัฒนาการของการชันสตูรพลิกศพในประเทศไทย

ความเปนมาของการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย นั้น มีกฎหมายที่เกี่ยวของมาตัง้แตสมัยกฎหมายตราสามดวง โดยในปจจุบันการชันสูตรพลิกศพเปนไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาซึ่งแกไขเพิ่มเติม ตามพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 จึงอาจแบงกฎหมายที่เกี่ยวของการชันสูตรพลิกศพ ไดเปน 2 ชวง คือ 4.1.1 กอนการประกาศใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในสมัยกอนที่จะมีการประกาศใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การชันสูตรพลิกศพนั้นเปนไปตามกฎหมายตาง ๆ ดังตอไปนี้ (1) กฎหมายตราสามดวง ไดกําหนดใหนายพะทํามะรงไปดูศพ ถามีการตีฟนแทงกันถึงตาย และถาผูรายตายลงใหเวรมหาดไทย กระลาโหม กรมวัง ไปดูศพ (2) พระราชบัญญัติปกครองทองที่ ร.ศ. 116 กําหนดใหกรมการอําเภอมีหนาที่ทําการชันสูตรพลิกศพในทองที่ที่มีการพบศพ เมื่อพรรคพวกของผูตายขอใหชันสูตรพลิกศพ (3) พระราชบัญญัติชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2457

Page 2: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

67

กําหนดใหกรมการอําเภอเปนประธานชันสูตรพลิกศพ โดยมีกํานันและแพทยประจําตําบล หรือเจาบานคนใดคนหนึ่ง พรอมกันทั้ง 3 คน ทําการชันสูตรพลิกศพในกรณีที่เรียกวา ฆาตกรรมอยางสามัญ แตถาเปนการตายอยางที่เรียกวา ฆาตกรรมอยางวิสามัญ จะตองมีพนักงาน 3 คน ซึ่งจะนั่งทําการชันสูตรพลิกศพ โดยใหเปนขาราชการหัวหนากรมหรือกองของพนักงานซึ่งทําใหตายคนหนึ่ง ขาราชการ ซึ่งเจากระทรวงผูปกครองทองที่เลือกและตั้งคนหนึ่ง และขาราชการฝายตุลาการ ซึ่งเจากระทรวงยุติธรรมเลือกและตั้งคนหนึ่ง ผูใดมีบรรดาศักดิ์สูงกวาให ผูนั้นเปนประธาน นับไดวาเปนครั้งแรกที่ไดมีการนําบุคลากรทางการแพทย คือ แพทยประจําตําบล เขามาทําหนาที่ชันสูตรพลิกศพเพื่อคนหาสาเหตุและพฤติการณของการเสียชีวิต 4.1.2 เมื่อมีการประกาศใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อไดมีการประกาศใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแลว ไดมีการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพไวหลายประการดวยกัน ดังมีรายละเอียดตอไปนี้ (1) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477 มาตรา 150 “ใหพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูกับแพทยประจําตําบลหรือแพทยอ่ืน เปนผูชันสูตรพลิกศพโดยเร็ว และใหทําบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพนั้นไว ถาความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานในขณะปฏิบัติราชการตามหนาที่ การชันสูตรพลิกศพนั้น ตองกระทําพรอมดวยผูพิพากษานายหนึ่งของศาลชั้นตน ซึ่งทองที่ที่ทําการชันสูตรนั้นอยูในเขต ใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนแจงแกผูมีหนาที่ชันสูตรไปทําการชันสูตรพลิกศพทราบ” จะเห็นไดวา ไมไดมีการบัญญัติถึงการไตสวนการตายโดยศาล ซึ่งนาจะเปนเพราะวาไดกําหนดใหผูพิพากษาศาลชั้นตนไดเขารวมการชันสูตรพลิกศพตั้งแตตนอยูแลว

Page 3: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

68

(2) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2496 มาตรา 150 “ใหพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู กับแพทยประจําตําบลหรือแพทย อ่ืน แตถาแพทยประจําตําบลหรือแพทย อ่ืนไมมี หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ ได ใหใช เจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขประจําทองที่ เปนผูชันสูตรพลิกศพโดยเร็ว และใหทําบันทึก รายละเอียดแหงการชันสูตรนั้นไว ถาความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานในขณะปฏิบัติราชการตามหนาที่ การชันสูตรพลิกศพนั้นตองกระทําพรอมดวยผูพิพากษานายหนึ่งของศาลชั้นตน ซึ่งทองที่ทําการชันสูตรนั้นอยูในเขต ใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนแจงแกผูมีหนาที่ไปทําการชันสูตรพลิกศพทราบ” ไดมีการแกไขเพิ่มเติม ใหเจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขปฏิบัติหนาที่ชันสูตรพลิกศพแทนแพทยประจําตําบลหรือแพทยอ่ืน ซึ่งไมไดมีการประกาศเหตุผลของการแกไขไวในราชกิจจา-นุเบกษาแตอยางใด ซึ่งคงเปนเพราะตองแกไขปญหาบุคลากรทางแพทยซึ่งยังมีจํานวนไมเพียงพอและเนื่องจากตองทําหนาที่รักษาพยาบาลผูปวยเปนหนาที่หลักดวย (3) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2499 มาตรา 150 “ใหพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูกับอนามัยจังหวัด หรือแพทยประจําสุขศาลา หรือแพทยประจําโรงพยาบาล เปนผู ชันสูตรพลิกศพโดยเร็ว และใหทําบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรนั้นไว ถาบุคคลดังกลาวไมมี หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหใชเจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขประจําทองที่หรือแพทยประจําตําบล ใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนแจงแกผูมีหนาที่ไปทําการชันสูตรพลิกศพทราบ ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ เมื่อไดมีการชันสูตรพลิกศพแลว ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนชันสูตรพลิกศพไปยังพนักงานอัยการ ใหพนักงานอัยการทําคํารองขอตอศาลชั้นตนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูใหทําการ ไตสวนและทําคําสั่งแสดงวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงเหตุและพฤติการณที่ตาย ถาตายโดยคนทําราย ใหกลาววาใครเปนผูกระทํารายเทาที่จะทราบได

Page 4: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

69

ในการไตสวน ใหศาลปดประกาศแจงกําหนดวันที่จะทําการไตสวนไวที่ศาลกอนวันทําการไตสวนไมนอยกวาสิบหาวัน และใหพนักงานอัยการนําพยานหลักฐานทั้งปวงที่แสดงถึงการตายดังกลาวในวรรคกอนมาสืบ เมื่อศาลไดปดประกาศแจงกําหนดวันที่จะทําการไตสวนแลว และกอนการไตสวนเสร็จส้ิน สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม หรือผูอนุบาลผูตาย มีสิทธิยื่นคํารองตอศาลขอเขามาซักถามพยานที่พนักงานอัยการนําสืบ และนําสืบพยานอื่นไดดวย เพื่อการนี้ใหมีสิทธิแตงตั้งทนายความใหดําเนินการแทนได เพื่อประโยชนในการนี้ใหพนักงานอัยการแจงกําหนดการไตสวนไปใหบุคคลดังกลาวแลวคนหนึ่งคนใดทราบเทาที่สามารถจะทําไดเมื่อศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมศาลจะเรียกพยานที่นําสืบมาแลว มาสืบเพิ่มเติม หรือเรียกพยานอื่นมาสืบก็ได คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ใหถึงที่สุด แตไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิฟองรองคดีและการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล หากพนักงานอัยการหรือบุคคลอื่นไดฟองหรือจะฟองคดีเกี่ยวแกการตายนั้น เมื่อศาลไดมีคําสั่งแลว ใหสงสํานวนการไตสวนของศาลไปยังพนักงานอัยการเพื่อสงใหแกพนักงานสอบสวนดําเนินการตอไปตามแตกรณี” ไดมีการแกไขเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ตัดผูพิพากษาออกจากการเปนผูชันสูตรพลิกศพ 2) กรณีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางการควบคุมของเจาพนักงาน กําหนดใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนไปใหพนักงานอัยการเพื่อรองขอใหมีการไตสวนการตายโดยศาล (4) ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 333 มาตรา 150 “ใหพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู กับอนามัยจังหวัด แพทยประจําสถานีอนามัย หรือแพทยประจําโรงพยาบาล เปนผูชันสูตรพลิกศพโดยเร็ว และใหทําบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรนั้นไว ถาบุคคลดังกลาวไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหใช เจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขประจําทองที่หรือแพทยประจําตําบล ในกรณีที่ความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ การชันสูตรพลิกศพนั้นตองกระทําพรอมดวยพนักงานอัยการนายหนึ่งซึ่งประจําอยูในทองที่ทําการชันสูตรพลิกศพนั้น

Page 5: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

70

ใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนแจงแกผูมีหนาที่ไปทําการชันสูตรพลิกศพทราบ” ไดมีการกําหนดใหพนักงานอัยการเขารวมการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีวิสามัญฆาตกรรม หรือกรณีตายระหวางอยูในการควบคุม เปนครั้งแรก แตไดยกเลิกการไตสวนการตายโดยศาลออกไป (5) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2523 มาตรา 150 “ใหพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูกับสาธารณสุขจังหวัดหรือแพทยประจําสถานีอนามัย หรือแพทยประจําโรงพยาบาลเปนผูชันสูตรพลิกศพโดยเร็ว และใหทําบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรนั้นไว ถาบุคคลดังกลาวไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหใช เจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขประจําทองที่หรือแพทยประจําตําบล ใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนแจงแกผูมีหนาที่ไปทําการชันสูตรพลิกศพทราบ ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ เมื่อไดมีการชันสูตรพลิกศพแลว ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนชันสูตรพลิกศพไปยังพนักงานอัยการ ใหพนักงานอัยการทําคํารองขอตอศาลชั้นตนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูใหทําการ ไตสวนและทําคําสั่งแสดงวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงเหตุและพฤติการณที่ตาย ถาตายโดยคนทํารายใหกลาววาใครเปนผูกระทํารายเทาที่จะทราบได ในการไตสวน ใหศาลปดประกาศแจงกําหนดวันที่จะทําการไตสวนไวที่ศาลกอนวันทําการไตสวนไมนอยกวาสิบหาวัน และใหพนักงานอัยการนําพยานหลักฐานทั้งปวงที่แสดงถึงการตายดังกลาวในวรรคกอนมาสืบ เมื่อศาลไดปดประกาศแจงกําหนดวันที่จะทําการไตสวนแลว และกอนการไตสวนเสร็จสิ้น สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม หรือผูอนุบาลผูตาย มีสิทธิยื่นคํารองตอศาลขอเขามาซักถามพยานที่พนักงานอัยการนําสืบ และนําสืบพยานอื่นไดดวยเพื่อการนี้ใหมีสิทธิแตงตั้งทนายความใหดําเนินการแทนได เพื่อประโยชนในการนี้ใหพนักงานอัยการแจงกําหนดการไตสวนไปใหบุคคลดังกลาวแลวคนหนึ่งคนใดทราบเทาที่สามารถจะทําได เมื่อศาลเห็นสมควร เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ศาลจะเรียกพยานที่นําสบืมาแลวมาสืบเพิ่มเติม หรือเรียกพยานอื่นมาสืบก็ได

Page 6: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

71

คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ใหถึงที่สุด แตไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิฟองรองและการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล หากพนักงานอัยการ หรือบุคคลอ่ืนไดฟอง หรือจะฟองคดีเกี่ยวกับการตายนั้น เมื่อศาลไดมีคําสั่งแลว ใหสงสํานวนการไตสวนของศาลไปยังพนักงานอัยการเพื่อสงใหแกพนักงานสอบสวนดําเนินการตอไป ตามแตกรณี” ไดแกไขเพิ่มเติม โดยเปลี่ยนแปลงบุคคลผูทําหนาที่ชันสูตรพลิกศพ โดยตัดพนักงานอัยการออกไป แตเพิ่มกระบวนการตรวจสอบการใชอํานาจของตํารวจ โดยกําหนดใหพนักงานสอบสวนทําสํานวนการชันสูตรพลิกศพไปยังพนักงานอัยการ และใหพนักงานอัยการมีหนาที่รองขอใหศาลทําการไตสวนการตาย สําหรับเหตุผลในแกไขนั้น สืบเนื่องมาจากเมื่อมีการประกาศใช ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 333 ปรากฏวามีการใชอํานาจรัฐโดยมิชอบ เชน เมื่อกระทําใหราษฎรถึงแกความตายแลว มักจะอางวาเปนการปฏิบัติราชการตามหนาที่ แลวสรุปสํานวนสงใหอธิบดีกรมอัยการโดยไมตองใหศาลทําการไตสวนกอน จึงกอใหเกิดความไมเปนธรรมขึ้นแกผูตาย (6) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 “มาตรา 150 ในกรณีที่จะตองมีการชันสูตรพลิกศพ ใหพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูกับแพทยทางนิติเวชศาสตรซึ่งไดรับวุฒิบัตร หรือไดรับหนังสืออนุมัติจากแพทยสภา ทําการชันสูตรพลิกศพโดยเร็ว ถาแพทยทางนิติเวชศาสตรดังกลาวไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหแพทยประจําโรงพยาบาลของรัฐปฏิบัติหนาที่ ถาแพทยประจําโรงพยาบาลของรัฐไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหแพทยประจําสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปฏิบัติหนาที่ ถาแพทยประจําสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหแพทย ประจําโรงพยาบาลของเอกชนหรือแพทยผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ที่ข้ึนทะเบียนเปนแพทยอาสาสมัครตามระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขปฏิบัติหนาที่ และในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาว ใหแพทยประจําโรงพยาบาลของเอกชนหรือแพทยผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูนั้น เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ทั้งนี้ ใหพนักงานสอบสวนและแพทยดังกลาวทําบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพทันที และใหแพทยดังกลาวทํารายงานแนบทายบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพดวยภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับ แจงเรื่อง ถามีความจําเปนใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองคร้ัง คร้ังละไมเกินสามสิบวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกครั้ง

Page 7: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

72

ไวในสํานวนชันสูตรพลิกศพ รายงานดังกลาวใหถือเปนสวนหนึ่งของสํานวนชันสูตรพลิกศพ และในกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนชันสูตรพลิกศพไปยังพนักงานอัยการเมื่อเสร็จส้ินการชันสูตรพลิกศพโดยเร็วและใหพนักงานอัยการดําเนินการตอไปตาม มาตรา 156 ใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนแจงแกผูมีหนาที่ไปทําการชันสูตรพลิกศพทราบ และกอนการชันสูตรพลิกศพ ใหพนักงานสอบสวนแจงใหสามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายอยางนอยหนึ่งคนทราบเทาที่จะทําได ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ใหพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครองตําแหนงตั้งแตระดับปลัดอําเภอหรือเทียบเทาขึ้นไปแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูเปนผูชันสูตรพลิกศพรวมกับพนักงานสอบสวนและแพทยตามวรรคหนึ่ง และใหนําบทบัญญัติในวรรคสองมาใชบังคับ เมื่อไดมีการชันสูตรพลิกศพตามวรรคสามแลว ใหพนักงานสอบสวนทําสํานวนชันสูตรพลิกศพแลวสงไปใหพนักงานอัยการภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบเรื่อง ถามีความจําเปนใหขยายเวลาออกไปไดไมเกินสองครั้ง คร้ังละไมเกินสามสิบวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายเวลาทุกครั้งไวในสํานวนชันสูตรพลิกศพ เมื่ อ ได รับ สํานวนชันสูตรพลิกศพแล ว ใหพนักงานอัยการทํ าคํ าร องขอตอ ศาลชั้นตนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู เพื่อใหศาลทําใหการไตสวนและทําคําสั่งแสดงวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงเหตุและพฤติการณที่ตาย ถาตายโดยคนทํารายใหกลาววาใครเปน ผูทํารายเทาที่จะทราบได ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับสํานวน ถามีความจําเปน ใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองครั้ง คร้ังละไมเกินสามสิบวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกครั้งในสํานวนชันสูตรพลิกศพ ในการปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่ง วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหา ใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานอัยการ ในการไตสวนตามวรรคหา ใหศาลปดประกาศแจ งกําหนดวันที่ จะทําการ ไตสวนไวที่ศาล และใหพนักงานอัยการยื่นคํารองตอศาลขอใหศาลสงสําเนาคํารองและแจงกําหนดวันนัดไตสวนใหสามี ภรรยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายตามลําดับอยางนอยหนึ่งคนเทาที่จะทําไดทราบกอนวันนัดไตสวนไมนอยกวา สิบหาวัน และใหพนักงานอัยการนําพยานหลักฐานทั้งปวงที่แสดงถึงการตายมาสืบ

Page 8: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

73

เมื่อศาลไดปดประกาศแจงกําหนดวันที่จะทําการไตสวนแลว และกอนการไตสวนเสร็จส้ิน สามี ภริยา ผูบุพการี ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตาย มีสิทธิที่จะยื่นคํารองตอศาลขอเขามาซักถามพยานที่พนักงานอัยการนําสืบและนําสืบพยานหลักฐานอื่นไดดวย เพื่อการนี้ สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายมีสิทธิแตงตั้งทนายความดําเนินการแทนได หากไมมีทนายความที่ไดรับการแตงตั้งจากบุคคลดังกลาวเขามาในคดี ใหศาลตั้งทนายความขึ้นเพื่อทําหนาที่ทนายความฝายญาติของผูตาย เมื่อศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ศาลจะเรียกพยานที่นําสืบมาแลวมาสืบเพิ่มเติมหรือเรียกพยานหลักฐานอื่นมาสืบก็ได และศาลอาจขอใหผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญมาใหความเห็นเพื่อประกอบการไตสวนและทําคําสั่ง แตทั้งนี้ไมตัดสิทธิของผูนําสืบพยานหลักฐานตามวรรคแปดที่จะขอใหเรียกผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญอื่นมาใหความเห็นโตแยงหรือเพิ่มเติมความเห็นของผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญดังกลาว คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ใหถึงที่สุด แตไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิฟองรองและการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล หากพนักงานอัยการหรือบุคคลอื่นไดฟองหรือจะฟองคดีเกี่ยวกับการตายนั้น เมื่อศาลไดมีคําสั่งแลว ใหสงสํานวนการไตสวนของศาลไปยังพนักงานอัยการ เพื่อสงแกพนักงานสอบสวนดําเนินการตอไป” ซึ่งในพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้ 1) มาตรฐานบุคลากรทางแพทยที่จะเขารวมในการชันสูตรพลิกศพ จะตองเปนแพทยทางนิติเวชศาสตรเปนหลัก หากไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได จึงเปนหนาที่ของแพทยอ่ืนตามที่กําหนดไว และจะตองทํารายงานการชันสูตรพลิกศพดวย ซึ่งแตเดิมเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนแตฝายเดียว (มาตรา 150 วรรคหนึ่ง) 2) พนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครอง เขารวมทําการชันสูตรพลิกศพดวยในกรณีวิสามัญฆาตกรรม (ความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่) หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ (มาตรา 150 วรรค สาม) 3) ใหพนักงานสอบสวนแจง สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาลหรือญาติของผูตาย ใหทราบถึงการตาย (มาตรา 150 วรรคสอง)

Page 9: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

74

4) การไตสวนการตายโดยศาล หากปรากฏวา สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาลหรือญาติของผูตายไมมีทนายความ ใหศาลตองตั้งทนายความเพื่อทําหนาที่ทนายความฝายญาติของผูตาย (มาตรา 150 วรรคแปด) 5) ใหอํานาจศาลในการสืบพยานเพิ่มเติม เรียกผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญมาใหความเห็นประกอบการไตสวนการตาย (มาตรา 150 วรรคเกา) 6) พนักงานอัยการตรวจสอบและกลั่นกรองสํานวนการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําความผิดอาญา ซึ่งแตเดิมพนักงานสอบสวนจะสํานวนสงใหผูวาราชการจังหวัดไดทันที (มาตรา 150 วรรคหนึ่ง ตอนทาย) (7) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2550 มาตรา 150 วรรคสี่ “เมื่อไดมีการชันสูตรพลิกศพตามวรรคสามแลว ใหพนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการเขารวมกับพนักงานสอบสวนทําสํานวนชันสูตรพลิกศพใหเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจง ถามีความจําเปนใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองคร้ัง ครั้งละไมเกินสามสิบวันนับแตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกคร้ังไวในสํานวนชันสูตรพลิกศพ” มาตรา 155/1 “การสอบสวนในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้น โดยการกระทําของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือในกรณีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวาง เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ใหพนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการเขารวมกับพนักงานสอบสวนในการทําสํานวนสอบสวน การทําสํานวนสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ใหพนักงานสอบสวนเปนผูรับผิดชอบโดยพนักงานอัยการอาจใหคําแนะนํา ตรวจสอบพยานหลักฐาน ถามปากคํา หรือสั่งใหถามปากคําบุคคลที่เกี่ยวของไดตั้งเริ่มทําการสอบสวนนับแตโอกาสแรกเทาที่พึงจะกระทําได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง ในกรณีจําเปนเรงดวนและมีเหตุอันควรไมอาจรอพนักงานอัยการเขารวมในการทําสํานวนสอบสวน ใหพนักงานสอบสวนทําสํานวนตอไปได แตตองบันทึกเหตุที่ไมอาจรอพนักงานอัยการไวในสํานวน และถือวาเปนการทําสํานวนสอบสวนที่ชอบดวยกฎหมาย” ซึ่งการแกไขเพิ่มตามพระราชบัญญัติดังกลาว มีสาระสําคัญ ดังนี้

Page 10: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

75

1) ใหพนักงานอัยการรวมรับผิดชอบทําสํานวนชันสูตรพลิกศพกับพนักงานสอบสวน ในกรณีการตายโดยการกระทําของเจาพนักงานหรือตายในระหวางควบคุมของเจาพนักงาน หรือกรณีผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงาน 2) ใหพนักงานสอบสวนเปนผูรับผิดชอบสํานวน โดยใหพนักงานอัยการใหคําแนะนํา ตรวจสอบพยานหลักฐาน ถามปากคํา หรือส่ังใหถามปากคําบุคคลที่เกี่ยวของไดตั้งแตเร่ิมทําสํานวนสอบสวน จะเห็นไดวากฎหมายมุงหมายใหพนักงานอัยการเขารวมสอบสวนคดีดังกลาวเพื่อคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน เนื่องจากคดีวิสามัญฆาตกรรมหรือกรณีการตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ รวมถึงคดีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงาน ซึ่งเปนคดีที่มีผลกระทบถึงสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเปนอยางยิ่ง ดังที่ไดกลาวมาขางตน จะเห็นไดวาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดมีการการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมอยูตลอดเวลา ซึ่งจะเนนไปที่ปรับปรุงการชันสูตรพลิกศพกรณีคดีวิสามัญฆาตกรรม1 ในสวนที่เกี่ยวกับองคกรที่จะเขารวมชันสูตรพลิกศพและกระบวนการไตสวนการตาย เนื่องจากผูที่เกี่ยวของในคดีวิสามัญฆาตกรรม ไมวาจะเปนพนักงานอัยการ ศาล หรือแพทย ไมคอยมีโอกาสพิจารณาสํานวนวิสามัญฆาตกรรม เนื่องจากปริมาณคดีดังกลาวมีจํานวนไมมาก 2และตนเองไมมีอํานาจหนาที่ในการพิจารณา เชน อัยการสูงสุดเทานั้นที่มีอํานาจสั่งในคดีวิสามัญฆาตกรรม อัยการทั่วไปจึงไมมีโอกาสไดเห็นสํานวนคดีวิสามัญฆาตกรรม ในป พ.ศ. 2542 กระทรวงยุติธรรมไดเสนอรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยเนนไปที่มาตรา 150 เนื่องจากมีความเขาใจที่คลาดเคลื่อนวาการชันสูตรพลิกศพกับคดีวิสามัญฆาตกรรมนั้นเปนเรื่องเดียวกัน ซึ่งในความเปนจริงแลวการชันสูตรพลิกศพนั้นจะชวยคนหาสาเหตุและพฤติการณแหงการตายที่แทจริงไดโดยอาศัยหลักวิชาการแพทย แตไมอาจแสดงพฤติการณกอนตายได ผูที่รูถึงพฤติการณกอนตาย คือ เจาพนกังาน

1 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ภาคผนวก 2 สถิติการรวมชันสูตรพลิกศพในเขตกรุงเทพมหานครของสํานักงานอัยการสูงสุด ในป

2549 – 2550 นั้น พนักงานอัยการเขารวมในคดีการตายโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ เปนจํานวน 6 คดี และคดีการตายในระหวางการควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ เปนจํานวน 404 คดี

Page 11: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

76

ผูทําใหตาย พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ และพยานบุคคลที่เห็นเหตุการณ ดังนั้นจึงเปนที่มาของการแกไขเพิ่มเติมมาตรา 150 วรรคสี่ และมาตรา 155/1 ใหพนักงานอัยการเขารวมในการทําสํานวนสอบสวนในคดีวิสามัญฆาตกรรมและสํานวนคดีที่ผูตายตอสูขัดขวางเจาพนักงาน เพื่อใหการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรมมีความโปรงใสและไดรับการตรวจสอบ มีการคานอํานาจของพนักงานสอบสวน ซึ่งจะทําใหประชาชนมีความเชื่อมั่นในการสอบสวนคดีและการไตสวนการตายมากขึ้น (8) กฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ (8.1) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 81 บัญญัติวา “รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานกฎหมายและการยุติธรรม ดังตอไปนี้ (1) ดูแลใหมีการปฏิบัติและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมายอยางถูกตอง รวดเร็ว เปนธรรม และทั่วถึง สงเสริมการใหความชวยเหลือและใหความรูทางกฎหมายแกประชาชน และจัดระบบงานราชการและงานของรัฐอยางอื่นในกระบวนการยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพ โดยใหประชาชนและองคกรวิชาชีพมีสวนรวมในกระบวนการยุติธรรม และการชวยเหลือประชาชนทาง กฎหมาย (2) คุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลใหพนจากการลวงละเมิด ทั้งโดยเจาหนาที่ของรัฐ และโดยบุคคลอื่น และตองอํานวยความยุติธรรมแกประชาชนอยางเทาเทียมกัน (3) จัดใหมีกฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายที่ดําเนินการเปนอิสระ เพื่อปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของประเทศ รวมทั้งการปรับปรุงกฎหมายใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญ โดยตองรับฟงความคิดเห็นของผูที่ไดรับผลกระทบจากกฎหมายนั้นประกอบดวย (4) จัดใหมีกฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมที่ดําเนินการเปน อิสระ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรม (5) สนับสนุนการดําเนินการขององคกรภาคเอกชนที่ใหความชวยเหลือทางกฎหมาย แกประชาชน โดยเฉพาะผูไดรับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัว จากบทบัญญัติดังกลาว เปนเรื่องที่รัฐจะตองเขามาเกี่ยวของในฐานะที่เปนผูรักษาความสงบเรียบรอยภายในสังคม และเพื่อใหความเปนธรรมแกผูตาย เพราะรัฐมีหนาที่ตามรัฐธรรมนูญที่จะตองใหความคุมครองแกชีวิตของมนุษย

Page 12: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

77

จึงเปนหนาที่ของรัฐที่จะตองจัดใหเกิดการชันสูตรพลิกศพที่มีประสิทธิภาพ สามารถคุมครองสิทธิของบุคคลได เพราะการชันสูตรพลิกศพมิไดเปนเพียงการพิสูจนเพื่อรูสาเหตุของการตายเทานั้น แตยังเปนการพิจารณาตอไปดวยวาความตายนั้นเกิดจากการกระทําความผิดอาญาหรือไม (8.2) ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวยการชันสูตรพลิกศพ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543 เปนระเบียบที่กําหนดเกี่ยวกับระเบียบและขั้นตอนปฏิบัติเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพของพนักงานสอบสวน เพื่อใหสอดคลองกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาบัญญัติไว (8.3) ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ไดมีการกําหนดระเบียบดังกลาว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดหลักเกณฑและวิธีการของพนักงานอัยการ ในการทําการชันสูตรพลิกศพและการไตสวนการตาย เพื่อใหเปนไปดวยความรวดเร็ว รอบคอบ มีประสิทธิภาพ และคุมครองสิทธิของผูที่เกี่ยวของ (8.4) ขอบังคับกระทรวงมหาดไทยวาดวยระเบียบการปฏิบัติหนาที่ชันสูตรพลิกศพของพนักงานฝายปกครอง พ.ศ. 2543 เมื่อมีการแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กระทรวงมหาดไทยจึงไดออกขอบังคับดังกลาว เพื่อใหสอดคลองกับการชันสูตรพลิกศพที่ไดแกไขเปลี่ยนแปลงไป

4.2 การชนัสูตรพลิกศพตามประมวลกฎหมายวิธีพจิารณาความอาญาและกฎหมายทีเ่กี่ยวของ

การชันสูตรพลิกศพเปนไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยบัญญัติอยูในลักษณะ 2 การสอบสวน หมวด 2 การชันสูตรพลิกศพ ตั้งแตมาตรา 148 ถึง 156 และนอกจากนี้ยังมีขั้นตอนการดําเนินการเพิ่มเติมไวในระเบียบหรือขอบังคับของหนวยงานที่เกี่ยวของซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการชันสูตรพลิกศพดวย ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้

Page 13: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

78

4.2.1 ความหมาย วัตถุประสงค และกรณีที่ตองมีการชันสูตรพลิกศพ 4.2.1.1 ความหมายของการชันสูตรพลิกศพ การชันสูตรพลิกศพ หมายถึง การตรวจศพเพื่อหาสาเหตุของการเสียชวีติ โดยศพัทคาํนี้แปลมาจากคําภาษาอังกฤษวา Postmortem Examination หรือ Autopsy ซึ่งหมายถึง การตรวจหลังตาย สําหรับความหมายของการชันสูตรพลิกศพนั้น ในประเทศไทยไดมีผูใหความหมายไวหลายประการ ดังนี้ ศาสตราจารย สัญญา ธรรมศักดิ์ “การชันสูตรพลิกศพ คือ การตรวจพิจารณาศพ ผูหนึ่งผูใดเพื่อทราบวาตายไปเพราะเหตุใด และศพนั้นเปนศพของใครแน และรายละเอียดอื่น ๆ เทาที่จําเปนแกการสอบสวนเพื่อใหรูถึงขอที่กลาวขางตนนั้น”3 ศาสตราจารย คนึง ฦาไชย “การชันสูตรพลิกศพ เปนวิธีการในการตรวจรางกายของผูตาย เพื่อคนพบถึงสาเหตุและพฤติการณที่ทําใหเกิดการตายแกบุคคลนั้น ซึ่งจะตองกระทําตามที่บัญญัติไวในมาตรา 148 จนถึงมาตรา 156”4 ศาสตราจารย ดร. คณิต ณ นคร “การชันสูตรพลิกศพ คือ การตรวจดูศพเพื่อคนพบสาเหตุและพฤติการณที่ทําใหเกิดการตายนั้นขึ้น”5 ศาสตราจารย นพ.วิฑูรย อ้ึงประพันธ “การชันสูตรพลิกศพ เปนงานสืบสวนสอบสวนการตายของบุคคลที่ตายโดยผิดธรรมชาติ ไดแกการตรวจศพจากการดูลักษณะภายนอก รวบรวมพยานหลักฐานจากศพและสถานที่พบศพ ตลอดจนการผาศพตรวจ ตรวจวัตถุพยานจากศพ”6

3 สัญญา ธรรมศักดิ์, คําอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, พิมพคร้ังที่

5 (กรุงเทพมหานคร: กรุงสยามการพิมพ, 2527) น. 189. 4 คนึง ฦาไชย, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เลม 1, พิมพคร้ังที่ 5,

(กรุงเทพมหานคร : โครงการตําราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541) น. 343.

5 คณิต ณ นคร, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, พิมพคร้ังที่ 7 (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวิญูชน, 2549) น. 348.

6 วิฑูรย อ้ึงประพันธ, “การศึกษาระบบงานนิติเวชของไทยและตางประเทศ” ดุลพาห, เลม 6, ปที่ 41, น. 35, (พฤศจิกายน-ธันวาคม).

Page 14: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

79

ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทยแลว การผาศพเพื่อตรวจดูภายใน ไมจําตองกระทําทุกครั้งเมื่อมีการชันสูตรพลิกศพ เวนแตกรณีที่มีความจําเปน ซึ่งไดบัญญัติไวในมาตรา 151 ไวดังนี้ “มาตรา 151 ในเมื่อมีการจําเปนเพื่อพบเหตุของการตาย เจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพมีอํานาจสั่งใหผาศพแลวแยกธาตุสวนใด หรือจะใหสงทั้งศพหรือบางสวนไปยังแพทยหรือพนักงานแยกธาตุของรัฐบาลก็ได” ดังนั้น เมื่อไดทําการตรวจศพภายนอกแลว เจาหนาที่ผูทําการชันสูตรพลิกศพไดขอสรุปถึงสาเหตุของการเสียชีวิต และจัดทําบันทึกการชันสูตรพลิกศพเสร็จสิ้นแลวก็สามารถฟองคดีได 4.2.1.2 วัตถุประสงคของการชันสูตรพลิกศพ วัตถุประสงคของการชันสูตรพลิกศพ มีบัญญัติไวใน มาตรา 154 วา “ใหผูชันสูตรพลิกศพทําความเห็นเปนหนังสือแสดงเหตุผลและพฤติการณที่ตาย ผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด ถาตายโดยคนทําราย ใหกลาววาใครหรือสงสัยวาใครเปนผูกระทําผิดเทาที่จะทราบได” บทบัญญัติมาตรา 154 แสดงถึงวัตถุประสงคในการชันสูตรพลิกศพ อันไดแก (1) เพื่อพิสูจนวา ผูตายคือใคร เปนจุดเริ่มตนของการสืบสวนถึงสาเหตุการตาย และสามารถสืบไปถึงตัวผูกระทําความผิดได (2) เพื่อพิสูจนวา ตายที่ไหน กลาวคือ การชันสูตรพลิกศพสามารถบอกไดวา ผูตาย ตาย ณ สถานที่พบศพ หรือสถานที่อ่ืน (3) เพื่อพิสูจนวา ตายเมื่อใด ซึ่งการชันสูตรพลิกศพ ณ สถานที่เกิดเหตุ มีหลักสันนิษฐานเบื้องตนวา เวลาตาย คือ เวลาที่เกิดเหตุ การพิสูจนเวลาตายมีความสําคัญตอการฟองคดีตอศาล ซึ่งหากไมสามารถระบุเวลาใหชัดเจนไดพอสมควรแลว ศาลอาจจะยกฟอง (4) เพื่อพิสูจน เหตุที่ตาย หมายถึง การตรวจหาสาเหตุที่ตายโดยตรง ตามตนเหตุหรือตามพยาธิสภาพ (5) เพื่อพิสูจน พฤติการณที่ตาย หมายถึง การตรวจหาการกระทําที่ทําใหตาย เชน เกิดขึ้นจากการกระทําของตนเอง ถูกผูอ่ืนกระทําใหถึงแกความตาย หรือความตายนั้นเปนเพราะอุบัติเหตุ อยางไรก็ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทยเรา ยังใหความสําคัญตอการชันสูตรพลิกศพคอนขางนอย เพราะการชันสูตรพลิกศพตามกฎหมายไทยเราในกรณีปกติให

Page 15: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

80

กระทําโดยพนักงานสอบสวนกับแพทย แตในสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน การชันสูตรพลิกศพตองกระทําโดยมีพนักงานอัยการหรือผูพิพากษาเขารวมกับแพทยดวย7 เชนเดียวกันกับในประเทศญี่ปุน เมื่อมีการพบวามีผูเสียชีวิตโดยผิดธรรมชาติ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของญี่ปุน กําหนดใหพนักงานอัยการทําการชันสูตรพลิกศพรวมกับเจาพนักงานตํารวจดวย8 4.2.1.3 กรณีที่ตองมีการชันสูตรพลิกศพ ในความหมายทางกฎหมายแลว “ความตาย” ของบุคคล จะมีผลกระทบตอสิทธิและหนาที่ประการตาง ๆ ในกฎหมาย เชน กอใหเกิดสิทธิรับมรดก หรือสิทธิเรียกรองคาเสียหายหรือคาชดเชยจากผูกระทําใหตาย แตกฎหมายก็มิไดกําหนดใหตองมีการชันสูตรพลิกศพ เมื่อมีความตายเกิดขึ้นในทุกกรณี ซึ่งกรณีที่ตองมีการชันสูตรพลิกศพ นั้น กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดกําหนดกรณีเหลานั้นไวใน มาตรา 148 วรรคหนึ่ง วา “เมื่อปรากฏแนชัด หรือมีเหตุอันควรสงสัยวาบุคคลใดตายโดยผิดธรรมชาติ หรือตายในระหวางอยูในการควบคุมของเจาพนักงาน ใหมีการชันสูตรพลิกศพ เวนแตตายโดยการประหารชีวิตตามกฎหมาย” ดังนั้น การชันสูตรพลิกศพตองกระทําใน 2 กรณี ดังนี้ (1) ตายโดยผิดธรรมชาติ (2) ตายในระหวางอยูในการควบคุมของเจาพนักงาน การตายโดยผิดธรรมชาติก็ดี หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานก็ดี อาจเกิดขึ้นจากการกระทําความผิดอาญาหรือไมก็ได ในกรณีที่ความตายเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา การชันสูตรพลิกศพยอมเปนสวนหนึ่งของการดําเนินคดีชั้นสอบสวนฟองรอง และโดยที่การสอบสวนตองกระทําโดยรอบคอบตามหลักการตรวจสอบ มาตรา 1299 จึงบังคับวาถาการชันสูตรพลิกศพยังไมเสร็จ จะฟองผูตองหาตอศาลยังไมได10

7 คณิต ณ นคร, อางแลว เชิงอรรถที่ 5, น. 473. 8 Shigemitsu Dando, Japanese Criminal Procedure, (South Hackensack, N.J.,

Fred B. Rothman, 1965) pp.322 – 323. 9 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาอาญา มาตรา 129 บัญญัติวา “ใหทําการสอบสวน

รวมทั้งการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีที่ความตายเปนผลแหงการกระทําความผิดอาญา ดังที่บัญญัติ

Page 16: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

81

(1) กรณีตายโดยผิดธรรมชาติ การตายโดยผิดธรรมชาติ หมายถึง การตายที่นอกเหนือจากการตายโดย ธรรมชาติ ซึ่งการตายโดยธรรมชาติ คือ การตายโดยโรคภัยไขเจ็บ หรือตายโดยความชรา11 ซึ่งในมาตรา 148 วรรคสอง บัญญัติวา “การตายโดยผิดธรรมชาตินั้น คือ (1) ฆาตัวตาย (2) ถูกผูอ่ืนทําใหตาย (3) ถูกสัตวทํารายตาย (4) ตายโดยอุบัติเหตุ (5) ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ” การฆาตัวตาย หมายถึง การจบชีวิตตนเองโดยการใชกําลังประทุษราย ซึ่งอาจเปนการกระทําที่ไดกระทําโดยมีความประสงคถึงการตาย หรือโดยมีความประสงคเพียงการประทุษรายแตทําใหเกิดผลถึงตายขึ้น การถูกผูอ่ืนทําใหตาย หมายถึง กรณีที่ความตายเกิดขึ้นจากการกระทําของบุคคลอื่น12 การถูกสัตวทําราย หมายถึง กรณีความตายเกิดจากการถูกสัตวทํารายโดยตรง มิใชเกิดจากโรคที่สัตวนั้นเปนพาหะนําโรค ที่จําเปนตองมีการชันสูตรพลิกศพ เนื่องจากเพราะอาจมีการใชสัตวเปนเครื่องมือในการกระทําความผิดอาญา13 การตายโดยอุบัติเหตุ หมายถึง การตายที่เกิดจากเหตุปจจุบันทันดวน อันไมอาจคาดหมายได เชน ตกน้ําตาย ถูกฟาผาตาย14 และรวมถึงความตายที่เกิดขึ้นโดยมิไดเปนความตั้งใจ หรือเจตนาของผูตายหรือผูอ่ืน หรือการตายที่เกิดจากการกระทําของผูอ่ืนโดยประมาท

ไวในประมวลกฎหมายนี้อันวาดวยการชันสูตรพลิกศพ ถาการชันสูตรพลิกศพยังไมเสร็จ หามมิใหฟองผูตองหายังศาล”

10 คณิต ณ นคร, อางแลว เชิงอรรถที่ 5, น. 473-474. 11 สํานักงานศาลยุติธรรม, คูมือการชันสูตรพลิกศพ ตามพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติม

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542, 2544, น. 15. 12 แสวง บุญเฉลิมวิภาส และ เอนก ยมจินดา, กฎหมายการแพทย, พิมพคร้ังที่ 2

(กรุงเทพมหานคร: สํานกัพมิพวิญูชน, 2546) น. 214. 13 คนึง ฦาไชย, อางแลว เชิงอรรถที่ 4, น. 347.

Page 17: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

82

การตายโดยยังมิปรากฏเหตุ หมายถึง กรณีที่ยังไมทราบวาการตายนั้น เกิดเนื่องจากเหตุใด จึงจําเปนตองมีการชันสูตรพลิกศพ (2) กรณีตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน กลาวคือ การตายในระหวางที่ควบคุมผูตองหามายังสถานีตํารวจ หรือในระหวางถูกควบคุมที่สถานีตํารวจหรือในเรือนจํา อาจเปนการตายโดยธรรมชาติหรือตายผิดธรรมชาติ หรือตายเพราะเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติการตามหนาที่ กระทําใหถึงแกความตายก็ตาม15 ความหมายของ “ความควบคุม” นั้นจะมีนัยที่กวางกวาคําวา “ควบคุม” ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (21) ซึ่งหมายความวา “การควบคุมหรือกักขังผูถูกจับโดยพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจในระหวางสืบสวนและสอบสวน โดยไดมีคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 106/2501 ซึ่งที่ประชุมใหญศาลฎีกาไดวินิจฉัยวา เมื่อผูตองหาที่ถูกควบคุมกักขังในเรือนจําตายลง ก็ถือวาตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาหนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ สวนการอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่นั้น ไมจําตองเปนการยกขึ้นอางโดยตรง เพียงแตปรากฏในรายงาน บันทึกคําแจงความ คําใหการ ที่พอจะแสดงไดวาเจาพนักงานนั้นไดกระทําหรือปฏิบัติราชการตามหนาที่ก็เปนอันใชได การที่กฎหมายกําหนดใหตองมีการชันสูตรพลิกศพในกรณีนี้ เพื่อแสดงถึงความบริสุทธิ์ หรือตรวจสอบความผิดของเจาหนาผูที่เกี่ยวของ และยังเปนวิธีที่จะยังยั้งมิใหเจาหนาที่คิดกระทําการอันเปนการผิดกฎหมายดวย 4.2.2. องคกรที่เกี่ยวของกบัการชันสูตรพลิกศพ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายลําดับรองที่เกี่ยวของ ไดกําหนดถึงองคกรที่เกี่ยวของกับการชันสูตรพลิกศพไวหลายองคกรดวยกัน ไดแก บุคคลผูพบการ

14 วิรัติ พาณิชยพงษ, มาตรฐานการชันสูตรพลิกศพ, (งานวิจัยหลักสูตร ”ผูบริหาร

กระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.)” รุนที่ 4 วิทยาลัยการยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรม, 2542), น. 22.

15 ณรงค ใจหาญ, หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, พิมพครั้งที่ 6 (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวิญูชน, 2544), น. 265.

Page 18: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

83

ตายโดยผิดธรรมชาติ พนักงานสอบสวน แพทย พนักงานอัยการ และเจาพนักงานฝายปกครอง ซึ่งแตละองคกรมีอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบในการชันสูตรพลิกศพ ดังนี้ 4.2.2.1 บุคคลผูพบการตายโดยผิดธรรมชาติ เมื่อมีการตายโดยผิดธรรมชาติเกิดขึ้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ไดกําหนดตัวบุคคลผูมีหนาที่ และหนาที่ที่จะตองกระทําไวใน มาตรา 149 “มาตรา 149 ความตายผิดธรรมชาติเกิดขึ้นมี ณ ที่ใด ใหเปนหนาที่ของสามีภริยา ญาติ มิตรสหายหรือผูปกครองของผูตายที่รูเร่ืองการตายเชนนั้น จัดการดั่งตอไปนี้ (1) เก็บศพไว ณ ที่ซึ่งพบนั้นเองเพียงเทาที่จะทําได (2) ไปแจงความแกพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจโดยเร็วที่สุด หนาที่ดั่งกลาวในวรรคตนนั้นมีตลอดจนถึงผูอ่ืน ซึ่งไดพบศพในที่ซึ่งไมมีสามี ภริยา ญาติ มิตรสหายหรือผูปกครองของผูตายอยูในที่นั้นดวย ผูใดละเลยไมกระทําหนาที่ดังบัญญัติไวในมาตรานี้ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท” สาระสําคัญของมาตรา 149 แบงไดเปน (1) บุคคลผูมีหนาที่ ไดแกสามีภริยา ญาติ มิตรสหายหรือผูปกครองของผูตายที่รูเร่ืองการตายเชนนั้น หรือบุคคลอื่นซึ่งไดพบศพในที่ซึ่งไมมีสามี ภริยา ญาติ มิตรสหายหรือผูปกครองของผูตายอยูในที่ที่พบศพนั้น (2) หนาที่ที่จะตองกระทํา ไดแก เก็บศพไว ณ ที่ซึ่งพบนั้นเองเพียงเทาที่จะทําได และไปแจงความแกพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจโดยเร็วที่สุด มาตรา 149 บัญญัติขึ้นเพื่อประโยชนในการรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ เพื่อพิสูจนถึงเหตุและพฤติการณแหงความตาย หรือเพื่อพิสูจนความผิดในกรณีที่การตายมีความเกี่ยวของกับการกระทําความผิดอาญา จึงไดกําหนดไวใหเก็บศพไว ณ ที่ซึ่งพบศพนั้นไมใหมีการเคลื่อนยายศพ และยังไดกําหนดใหแจงความแกเจาพนักงานโดยเร็วที่สุด ก็เพื่อใหเจาพนักงานมีโอกาสไดทําการชันสูตรพลิกศพโดยรวดเร็ว และสะดวกในการรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ นอกจากนี้ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญายังกําหนดความผิดอาญาแกผูที่กระทําใหการชันสูตรพลิกศพไดรับความเสียหาย หรือกระทบกระเทือนไวในมาตรา 150 ทวิ “มาตรา 150 ทวิ ผูใดกระทําการใด ๆ แกศพหรือสภาพแวดลอมในบริเวณที่พบศพกอนการชันสูตรพลิกศพเสร็จส้ิน ในประการที่นาจะทําใหการชันสูตรพลิกศพหรือผลทางคดี

Page 19: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

84

เปลี่ยนแปลงไป เวนแตจําเปนตองกระทําเพื่อปองกันอันตรายแกอนามัยของประชาชน หรือเพื่อประโยชนสาธารณะอยางอื่น ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสองป หรือปรับต้ังแตหนึ่งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเปนการกระทําโดยทุจริตหรือเพื่ออําพรางคดี ผูกระทําตองระวางโทษเปนสองเทาของโทษที่กําหนดไวสําหรับความผิดนั้น” บทบัญญัติมาตรานี้ มีข้ึนเพื่อเปนหลักประกันวา เจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพ จะไดมีโอกาสรวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับความตายนั้น ในสภาพตามความเปนจริง โดยไมการกระทําหรือเหตุอ่ืนใดทําใหพยานหลักฐาน ศพ หรือสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป 4.2.2.2 พนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู การที่กฎหมายบัญญัติใหพนักงานสอบสวนผูมีหนาที่ทําการชันสูตรพลิกศพเปนพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู ก็เพื่อใหสามารถเริ่มการชันสูตรพลิกศพไดอยาง รวดเร็วและมีความสะดวกในการปฏิบัติหนาที่ สําหรับผูมีหนาที่ทําการชันสูตรพลิกศพ นั้น ยังคงมีความเห็นทางกฎหมายที่แตกตางกันอยู คือ ความเห็นที่หนึ่ง เห็นวา พนักงานสอบสวนอื่นแมจะมีอํานาจสอบสวนเหนือคดนีัน้ กไ็มมีอํานาจทําการชันสูตรพลิกศพ16 อีกความเห็นหนึ่ง เห็นวาการชันสูตรพลิกศพเปนสวนหนึ่งของการสอบสวน ซึ่งอํานาจสอบสวนมิไดติดอยูกับทองที่ ดังนั้น พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบในการสอบสวนคดี ก็มีอํานาจทําการชันสูตรพลิกศพไดดวย17 นอกจากนี้ ในขอ 12 ของระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวยการชันสูตรพลิกศพ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543 หามมิใหเจาพนักงานหรือผูควบคุมผูทําใหตาย ทําหนาที่เปนพนักงานสอบสวนผูชันสูตรพลิกศพ เวนแตจะบันทึกคําชี้แจงแสดงรายละเอียดที่เกิดขึ้นมอบใหพนักงานสอบสวนผูชันสูตรพลิกศพเขาไปไวในสํานวนเพื่อดําเนินการตอไป ขอหามดังกลาว มีขึ้นเพื่อปองกันไมใหเกิดการชันสูตรพลิกศพที่ไมตรงกับความเปนจริงหรือเกิดผลทางคดีที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อเปนหลักประกันสรางความยุติธรรมใหแกผูตาย จึงให เจาพนักงานอื่นที่มิใชผูทําใหตาย เปนผูตรวจสอบขอเท็จจริงแทน

16 คนึง ฦาไชย, อางแลว เชิงอรรถที่ 4, น. 347. 17 คณิต ณ นคร, อางแลว เชิงอรรถที่ 5, น. 478-479.

Page 20: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

85

4.2.2.3 แพทย แตเดิมกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดกําหนดใหเจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขประจําทองที่ รวมชันสูตรพลิกศพได ตอมาใน พ.ศ. 2542 ไดมีการแกไขกฎหมายใหผูรวมการชันสูตรพลิกศพจะตองเปนแพทยเทานั้น และยังกําหนดลําดับในการเขารวมชันสูตรพลิกศพ ดังนี้ (1) แพทยทางนิติเวชศาสตร (2) แพทยประจําโรงพยาบาลของรัฐ (3) แพทยประจําสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (4) แพทยประจําโรงพยาบาลของเอกชน หรือแพทยผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ขึ้นทะเบียนเปนแพทยอาสาสมัคร ตามระเบียบของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแพทยในลําดับที่รองลงมา จะเขารวมชันสูตรพลิกศพแทนแพทยที่อยูในลําดับที่สูงกวาตนได ก็ตอเมื่อแพทยในลําดับที่สูงกวานั้น ไมมี หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได การที่กฎหมายกําหนดใหผูรวมชันสูตรพลิกศพ จะตองเปนแพทยเทานั้น เพราะตองการบุคคลที่มีความชํานาญเพียงพอตอการวินิจฉัยสาเหตุการตายและพฤติการณที่ตายไดอยางถูกตองตรงความเปนจริง18 ซึ่งจะชวยเหลือใหพนักงานสอบสวนสามารถทําสํานวนการสอบสวนมิใหเกิดความผิดพลาดในการวินิจฉัยถึงสาเหตุและพฤติการณที่ตาย 4.2.2.4 พนักงานอัยการ การชันสูตรพลิกศพกรณีวิสามัญฆาตกรรม ไดกําหนดใหมีเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมเขามามีบทบาทรวมในการชันสูตรพลิกศพเพิ่มข้ึน ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคสามและสี่ และ 155/1 มาตรา 150 วรรคสาม บัญญัติไววา “ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ใหพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครองตําแหนงตั้งแตระดับปลัดอําเภอหรือเทียบเทาขึ้นไปแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูเปนผูชันสูตรพลิกศพรวมกับพนักงานสอบสวนและแพทยตามวรรคหนึ่ง และใหนําบทบัญญัติในวรรคสองมาใชบังคับ”

18 ณรงค ใจหาญ, “การปรับปรุงกระบวนการชันสูตรพลิกศพ”, วารสารนิติศาสตร,

ฉบับที่ 1, ปที่ 30, น.146-147, (มีนาคม 2543).

Page 21: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

86

มาตรา 150 วรรคสี่ บัญญัติไววา “เมื่อไดมีการชันสูตรพลิกศพตามวรรคสามแลว ใหพนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการเขารวมกับพนักงานสอบสวนทําสํานวนชันสูตรพลิกศพใหเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจง ถามีความจําเปนใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองครั้ง คร้ังละไมเกินสามสิบวันนับแตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกครั้งไวในสํานวนชันสูตรพลิกศพ” มาตรา 155/1 บัญญัติไววา “การสอบสวนในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้น โดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือในกรณีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวาง เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ใหพนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการเขารวมกับพนักงานสอบสวนในการทําสํานวนสอบสวน การทําสํานวนสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ใหพนักงานสอบสวนเปนผูรับผิดชอบโดยพนักงานอัยการอาจใหคําแนะนํา ตรวจสอบพยานหลักฐาน ถามปากคํา หรือส่ังใหถามปากคําบุคคลที่เกี่ยวของไดตั้งเริ่มทําการสอบสวนนับแตโอกาสแรกเทาที่พึงจะกระทําได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง ในกรณีจําเปนเรงดวนและมีเหตุอันควรไมอาจรอพนักงานอัยการเขารวมในการทําสํานวนสอบสวน ใหพนักงานสอบสวนทําสํานวนตอไปได แตตองบันทึกเหตุที่ไมอาจรอพนักงานอัยการไวในสํานวน และถือวาเปนการทําสํานวนสอบสวนที่ชอบดวยกฎหมาย” ดังนั้น พนักงานอัยการจะตองเขารวมการชันสูตรพลิกศพดวย โดยเมื่อศูนยอํานวยการคดีชันสูตรพลิกศพ ไดรับแจงจากพนักงานสอบสวนเพื่อขอใหพนักงานอัยการเขารวมทําการชันสูตรพลิกศพแลว จากนั้นเจาหนาที่ประจําศูนยจะบันทึกการแจงไวในแบบรับแจงการเขารวมชันสูตรพลิกศพ และแจงใหพนักงานอัยการแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู ไปรวมทําการชันสูตรพลิกศพและตองรวมรับผิดชอบในการทําสํานวนชันสูตรพลิกศพใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดรับแจง จากนั้น พนักงานสอบสวนจะทําการสอบสวนรวมกับพนักงานสอบสวนและจัดทําสํานวนการสอบสวนในกรณีการตายตามที่กําหนดไวในมาตรา 150 วรรคสาม และรวมถึงกรณีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งอางวาฏิบัติราชการตามหนาที่ดวย ตามความในมาตรา 155/1 ภารกิจที่กลาวมานั้นถือเปนหนาที่ที่พนักงานอัยการจะตองใหความสําคัญเปน

Page 22: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

87

พิเศษ เพื่อคุมครองสิทธิของทุกฝาย ไมวาจะเปนญาติของผูตายหรือเจาพนักงาน รวมไปถึงการดูแลสิทธิของทุกฝายในการไตสวนการตาย การซักถามพยาน และการนําสืบพยาน19 4.2.2.5 พนักงานฝายปกครอง การชันสูตรพลิกศพกรณีวิสามัญฆาตกรรม ไดกําหนดใหมีเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมเขามามีบทบาทรวมในการชันสูตรพลิกศพเพิ่มข้ึน ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคสาม มาตรา 150 วรรคสาม บัญญัติไววา “ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ใหพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครองตําแหนงตั้งแตระดับปลัดอําเภอหรือเทียบเทาขึ้นไปแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูเปนผูชันสูตรพลิกศพรวมกับพนักงานสอบสวนและแพทยตามวรรคหนึ่ง และใหนําบทบัญญัติในวรรคสองมาใชบังคับ” คุณสมบัติของพนักงานฝายปกครองกําหนดไวในขอบังคับกระทรวงมหาดไทย วาดวยระเบียบการปฏิบัติหนาที่ชันสูตรพลิกศพของพนักงานฝายปกครอง พ.ศ. 2543 พนักงานฝายปกครองตําแหนงตั้งแตระดับปลัดอําเภอหรือเทียบเทาขึ้นไป ไดแก (1) ในกรุงเทพมหานคร หมายถึง เจาพนักงานปกครอง นิติกร หัวหนางาน หวัหนากลุม หัวหนาฝาย ผูอํานวยการสวน ผูอํานวยการกอง ผูอํานวยการสํานัก กรมการปกครอง ผูตรวจราชการกรมการปกครอง รองอธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการปกครอง ผูชวยปลัดกระทรวงมหาดไทย ผูตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย และปลัดกระทรวงมหาดไทย (2) ในจังหวัดอื่น หมายถึง ปลัดอําเภอ ปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอ นายอําเภอ ปองกันจังหวัด จาจังหวัด ปลัดจังหวัด รองผูวาราชการจังหวัด และผูวาราชการจังหวัด (3) กรณีพิเศษ ไดแกกรณีที่ตามขอ 6 ที่กําหนดใหผูวาราชการจังหวัดหรือปลัดกระทรวงมหาดไทย เขามีสวนรวมในการชันสูตรพลิกศพได โดยมีหลักการดังนี้ (3.1) เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ซึ่งเปนดุลพินิจของผูใชอํานาจ คือ ผูวาราชการจังหวัดหรือปลัดกระทรวงมหาดไทย วากรณีใดเปนไปเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ซึ่งเปนขอสังเกตประการหนึ่ง เนื่องจากจะใชหลักเกณฑใดในการวินิจฉัย

19 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 5 และ 9

Page 23: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

88

(3.2) เปนกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏบิตัริาชการตามหนาที่ และเปนเรื่องที่อยูในความสนใจหรือสะเทือนขวัญของประชาชน ยกตัวอยางเชน กรณทีี่เจาหนาที่ตํารวจขณะทําการจับกุมคนราย ไดยิงปนไปถูกเด็กซึ่งอยูขางคนรายเสียชีวิต เปนตน ผูวาราชการจังหวัดหรือปลัดกระทรวงมหาดไทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย มีอํานาจ 2 ประการ ไดแก 1) รวมใหคําปรึกษาหรือคําแนะนําแกพนักงานฝายปกครองผูทําหนาที่ชันสูตรพลิกศพ เพราะวาในบางคดี เจาหนาที่ระดับลางที่มีหนาที่ชันสูตรพลิกศพ อาจจะเกิดความไมมั่นใจหรือตองการคําปรึกษาการผูบังคับบัญชาระดับสูง เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่เปนไปอยางถูกตอง ซึ่งอาจมองในอีกมุมหนึ่งแลว อาจจะเปนการแทรกแซงหรือใชอํานาจครอบงําไดเชนกัน แตอยางไรก็ตามการใหคําปรึกษาหรือคําแนะนําจะกาวลวงไปยังพนักงานฝายอื่นมิได 2) เขารวมชันสูตรพลิกศพดวยตนเองหรือจะมอบหมายใหผูอ่ืนก็ได แตจะตองแจงใหเจาพนักงานปกครองผูทําหนาที่ชันสูตรพลิกศพทราบโดยพลัน เมื่อไดรับแจงแลวพนักงานฝายปกครองผูรับผิดชอบประจําทองที่จะตองออกไปรวมอํานวยความสะดวกดวยตามสมควรและติดตอประสานงานดานอื่น ๆ ใหตามความเหมาะสม นอกจากนี้ ระเบียบดังกลาวยังไดกําหนดถึงขอหามเจาพนักงานหรือผูควบคุมผูทําใหตาย20 มิใหเปนผูชันสูตรพลิกศพและหรือเปนพนักงานสอบสวนคดีนั้น และหามมิใหบันทึกคําพยานหลักฐานดวยตนเอง เวนแตบันทึกคําชี้แจงแสดงรายละเอียดที่เกิดขึ้นเพื่อมอบใหผูชันสูตรพลิกศพทราบ ซึ่งขอหามดังกลาวกําหนดไวเชนเดียวกันกับพนักงานสอบสวน เพราะเกรงวาจะทําใหเกิดมีการชันสูตรพลิกศพที่ไมตรงกับความจริง หรือผลทางคดีอาจเปลี่ยนแปลงไป หรือจะมีการกระทําโดยทุจริตเกิดขึ้น หรือมีการกระทําเพื่ออําพรางคดีเกิดขึ้น และยังหามมิใหบันทึกคําพยานหลักฐานดวย เพราะเกรงวาจะมีการบิดเบือนขอเท็จจริงใหเปลี่ยนแปลงไปจากความเปนจริง จากหัวขอ 2.2.4 และ 2.2.5 จะเห็นไดวา สําหรับกรณีกรณีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่แลว ผูมีหนาที่ในการชันสูตรพลิกศพ นอกจากพนักงานสอบสวนและแพทยแลว กฎหมายยังกําหนดใหมีพนักงานอัยการและพนักงานฝาย

20 ขอบังคับกระทรวงมหาดไทยวาดวยระเบียบการปฏิบัติหนาที่ชันสูตรพลิกศพของ

พนักงานฝายปกครอง พ.ศ. 2543 ขอ 13

Page 24: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

89

ปกครองตําแหนงตั้งแตปลัดอําเภอหรือเทียบเทาขึ้นไป เปนผูรวมชันสูตรพลิกศพดวย ซึ่งจะเปนการชวยเหลือใหพนักงานสอบสวนสามารถทําบันทึกการชันสูตรซึ่งตองสงใหพนักงานอัยการเพื่อรองขอใหศาลไตสวนการตายตอไปไดครบถวนยิ่งขึ้น และจะเปนการตรวจสอบการชันสูตรพลิกศพใหเกิดความเปนธรรมยิ่งขึ้น 4.2.3. ขั้นตอนและกระบวนการชนัสูตรพลิกศพ การชันสูตรพลิกศพนั้นจะเริ่มตนที่สถานที่ที่พบศพนั้น โดยพนักงานสอบสวนจะสั่งการใหเจาหนาที่ตํารวจควบคุมสถานที่เกิดเหตุเพื่อรอใหเจาพนักงานฝายอื่นที่เกี่ยวของเดินทางมายังสถานที่ที่ศพนั้นอยูเพื่อทําการชันสูตรพลิกศพ และในบางกรณีอาจจําตองมีการไตสวนการตายในศาลดวย ดังมีรายละเอียดของขั้นตอนและกระบวนการที่เกี่ยวของดังนี้ 4.2.3.1 การสอบสวน ณ สถานที่เกิดเหต ุ การดําเนินการสอบสวน ณ สถานที่เกิดเหตุมีขั้นตอนและกระบวนการ สรุปไดดังนี้ (1) ควบคุมสถานที่เกิดเหตุ21 เมื่อไดรับแจงการตาย ใหพนักงานสอบสวนบันทึกการรับแจงเรื่องการตายลงในรายงานประจําวัน และสั่งใหเจาหนาที่ตํารวจเขารักษาสถานที่เกิดเหตุ โดยไปจัดการปดกั้นสถานที่เกิดเหตุไวและหามมิใหบุคคลที่ไมมีสวนเกี่ยวของเขาไปในบริเวณที่เกิดเหตุ แลวรีบเดินทางไปยังสถานที่เกิดเหตุ ถือวามีความสําคัญอยางยิ่งเพื่อใหสามารถชันสูตรพลิกศพและรวบรวมพยานหลกัฐานอันแทจริง กอนที่จะมีบุคคลหรือธรรมชาติ ทําใหเกิดรองรอยพยานหลักฐานเพิ่มข้ึนบนศพหรือสภาพแวดลอม ซึ่งอาจทําใหผลการชันสูตรพลิกศพเปลี่ยนแปลงไปได (2) รักษาศพ เศษ หรือสวนของศพและสภาพแวดลอม เปนหนาที่สําคัญของพนักงานสอบสวนที่จะตองจัดการักษาศพ เศษ หรือสวนของศพ สภาพแวดลอม ตลอดจนสิ่งของอันเปนพยานหลักฐานแสดงถึงเหตุที่ตายนั้นใหอยูในสภาพเดิมทุกประการ จนกวาการชันสูตรพลิกศพจะแลวเสร็จ

21 ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวยการชันสูตรพลิกศพ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543

ขอ 4 วรรคสอง

Page 25: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

90

ทั้งนี้ การเคลื่อนยายศพหรือเก็บวัตถุพยานหลักฐานจะตองปฏิบัติอยางถูกตองตามหลักวิธีการทางนิติวิทยาศาสตร และตองจัดทําบันทึกเหตุจําเปนที่ตองเคลื่อนยายศพไวดวย โดยตองปฏิบัติตามคําแนะนําของผูชํานาญการ หรือปฏิบัติตามเอกสารคูมือของกองพิสูจนหลักฐาน ทั้งนี้เพื่อใหไดมาซึ่งพยานหลักฐานอันสมบูรณที่สุดเทาที่จะทําได (3) จัดทําบันทึกเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ เมื่อพนักงานสอบสวนควบคุมสถานที่เกิดเหตุเรียบรอยแลว ใหจัดทําแผนที่สถานที่เกิดเหตุและบันทึกการตรวจสถานที่เกิดเหตุพรอมทั้งถายภาพที่เกิดเหตุไวดวย จากนั้นพนักงานสอบสวนและแพทยจะรวมกันทําบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพตามแบบพิมพ โดยจะถายภาพศพและสภาพแวดลอมของบริเวณที่พบศพประกอบบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพดวยก็ได (4) สืบหาพยานบุคคลที่พบศพ สืบหาพยานบุคคลที่พบศพและสอบสวนเบื้องตนใหปรากฏวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด ขอเท็จจริงและรายละเอียดพฤติการณที่ตาย ถาตายโดยคนทํารายใหระบุวาใครหรือสงสัยวาใครเปนผูทําราย (5) การผาศพเพื่อตรวจพิสูจน หากเกิดกรณีที่ผูรวมชันสูตรพลิกศพสงสัยในสาเหตุการตาย พนักงานสอบสวนมีอํานาจสั่งใหผาศพไดโดยสงศพ เศษหรือสวนของศพ ไปตรวจทางนิติเวชวิทยาตามสถาบันนิติเวชวิทยา อาทิเชน สถาบันนิติเวชวิทยาของสํานักงานตํารวจแหงชาติ หรือโรงพยาบาลของรัฐที่มีแพทยนิติเวชศาสตร หรือสถาบันอื่นที่สามารถตรวจพิสูจนทางนิติเวชวิทยาได หากไมสามารถสงศพไปตรวจที่สถาบันทางนิติเวชวิทยาได ก็อาจจะขอใหแพทยทางนิติเวชศาสตรไปตรวจยังสถานที่ที่พบศพนั้นก็ได และหากมีกรณีจําเปนตองหาสาเหตุและพฤติการณการตาย ก็สามารถขุดศพที่ฝงไวแลวขึ้นมาตรวจพิสูจนไดดวย 4.2.3.2 การแจงบุคคลผูเกี่ยวของ กฎหมายไดกําหนดใหพนักงานสอบสวนมีหนาที่แจงใหบุคคลดังตอไปนี้ (1) แพทย22

22 ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวยการชันสูตรพลิกศพ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543

ขอ 5 วรรคสอง

Page 26: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

91

พนักงานสอบสวนแจงไปยังหนวยงานแพทยที่มีหนาที่รับผิดชอบเพื่อใหแจงใหแพทยผูมีหนาที่ทําการชันสูตรพลิกศพไปรวมทําการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งเปนไปตามลําดับที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคหนึ่ง ทั้งนี้ พนักงานสอบสวนจะจัดทําบันทึกการแจงแพทย ตามรายงานแจงผูรวมชันสูตรพลิกศพเพื่อไวเปนหลักฐานดวย (2) เจาหนาที่พิสูจนหลักฐาน โดยใหพนักงานสอบสวนแจงไปยังกองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานตํารวจแหงชาติ เพื่อใหจัดสงเจาหนาที่พิสูจนหลักฐาน มาชวยเหลือรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ ใหถูกตองเปนไปตามหลักเกณฑทางนิติวิทยาศาสตร สําหรับในจังหวัดอื่น ใหแจงไปยังตํารวจวิทยาการจังหวัดหรือกองกํากับการวิทยาการเขตที่รับผิดชอบ (3) ญาติผูเกี่ยวของกับผูตาย ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวยการชันสูตรพลิกศพ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543 ขอ 5 วรรคสอง กําหนดใหพนักงานสอบสวนมีหนาที่แจงสามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายอยางนอยหนึ่งคนทราบเทาที่จะทําไดเพื่อใหทราบถึงความตาย (4) พนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครอง ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ พนักงานสอบสวนตองแจงใหพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครองตําแหนงตั้งแตระดับปลัดอําเภอหรือเทียบเทาขึ้นไปแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู รวมทําการชันสูตรพลิกศพดวย 4.2.3.3 สถานที่ทําการชันสูตรพลิกศพ สถานที่ที่จะทําการชันสูตรพลิกศพนั้น อาจแตกตางกันไปโดยขึ้นอยูกับความเหมาะสมของสถานที่และสถานการณ ซึ่งโดยทั่วไปจะทําการชันสูตรพลิกศพ ณ สถานที่ดังตอไปนี้ (1) การชันสูตรพลิกศพ ณ ที่ที่ศพอยู จะเร่ิมตนเมื่อเจาพนักงานไดเขาครอบครองหรือควบคุมสถานที่ที่ศพอยู เนื่องจากถือวารัฐไดเขาใชอํานาจควบคุมสถานที่และตัวศพ ซึ่งเจาหนาที่ตํารวจชั้นผูนอยหรือพนักงานฝายปกครองที่ดูแลทองที่นั้นก็ได ซึ่งหากสามารถวินิจฉัยสาเหตุการตายไดทันที อันเปนกรณีที่ไมตองสงไปชันสูตรพลิกศพ ณ หองปฏิบัติการการชันสูตรพลิกศพ (2) การชันสูตรพลิกศพ ณ หองปฏิบัติการ

Page 27: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

92

เมื่อไดมีการสงศพแกแพทยหรือเจาพนักงานแยกธาตุ เพื่อทําการชันสูตรพลิกศพ เพื่อหาสาเหตุแหงการตาย (3) กรณีตายโดยผิดธรรมชาติ (3.1) การตรวจดูศพภายนอก ในกรณีปกติ เมื่อเจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพไดตรวจศพภายนอก และสามารถทราบถึงสาเหตุ พฤติการณที่ตาย ตลอดจนอื่น ๆ ตามที่กฎหมายกําหนดไวไดแลว และโดยที่ญาติของผูตายไมติดใจสงสัย พนักงานสอบสวนและแพทยก็จะรวมกันทํารายงานและทําความเห็นเปนหนังสือ ตามที่กําหนดไวในมาตรา 150 วรรคหนึ่ง และมาตรา 154 ตอไป (3.2) การผาศพเพื่อตรวจดูภายใน หากเจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพไดตรวจศพแลว แตการตรวจนั้นไมเพียงพอที่จะทราบถึงเหตุของการตาย กรณีนี้เจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพมีอํานาจผาศพเพื่อตรวจดูภายใน ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 151 “มาตรา 151 ในเมื่อมีการจําเปนเพื่อพบเหตุของการตาย เจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพมีอํานาจสั่งใหผาศพแลวแยกธาตุสวนใด หรือจะใหสงทั้งศพหรือบางสวนไปยังแพทยหรือพนักงานแยกธาตุของรัฐบาลก็ได” ดังนั้น เจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพมีอํานาจสั่งการดังนี้ 1) ส่ังใหผาศพแลวแยกธาตุสวนใดของศพ เชน สั่งใหผาตัดเอากระเพาะอาหาร เพื่อนําไปแยกธาตุตรวจสอบสารพิษ 2) ส่ังใหสงศพทั้งศพหรือบางสวนไปยังแพทย หรือพนักงานแยกธาตุของรัฐบาล แตทั้งนี้ เจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพ จะสั่งใหดําเนินการตามมาตรา 151 ไดก็แตเฉพาะกรณีจําเปนเพื่อพบสาเหตุแหงการตายเทานั้น จะสั่งใหทําการผาศพเพื่อประโยชนอยางอ่ืนมิได สําหรับหลักเกณฑและแนวทางในการผาศพเพื่อตรวจดูภายในนั้น กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย ยังมิไดกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑในการผาศพไว ซึ่งในสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน จะระบุรายละเอียดของการผาศพไวอยางละเอียด ไมวาจะเปนการยืนยันตัวบุคคลกอนที่จะทําการผาศพ ซึ่งกําหนดใหตองมีการสอบถามจากผูที่รูจักกับผูตายเสียกอน หรือการผาศพเด็ก หรือกรณีสงสัยวาผูตายจะถูกวางยาพิษ23

23 คณิต ณ นคร, อางแลว เชิงอรรถที่ 5, น. 481.

Page 28: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

93

เมื่อไดรับศพ หรือสวนของศพแลว แพทยหรือพนักงานแยกธาตุของรัฐบาล มีหนาที่ตองจัดการตามที่บัญญัติไวใน มาตรา 152 วา “ใหแพทยหรือพนักงานแยกธาตุของรัฐบาลปฏิบัติดังนี้ (1) ทํารายงานถึงสภาพของศพ หรือสวนของศพตามที่พบเห็นหรือตามที่ปรากฏจากการตรวจพรอมทั้งความเห็นในเรื่องนั้น (2) แสดงเหตุที่ตายเทาที่จะทําได (3) ลงวันเดือนปและลายมือชื่อในรายงานแลวจัดการสงไปยังเจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพ” (3.3) การขุดศพที่ฝงไวแลวขึ้นเพื่อทําการชันสูตรพลิกศพ หากมีกรณีจําเปนตองตรวจสอบคนหาความจริงที่เกี่ยวกับการตายนั้นแลว ใหเจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพจะจัดใหมีการขุดศพที่ฝงแลวขึ้นมาทําการตรวจดูได ซึ่งกฎหมายกําหนดไววาจะตองมีความจําเปนจึงจะกระทําได ทั้งนี้เพื่อเปนการคุมครองสิทธิของผูที่เกี่ยวของกับศพนั้น ซึ่งมาตรา 153 บัญญัติวา “มาตรา 153 ถาศพที่ฝงไวแลว ใหผูชันสูตรพลิกศพจัดใหขุดศพขึ้นเพื่อตรวจดู เวนแตจะเห็นวาไมจําเปนหรือจะเปนอันตรายแกอนามัยของประชาชน” (3.4) การทํารายงานและความเห็น เมื่อเจาพนักงานผูทําการชันสูตรพลิกศพไดทําการชันสูตรพลิกศพแลว กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กําหนดใหตองทํารายงาน ซึ่งบัญญัติไวมาตรา 150 วรรคหนึ่ง “มาตรา 150 ใหพนักงานสอบสวนและแพทยตองทําบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพทันที และใหแพทยทํารายงานแนบทายบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพดวยภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับแจงเรื่อง ถามีความจําเปนใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองคร้ัง คร้ังละไมเกินสามสิบวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกครั้งไวในสํานวนชันสูตรพลิกศพ รายงานดังกลาวใหถือเปนสวนหนึ่งของสํานวนชันสูตรพลิกศพ” รายงานตามที่ระบุไวในมาตรา 150 มี 2 ฉบับ คือ 1) บันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพของพนักงานสอบสวนและแพทย ซึ่งตองรวมกันทําทันที 2) รายงานของแพทยแนบทายบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งกฎหมายถือวา รายงานของแพทยนี้เปนสวนหนึ่งของสํานวนชันสูตรพลิกศพ

Page 29: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

94

สวนการทําความเห็นเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ นั้น มาตรา 154 บัญญัติไววา“มาตรา 154 ใหผูชันสูตรพลิกศพทําความเห็นเปนหนังสือแสดงเหตุและพฤติการณที่ตาย ผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด ถาตายโดยคนทําราย ใหกลาววาใครหรือสงสัยวาใครเปนผูกระทําผิดเทาที่จะทราบได” การทําความเห็นเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ ถือเปนกระบวนพิจารณาอยางหนึ่ง จึงตองมีความแนนอนและชัดเจน ดวยเหตุนี้กฎหมายจึงกําหนดใหตองทําความเห็นเปนหนังสือ ผูชันสูตรพลิกศพจะมีความแตกตางกัน ระหวางกรณีตายโดยผิดธรรมชาติ และกรณีตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน กลาวคือ หากเปนกรณีตายโดยผิดธรรมชาติ ผูที่จะตองทําความเห็น ไดแก พนักงานสอบสวนและแพทย แตในกรณีตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน จะตองมีพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครองมารวมทําความเห็นดวย (3.5) การสงสํานวนชันสูตรพลิกศพ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดกําหนดใหพนักงานอัยการมีหนาที่ตรวจสอบสํานวนชันสูตรพลิกศพ ไมวาจะเปนกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําความผิดอาญา ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคหนึ่ง ตอนทายวา มาตรา 150 วรรคหนึ่ง “ในกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนชันสูตรพลิกศพไปยังพนักงานอัยการเมื่อเสร็จส้ินการชันสูตรพลิกศพโดยเร็วและใหพนักงานอัยการดําเนินการตอไปตามมาตรา 156” ดังนั้น พนักงานสอบสวนจะตองจัดทําสํานวนการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งประกอบดวย 1) รายงานการสอบสวนแสดงวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด ขอเท็จจริงและรายละเอียดพฤติการณที่ตาย ถาตายโดยคนทํารายใหระบุวาใครหรือสงสัยวาใครเปนผูทําราย 2) คําใหการพยานบุคคลที่เกี่ยวของหรือรูเห็นการกระทํา สาเหตุ หรือพฤติการณที่ตาย 3) ใหระบุดวยวาไดแจงใหสามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายอยางนอยหนึ่งคนทราบเทาที่จะทําไดเพื่อใหทราบหรือไม หากไมไดแจงใหระบุเหตุผลไวดวย 4) บันทึกการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ พรอมทั้งแผนที่ที่เกิดเหตุ และบันทึกการสอบสวน แสดงถึงสภาพศพพรอมความเห็น รวมทั้งภาพถายของศพและสถานที่ 5) ลายพิมพนิ้วมือผูตาย

Page 30: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

95

เมื่อทําสํานวนเสร็จเรียบรอยแลวพนักงานสอบสวนตองสงสํานวนการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ไปยังพนักงานอัยการเมื่อเสร็จส้ินการชันสูตรพลิกศพโดยเร็ว หรือจะเปนกรณีวิสามัญฆาตกรรมหรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน ซึ่งพนักงานสอบสวนจะตองสงสํานวนชันสูตรพลิกศพไปยังพนักงานอัยการภายใน 30 วันนับแตไดทราบเรื่อง โดยหากมีความจําเปนใหขยายระยะเวลาไดไมเกิน 2 คร้ัง คร้ังละไมเกิน 30 วัน และตองบันทึกเหตุผลแสดงความจําเปนไวในสํานวน และเมื่อพนักงานอัยการไดรับสํานวนการช ันสูตรพลิกศพแลว ใหยื่นคํารองขอใหศาลทําการไตสวนการตาย 4.2.3.4 กรณีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ขั้นตอนการชันสูตรพลิกศพในกรณีวิสามัญฆาตกรรม มีขั้นตอนเชนเดียวกันกับกรณีตายโดยผิดธรรมชาติ ตามหัวขอ (3.1) ถึง (3.5) แตจะมีข้ันตอนการปฏิบัติเพิ่มเติมบางประการ คือการสงสํานวนการชันสูตรพลิกศพกรณีวิสามัญฆาตกรรม ตามที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคสี่ มาตรา 150 วรรคสี่ บัญญัติไววา “เมื่อไดมีการชันสูตรพลิกศพตามวรรคสามแลว ใหพนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการเขารวมกับพนักงานสอบสวนทําสํานวนชันสูตรพลิกศพใหเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจง ถามีความจําเปนใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองครั้ง คร้ังละไมเกินสามสิบวันนับแตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกครั้งไวในสํานวนชันสูตรพลิกศพ” เนื่องจากกรณีตามมาตรา 150 วรรคสาม เปนกรณีที่ความตายเกิดขึ้นโดยมีเจาพนักงานของรัฐเขาไปมีสวนเกี่ยวของหรืออยูในความรับผิดชอบ ดังนั้น มาตรา 150 วรรคสี่ จึงกําหนดใหพนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการมารวมทําสํานวนชันสูตรพลิกศพ ซึ่งจะตองทําสํานวนใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน และหากมีความจําเปนตองขยายระยะเวลาในการทําสํานวนชันสูตรพลิกศพ ก็ตองบันทึกเหตุผลแสดงความจําเปนในสํานวนชันสูตรพลิกศพดวย ซึ่งเปรียบเทียบกับกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ที่กฎหมายกําหนดแตเพียงวาใหสงสํานวนชันสูตรพลิกศพไปยังพนักงานอัยการเมื่อส้ินสุดการชันสูตรพลิกศพโดยเร็วมิไดกําหนดเวลาไว

Page 31: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

96

4.2.3.5 การไตสวนการตาย การไตสวนการตายเปนมาตรการตรวจสอบการกระทําของเจาหนาที่ที่เขาไปมีสวนเกี่ยวของกับความตายของบุคคลในกรณีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการตรวจสอบกระบวนการชันสูตรพลิกศพและเปนการคุมครองสิทธิของญาติของผูตายในกรณีดังกลาวขางตน24 การไตสวนการตายซึ่งดําเนินกระบวนพิจารณาโดยศาล มีลําดับข้ันตอนดังตอไปนี้ (1) เมื่อพนักงานอัยการไดรับสํานวนชันสูตรพลิกศพจากพนักงานสอบสวนแลว ใหทําคํารองขอตอศาลชั้นตนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู เพื่อใหศาลทําใหการไตสวนและทําคําสั่งแสดงวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงเหตุและพฤติการณที่ตาย ถาตายโดยคนทํารายใหกลาววาใครเปนผูทํารายเทาที่จะทราบได ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับสํานวน ถามีความจําเปน ใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองครั้ง คร้ังละไมเกินสามสิบวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกครั้งในสํานวนชันสูตรพลิกศพ (2) ใหศาลปดประกาศแจงกําหนดวันที่จะทําการไตสวนไวที่ศาล และใหพนักงานอัยการยี่นคํารองตอศาลขอใหศาลสงสําเนาคํารองและแจงกําหนดวันนัดไตสวนใหสามี ภรรยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายตามลําดับอยางนอยหนึง่คนเทาที่จะทําไดทราบกอนวันนัดไตสวนไมนอยกวาสิบหาวัน และใหพนักงานอัยการนําพยานหลักฐานทั้งปวงที่แสดงถึงการตายมาสืบ (3) เมื่อศาลไดปดประกาศแจงกําหนดวันที่จะทําการไตสวนแลว และกอนการไตสวนเสร็จสิ้น สามี ภริยา ผูบุพการี ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตาย มีสิทธิที่จะยื่นคํารองตอศาลขอเขามาซักถามพยานที่พนักงานอัยการนําสืบและนําสืบพยานหลักฐานอื่นไดดวย เพื่อการนี้ สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของ ผูตายมีสิทธิแตงตั้งทนายความดําเนินการแทนได หากไมมีทนายความที่ไดรับการแตงตั้งจากบุคคลดังกลาวเขามาในคดี ใหศาลตั้งทนายความขึ้นเพื่อทําหนาที่ทนายความฝายญาติของผูตาย

24 รําเพย นามฉวี, “การตรวจสอบการตายในคดีอาญา: ศึกษาเฉพาะกรณีที่ตองมีการ

ไตสวนการตาย”, (วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย, 2546), น. 59-60.

Page 32: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

97

(4) เมื่อศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ศาลจะเรียกพยานที่นําสืบมาแลวมาสืบเพิ่มเติมหรือเรียกพยานหลักฐานอื่นมาสืบก็ได และศาลอาจขอใหผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญมาใหความเห็นเพื่อประกอบการไตสวนและทําคําสั่ง แตทั้งนี้ไมตัดสิทธิของผูนําสืบพยานหลักฐานที่จะขอใหเรียกผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญอื่นมาใหความเห็นโตแยงหรือเพิ่มเติมความเห็นของผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญดังกลาว (5) คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ใหถึงที่สุด แตไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิฟองรองและการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล หากพนักงานอัยการหรือบุคคลอื่นไดฟองหรือจะฟองคดีเกี่ยวกับการตายนั้น (6) เมื่อศาลไดมีคําสั่งแลว ใหสงสํานวนการไตสวนของศาลไปยังพนักงานอัยการ เพื่อสงแกพนักงานสอบสวนดําเนินการตอไป กรณีที่ศาลมีคําสั่งทั้งในกรณีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ วาเจาพนักงานผูซึ่งฆาผูตายโดยเจตนาแลว จะตองมีการดําเนินคดีกับเจาพนักงานผูนั้นในขอหาฆาผูอ่ืนโดยเจตนา และพนักงานสอบสวนที่จะสอบสวนคดีฆาตกรรมนั้น ก็คือ พนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ความผิดนั้นเกิด หรือเชื่อวาไดเกิด เมื่อพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนเสร็จแลวก็จะนําสํานวนการไตสวนของศาลมาประกอบสํานวนและทําความเห็นควรส่ังฟองหรือไมฟองไปยังผูวาราชการจังหวัดนั้น แลวสงตอไปยังอัยการสูงสุด เพื่อใหมีคําสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหาซึ่งเปนเจาพนักงานนั้นตอไป25

4.3 การชนัสูตรพลิกศพกับการสอบสวนคดีอาญา

การชันสูตรพลิกศพมีความเกี่ยวเนื่องกับการสอบสวนคดีอาญา โดยถือเปนสวนหนึ่งของกระบวนการสอบสวนคดีอาญา ซึ่งในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 129 บัญญัติไววา “ใหทําการสอบสวนรวมทั้งการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีที่ความตายเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายนี้ อันวาดวยการชันสูตรพลิกศพ ถาการชันสูตรพลิกศพยังไมเสร็จ หามมิใหฟองผูตองหายังศาล”

25 วินัย ดํารงคมงคลกุล, “พนักงานอัยการกับการชันสูตรพลิกศพ”, บทบัณฑิตย, เลม

60, ตอน 3, น. 105.

Page 33: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

98

จากบทบัญญัติดังกลาว แสดงถึงความสําคัญของการชันสูตรพลิกศพ ที่มีตอการสอบสวนคดีอาญาโดยเฉพาะอยางยิ่ง คดีอาญาที่ความตายเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา เนื่องจากการชันสูตรพลิกศพเปนกระบวนการตรวจสอบถึงสาเหตุและพฤติการณแหงการตาย ที่จะชวยใหเจาหนาที่ผูมีหนาที่รับผิดชอบไดทราบถึงขอเท็จจริงที่กอใหเกิดความตายไดดีที่สุด ซึ่งผลของการชันสูตรพลิกศพจะนําไปสูการสอบสวนหรือฟองรองดําเนินคดีผูที่กระทําใหถึงแกความตายตอไป 4.3.1 ความสําคัญของการชันสูตรพลิกศพในคดีอาญา การชันสูตรพลิกศพ มีความสําคัญตอการดําเนินคดีอาญาเปนอยางยิ่ง เพราะการที่จะไดมาซึ่งขอเท็จจริงและพยานหลักฐานตาง ๆ เกี่ยวกับความตายนั้น จําเปนตองอาศัยกระบวนการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งมีวัตถุประสงคในการคนหาสาเหตุและพฤติการณแหงการตายของบุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่มีความตายเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ซึ่งในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 129 กําหนดไววา คดีที่ความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําผิดอาญา ไมวาในคดีใด หากการชันสูตรพลิกศพยังไมเสร็จ กฎหมายหามมิใหฟองผูตองหายังศาล แตในทางปฏิบัตินั้น การชันสูตรพลิกศพกลับไมไดรับความสําคัญเทาที่ควร โดยจะเห็นไดจากคําพิพากษาศาลฎีกาที่ผานมา ซึ่งไดวินิจฉัยวาการชันสูตรพลิกศพถือเปนเพียงรายละเอียดปลีกยอย เปนเพียงสวนหนึ่งของการสอบสวนเทานั้น ซึ่งอาจจะมีหรือไมมีก็ได แมวาการชันสูตรพลิกศพจะไมชอบก็ตาม ก็ไมถือเปนการตัดอํานาจหรือเงื่อนไขในการฟองคดีของพนักงานอัยการแตประการใด ตามคําพิพากษาศาลฎีกา ดังตอไปนี้ คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1261/2481 วินิจฉัยวา อัยการโจทกจะฟองคดีเร่ืองฆาคนตายโดยมิไดทําการชันสูตรพลิกศพผูตายก็ได ไมเปนการผิดประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 363/2493 วินิจฉัยวา แมวาการชันสูตรพลิกศพจะไดกระทําโดยไมชอบ ก็ไมมีกฎหมายหามมิใหฟอง คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2410/2530 วินิจฉัยวา การชันสูตรพลิกศพเปนสวนหนึ่งของการรวบรวมพยานหลักฐานตามอํานาจหนาที่ของพนักงานสอบสวน เมื่อมีการสอบสวนชอบแลว แมจะไมมีการชันสูตรพลิกศพก็หาเปนเหตุใหพนักงานอัยการไมมีอํานาจฟองไม ซึ่งจากแนวคําพิพากษาศาลฎีกาดังกลาว จะเห็นไดวาศาลฎีกาใหความสําคัญแกอํานาจสอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวนวาชอบหรือไมชอบดวยกฎหมายเปนสาํคญั ดงันัน้

Page 34: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

99

หากพนักงานสอบสวนไดทําการสอบสวนโดยชอบดวยกฎหมายแลว แมการชันสูตรพลิกศพจะไมชอบหรือไมสมบูรณก็ตาม ก็ไมทําใหการสอบสวนเสียไป 4.3.2 การสอบสวนกรณีการตาย ตามมาตรา 150 วรรคสาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสาม บัญญัติวา “ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ใหพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครองตําแหนงตั้งแตระดับปลัดอําเภอหรือเทียบเทาขึ้นไปแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูเปนผูชันสูตรพลิกศพรวมกับพนักงานสอบสวนและแพทยตามวรรคหนึ่ง และใหนําบทบัญญัติในวรรคสองมาใชบังคับ” จากบทบัญญัติดังกลาว จะพบวาเปนกรณีการดําเนินคดีอาญาอันเนื่องจาก มีความตายเกิดขึ้นเปนกรณีพิเศษ ซึ่งจะแยกไดเปน 2 กรณี คือ (1) การตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ และ (2) การตายระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ คดีที่ความตายเกิดขึ้นตามที่บัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคสาม นั้น โดยทั่วไปจะเรียกกันวา “คดีวิสามัญฆาตกรรม” ซึ่งในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิไดบัญญัติถึงคําดังกลาวไว แตเมื่อพิจารณาจากกฎหมายเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งไดแก พระราชบัญญัติ ชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2457 ไดกลาวถึงคําวา “ฆาตกรรมอยางวิสามัญ” ไวในมาตรา 7 ความวา “ฆาตกรรมอันเปนวิสามัญนั้น ผูตายตายดวยเจาพนักงานฆาตายในเวลากระทําการตามหนาที่ ยกตัวอยางดังเชน เจาพนักงานไปจับผูตองหาวาเปนโจรเปนผูราย และฆาผูตองหาวาเปนโจรเปนผูรายนั้นตายในเวลาจับดังนี้เปนตน เรียกวาเปนเหตุวิสามัญ” ดังนั้น คําวา “วิสามัญฆาตกรรม” เปนถอยคําที่ใชติดมาจากกฎหมายเกา ซึ่งในปจจุบันไมมีคํานี้ในกฎหมายไทยแลว แตก็ยังใชกันอยูเมื่อกลาวถึงกระบวนการตามกฎหมาย ที่จะตองดําเนินการเมื่อมีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ นอกจากนี้ ความหมายตามความเขาใจทั่วไป ยังหมายถึง “การประหารชีวิตนอกระบบ

Page 35: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

100

กฎหมายดวย กลาวคือ กรณีที่เจาหนาที่ตํารวจใชอํานาจ “จับตาย” ผูที่เจาหนาที่ตํารวจอางวาเปนอาชญากรสําคัญนั่นเอง26 และในระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการดําเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ พ.ศ. 2547 ขอ 4 ไดใหคํานิยามของคดีวิสามัญฆาตกรรมไววา หมายถึง “คดีฆาตกรรมที่ผูตายถูกเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่” ซึ่งคํานิยามของคดีวิสามัญฆาตกรรม ตามระเบียบดังกลาวเปนถอยคําที่เทียบเคียงไดกับที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 143 วรรคสาม ดังนั้น จึงกลาวไดวาการสอบสวนชันสูตรพลิกศพในกรณีการตายตามที่บัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคสาม จึงเปนสวนหนึ่งของการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรมนั้นเอง และสําหรับหลักเกณฑในการพิจารณาวากรณีใดบางที่จะถือวาเปนความตายที่เกิดขึ้นนั้นเปนคดีวิสามัญฆาตกรรม จะตองพิจารณาดังนี้ (1) กรณีการตายเกิดข้ึนโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ถือเปนกรณีที่เจาพนักงานไดกระทําการฆาผูอ่ืนและความตายของผูนั้นเปนผลมาจากการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานผูนั้น ซึ่งตองมีองคประกอบดังตอไปนี้ (1.1) เจาพนักงานไดกระทําการฆาตกรรมโดยเจตนา ผูกระทําใหตายหรือผูฆาผูตายนั้น จะตองเปนเจาพนักงานและเปนเจาพนักงานผูมีอํานาจหนาที่ในการนั้นดวย หากผูฆาผูตายเปนเจาพนักงานหรือเปนเจาพนักงานแตก็ไมมีอํานาจหนาที่ไมถือวาเปนการวิสามัญฆาตกรรม27 อีกประการหนึ่งที่สําคัญ เจาพนักงานผูฆาผูตายจะตองกระทําการไปโดยมีเจตนาฆาเทานั้น28 ถาหากเปนกรณีที่ความตายนั้นเกิดขึ้นโดยที่เจาพนักงานไมมีเจตนาฆาหรือเปนการกระทําโดยประมาท ก็จะไมถือวาเปนคดีวิสามัญฆาตกรรมแตเปนคดีอาญาในความผิดฐานอื่น

26 ชาติ ชัยเดชสุริยะ, มาตรการทางกฎหมายในการคุมครองสิทธิมนุษยชนใน

กระบวนการยุติธรรมทางอาญา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเดือนตุลา, 2549), น. 138-139. 27 สนิท สนั่นศิลป, วิสามัญฆาตกรรม, พิมพคร้ังที่ 2 (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพสตูร

ไพศาล, 2543), น. 26-27. 28 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการดําเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ พ.ศ.

2547 ขอ 89

Page 36: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

101

ดังนั้น จะเปนการทําวิสามัญฆาตกรรมนั้นจะตองเปนกรณีที่เจาพนักงานไดกระทําการฆาผูอ่ืน โดยมีเจตนาฆาผูนั้นใหถึงแกความตายเทานั้น (1.2) ความตายเปนผลมาจากการปฏิบัติราชการตามหนาที่ ความตายที่เกิดขึ้นตองเกิดจากการกระทําของเจาพนักงาน และตองเปนผลมาจากการปฏิบัติราชการตามหนาที่ ซึ่งหนาที่นั้นจะตองเปนของเจาพนักงานผูกระทําใหตาย ไมวาจะเปนหนาที่ตามกฎหมายหรือคําสั่งอันชอบดวยกฎหมาย การอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ เปนเพียงเหตุที่กฎหมายยอมรับใหนํามาอางได เพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยของศาลวา การกระทําของเจาพนักงานนั้นพอสมควรแกเหตุหรือไม29 (2) กรณีการตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ กลาวคือกรณีที่เจาพนักงานผูควบคุมผูตายมีอํานาจหนาที่ตามกฎหมายที่จะควบคุมผูตายได แลวตอมาผูตายก็ไดตายลงในระหวางที่ถูกควบคุมอยู เชน ตายในระหวางถูกควบคุมตัวมายังสถานีตํารวจ หรือระหวางที่ถูกควบคุมที่สถานีตํารวจ หรือระหวางอยูในเรือนจํา ก็ถือวาเปนกรณีที่ความตายเกิดขึ้นในระหวางผูตายอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ตามนัยแหงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 106/2501 ซึ่งที่ประชุมใหญศาลฎีกาไดวินิจฉัยวา ผูตายซึ่งอยูในระหวางการควบคุมของเจาพนักงานไดตายลง แมวาจะไมไดตายเพราะการกระทําของเจาพนักงานผูควบคุม แตเมื่อผูตองถูกควบคุมกักขังอยูในเรือนจําตายลง ก็ถือวาตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ แตทั้งนี้ มีขอสังเกตประการหนึ่ง แมวากรณีดังกลาวขางตนจะไมเกิดจากการกระทําของเจาพนักงาน อัยการสูงสุดก็ยังคงมีอํานาจในการสั่งคดีดังกลาวอยู โดยมีสาระสําคัญอยูที่วา ผูกระทําใหตายนั้นไดกระทําการฆาโดยเจตนาหรือไม ถาผูทําใหตายมีเจตนาฆา ก็ถือวาอัยการสูงสุดมีอํานาจในการสั่งคดีนั้น ตามที่ไดมีการวินิจฉัยไวใน คําสั่งอัยการสูงสุดในคดีวิสามัญฆาตกรรมที่ 3/254930

29 มนตรี จิตรวิวัฒน, “วิสามัญฆาตกรรม: ศึกษาเฉพาะกรณีเจาพนักงานตํารวจ”

(วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2531), น. 3-4. 30 คําสั่งอัยการสูงสุดในคดีวิสามัญฆาตกรรมที่ 3/2549 วินิจฉัยวา ในคดีฆาตกรรมที่

ผูตายถูกฆาตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่

Page 37: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

102

โดยสรุปแลวการสอบสวนชันสูตรพลิกศพตามมาตรา 150 วรรคสาม จึงเปนสวนหนึ่งของการสอบสวนในคดีซึ่งไดบัญญัติไวตามมาตรา 143 วรรคทาย หรือที่เรียกตามระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุด วาดวยการดําเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการวา “คดีวิสามัญฆาตกรรม” อันไดแก คดีฆาตกรรมที่ผูตายถูกเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ฆาตาย และหมายรวมถึงคดีฆาตกรรมที่ผูตายตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ 4.3.2.1 สํานวนที่เกี่ยวกับคด ี คดีตามที่บัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคสาม นั้น โดยทั่วไปจะเขาใจและเรียกขานกันวา คดีวิสามัญฆาตกรรม ซึ่งในทางกฎหมายจะมีความหมายถึง คดีที่ผูตายถูกเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ฆาตาย และคดีที่ผูตายถูกฆาตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ซึ่งทั้ง 2 กรณีนั้นกฎหมายกําหนดใหตองมีการชันสูตรพลิกศพเปนกรณีพิเศษ และตองมีการไตสวนการตายในศาลดวย นอกจากนี้ยังกําหนดใหองคกรฝายอื่น เขามารวมตรวจสอบและรวมสอบสวนดวย ก็คือ พนักงานอัยการและเจาพนักงานฝายปกครอง ในทางปฏิบัติแลว สํานวนตาง ๆ ที่เกี่ยวกับคดีฆาตกรรม ตามมาตรา 150 วรรคสาม จะมีความแตกตางกันไปแลวแตกรณี ซึ่งในคดีวิสามัญฆาตกรรมจะประกอบดวยสํานวน ดังตอไปนี3้1 (1) สํานวนชันสูตรพลิกศพ เปนสํานวนเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ ที่ตรวจสอบวาผูตายเปนใคร ตายที่ไหน ตายเมื่อใด สาเหตุและพฤติการณการตายเปนเชนไร ซึ่งภายในสํานวนจะประกอบดวยบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพซึ่งจัดทําโดยผูรวมชันสูตรพลิกศพ คําใหการของพยานที่

ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 143 วรรคทาย กฎหมายมิไดกําหนดวาผูทําใหตายเปนใคร ดังนั้นไมวาผูกระทําผิดจะเปนเจาพนักงานหรือไม หากผูนั้นฆาผูอ่ืนตายโดยเจตนา และผูตายอยูในระหวางควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่แลวตองถือเปนคดีวิสามัญฆาตกรรมตามบทบัญญัติดังกลาว

31 กุลพล พลวัน, การบริหารกระบวนการยุติธรรม, พิมพครั้งที่ 1 (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพนิติธรรม, 2544), น. 224-225.

Page 38: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

103

เกี่ยวของ บันทึกการตรวจสถานที่เกิดเหตุและการแจงญาติของผูตาย รวมถึงพยานหลักฐานอื่นที่ไดเก็บรวบรวมมา และรายงานความเห็นของแพทยที่ระบุเกี่ยวกับสภาพศพผูตาย ซึ่งตองระบุสาเหตุการตายเทาที่ทําได สํานวนชันสูตรพลิกศพนั้น จะตองทําใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับแตวันไดรับแจง ถาจําเปนก็ใหขยายเวลาได 2 คร้ัง คร้ังละไมเกิน 30 วัน โดยใหเปนหนาที่ความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการรวมกันทําสํานวนดังกลาว32 (2) สํานวนการไตสวนในศาล เปนสํานวนที่พนักงานอัยการยื่นคํารองตอศาลเพื่อใหทําการไตสวนการตาย ซึ่งจะเริ่มดําเนินการภายหลังจากที่ไดรับสํานวนชันสูตรพลิกศพจากพนักงานสอบสวนแลว โดยพนักงานอัยการมีหนาที่ตรวจสอบสํานวนชันสูตรพลิกศพวาไดทําขึ้นอยางถูกตองและครบถวนหรือไม พนักงานอัยการมีหนาที่นําเสนอพยานหลักฐานทั้งปวงที่แสดงถึงการตายตอศาล เมื่อศาลไดทําการไตสวนแลวจะมีคําสั่งแสดงวาผูตายเปนใคร ตายที่ไหน ตายเมื่อใด เหตุและพฤติการณการตายเปนเชนไร และหากตายโดยคนทํารายใหกลาวดวยวาใครหรือสงสัยวาใครเปนผูทําใหตายดวย จากนั้นศาลจะสงสํานวนการไตสวนไปยังพนักงานอัยการ เพื่อใหสงคืนตอไปยังพนักงานสอบสวนใหดําเนินการตอไป33 (3) สํานวนกลาวหาเจาพนักงานเปนผูกระทําผิด เปนสํานวนที่เจาพนักงานผูทําใหตายตกเปนผูตองหาในคดีฆาตกรรม ซึ่งจะเริ่มทําสํานวนเมื่อไดรับสํานวนการไตสวนของศาลคืนจากพนักงานอัยการ ซึ่งหากศาลมีคําสั่งวา ความตายนั้นเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่แลว พนักงานสอบสวนจะตองสอบสวนคดีโดยใหเจาพนักงานผูทําใหตายตกเปนผูตองหา34 รวมถึงกรณีเจาพนักงานทําใหผูตายตายโดยไมมีเจตนาฆาใหตายดวย แตกรณีนี้จะแตกตางกันที่พนักงานอัยการผูมีอํานาจสั่งฟองคดี หากเปนกรณีเจาพนักงานไมมีเจตนาฆาก็จะสงสํานวนใหพนักงานอัยการเหมือนคดีอาญาทั่วไป แตหากเปนกรณีเจาพนักงานเจตนาฆาแลวพนักงานสอบสวนจะตองทําความเห็นวาควรสั่งฟองหรือไมฟองสงไปที่ผูวาราชการจังหวัดแหงทองที่ที่เกิดเหตุ แลวจะตองสงสํานวนตอใหอัยการสูงสุดเปนผูพิจารณาสั่งฟองหรือไมฟองตอไป

32 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสี่ 33 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคหา และวรรคสิบเอ็ด 34 หนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 19850/2501 ลงวันที่ 12 สิงหาคม 2501

Page 39: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

104

เชนเดียวกัน หากศาลมีคําสั่งวาผูตายตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ โดยมีเจาพนักงานเปนผูทําใหตายแลว พนักงานสอบสวนก็ตองสอบสวนเจาพนักงานผูที่ทําใหตายเปนผูตองหา แตหากเปนกรณีที่ผูตายตายโดยไมผูใดทําใหตายแลว กรณีเชนนี้ก็จะไมมีการสอบสวนเจาพนักงานผูควบคุมเปนผูตองหา (4) สํานวนกลาวหาผูตายตอสูขัดขวางเจาพนักงาน เปนสํานวนคดีที่ผูตายตกเปนผูตองหาวากระทําความผิดฐานตอสูขัดขวางเจาพนกังาน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 138 ซึ่งพนักงานสอบสวนจะรวบรวมขอเท็จจริงและพยานหลักฐานตาง ๆ ตั้งสํานวนคดีกลาวหาวาผูตายไดใชกําลังขัดขืนหรือทําใหเกิดอุปสรรคตอการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงาน และกระทําความผิดฐานอื่นประกอบดวย ซึ่งสวนใหญแลวขอเท็จจริงจะเปนความผิดฐานพยายามฆาผูอ่ืน เมื่อทําสํานวนเรียบรอยแลวพนักงานสอบสวนจะเสนอความเห็นวาควรสั่งไมฟองผูตาย เนื่องจากสิทธินําคดีอาญามาฟองตอศาลไดระงับไปแลวโดยความตายของผูกระทําความผิด35 หลังจากนั้นก็จะสรุปสํานวนพรอมความเห็นดังกลาวสงไปยังพนักงานอัยการแหงทองที่ที่ความผิดเกิด หรืออาง หรือเชื่อวาเกิด ทั้งนี้ พนักงานอัยการซึ่งรับสํานวนคดีลักษณะนี้ จะตองรอการสั่งสํานวนคดีนี้ไวจนกวาอัยการสูงสุดจะมีคําสั่งในคดีวิสามัญฆาตกรรมที่เกี่ยวพันกับคดีนี้เสียกอน36 (5) สํานวนกลาวหาผูทําใหตาย (ซึ่งมิใชเจาพนักงาน) เปนผูกระทําผิด เปนสํานวนคดีที่กลาวหาผูกระทําใหตาย ที่มิไดเปนเจาพนักงานวากระทําผิดฐานฆาผูอ่ืน ซึ่งจะเกิดขึ้นไดในกรณีที่ผูตายถูกฆาตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน โดยผูกระทํานั้นมิไดเปนเจาพนักงานและไดกระทําการฆาโดยเจตนา โดยกรณีนี้ถือวาเปนคดีวิสามัญฆาตกรรมตามมาตรา 143 วรรคทาย ตายนัยแหงคําส่ังอัยการสูงสุดในคดีวิสามัญฆาตกรรมที่ 3/2549

35 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (1) 36 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการดําเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ พ.ศ.

2547 ขอ 90

Page 40: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

105

4.3.2.2 ประเด็นในการสอบสวนคด ี หลักการในการสอบสวนคดีนั้น พนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการจะตองทําสํานวนการสอบสวนใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบและคําสั่งที่เกี่ยวของ ซึ่งตองบันทึกหรือรายงานการสอบสวนเกี่ยวกับขอเท็จจริงในคดีและความเห็น โดยขอเท็จจริงในคดีนั้นจะตองกลาวถึงคําใหการของผูกลาวหา ผูตองหา และพยาน และสวนความเห็นนั้นใหอางเหตุผล บทกฎหมาย และมาตราประกอบความเห็นดวย37 สํานวนสอบสวนในคดีวิสามัญฆาตกรรมนั้น หากเริ่มนับต้ังแตเร่ิมตนที่มีการตายเกิดขึ้นจนถึงขั้นการสั่งฟองหรือไมฟองของอัยการสูงสุดแลว จะประกอบดวยสํานวนตาง ๆ หลายสํานวนดวยกัน ไดแก (1) สํานวนชันสูตรพลิกศพ (2) สํานวนการไตสวนในศาล (3) สํานวนกลาวหาเจาพนักงานเปนผูกระทําผิด หรือสํานวนกลาวหาผูทําใหตาย (ซึ่งมิใชเจาพนักงาน) เปนผูกระทําผิด แลวแตกรณี (4) สํานวนกลาวหาผูตายตอสูขัดขวางเจาพนักงาน ซึ่งสํานวนที่จะตองมีการตรวจสอบและจัดทําสํานวนสอบสวนโดยพนักงานสอบสวนรวมกับพนักงานอัยการ ก็คือ สํานวนกลาวหาเจาพนักงานเปนผูกระทําผิด สํานวนกลาวหาผูทําใหตาย (ซึ่งมิใชเจาพนักงาน) เปนผูกระทําผิด และสํานวนกลาวหาผูตายตอสูขัดขวางเจาพนักงาน เนื่องจากสํานวนดังกลาวมีความสําคัญและสงผลตอการดําเนินคดีอาญาแกเจาพนักงานผูทําใหตาย และการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยประเด็นสําคัญในการสอบสวนคดีดังกลาวนั้น แยกไดดังนี้ (1) สํานวนกลาวหาเจาพนักงานเปนผูกระทําผิด จะตองทําการสอบสวนในประเด็นดังตอไปนี้ (1.1) สอบสวนวา เจาพนักงานผูทําใหตายเปนเจาพนักงานตามกฎหมายหรือไม และปฏิบัติหนาที่โดยชอบดวยกฎหมายหรือไม

37 สมศักดิ์ หวังดี, “การตรวจสอบความจริงในการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรม:

ศึกษาเฉพาะกรณีการชันสูตรพลิกศพ”, (วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550), น. 58.

Page 41: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

106

(1.2) สอบสวนวา เจาพนักงานผูทําใหตายกระทําการฆาโดยเจตนาหรือไม (1.3) สอบสวนวา การกระทําใหตายนั้นเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม (1.4) สอบสวนวา การปองกันโดยชอบดวยกฎหมายนั้นพอสมควรแกเหตุหรือไม ประเด็นดังกลาวขางตน ถือเปนประเด็นสําคัญในการสอบสวน ซึ่งพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการจะตองสอบสวนใหละเอียดถี่ถวนและชัดเจน เมื่อไดความวาเจาพนักงานไดฆาผูอ่ืนโดยเจตนาและเปนการกระทําเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ และเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายซึ่งไดกระทําไปพอสมควรแกเหตุแลว พนักงานสอบสวนก็จะทําความเห็นวาควรสัง่ไมฟองเจาพนักงานนั้น สงไปยังผูวาราชการจังหวัดแหงทองที่ที่เกิดเหตุ เพื่อสงสํานวนใหอัยการสูงสุดพิจารณาดําเนินการตอไป (2) สํานวนกลาวหาผูทําใหตาย (ซึ่งมิใชเจาพนักงาน) เปนผูกระทําผิด จะตองทําการสอบสวนในประเด็นดังตอไปนี้ (2.1) สอบสวนวา ผูตายตายลงในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งปฏิบัติราชการตามหนาที่หรือไม (2.2) สอบสวนวา ผูทําใหตายกระทําการฆาโดยเจตนาหรือไม เมื่อสอบสวนไดความวา ผูตายไดถูกฆาตายโดยเจตนาในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานแลว ซึ่งผูฆาตายนั้นไมไดเปนเจาพนักงานผูควบคุมแลว พนักงานสอบสวนกจ็ะทาํความเห็นวาควรสั่งฟองหรือส่ังไมฟองแลวแตกรณี และสงใหอัยการสูงสุดพิจารณาดําเนินการตอไป ทั้งนี้หากปรากฏขอเท็จจริงวาเจาพนักงานผูควบคุมไดเปนผูกระทําใหตายแลว ก็จะถือวาเปนกรณีความตายเกิดขึ้นโดยเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ซึ่งพนักงานสอบสวนก็จะตองดําเนินคดีกับเจาพนักงานผูทําใหตายตอไป (3) สํานวนกลาวหาผูตายตอสูขัดขวางเจาพนักงาน จะตองทําการสอบสวนในประเด็นดังตอไปนี้ (2.1) สอบสวนวา ผูตายไดกระทําความผิดฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงานหรือไม (2.2) สอบสวนวา ผูตายไดกระทําความผิดฐานอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับการตอสูขัดขวางเจาพนักงานดวยหรือไม ซึ่งในทางปฏิบัติแลวสํานวนนี้จะเปนสํานวนคดีที่ควบคูไปกับสํานวนที่กลาวหา เจาพนักงานเปนผูกระทําความผิดฐานฆาผูอ่ืน โดยสวนใหญแลวขอเท็จจริงที่ปรากฏในสํานวนทั้ง

Page 42: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

107

สองสํานวน จะสอดคลองกัน โดยมักจะไดความวา ผูตายไดพยายามฆาเจาพนักงานซึ่งปฏิบัติราชการตามหนาที่ ซึ่งถือเปนความผิดฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงานดวย จึงเปนเหตุเจาพนักงานมีความจําเปนตองฆาผูตายเพื่อปองกันตนเองหรือผูอ่ืน ซึ่งเมื่อสอบสวนเสร็จเรียบรอยแลว พนักงานสอบสวนก็จะทําความเห็นวาควรไมฟองผูตายเนื่องจากคดีอาญาไดระงับไปแลวโดยความตายของผูกระทําผิด แลวจึงสงใหอัยการสูงสุดพิจารณาดําเนินการตอไป สรุปแลวสํานวนทั้งสามที่ไดกลาวมานั้น ประเด็นในการสอบสวนลวนแตมีความสําคัญในการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานและการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของผูตายและประชาชน ซึ่งแตเดิมถือเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนแตเพียงผูเดียว ตอมาไดมีแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งไดกําหนดใหพนักงานอัยการรวมทําสํานวนดังกลาวกับพนักงานสอบสวนตามที่บัญญัติไวในมาตรา 155/1 และในวรรคสอง ไดกําหนดพนกังานอยัการอาจใหคําแนะนํา ตรวจสอบพยานหลักฐาน รวมทั้งสอบปากคําพยานได และกําหนดใหพนักงานสอบสวนเปนผูรับผิดชอบสํานวน ทั้งนี้การที่กฎหมายบัญญัติเชนนี้เพื่อเปนปองกันมิใหมีการซ้ําซอนกันในหนาที่ระหวางพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการ เนื่องจากทั้งสองจะตองรวมกันทําสํานวน จึงกําหนดเจาพนักงานที่จะเปนผูรับผิดชอบในการทําสํานวนสอบสวนใหชัดเจน มิใหเกิดความลักลั่นหรือเกี่ยงกันรับผิดชอบจนอาจทําใหเกิดความเสียหายแกรูปคดี 4.3.2.3 ขั้นตอนและกระบวนการจัดทําสํานวนคด ี การทําสํานวนคดีวิสามัญฆาตกรรมนั้น เร่ิมต้ังแตการจัดทํารายงานการชันสูตรพลกิศพ การยื่นคํารองขอใหศาลไตสวนการตาย การไตสวนในศาล การทําสํานวนกลาวหาเจาพนักงาน การทําสํานวนกลาวผูตาย จนถึงการพิจารณาสั่งการของอัยการสูงสุดเพื่อส่ังฟองหรือไมฟอง เจาพนักงานตอไป38 ซึ่งสรุปข้ันตอนการดําเนินการไดดังนี้ (1) เมื่อมีความตายเกิดขึ้นโดยเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่แลว เจาพนักงานผูทําใหตายหรือผูควบคุมผูตาย ก็จะแจงความตอพนักงานสอบสวนในทองที่นั้น

38 สมพร พรหมหิตาธร, คดีวิสามัญฆาตกรรม, พิมพคร้ังที่ 3 (กรุงเทพมหานคร:

สํานักพิมพนิติธรรม, 2545), น. 28-30.

Page 43: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

108

(2) พนักงานสอบสวน จะแจงใหแพทย พนักงานอัยการ และเจาพนักงานฝายปกครองไปยังสถานที่เกิดเหตุ แลวเริ่มทําการชันสูตรพลิกศพและจัดทําบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพและรายงานการชันสูตรพลิกศพ (3) เมื่อไดทําการชันสูตรพลิกศพแลว พนักงานสอบสวนรวมกับพนักงานอัยการ จัดทําสํานวนชันสูตรพลิกศพ ซึ่งจะประกอบดวยบันทึกรายละเอียด รายงานการชันสูตรพลิกศพ คําใหการพยานที่เกี่ยวของ และบันทึกการตรวจสถานที่เกิดเหตุพรอมแผนที่ (4) เมื่อไดรับสํานวนชันสูตรพลิกศพแลว พนักงานอัยการจะยื่นคํารองตอศาลเพื่อใหทําการไตสวนการตาย ซึ่งสํานวนของพนักงานอัยการนี้ เรียกวา สํานวนการไตสวนในศาล เมือ่ศาลรับคํารองแลวก็จะสั่งนัดไตสวน โดยปดประกาศวันนัดไตสวนและใหพนักงานอัยการแจงใหญาติของผูตายทราบวันนัดไตสวน (5) การไตสวนของศาลนั้น หากญาติของผูตายมีขอสงสัยประการใด ก็อาจซักถามพยานของพนักงานอัยการไดและสามารถตั้งทนายความเขามาในกระบวนการไตสวนก็ได เมือ่ศาลไตสวนเสร็จแลวจะมีคําสั่งโดยระบุวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด สาเหตุและพฤติการณที่ตาย ถาตายโดยคนทํารายก็จะระบุวาใครหรือสงสัยวาใครเปนผูทําราย จากนั้นจะมีหนังสือของศาลสงสํานวนการไตสวนใหอัยการ (6) เมื่อพนักงานอัยการไดรับสํานวนการไตสวนแลว ก็จะสงสํานวนตอใหพนักงานสอบสวน พรอมกับสํานวนชันสูตรพลิกศพ เพื่อดําเนินการสอบสวนตอไป (7) เมื่อพนักงานสอบสวนไดรับสํานวนทั้งสองสํานวนแลว ก็จะทําการสอบสวนเจาพนักงานผูทําใหตายตกเปนผูตองหาฐานฆาคนตายโดยเจตนา เมื่อสอบสวนเสร็จแลวก็จะรวบรวมสํานวนทั้งหมดเสนอผูวาราชการจังหวัดทองที่ที่เกิดเหตุ เพื่อทําความเห็นและสงสํานวนไปยังอัยการสูงสุดเพื่อออกคําสั่งฟองหรือไมฟองตอไป (8) การพิจารณาของอัยการสูงสุดนั้น หากอัยการสูงสุดสั่งไมฟองก็จะแจงคําสั่งเด็ดขาดไมฟองแกเจาพนักงานผูทําวิสามัญฆาตกรรม หากอัยการสูงสุดสั่งฟองก็จะสงสํานวนทั้งหมดใหพนักงานอัยการทองที่ที่เกิดเหตุเพื่อดําเนินคดีตอไป เมื่อพิจารณาจากกระบวนการที่ไดกลาวมาขางตนแลวจะพบไดวา พนักงานสอบสวนถือเปนองคกรหลักที่มีหนาที่ความรับผิดชอบในการสอบสวนและจัดทําสํานวนคดีตาง ๆ ดังนั้น เพื่อใหเกิดการตรวจสอบและถวงดุลการใชอํานาจ กฎหมายจึงกําหนดใหพนักงานอัยการเขารวมในกระบวนการตั้งแตเร่ิมตนชันสูตรพลิกศพ การจัดทําสํานวนชันสูตรพลิกศพ การทําสํานวนคดีวิสามัญฆาตกรรม รวมถึงสํานวนคดีกลาวหาผูตายเปนผูกระทําผิดฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงาน

Page 44: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

109

ดวย เนื่องจากคดีดังกลาวถือเปนคดีที่สงผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอยางยิ่ง เพื่อใหการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงตองใหพนักงานอัยการมีอํานาจหนาที่ในกระบวนการสอบสวนเพิ่มมากขึ้นในคดีดังกลาว 4.3.3 บทบาทของพนักงานอัยการในการสอบสวนชันสูตรพลิกศพ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (11) บัญญัติไววา “การสอบสวน” หมายถึง การรวบรวมพยานหลักฐานและการดําเนินการทั้งหลายอื่นตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ ซึ่งพนักงานสอบสวนไดทําไปเกี่ยวกับความผิดที่กลาวหาเพื่อที่จะทราบขอเท็จจริง หรือพิสูจนความผิดและเพื่อที่จะเอาตัวผูกระทําผิดมาฟองลงโทษ จากบทบัญญัติดังกลาว จะเห็นไดวาผูที่มีอํานาจหนาที่ในการสอบสวนคดีอาญานั้น โดยทั่วไปแลวนั้น ก็คือพนักงานสอบสวน ซึ่งตองตองดําเนินการรวบรวมพยานหลักฐาน อันไดแกพยานบุคคล พยานเอกสาร หรือพยานวัตถุ และจัดใหไดมาซึ่งพยานหลักฐานเหลานั้น และยังตองดําเนินการอื่น ๆ เชน การควบคุมผูตองหาในระหวางการสอบสวน การนําตัวผูตองหาไปฝากขังตอศาล การทําบันทึกในกรณีที่ผูตองหาไมยอมใหการ ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงคเพื่อทราบขอเท็จจริงในคดีวาเปนอยางไร เพื่อพิสูจนถึงความบริสุทธิ์หรือความผิดของผูถูกกลาวหาวากระทําผิด รวมถึงการนําเอาตัวผูกระทําผิดมาฟองลงโทษใหไดดวย แมวาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 20 จะบัญญัติถึงผูมีอํานาจสอบสวนกรณีความผิดที่ไดกระทําลงนอกราชอาณาจักรไทยซึ่งมีโทษตามกฎหมายไทย โดยกําหนดใหอัยการสูงสุดหรือผูรักษาการแทนเปนผูมีอํานาจสอบสวนในกรณีความผิดดังกลาวก็ตาม แตในบทบัญญัติดังกลาวก็ยังใชถอยคําที่วา “ใหอัยการสูงสุดหรือผูรักษาราชการแทนเปนพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ” จึงเปนที่เขาใจไดวาหลักการดําเนินคดีอาญาของไทยนั้น โดยทั่วไปแลวผูที่มีอํานาจหนาที่สอบสวนคดีอาญา ก็คือพนักงานสอบสวน โดยพนักงานอัยการจะมีอํานาจหนาที่สอบสวนคดีอาญาก็ตอเมื่อมีกฎหมายไดใหอํานาจไวเปนกรณีเฉพาะการ 4.3.3.1 อํานาจของพนักงานอัยการในการสอบสวนคดีอาญา หลักการดําเนินคดีอาญาของประเทศไทยนั้น เมื่อคร้ัง พ.ศ. 2354 ซึ่งเริ่มมีพนักงานอัยการเปนครั้งแรกนั้น ระบบอัยการของไทยเปนไปตามระบบอัยการที่สมบูรณเชนเดียวกับนานาอารยประเทศ ซึ่งกฎหมายไดกําหนดใหพนักงานอัยการเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินคดีอาญา

Page 45: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

110

ตั้งแตตนจนกระทั่งถึงชั้นบังคับคดี อันไดแก อํานาจหนาที่ในการสอบสวน การฟองรอง การดําเนินคดีในศาล และการบังคับคดี39 ตอมาเมื่อไดมีการประกาศใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของพนักงานอัยการไดลดลง เนื่องกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดแบงแยกอํานาจหนาที่สอบสวนคดีอาญา ออกจากอํานาจหนาที่ฟองคดีอาญาอยางเด็ดขาด คือขั้นตอนการสอบสวน ดําเนินการโดยองคกรพนักงานสอบสวน และข้ันตอนการฟองรอง ดําเนินการโดยองคกรอัยการ40 ดังจะที่เห็นไดจากบทบัญญัติดังตอไปนี้ มาตรา 120 บัญญัติวา “หามมิใหพนักงานอัยการยื่นฟองคดีใดตอศาลโดยมิไดมีการสอบสวนในความผิดนั้นกอน” มาตรา 121 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “พนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบสวนคดีอาญาทั้งปวง” มาตรา 140 บัญญัติวา “เมื่อพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบในการสอบสวน เห็นวาการสอบสวนเสร็จแลว ใหจัดการอยางหนึ่งอยางใดดั่งตอไปนี้ (1) ถาไมปรากฏวาผูใดเปนผูกระทําความผิดและความผิดนั้นมีอัตราโทษจําคุกอยางสูงไมเกินสามป ใหพนักงานสอบสวนงดการสอบสวน และบันทึกเหตุที่งดนั้นไว แลวใหสงบันทึกพรอมกับสํานวนไปยังพนักงานอัยการ ถาอัตราโทษอยางสูงเกินกวาสามป ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนไปยังพนักงานอัยการพรอมทั้งความเห็นที่ควรใหงดการสอบสวน ถาพนักงานอัยการสั่งใหงด หรือใหทําการสอบสวนตอไป ใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติตามนั้น (2) ถารูตัวผูกระทําผิด ใหใชบทบัญญัติในสี่มาตราตอไปนี้” จากบทบัญญัติดังกลาวขางตนจะเห็นไดวา การสอบสวนคดีอาญาจะกระทําโดยพนักงานสอบสวนโดยตลอดจนเมื่อพนักงานสอบสวนเห็นวาการสอบสวนเสร็จแลว จึงจะสงสํานวนการสอบสวนพรอมกับการเสนอความเห็นไปยังพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาสั่งคดีตอไป ดังนั้น พนักงานอัยการจึงมีหนาที่เปนผูกลั่นกรองสํานวนการสอบสวนเทานั้น

39 คณิต ณ นคร, อางแลว เชิงอรรถที่ 5, น. 95-96. 40 สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, “กระบวนยุติธรรมทางอาญาในประเทศไทย: ปญหาและ

ขอเสนอแนะบางประการ”, ดุลพาห, เลม 4, ปที่ 43, น. 4-5. (กรกฎาคม-สิงหาคม)

Page 46: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

111

อยางไรก็ดี หากพนักงานอัยการตองการใหมีการสอบสวนเพิ่มเติมก็ตองสั่งการไปยังพนักงานสอบสวนใหดําเนินการ และถึงแมวาพนักงานอัยการจะไดซักถามพยานดวยตนเองตามความในมาตรา 143 วรรคสอง (ก) ก็ไมถือวาเปนการสอบสวนเนื่องจากพนักงานอัยการไมใชพนักงานสอบสวน41 สรุปแลวอัยการจะมีอํานาจหนาที่ในการสอบสวนคดีอาญาดังนี้ (1) อํานาจในฐานะพนักงานสอบสวน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 20 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ถาความผิดซึ่งมีโทษตามกฎหมายไทยไดกระทําลงนอกราชอาณาจักรไทย ใหอัยการสูงสุดหรือ ผูรักษาการแทนเปนพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ หรือจะมอบหมายหนาที่นั้นใหพนักงานอัยการหรือพนักงานสอบสวนคนใดเปนผูรับผิดชอบทําการสอบสวนแทนก็ได” ดังนั้น หากเปนความผิดอาญาซึ่งเกิดนอกราชอาณาจักรซึ่งผูกระทําผิดจะตองรับโทษในราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 4 ถึงมาตรา 8 แลว อัยการสูงสุดหรือ ผูรักษาการแทนจะเปนพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ โดยอาจมอบหมายใหพนักงานอัยการหรือพนักงานสอบสวนดําเนินการแทนก็ได หรืออาจมอบหมายใหพนักงานอัยการและพนักงานสอบสวนรวมกัน ในกรณีนี้พนักงานสอบสวนจะตองปฏิบัติตามคําสั่งและคําแนะนําของพนักงานอัยการในสวนที่เกี่ยวกับการรวบรวมพยานหลักฐาน (2) อํานาจในระหวางพิจารณาสํานวนสอบสวน ในชั้นสอบสวนคดีอาญาทั่วไปนั้น พนักงานอัยการจะเกี่ยวของกับการสอบสวนคดีอาญา ก็เมื่อพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบสํานวนไดทําการสอบสวนคดีเสร็จส้ินและสรุปความเห็นสงมาใหพนักงานอัยการพิจารณาสั่งคดีตอไป และเมื่อพนักงานอัยการไดรับสํานวนสอบสวนแลว ในระหวางการพิจารณาสํานวนสอบสวนกอนที่จะสั่งคดีวาควรจะฟอง ไมฟอง หรืองดการสอบสวน ในมาตรา 143 วรรคสอง กําหนดใหพนักงานอัยการมีอํานาจดังนี้ (2.1) สั่งใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนเพิ่มเติม

41 เกียรติขจร วัจนะสวัสด์ิ, คําอธิบายหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาวาดวยการ

ดําเนินคดีในขั้นตอนกอนการพิจารณา, พิมพคร้ังที่ 5 (กรุงเทพมหานคร: จิรัชการพิมพ, 2549) น. 453.

Page 47: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

112

โดยหากพนักงานอัยการเห็นวาการสอบสวนยังไมกระจางแจงในขอเท็จจริง หรือพยานหลักฐานที่รวบรวมมายังไมเพียงพอหรือไมครบถวนสมบูรณ ก็มีอํานาจสั่งใหพนักงานสอบสวน สอบสวนเพิ่มเติมในประเด็นที่ตองการได เมื่อพนักงานสอบสวนไดสอบสวนเพิ่มเติมแลว ตองสงสํานวนสอบสวนเพิ่มเติมมาใหพนักงานอัยการรวมสํานวนแลวพิจารณาสั่งการตอไป (2.2) ส่ังใหสงพยานมาซักถาม โดยหากพนักงานอัยการเห็นควร อาจสั่งใหพนักงานสอบสวนสงพยานมาใหซักถาม เพื่อทราบขอเท็จจริงและหลักฐานของคดีไดตามตองการ แตการกระทําการเชนนี้ไมถือเปนการสอบสวนคดี และคําพยานที่พนักงานอัยการไดจากการซักถามนี้ก็ไมอาจรวมเขาไปเปนสวนหนึ่งของสํานวนการสอบสวนที่จะใชยันพยานผูนั้นหรือใชเปนพยานหลักฐานในชั้นพิจารณาของศาลไดที่ประกอบการพิจารณาสั่งคดีของพนักงานอัยการเทานั้น มีขอสังเกต คือ หากพนักงานอัยการประสงคจะใหคําพยานที่ซักถามนั้นใชเปนพยานหลักฐานที่รับฟงไดในชั้นศาลแลว ในทางปฏิบัติพนักงานอัยการจะตองใชวิธีสั่งการใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนเพิ่มเติม หรือใหพนักงานสอบสวนที่นําพยานมานั้นเขารวมในการซักถามพยานและจดคําพยานให (2.3) วินิจฉัยวาควรปลอยผูตองหา ปลอยชั่วคราว ควบคุมไวหรือขอใหศาลขังในระหวางการตรวจสํานวนการสอบสวนของพนักงานอัยการ การปลอยผูตองหานั้น เปนอํานาจของพนักงานอัยการที่ปลอยตัวผูตองหาในระหวางสอบสวนไดเสมอ เมื่อเห็นวาไมจําเปนตองควบคุมผูตองหาไว แตเมื่อนําตัวผูตองหาไปฝากขังตอศาลแลว พนักงานอัยการมีเพียงอํานาจขอใหศาลพิจารณาปลอยตัวเทานั้น42 การปลอยชั่วคราวนั้น เปนอํานาจของพนักงานอัยการที่จะอนุญาตใหปลอยตัวผูตองหาไปชั่วคราวในระหวางสอบสวน โดยใหมารายงานตัวภายในระยะเวลาที่กําหนดไวหรือทุกคร้ังที่มีหมายเรียกตัว ซึ่งจะกําหนดใหผูตองหาทําสัญญาประกันตัวไว โดยมีหลักประกันมาวางดวยหรือไมก็ได43 การควบคุมตัวหรือขอใหศาลขังนั้น เมื่อพนักงานอัยการรับสํานวนสอบสวนแลว พนักงานอัยการก็มีอํานาจควบคุมตัวผูตองหาไวในระหวางการพิจารณาสั่งคดีนั้น แตในกรณีที่ไม

42 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 72 (2) 43 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 106

Page 48: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

113

อาจพิจารณาสั่งสํานวนสอบสวนนั้นภายในกําหนดควบคุมตัวที่พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจหรือที่ศาลสั่งขังไวแลว พนักงานอัยการก็มีอํานาจยื่นคํารองตอศาลเพื่อขอใหส่ังขังผูตองหานั้น44 (3) อํานาจในการสั่งคดี เมื่อพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนคดีเสร็จสิ้นแลวจะทําเปนสํานวนสอบสวนพรอมทั้งเสนอความเห็นสงมายังพนักงานอัยการเพื่อทําการสั่งคดีตอไป ซึ่งการสั่งคดขีองพนกังานอยัการนั้นจะเปนตามที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยแบงประเภทของคดีที่ตองสั่งการไดดังนี้ (3.1) คดีที่ไมปรากฏวาผูใดเปนผูกระทําผิด ในคดีประเภทนี้ พนักงานอัยการมีอํานาจในการสั่งใหงดการสอบสวนหรือทําการสอบสวนตอไปได ซึ่งในมาตรา 140 กําหนดไววาในคดีที่ไมปรากฏวาผูใดเปนผูกระทําผิด และความผิดนั้นมีอัตราโทษจําคุกอยางสูงไมเกินสามป ใหพนักงานสอบสวนงดการสอบสวนและบันทึกเหตุที่งดนั้นไว จากนั้นใหสงบันทึกพรอมกับสํานวนไปยังพนักงานอัยการ แตถาอัตราโทษอยางสูงเกินกวาสามป ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนไปยังพนักงานอัยการพรอมทั้งความเห็นที่ควรใหงดการสอบสวน เมื่อพนักงานอัยการไดรับสํานวนดังกลาวแลว ก็ใหพิจารณาวาควรงดการสอบสวนคดีนั้นหรือไม เมื่อมีพนักงานอัยการมีคําสั่งงดการสอบสวน ก็ใหสงสําสวนคืนพนักงานสอบสวนไปหรือมีคําสั่งไมงดการสอบสวน ก็จะสั่งการใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนตอไป (3.2) คดีที่รูตัวกระทําผิด แตเรียกหรือจับตัวไมได ในคดีนี้ไมวาพนักงานสอบสวนจะมีความเห็นควรสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหาก็ตาม พนักงานอัยการมีอํานาจในการสั่งคดี ตามที่กําหนดไวในมาตรา 141 ดังนี้ ถาพนักงานอัยการเห็นวาควรสั่งไมฟอง และมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองแลว การสอบสวนเปนอันยุติโดยคําสั่งไมฟองนั้น จากนั้นใหแจงคําสั่งไมฟองใหพนักงานสอบสวนทราบตอไป ถาพนักงานอัยการเห็นควรใหสอบสวนตอไป ก็ส่ังใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติตามคําสั่ง

44 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 87

Page 49: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

114

ถาพนักงานอัยการเห็นควรสั่งฟอง จะตองดําเนินการเพื่อใหไดตัวผูตองหามาฟองคดีตอศาล โดยวิธีการสั่งใหพนักงานสอบสวนจัดการออกหมายจับ เวนแตพนักงานสอบสวนจะไดออกหมายจับไวกอนแลว (3.3) คดีที่รูตัวผูกระทําผิดและผูนั้นถูกควบคุมหรือขังอยู หรือปลอยชั่วคราว หรือเชื่อวาคงไดตัวมาเมื่อออกหมายเรียก ในคดีนี้ไมวาพนักงานสอบสวนจะมีความเห็นควรสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหาก็ตาม พนักงานอัยการมีอํานาจในการสั่งคดี ตามที่กําหนดไวในมาตรา 143 ดังนี้ ถาพนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งไมฟองและพนักงานอัยการเห็นชอบดวย ใหพนักงานอัยการออกคําสั่งไมฟอง แตถาไมเห็นชอบดวยก็สั่งฟอง และแจงใหพนักงานสอบสวนสงผูตองหามาเพื่อฟองตอไป ถาพนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งฟองและพนักงานอัยการเห็นชอบดวย ใหพนักงานอัยการออกคําสั่งฟองและฟองผูตองหาตอศาล แตถาไมเห็นชอบดวยก็ใหสั่งไมฟอง (3.4) คดีเปรียบเทียบ การสั่งคดีเปรียบเทียบของพนักงานอัยการนั้น แยกไดเปนดังนี้ (3.4.1) คดีที่พนักงานสอบสวนไดทําการเปรียบเทียบและไดสงบันทึกการเปรียบเทียบพรอมดวยสํานวนสอบสวนมายังพนักงานอัยการ ตามมาตรา 142 วรรคสี่ ซึ่งคดีในลักษณะนี้ในทางปฏิบัติพนักงานอัยการจะตรวจสอบวาการเปรียบเทียบของพนักงานสอบสวนนั้นชอบหรือไม ถาเปรียบเทียบชอบแลวก็ใหถือวาคดีนั้นเสร็จส้ิน เปนกรณีคดีอาญาเลิกกันตามที่กําหนดไวในมาตรา 37 แตถาการเปรียบเทียบนั้นไมชอบ ก็จะแจงใหพนักงานสอบสวนทราบและดําเนินการจัดการใหถูกตองตอไป เชน ความผิดนั้นเกินอํานาจของพนักงานสอบสวนที่จะเปรียบเทียบปรับได ก็จะตองคืนคาปรับแกผูตองหาแลวทําการสอบสวนพรอมทั้งทําความเห็นสั่งฟองมาใหพนักงานอัยการตอไป (3.4.2) คดีที่พนักงานสอบสวนสงสํานวนการสอบสวนพรอมทั้งความเห็นควรสั่งฟองหรือส่ังไมฟองมายังพนักงานอัยการ ตามมาตรา 144 ถาคดีนั้นพนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งไมฟอง แตพนักงานอัยการเห็นควรสั่งฟองและเห็นวาเปนคดีที่อาจเปรียบเทียบแทนการฟองคดีได พนักงานอัยการมีอํานาจสั่งใหพนักงานสอบสวนพยายามเปรียบเทียบคดีนั้นแทนการสงตัวผูตองหาไปยังพนักงานอัยการ ถาคดีนั้นพนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งฟองพรอมกับสงตัวผูตองหาไปยังพนักงานอัยการ หากพนักงานอัยการเห็นชอบดวย หากคดีนั้นเปนคดีความผิดที่อาจเปรียบเทียบ

Page 50: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

115

ได พนักงานอัยการมีอํานาจสั่งใหสงตัวผูตองหาและสํานวนไปยังพนักงานสอบสวนเดิมหรือพนักงานสอบสวนอื่นที่มีอํานาจจัดการเปรียบเทียบคดีนั้น (4) อํานาจเขารวมในการชันสูตรพลิกศพ รวมสอบสวนในคดีวิสามัญฆาตกรรมและคดีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที ่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 143 150 และ 155/1 กําหนดใหพนักงานอัยการตองเขารวมในคดีวิสามัญฆาตกรรมตั้งแตเร่ิมตนกระบวนการ โดยพนักงานอัยการมีอํานาจหนาที่เขารวมในการชันสูตรพลิกศพกับพนักงานสอบสวน แพทย เจาพนักงานฝายปกครอง ในกรณีการตายตามที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคสาม และตองรวมทําสํานวนชันสูตรพลิกศพกับพนักงานสอบสวนใหแลวเสร็จ ตามที่ไดกําหนดไวในมาตรา 150 วรรคสี่ นอกจากนี้ มาตรา 155/1 กําหนดใหพนักงานอัยการมีหนาที่จะตองทําสํานวนสอบสวนในคดีวิสามัญฆาตกรรมและคดีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ โดยสํานวนสอบสวนดังกลาวนั้นพนักงานสอบสวนจะเปนผูรับผิดชอบ แตพนักงานอัยการอาจใหคําแนะนํา ตรวจสอบพยานหลักฐาน ถามปากคํา หรือส่ังใหถามปากคําบุคคลที่เกี่ยวของได (5) อํานาจสั่งคดีฆาตกรรมหรือคดีวิสามัญฆาตกรรม โดยปกติแลวพนักงานอัยการมีอํานาจในการสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหา แตหากเปนคดีอาญาที่มีเจาพนักงานเขาไปเกี่ยวของกับการตาย หรือที่เรียกกันวาคดีวิสามัญฆาตกรรมแลว อํานาจในการสั่งคดีวิสามัญฆาตกรรมนั้น พนักงานอัยการทั่วไปไมมีอํานาจในการสั่งคดีดังกลาว ซึ่งในมาตรา 143 วรรคทาย กําหนดใหอํานาจในการสั่งคดีวิสามัญฆาตกรรมนั้น ใหเปนอํานาจหนาที่ของอัยการสูงสุดหรือผูรักษาการแทนเทานั้นที่จะมีคําสั่งฟองหรือไมฟอง สําหรับอํานาจของพนักงานอัยการในขอ (4) และ (5) ตามที่ไดกลาวมาขางตนนั้น ถือเปนกรณีพิเศษกฎหมายกําหนดใหพนักงานอัยการเขามาตรวจสอบในคดีวิสามัญฆาตกรรมโดยเฉพาะ ซึ่งจะไดกลาวถึงรายละเอียดในหัวขอถัดไป 4.3.3.2 การรวมชันสูตรพลิกศพ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดกําหนดให พนักงานอัยการเปนผูชันสูตรพลิกศพรวมกับเจาหนาที่ฝายอื่น อันไดแก พนักงานสอบสวน แพทย และเจาพนักงานฝายปกครอง ใน

Page 51: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

116

กรณีความตายที่เกี่ยวของกับเจาพนักงาน ตามความในมาตรา 150 วรรคสาม ซึ่งพนักงานอัยการจะตองใหความสําคัญในการคุมครองสิทธิของทุกฝายไมวาจะเปนเจาพนักงานหรือผูตาย โดยจะตองสั่งการใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติหนาที่รวบรวมพยานหลักฐานและทําสํานวนชันสูตรพลิกศพใหเปนไปอยางถูกตอง ซึ่งพนักงานสอบสวนมีหนาที่ตองปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานอัยการ45 สํานักงานอัยการสูงสุด ไดออกระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 กําหนดถึงอํานาจหนาที่ของพนักงานอัยการในการเขารวมชันสูตรพลิกศพ ดังนี้ (1) เมื่อไดรับแจงจากศูนยอํานวยคดีชันสูตรพลิกศพ พนักงานอัยการแหงทองที่ที่ศพนั้นอยูตามรายชื่อผูเปนเวร จะไปรวมชันสูตรพลิกศพทันที ตามวัน เวลา และสถานที่ตามที่ไดรับแจง46 (2) กอนที่จะทําการชันสูตรพลิกศพ พนักงานอัยการจะตรวจสอบวาพนักงานสอบสวนไดแจงใหสามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายอยางนอยหนึ่งคนทราบเทาที่จะทําไดหรือไม47 หากพนักงานสอบสวนยังไมไดแจงใหทราบ พนักงานอัยการมีหนาที่แจงใหพนักงานสอบสวนดําเนินการใหถูกตองตามที่กําหนดไวในมาตรา แตถาพนักงานสอบสวนมีความจําเปนไมสามารถปฏิบัติได พนักงานอัยการจะแจงใหพนักงานสอบสวนบันทึกเหตุขัดของไวเปนหลักฐาน48 (3) จากนั้นพนักงานจะตองตรวจสอบคุณสมบัติของผูที่จะรวมทําการชันสูตรพลิกศพวาเปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนดไวหรือไม กอนที่จะเริ่มทําการชันสูตรพลิกศพ49 (4) พนักงานอัยการ จะตรวจสภาพศพและสภาพแวดลอมในบริเวณที่ศพนั้นอยู และรวบรวมพยานหลักฐานเทาที่จะทําได โดยจะตองทําความเห็นเปนหนังสือใหไดความวาผูตายนั้น

45 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคหก 46 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 11

วรรคหนึ่ง 47 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 11

วรรคสอง 48 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 11

วรรคสาม 49 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 12

Page 52: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

117

คือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณแหงการตายเปนเชนไร หากเปนการตายโดยคนทําราย ใหกลาววาใครเปนผูกระทํารายเทาที่ทราบได50 และพนักงานอัยการมีอํานาจสั่งการใหพนักงานสอบสวนดําเนินการอยางหนึ่งอยางใดตามที่เห็นสมควร เพื่อคนหาความจริงในคดีไดดวย51 (5) หลังจากรวมชันสูตรพลิกศพแลว พนักงานอัยการจะตองบันทึกรายละเอียดผลการชันสูตรพลิกศพในแบบรายงานการชันสูตรพลิกศพของสํานักงานอัยการสูงสุดเสนอผูอํานวยการศูนยเพื่อทราบ เพื่อใหสงไปรวมไวในสํานวนการไตสวนหรือสํานวนคดีอาญาที่พนักงานสอบสวนจะสงใหกับพนักงานอัยการตอไป52 4.3.3.3 การทําสํานวนชันสูตรพลิกศพ แตเดิมกฎหมายกําหนดแตเพียงวา เมื่อพนักงานสอบสวนทําสํานวนชันสูตรพลิกศพเสร็จแลว ใหสงสํานวนไปใหพนักงานอัยการเพื่อตรวจสอบสํานวนชันสูตรพลิกศพนั้น โดยพนักงานอัยการมีหนาที่ในการตรวจพิจารณาเนื้อหาในสํานวนนั้นทั้งขอเท็จจริงแหงเรื่อง ตลอดจนพยานหลักฐานทั้งปวงวาเพียงพอที่จะสั่งการหรือดําเนินการตอไปไดหรือไม หากปรากฏวาสํานวนยังขาดตกบกพรองหรือไมสมบูรณเพียงพอ ก็จะสั่งการใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนเพิ่มเติม แตหากสํานวนครบถวนสมบูรณเพียงพอแลวก็จะทําความเห็นเสนอหัวหนาพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาสั่งการตอไป ซึ่งตอมามีการแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสี่ กําหนดใหพนักงานอัยการมีอํานาจหนาที่รวมกับพนักงานสอบสวนในการจัดทําสํานวนชันสูตรพลิกศพกรณีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ โดยสํานวนการชันสูตรพลิกศพจะตองประกอบไปดวยเอกสารหลักฐาน ดังตอไปนี้ (1) หลักฐานการแจงใหผูมีหนาที่ไปทําการชันสูตรพลิกศพทราบ

50 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 13 51 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 10

วรรคหนึ่งและวรรคสาม 52 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 14

Page 53: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

118

(2) หลักฐานการแจงใหสามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายอยางนอยหนึ่งคนทราบเทาที่จะทําได (3) บันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพ (4) รายงานของแพทยแนบทายบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพ (5) หลักฐานการมอบหมายใหเจาหนาที่ของโรงพยาบาลหรือเจาหนาที่ในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ผานการอบรมทางนิติเวชศาสตร (6) บันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาของแพทยและพนักงานสอบสวน เมื่อพนักงานอัยการและพนักงานสอบสวนไดจัดทําสํานวนชันสูตรพลิกศพเสร็จเรียบรอยแลว ก็จะสงสํานวนใหหัวหนาพนักงานอัยการพิจารณาตอไป หากเห็นวาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานสมบูรณครบถวนเพียงพอที่แสดงใหศาลไตสวนและทําคําส่ังไดวา ผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณที่ตายเปนอยางไร และหรือใครเปนคนทํารายใหตายแลว ก็จะสั่งการใหพนักงานอัยการทําคํารองขอตอศาลชั้นตนแหงทองที่ที่ศพนั้นอยู เพื่อใหศาลทําการไตสวนและมีคําสั่งตามความในมาตรา 150 ตอไป 4.3.3.4 การไตสวนการตาย พนักงานอัยการมีหนาที่ยื่นคํารองตอศาลของใหมีการไตสวนการตายในศาล สําหรับกรณีการตายที่เกิดจากการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ และกรณีการตายที่เกิดขึ้นในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ เหตุที่กฎหมายกําหนดใหพนักงานอัยการตองยื่นคํารองเพื่อใหศาลไตสวนการตายนั้น เนื่องจากเจาพนักงานของรัฐเปนผูกอใหเกิดความตายหรือความตายเกิดขึ้นอยูในระหวางการควบคุมของเจาพนักงานของรัฐ ทําใหรัฐตกอยูในฐานะเปนผูถูกกลาวหา การไตสวนในศาลจึงกระบวนการที่จะสรางดุลยภาพระหวางการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนกับหลักประกันดานขวัญและกําลังใจของเจาหนาที่ โดยมุงหมายที่จะคนหาความจริงในระหวางเจาพนักงานกับผูตายวาเปนไปโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม การไตสวนการตาย มีขั้นตอนและกระบวนการ ดังตอไปนี้ (1) พนักงานอัยการยื่นคํารองตอศาลขอใหศาลไตสวนการตาย โดยขอใหศาลแจงกําหนดวันนัดไตสวนใหผูเกี่ยวของกับผูตาย ไดแก สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาลหรือญาติของผูตายตามลําดับอยางนอยหนึ่งคน เทาที่จะทําไดใหทราบกอนวัน

Page 54: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

119

นัดไตสวนไมนอยกวาสิบหาวัน เพื่อใหญาติของผูตายไดมีโอกาสเขารวมในกระบวนการไตสวนการตาย อันจะทําใหการดําเนินการไตสวนเปนไปดวยความเปนธรรมแกฝายผูตาย (2) นําสืบพยานหลักฐานทั้งปวงที่แสดงถึงการตาย ไดแก ขอมูลและพยานหลักฐานตาง ๆ มาสืบวา การที่เจาพนักงานทําใหผูใดตายนั้นไดกระทําไปในการปฏิบัติราชการตามหนาที่หรือไม หรือวาผูตายตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่หรือไม โดยพนักงานอัยการจะตองปฏิบัติหนาที่ดวยความเปนกลาง จะตองดูแลรักษาสิทธขิองทุกฝายไมวาจะเปนญาติของผูตายหรือเจาพนักงาน และตองปฏิบัติตามวิธีการที่กฎหมายกําหนดไวโดยเครงครัด53 (3) เมื่อศาลไตสวนเสร็จแลว ศาลจะมีคําสั่งแสดงวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณที่ตายเปนเชนไร ถาตายโดยคนทํารายจะกลาวดวยวาใครหรือสงสัยวาใครเปนผูกระทําผิด และวินิจฉัยวาเปนการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานตามกฎหมายหรือไม จากนั้นศาลจะสงสํานวนการไตสวนของศาลดังกลาวไปยังพนักงานอัยการ เพื่อใหสงคืนกลับไปยังพนักงานสอบสวนเพื่อดําเนินการตอไป ทั้งนี้ คําสั่งศาลในการไตสวนนั้น ศาลจะไมสั่งวาการกระทําใหผูนั้นถึงแกความตายเปนความผิดทางอาญาหรือไม เพราะการไตสวนในศาลเปนเพียงกระบวนพิสูจนขอเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานในเบื้องตนวา การตายบุคคลโดยผิดธรรมชาติหรือในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานนั้นมีสาเหตุการตายอยางไร จึงไมใชการดําเนินคดีอาญาโดยตรง และไมเปนการวินิจฉัยคําฟองทางอาญา54 สํานวนการไตสวนและสํานวนชันสูตรพลิกศพนั้น พนักงานสอบสวนจะใชเปนพยานหลักฐานวามีการกระทําความผิดอาญาเกิดขึ้นหรือไม ถาเห็นวาเปนความผิดอาญาก็จะสอบสวนและสงสํานวนใหพนักงานอัยการเพื่อดําเนินคดีตอไป ซึ่งหากเปนการสอบสวนในคดีวิสามัญฆาตกรรมหรือคดีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงานแลว พนักงานอัยการจะตองรวมสอบสวนคดีดังกลาวกับพนักงานสอบสวน

53 ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 12 54 ณรงค ใจหาญ, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เลม 1, พิมพคร้ังที่ 9 (กรุงเทพมหานคร:

สํานักพิมพวิญูชน, 2550) น. 352-353.

Page 55: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

120

นอกจากนี้คําสั่งของศาลตามมาตรา 150 ใหเปนที่สุด แตไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิฟองรอง และการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล หากพนักงานอัยการหรือบุคคลอ่ืนไดฟองหรือจะฟองเกี่ยวกับการตายนั้น กลาวคือ หากผลการไตสวนปรากฏวา ผูตายไมไดถูกทํารายตาย หากพนักงานอัยการหรือญาติของผูตาย ยังคงสงสัยในการตายนั้น ก็สามารถฟองรองคดีเกี่ยวกับการตายนั้นได สิทธิการฟองคดีอาญาในคดีนั้นไมถูกกระทบกระเทือนจากผลการไตสวนดังกลาว55 4.3.3.5 การรวมสอบสวนกับพนักงานสอบสวน ตามมาตรา 155/1 การทําสํานวนสอบสวนคดีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือกรณีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ลวนแตเปนคดีเจาพนักงานของรัฐเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับการตาย จึงตองดําเนินคดีอาญากับเจาพนักงาน ซึ่งถือเปนคดีที่มีความพิเศษยิ่งกวาคดีอาญาทั่วไป เพื่อเปนการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อพิสูจนความบริสุทธิ์ของเจาพนักงาน รวมทัง้เปนการใหความเปนธรรมแกผูที่เกี่ยวของทุกฝาย มาตรา 155/1 จึงกําหนดใหพนักงานอัยการยังมีอํานาจหนาที่ในการรวมสอบสวนกับพนักงานสอบสวน ดวยการรวมทําสํานวนสอบสวนกับพนักงานสอบสวน มาตรา 155/1 บัญญัติไววา “การสอบสวนในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้น โดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือในกรณีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวาง เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ใหพนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการเขารวมกับพนักงานสอบสวนในการทําสํานวนสอบสวน การทําสํานวนสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ใหพนักงานสอบสวนเปนผูรับผิดชอบโดยพนักงานอัยการอาจใหคําแนะนํา ตรวจสอบพยานหลักฐาน ถามปากคํา หรือส่ังใหถามปากคําบุคคลที่เกี่ยวของไดตั้งเริ่มทําการสอบสวนนับแตโอกาสแรกเทาที่พึงจะกระทําได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

55 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสิบ

Page 56: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

121

ในกรณีจําเปนเรงดวนและมีเหตุอันควรไมอาจรอพนักงานอัยการเขารวมในการทําสํานวนสอบสวน ใหพนักงานสอบสวนทําสํานวนตอไปได แตตองบันทึกเหตุที่ไมอาจรอพนักงานอัยการไวในสํานวน และถือวาเปนการทําสํานวนสอบสวนที่ชอบดวยกฎหมาย” ดังนั้น พนักงานอัยการจะตองเขารวมสอบสวนกับพนักงานสอบสวน โดยเมื่อไดรับแจงจากพนักงานสอบสวนเพื่อขอใหเขารวมทําสํานวนแลว พนักงานอัยการจะจัดทําสํานวนการสอบสวนในกรณีการตายตามที่กําหนดไวในมาตรา 150 วรรคสาม และรวมถึงกรณีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ดวย ตามความในมาตรา 155/1 ซึ่งกําหนดใหพนักงานอัยการอาจแนะนํา ตรวจสอบพยานหลักฐาน สอบปากคํา หรือส่ังใหพนักงานสอบสวนถามปากคําบุคคลใดบุคคลหนึ่งได ถือเปนหลักการใหมในการทําสํานวนสอบสวนที่ใหพนักงานอัยการเขารวมสอบสวนคดีดังกลาว56 ภารกิจที่กลาวมานั้นถือเปนหนาที่ที่พนักงานอัยการจะตองใหความสําคัญเปนพิเศษ เพื่อคุมครองสิทธิของทุกฝาย ไมวาจะเปนญาติของผูตายหรือเจาพนักงาน รวมไปถึงการดูแลสิทธิของทุกฝายในการไตสวนการตาย การซักถามพยาน และการนําสืบพยาน แตเดิมกฎหมายกําหนดแตเพียงใหพนักงานอัยการรวมชันสูตรพลิกศพในคดีวิสามัญฆาตกรรมเทานั้น ทําใหการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวนและเจาหนาที่ตํารวจ กระทําไดแตเฉพาะในการชันสูตรพลิกศพเทานั้น ซึ่งนาจะเกิดจากความเขาใจคลาดเคลื่อนของ ผูยกรางกฎหมายเนื่องจากเขาใจวาการชันสูตรพลิกศพเปนเรื่องเดียวกับคดีวิสามัญฆาตกรรมจึงมุงเนนไปที่การแกไขการชันสูตรพลิกศพ โดยคิดวาจะชวยปองกันมิใหเกิดการวิสามัญฆาตกรรมที่ไมชอบดวยกฎหมายได57 แมวากฎหมายจะกําหนดใหพนักงานอัยการมีอํานาจในการสั่งใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติตาม และตรวจสํานวนชันสูตรพลิกศพ แตก็ไมเพียงพอที่จะคุมครองสิทธิของผูตาย เนื่องจากในคดีวิสามัญฆาตกรรมนั้น สํานวนที่มีความสําคัญ ไดแก สํานวนคดีเจาพนักงานฆาผูอ่ืน และสํานวนคดีที่ผูตายตอสูขัดขวางเจาพนักงาน ซึ่งสํานวนทั้งสองนั้นจะสงผลตอรูปแบบคดีเปนอยางยิ่ง ดังนั้นเพื่อเปนการแกไขปญหาดังกลาว ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 155/1 จึงกําหนดให สํานวนสอบสวนดังกลาวใหพนักงานอัยการรวมทําสํานวนสอบสวน

56 ณรงค ใจหาญ, อางแลว เชิงอรรถที่ 54, น. 355. 57 กุลพล พลวัน, อางแลว เชิงอรรถที่ 31, น. 225.

Page 57: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

122

ดวย โดยกําหนดใหพนักงานอัยการมีอํานาจในการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวน ดวยวิธีการดังนี้ (1) ใหคําแนะนํา (2) ตรวจสอบพยานหลักฐาน (3) ถามปากคําหรือส่ังใหถามปากคําบุคคลที่เกี่ยวของ ซึ่งพนักงานสอบสวนมีหนาที่ตองแจงใหพนักงานอัยการเขารวมทําสํานวนสอบสวน แตมีขอยกเวนในกรณีที่จําเปนเรงดวนและมีเหตุอันควรไมอาจรอพนักงานอัยการไดก็ใหพนักงานสอบสวนทําสํานวนสอบสวนไปไดเลย แตจะตองบันทึกเหตุที่ไมอาจรอพนักงานอัยการไดไวในสํานวน และถือวาเปนการทําสํานวนที่ชอบดวยกฎหมายแลว 4.3.3.6 การออกคําสั่งในคดีฆาตกรรมหรือคดีวิสามัญฆาตกรรม คดีฆาตกรรมธรรมดา คือ คดีที่ความตายเปนผลจากการกระทําความผิดทางอาญา ซึ่งคดีประเภทนี้กฎหมายบัญญัติใหทําการชันสูตรพลิกศพเทานั้น ไมจําตองมีการไตสวนโดยศาล เมือ่พนักงานสอบสวนไดชันสูตรพลิกศพพบวาเปนฆาตกรรม ก็ตองทําการสอบสวนเปนคดีอาญาโดยใหรวมสํานวนชันสูตรพลิกศพไวเปนสวนหนึ่งของสํานวนการสอบสวน เมื่อสอบสวนเสร็จก็จะสงสํานวนใหพนักงานอัยการประจําทองที่ เปนผูออกคําสั่งฟองหรือไมฟองตอไป58 ในคดีฆาตกรรมซึ่งผูตายถูกเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ฆาตาย หรือตายในระหวางอยูการควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ อัยการสูงสุดหรือผูรักษาการแทนเทานั้น ที่มีอํานาจออกคําสั่งฟองหรือไมฟอง59 เมื่อศาลมีคําสั่งเกี่ยวกับการตายทั้งในกรณีที่การตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ และกรณีที่ตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หากเปนกรณีที่เจาพนักงานฆาผูตายโดยเจตนาหรือผูตายถูกฆาตายในระหวางอยูในความควบคุมแลว จะตองมีการดําเนินคดีกับเจาพนักงานหรือผูฆาผูตายในความผิดฐานฆาผูอ่ืนโดยเจตนา พนักงานสอบสวนจะตองสอบสวนคดีดังกลาว โดยพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ โดยหลักแลวก็คือ พนักงานสอบสวนแหงทองที่ความผิดนั้นเกิด หรืออาง หรือเชื่อไดวาเกิด เมื่อ

58 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 141 และ 142 59 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 143 วรรคทาย

Page 58: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

123

พนักงานสอบสวนทําการสอบสวนเสร็จเรียบรอยแลว จะนําสํานวนการไตสวนในศาลมาประกอบและทําความเห็นวาควรสั่งฟองหรือไมฟอง สงไปยังผูวาราชการจังหวัดนั้นพิจารณาและรับรูการสงสํานวน หรือเปนผูลงนามสงสํานวนพรอมความเห็นของพนักงานสอบสวนนั้นไปยังอัยการสูงสุดหรือผูรักษาราชการแทน เพื่อใหมีคําสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหานั้นตอไป ในทางปฏิบัติจะมีพนักงานอัยการทําหนาที่ตรวจสํานวนและเสนอความเห็นตออัยการสูงสุด โดยตองพิจารณาวา เจาพนักงานไดฆาผูตายในเวลากระทําการตามหนาที่จริงหรือไม การกระทําเชนนั้นเปนการกระทําพอสมควรแกเหตุหรือไม หากเจาพนักงานใชอํานาจหรือปองกันเปนการเกินสมควรแกเหตุแลว ก็อาจวินิจฉัยมีความเห็นในการสั่งฟองเหมือนกัน คดีดังกลาวขางตนถือเปนคดีสําคัญที่เจาพนักงานของรัฐเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับการตายไมวาจะเปนกรณีที่เจาพนักงานเปนผูฆาผูตาย หรือผูตายถูกฆาตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน ดังนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 143 วรรคทาย จึงกําหนดใหเฉพาะอัยการสูงสุดหรือผูรักษาราชการแทนเทานั้นที่มีอํานาจออกคําสั่งฟองหรือไมฟองผูตองหา พนักงานอัยการในตําแหนงอื่น ๆ ไมมีอํานาจในการสั่งคดีดังกลาว โดยอัยการสูงสุดหรือผูรักษาราชการแทนจะพิจารณาสั่งคดีจากสํานวนการไตสวนและสํานวนการสอบสวนซึ่งประกอบไปดวยพยานหลักฐานที่ไดจากการชันสูตรพลิกศพและจากการสอบสวนกรณีกลาวหา เจาพนักงานเปนผูกระทําผิดหรือผูอ่ืนซึ่งมิใชเจาพนักงานเปนผูกระทําผิด หากอัยการสูงสุดหรือผูรักษาราชการแทนมีคําสั่งไมฟองผูตองหา คําสั่งนั้นยอมเปนเด็ดขาด ตามมาตรา 154 แตไมตัดสิทธิของผูเสียหายที่จะฟองเจาพนักงานหรือผูกระทําผิดนั้นเอง และหากอัยการสูงสุดหรือผูรักษาราชการแทนมีคําสั่งฟองผูตองหาก็จะสงสํานวนกลับไปยังพนักงานอัยการแหงทองที่ที่มีการสอบสวนผูตองหาเพื่อใหพนักงานอัยการแหงทองที่นั้น ดําเนินการฟองคดีอาญาตอผูตองหาตอไป

4.4 วิเคราะหมาตรการตรวจสอบและถวงดุลในการชนัสตูรพลิกศพ

เมื่อมีการประกาศใชพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2550ซึ่งมีสาระสําคัญใหพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครอง รวมชันสูตรพลิกศพกับพนักงานสอบสวน ในกรณีที่ความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ

Page 59: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

124

เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ และพนักงานอัยการรวมทําชันสูตรพลิกศพและสํานวนสอบสวนในคดีดังกลาวและคดีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ เปนเหตุใหองคกรที่มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพไดออกกฎ ระเบียบ หรือขอบังคับที่เกี่ยวของกับการชันสูตรพลิกศพ เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งไดแก (1) ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวยการชันสูตรพลิกศพ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543 ไดกําหนดเกี่ยวกับระเบียบและขั้นตอนปฏิบัติเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพของพนักงานสอบสวน เพื่อใหสอดคลองกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาบัญญัติไว (2) ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุด วาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 กําหนดขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดหลักเกณฑและวิธีการของพนักงานอยัการ ในการทําการชันสูตรพลิกศพและการไตสวนการตาย เพื่อใหเปนไปดวยความรวดเร็ว รอบคอบ มีประสิทธิภาพ และคุมครองสิทธิของผูที่เกี่ยวของ (3) ขอบังคับกระทรวงมหาดไทย วาดวยระเบียบการปฏิบัติหนาที่ชันสูตรพลิกศพของพนักงานฝายปกครอง พ.ศ. 2543 ซึ่งกระทรวงมหาดไทยจึงไดออกขอบังคับดังกลาว เพื่อใหสอดคลองกับการชันสูตรพลกิศพที่ไดแกไขเปลี่ยนแปลงไป โดยที่การชันสูตรพลิกศพเปนกระบวนการสําคัญที่จะชวยคนหาความจริงในคดีอาญาเกี่ยวกับสาเหตุและพฤติการณการตายของบุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่การตายนั้นเปนผลมาจากการกระทําผิดอาญาหรือเปนผลจากการปฏิบัติหนาที่หรือการกระทําของเจาหนาที่ของรัฐ ดังนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จึงกําหนดใหการชันสูตรพลิกศพบางกรณีจําตองมีเจาหนาที่ของรัฐเขารวมในการตรวจสอบการตายนั้นมากกวา 1 องคกร ทําหนาที่ตรวจสอบการทํางานของกันและกัน เพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยในกฎหมายดังกลาวขางตน ไดบัญญัติถึงขั้นตอนและกระบวนการการทํางานของเจาหนาที่แตละองคกร เพื่อมุงหมายใหมีการตรวจสอบและถวงดุลการใชอํานาจรัฐ ไวหลายประการดวยกัน ไดแก

Page 60: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

125

4.4.1 กรณีที่ความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสาม กําหนดใหพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครอง มีหนาที่รวมทําการชันสูตรพลิกศพดวยในกรณีวิสามัญฆาตกรรม (กรณีที่ความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่) หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ กลาวคือ การตายในระหวางที่ควบคุมผูตองหามายังสถานีตํารวจ หรือในระหวางถูกควบคุมที่สถานีตํารวจ หรือในระหวางอยูในเรือนจํา ซึ่งเหตุแหงการตายนี้ อาจเปนการตายโดยธรรมชาติ หรือผิดธรรมชาติ หรือตายเพราะเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติการตามหนาที่ กระทําใหถึงแกความตายก็ตาม ซึ่งถือเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนที่จะตองแจงไปยังพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครองทราบเพื่อใหมารวมทําการชันสูตรพลิกศพ เหตุที่กฎหมายบัญญัติไวเชนนี้เพื่อใหการชันสูตรพลิกศพในกรณีดังกลาวเปนไปอยางโปรงใสและตรวจสอบได โดยใหผูเขารวมการชันสูตรพลิกศพตรวจสอบการทํางานของกันและกัน ในขณะเดียวกันผูที่ เกี่ยวของทุกฝายมีหนาที่ตรวจสอบขอเท็จจริงตาง ๆ เกี่ยวกับกรณีนั้นดวย การรวมชันสูตรพลิกศพของพนักงานอัยการนั้นจะสงผลดีตอการชันสูตรพลิกศพ ดังนี้ (1) พนักงานอัยการสามารถทําหนาที่กํากับใหการชันสูตรพลิกศพเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายกําหนด เชน ตรวจสอบวาพนักงานสอบสวนไดแจงการตายใหญาติของผูตายทราบหรือไม หรือตรวจสอบวาคุณสมบัติของผูรวมชันสูตรพลิกศพนั้นเปนไปตามที่กฎหมายกําหนดไวหรือไม (2) พนักงานอัยการสามารถเก็บขอมูลและพยานหลักฐานที่สําคัญแกคดีไวในสํานวนได กลาวคือในทางปฏิบัติแลวพนักงานสอบสวนยอมมีความเชี่ยวชาญในการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับคดีอยูแลว แตพนักงานอัยการนั้นเปนผูที่มีประสบการณและมีความเชี่ยวชาญในการวินิจฉัยพยานหลักฐาน รวมไปถึงการนําเสนอพยานหลักฐานตอศาล วาพยานหลักฐานตาง ๆ ที่รวบรวมไวสํานวนดังกลาวเพียงพอแลวหรือไมตอการดําเนินการในขั้นตอนตอไป หรือขอมูลและหลักฐานใดที่สําคัญและจําเปนตองรวบรวมเขาไวในสํานวน ซึ่งจะทําใหสํานวนชันสูตรพลิกในคดีนั้นครบถวนและสมบูรณ

Page 61: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

126

4.4.2 การตรวจสอบการแจงญาติของผูตาย ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 11 วรรคสอง กําหนดให พนักงานอัยการตองตรวจสอบวาพนักงานสอบสวนไดแจงใหสามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายอยางนอยหนึ่งคนทราบเทาที่จะทําไดเพื่อใหทราบถึงความตายแลวหรือไม และในขอ 11 วรรคสาม กําหนดไววา หากพนักงานสอบสวนยังไมไดแจงใหญาติของผูตายทราบ ก็ใหพนักงานอัยการแจงใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมาย เวนแตมีความจําเปนและมีเหตุอันสมควรที่พนักงานสอบสวนไมสามารถปฏิบัติได ก็ใหบันทึกเหตุการณไวเปนหลักฐาน แลวจึงทําการชันสูตรพลิกศพ ทั้งนี้ เพื่อเปนตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวนกอนที่จะเริ่มตนกระบวนการชันสูตรพลิกศพ เพื่อปองกันมิใหเกิดความบกพรองหรือไมสมบูรณของการชันสูตรพลิกศพ เนื่องจากไมไดมีการปฏิบัติตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาบัญญัติไว ซึ่งกฎหมายมุงหมายที่จะเปดโอกาสใหญาติของผูตายไดรับรูถึงการตาย และมีโอกาสเขารวมในกระบวนการชันสูตรพลิกศพซึ่งรวมถึงกระบวนการไตสวนการตายในศาลดวย เมื่อญาติของผูตายไดทราบถึงการตายโดยเร็ว ก็จะมีเวลาในการเตรียมตัวที่ตรวจสอบหรือติดตามการทํางานของเจาหนาที่ตํารวจ หากมีขอสงสัยหรือติดใจประการ ก็จะไดเตรียมที่โตแยงหรือหาพยานหลักฐานมานําเสนอตอเจาพนักงานหรือศาลไดทันตอการพิจารณา 4.4.3 การตรวจสอบคุณสมบัติผูรวมทําการชันสูตรพลิกศพ ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ .ศ. 2543 ขอ 12 กําหนดใหพนักงานอัยการตรวจสอบวาการชันสูตรพลิกศพไดกระทําโดยพนักงานสอบสวนรวมกับแพทยที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคหนึ่ง หรือไม กอนที่จะเร่ิมตนทําการชันสูตรพลิกศพ หากมีเหตุขัดของประการใด พนักงานอัยการจะจดบันทึกไวเปนหลักฐาน นอกจากนี้ ในขอบังคับกระทรวงมหาดไทยวาดวยระเบียบการปฏิบัติหนาที่ชันสูตรพลิกศพของพนักงานฝายปกครอง พ.ศ. 2543 ขอ 9 (2) กําหนดใหพนักงานฝายปกครองเมื่อไปถึงสถานที่เกิดเหตุ ใหตรวจสอบวาผูรวมชันสูตรพลิกศพมีครบถวนและถูกตองตามกฎหมายหรือไม

Page 62: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

127

ถาไมเปนไปตามที่กฎหมายกําหนดใหรวมปรึกษาหารือหาขอยุติรวมกันกอน อยางไรก็ตามตองบันทึกเหตุการณที่เกิดขึ้นไวดวย 4.4.4 การสั่งการพนักงานสอบสวนโดยพนักงานอัยการ ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคหก ไดบัญญัติวา ในการปฏบิตัิหนาที่ตามวรรคหนึ่ง วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหา ใหพนักงานอัยการมีอํานาจสั่งการใหพนักงานสอบสวนดําเนินการอยางหนึ่งอยางใดตามที่เห็นสมควร เพื่อใหการคนหาความจริงเปนไปตามวัตถุประสงคของการชันสูตรพลิกศพได โดยปกติแลว พนักงานสอบสวนมีหนาที่ในการเก็บและรวบรวมพยานหลักฐานจากศพที่พบ และรวมถึงโดยรอบบริเวณที่พบศพ ขอมูลพยานหลักฐานเหลานี้จะแสดงใหเห็นถึงสาเหตุและพฤติการณที่ตาย ซึ่งจะนําไปสูการคนหาความจริงในเนื้อหาของกรณีการตายนั้นตอไป พนักงานอัยการนั้นเปนผูที่มีประสบการณในการวินิจฉัยพยานหลักฐาน และนําเสนอพยานหลักฐานตอศาล จึงมีทักษะและรูวาขอมูลและพยานหลักฐานใดที่สําคัญและจําเปนที่ตองเก็บรวบรวมไวในสํานวน ซึ่งถือเปนกระบวนการสําคัญที่จะสงผลใหการชันสูตรพลิกศพสามารถคุมครองสิทธิในชีวิตของราษฎรจากการปฏิบัติหนาที่ราชการของเจาหนาที่ ในขณะเดียวกันก็ยังคุมครองเจาหนาที่ผูปฏิบัติราชการโดยชอบไปดวยในเวลาเดียวกันดวย 4.4.5 การตรวจสอบหรือรวมทําสํานวนการชันสูตรพลิกศพ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดกําหนดใหพนักงานอัยการมีหนาที่ตรวจสอบสํานวนชันสูตรพลิกศพ ไมวาจะเปนกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําความผิดอาญา ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 150 วรรคหนึ่ง ตอนทายวา “ในกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนชันสูตรพลิกศพไปยังพนักงานอัยการเมื่อเสร็จส้ินการชันสูตรพลิกศพโดยเร็วและใหพนักงานอัยการดําเนินการตอไปตามมาตรา 156” ดังนั้น พนักงานสอบสวนจะตองจัดทําสํานวนการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งประกอบดวย

Page 63: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

128

(1) รายงานการสอบสวนแสดงวาผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด ขอเท็จจริงและรายละเอียดพฤติการณที่ตาย ถาตายโดยคนทํารายใหระบุวาใครหรือสงสัยวาใครเปนผูทําราย (2) คําใหการพยานบุคคลที่เกี่ยวของกับคดี (3) ใหระบุดวยวาไดแจงใหสามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายอยางนอยหนึ่งคนทราบเทาที่จะทําไดเพื่อใหทราบหรือไม หากไมไดแจงใหระบุเหตุผลไวดวย (4) บันทึกการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ พรอมทั้งแผนที่ที่เกิดเหตุ และบันทึกการสอบสวน แสดงถึงสภาพศพพรอมความเห็น รวมทั้งภาพถายของศพและสถานที่ (5) ลายพิมพนิ้วมือผูตาย ซึ่งพนักงานสอบสวนตองสงสํานวนการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีที่ความตายมิไดเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ไปยังพนักงานอัยการเมื่อเสร็จสิ้นการชันสูตรพลิกศพโดยเร็ว และหากเปนกรณีวิสามัญฆาตกรรมหรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงาน กฎหมายไดใหความสําคัญยิ่งกวากรณีขางตน โดยกําหนดใหพนักงานอัยการเขารวมทําสํานวนชันสูตรพลิกศพ รวมกับพนักงานสอบสวน ใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดรับแจง จากนั้นเมื่อจัดทําสํานวนชันสูตรพลิกศพเสร็จเรียบรอยแลว ใหพนักงานอัยการยื่นคาํรองขอใหศาลทําการไตสวนการตาย การตรวจสํานวนการชันสูตรพลิกศพมีความสําคัญอยางยิ่ง คือ เปนการตรวจสอบขอมูลหลักฐานจากการรวบรวมของพนักงานสอบสวน โดยพิจารณาวาขอมูลและพยานหลักฐานตรงตามที่ไดรวมชันสูตรพลิกศพไวในตอนแรกหรือไม และครบถวนเพียงพอแลวหรือไม หากเกิดกรณีที่พนักงานสอบสวนยังรวบรวมไมครบถวนเพราะเหตุใด ๆ ก็ตาม พนักงานอัยการมีอํานาจสั่งใหดําเนินการได ถือเปนการถวงดุลการใชอํานาจของพนักงานสอบสวนดวย โดยพนกังานสอบสวนมิไดเปนผูดําเนินการรวบรวมพยานหลักฐานแตเพียงผูเดียว และการที่พนักงานอัยการรวมกับพนักงานสอบสวนในการจัดทําสํานวนชันสูตรพลิกศพนั้น เปนการตรวจสอบกํากับดูแลการทํางานพนักงานสอบสวนในการรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ ที่ไดมาจากการชันสูตรพลิกศพกอนจะนําขึ้นสูข้ันตอนการไตสวนของศาล และเปนการเพิ่มอํานาจหนาที่ใหแกพนักงานอัยการ นอกเหนือจากที่มีอํานาจสั่งการใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติตามคําสั่งเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ60 ซึ่งการรวมทําสํานวนชันสูตรพลิกศพ มีความสําคัญดังนี้

60 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคหก

Page 64: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

129

(1) ตรวจสอบขอมูลและหลักฐานที่รวบรวมไดจากการชันสูตรพลิกศพ วาตรงตามที่ไดรวมชันสูตรพลิกศพไวในชั้นแรกหรือไม และพยานหลักฐานครบถวนเพียงพอหรือไม หากเห็นวายังไมครบถวนก็จะสั่งการใหพนักงานสอบสวนดําเนินการสอบสวนพยานบุคคล หรือตรวจสอบวัตถุพยานเพิ่มเติมได (2) สํานวนชันสูตรพลิกศพเปนขอมูลสําคัญในการจัดทําคํารองของพนักงานอัยการเพื่อยื่นใหศาลทําการไตสวน ซึ่งสํานวนดังกลาวถือเปนพยานหลักฐานประกอบการไตสวนคํารองในชั้นไตสวนของศาล ซึ่งหากขอมูลและพยานหลักฐานในสํานวนครบถวนและสมบูรณ การดําเนินการในชั้นไตสวนก็จะเริ่มตนไดเร็ว และผลของการไตสวนก็สอดคลองกับความเปนจริงในคดี ซึ่งจะสงผลตอการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนและเจาพนักงานผูทําใหตายดวย 4.4.6 การรวมทําสํานวนสอบสวนของพนักงานอัยการ การที่พนักงานอัยการเขารวมในการสอบสวนนั้นปรากฏอยูในหลายประเทศ ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา ฝร่ังเศส หรือเยอรมัน โดยในประเทศสหรัฐอเมริกา พนักงานอัยการจะมีหนาที่ในการควบคุมการสอบสวน สามารถรวมอยูในการสอบสวนเพื่อทําการสอบสวนพรอมกับตํารวจ และตํารวจมีหนาที่แจงใหพนักงานอัยการทราบถึงคดีสําคัญ61 ในประเทศฝรั่งเศสนั้น ไมมีการแยกอํานาจการสอบสวนคดีอาญากับอํานาจฟองรองคดีอาญาออกจากกัน ดังนั้นอํานาจการสอบสวนจึงอยูภายใตการควบคุมของอัยการและอัยการยงัเปนพนักงานสอบสวนดวย62 สวนในประเทศเยอรมันก็เชนเดียวกัน การดําเนินคดีอาญาชั้นสอบสวนฟองรอง (Vorverfahren) นั้นเปนกระบวนการเดียวกัน ผูรับผิดชอบคือพนักงานอัยการ โดยตํารวจจะมีฐานะเปนมือของอัยการที่จะตองติดตามการกระทําความผิดอาญาโดยไมชักชา แลวสงเรื่องใหอัยการตอไป โดยสรุปแลวในเยอรมันการเริ่มตนคดีตลอดจนการดําเนินคดีตอไป และการวินิจฉัยสั่งคดีตาง ๆ จะเปนอํานาจหนาที่ของพนักงานอัยการทั้งสิ้น63

61 กุลพล พลวัน, อางแลว เชิงอรรถที่ 31 น. 68. 62 เอกรินทร หนุนภักดี, “การกลั่นกรองคดีอาญากอนการพิจารณาของศาล”

(วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย, 2543) น. 33. 63 คณิต ณ นคร, “อัยการเยอรมัน และการดําเนินคดีอาญาของอัยการเยอรมันกอน

ฟอง”, ใน ระบบอัยการสากล (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเรือนแกวการพิมพ, 2526), น. 93 – 94.

Page 65: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

130

สําหรับประเทศไทยนั้น กระบวนการสอบสวนฟองรองไมเปนกระบวนการเดียวกัน โดยพนักงานอัยการจะเขารับผิดชอบในการสอบสวน ก็ตอเมื่อพนักงานสอบสวนไดสอบสวนเสร็จแลว และสงสํานวนสอบสวนมาใหพนักงานอัยการเพื่อส่ังคดีตอไป ยกเวนแตกรณีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 20 ซึ่งพนักงานอัยการเปนพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ หรือกรณีตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 ที่กําหนดใหพนักงานอัยการเขารวมในการสอบสวนคดีพิเศษบางคดี ดังนั้น จึงจะเห็นไดวาโดยปกติแลวในการดําเนินคดีอาญาทั่วไป พนักงานอัยการจะไมอาจเห็นขอเท็จจริงในสํานวนไดตั้งแตชั้นเริ่มตนคดี ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา บัญญัติถึงการสอบสวนไวในภาค 2 ลักษณะ 2 โดยแยกออกเปน 2 หมวด คือ การสอบสวนสามัญ และการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งการสอบสวนสามัญ หมายถึงการสอบสวนคดีอาญาธรรมดาทั่วไป สวนการชันสูตรพลิกศพนั้นอาจเรียกไดวาเปนการสอบสวนวิสามัญ ซึ่งตองนําบทบัญญัติวาดวยการสอบสวนสามัญมาใชบังคับโดยอนุโลมดวย โดยการสอบสวนสามัญและสอบสวนวิสามัญ จะตางกันตรงวิธีการเริ่มตนการสอบสวน กลาวคือ การสอบสวนวิสามัญจะเริ่มตนโดยการชันสูตรพลิกศพ หากปรากฏวาการตายเปนผลจากการกระทําความผิดอาญาแลว ก็จะทําการสอบสวนสามัญตอไป64 เมื่อพิจารณาจากมาตรา 130 ถึงมาตรา 147 แลว ปรากฏวากฎหมายไดบัญญัติถึงอํานาจหนาที่ของพนักงานสอบสวนเกี่ยวกับการสอบสวนไวหลายประการ ซึ่งการสอบสวนจะประกอบไปดวยการดําเนินการหลัก 4 ประการ คือ (1) การสอบปากคําบุคคล พนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบปากคําบุคคล ซึ่งไดแก ผูเสียหาย พยาน และผูตองหา โดยอาจออกหมายเรียกใหมาพบและถามปากคําผูเสียหายหรือพยาน แตหากเปนผูตองหาแลวพนักงานสอบสวนจะตองแจงขอหาใหทราบ และบอกใหทราบกอนวาถอยคําของผูตองหาอาจใชเปนพยานยันเขาในการพิจารณาได65 (2) การรวบรวมและตรวจสอบพยานหลักฐาน

64 ธีสุทธิ์ พันธฤทธิ์, การสอบสวน, พิมพคร้ังที่ 1 (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวิญู

ชน, 2550), น. 141. 65 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 133 และ 134

Page 66: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

131

พนักงานสอบสวนตองรวบรวมพยานหลักฐานทั้งปวงเทาที่จะทําได ไมวาจะเปนพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ เพื่อใหทราบขอเท็จจริงและพฤติการณเกี่ยวกับความผิดนั้น เพื่อจะรูตัวผูกระทําความผิด และเพื่อพิสูจนใหเห็นความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผูตองหา66 (3) การลงลายมือช่ือในพยานหลักฐาน พยานหลักฐานตาง ๆ ที่พนักงานสอบสวนตองลงลายมือชื่อ ไดแก บันทึกคําใหการ รองทุกขกลาวโทษ บันทึกคําใหการพยาน บันทึกคําใหการผูตองหา บันทึกการชี้ตัวผูตองหา บันทึกการจับกุม รายงานการชันสูตรพลิกศพ รายงานการตรวจพิสูจนของกลาง บัญชีของกลาง และบันทึกพนักงานสอบสวน เปนตน ซึ่งพยานหลักฐานตาง ๆ ตามที่กลาวมาขางตนจะตองระบุสถานที่ วันเดือนปที่ทํา นาม และตําแหนงของเจาหนาที่ผูทําบันทึก และใหเจาพนักงานผูทําบันทึกลงลายมือช่ือของตนในบันทึกนั้นดวย67 (4) การทําความเห็นในรายงานความเห็นทางคดีและลงลายมือช่ือ เมื่อพนักงานสอบสวนไดรวบรวมพยานหลักฐานหมดสิ้นแลว ถือวาเปนการสอบสวนเสร็จ ก็จะเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ ที่จะตองจัดการทําความเห็นในคดีดังกลาว เพื่อสงไปใหพนักงานอัยการตอไป68 ในการสอบสวนนั้น พนักงานสอบสวนตองทําบันทึกการตาง ๆ และรวบรวมเขาสํานวนไวตามความที่บัญญัติไวในมาตรา 139 มาตรา 139 บัญญัติวา “ใหพนักงานสอบสวนบันทึกการสอบสวนตามหลักทั่วไปในประมวลกฎหมายนี้อันวาดวยการสอบสวนและใหเอาบันทึกเอกสารอื่นซึ่งไดมา อีกทั้งบันทึกและเอกสารทั้งหลายซึ่งเจาพนักงานอื่นผูสอบสวนคดีเดียวกันนั้นสงมารวมเขาสํานวนไว เอกสารที่ยื่นเปนพยานใหรวมเขาสํานวน ถาเปนสิ่งของอยางอื่นใหทําบัญชีรายละเอียดรวมเขาสํานวนไว เพื่อประโยชนในการติดตามพยานใหไปตามกําหนดนัดของศาล ใหพนักงานสอบสวนบันทึกรายชื่อของพยานบุคคลทั้งหมดพรอมที่อยูหรือสถานที่ติดตอ หมายเลขโทรศัพทหรือชองทางอ่ืนที่ใชในการติดตอพยานเหลานั้นเก็บไว ณ ที่ทําการของพนักงานสอบสวน”

66 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 131 67 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 9 68 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 140 ถึง 142

Page 67: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

132

การจัดทําสํานวนสอบสวนนั้น เปนอํานาจหนาที่ของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบคดี โดยกระบวนการสอบสวนที่พนักงานสอบสวนหรือเจาพนักงานอื่นผูสอบสวนคดีเดียวกันนั้น ไดกระทําไปไมวาจะเปนการสอบปากคําผู เสียหาย พยาน หรือผูตองหา หรือการรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ ในคดี พนักงานสอบสวนหรือเจาพนักงานอื่นนั้นมีหนาที่จะตองบันทึกกระบวนการสอบสวนของตนเอง ใหปรากฏไวเปนเอกสารหลักฐานพรอมทั้งลงลายมือชื่อดวยโดยเอกสารหลักฐานเหลานั้น เมื่อนํามารวบรวมกันก็จะเรียกวา สํานวนสอบสวน ดังนั้น จึงกลาวไดวาการจัดทําสํานวนสอบสวน ถือเปนกระบวนการสอบสวนนั่นเอง โดยที่การสอบสวนนั้นอาจจะเปนการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ การตรวจสอบวัตถุพยาน หรือการสอบถามปากคําบุคคล ซึ่งการปฏิบัติหนาที่เหลานี้จําตองมีการบันทึกใหปรากฏอยูในรูปแบบของเอกสารหลักฐาน เพื่อใหเกิดความชัดเจนในขอเท็จจริงตาง ๆ และตรวจสอบไดโดยงาย มาตรา 139 จึงกําหนดใหพนักงานสอบสวนตองบันทึกกระบวนการสอบสวน รวมถึงรวบรวมบันทึกเอกสารอื่นซึ่งไดมา และบันทึกเอกสารอื่นที่เจาพนักงานผูอ่ืนสอบสวนในคดีนั้น มาประกอบไวเปนสํานวนการสอบสวน ดังนั้น การทําสํานวนสอบสวน จึงมิไดหมายความเพียงแคเปนการรวบรวมและเรียบลําดับบันทึกเอกสารตาง ๆ เทานั้น แตการทําสํานวนสอบสวนนั้น จะหมายความถึงการสอบสวนนั่นเอง เปนการบันทึกกระบวนการรวบรวมพยานหลักฐานและการดําเนินการทั้งหลายอันเกี่ยวกับความผิดที่สอบสวนนั้น กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดกําหนดใหพนักงานอัยการมีหนาที่ตรวจสอบการใชอํานาจของพนักงานสอบสวน ดวยวิธีการใหพนักงานอัยการรวมทําสํานวนสอบสวนกบัพนกังานสอบสวน ในคดีวิสามัญฆาตกรรม และคดีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงาน ตามที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 155/1 มาตรา 155/1 บัญญัติไววา “การสอบสวนในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้น โดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือในกรณีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวาง เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ใหพนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการเขารวมกับพนักงานสอบสวนในการทําสํานวนสอบสวน การทําสํานวนสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ใหพนักงานสอบสวนเปนผูรับผิดชอบโดยพนักงานอัยการอาจใหคําแนะนํา ตรวจสอบพยานหลักฐาน ถามปากคํา หรือส่ังใหถามปากคําบุคคลที่เกี่ยวของไดตั้งแตเร่ิมทําการสอบสวนนับแตโอกาสแรกเทาที่พึงจะกระทําได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

Page 68: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

133

ในกรณีจําเปนเรงดวนและมีเหตุอันควรไมอาจรอพนักงานอัยการเขารวมในการทําสํานวนสอบสวน ใหพนักงานสอบสวนทําสํานวนตอไปได แตตองบันทึกเหตุที่ไมอาจรอพนักงานอัยการไวในสํานวน และถือวาเปนการทําสํานวนสอบสวนที่ชอบดวยกฎหมาย” แตเดิมกฎหมายกําหนดแตเพียงใหพนักงานอัยการรวมชันสูตรพลิกศพในคดีวิสามัญฆาตกรรมเทานั้น ทําใหการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวนและเจาหนาที่ตํารวจ กระทําไดแตเฉพาะในการชันสูตรพลิกศพเทานั้น แมวากฎหมายจะกําหนดใหพนักงานอัยการมีอํานาจในการสั่งใหพนักงานสอบสวนปฏิบัติตาม และตรวจสํานวนชันสูตรพลิกศพ แตก็ไมเพียงพอที่จะคุมครองสิทธิของผูตาย เนื่องจากในคดีวิสามัญฆาตกรรมนั้น สํานวนที่มีความสําคัญ ไดแก สํานวนคดีเจาพนักงานฆาผูอ่ืน และสํานวนคดีที่ผูตายตอสูขัดขวางเจาพนักงาน ซึ่งสํานวนทั้งสองนั้นจะสงผลตอรูปแบบคดีเปนอยางยิ่ง ประเด็นสําคัญที่ตองพิจารณาเกี่ยวกับมาตรา 155/1 ก็คือ อํานาจหนาที่ของพนักงานอัยการวาการเขารวมทําสํานวนสอบสวน จะมีความหมายอยางไร และมีขั้นตอนการดําเนินการประการใดบาง ดังที่กลาวไปขางตนแลววากระบวนการจัดทําสํานวนสอบสวนนั้น มิไดหมายถึงการรวบรวมและจัดเรียงเอกสารหลักฐานตาง ๆ เพื่อใหอยูในรูปเลมเทานั้น แตการทําสํานวนสอบสวน หมายถึงการสอบสวนคดีนั่นเอง โดยอาจจะเริ่มจากการตรวจสอบพยานหลักฐานหรือการสอบปากคําบุคคล เมื่อไดมาซึ่งขอมูลขอเท็จจริงใด ๆ ก็ตาม ผูสอบสวนมีหนาที่จะตองสรุปและบันทึกการสอบสวนนั้นตามที่กําหนดไวในมาตรา 139 ดังนั้นแมวาในมาตรา 155/1 จะมิไดบัญญัติถอยคําไววาใหพนักงานอัยการรวมสอบสวนก็ตาม แตเมื่อพิจารณาจากเนื้อหาหรือข้ันตอนกระบวนการทําสํานวนสอบสวนแลว ก็จะเห็นไดวาการไดมาซึ่งสํานวนการสอบสวนนั้น ผูมีหนาที่ในการจัดทําสํานวนการสอบสวนก็ตองทําการสอบสวนเสียกอน ซึ่งในเรื่องนี้ถือเปนกรณีที่กฎหมายกําหนดใหพนักงานอัยการมีอํานาจในการสอบสวนคดีรวมกับพนักงานสอบสวน การรวมทําสํานวนสอบสวนนั้น พนักงานอัยการจะเขารวมสอบสวนกับพนักงานสอบสวนตั้งแตตน ซึ่งการสอบสวนรวมกันในทางปฏิบัติแลวจะประกอบดวยการดําเนินการหลัก 3 ประการดวยกัน คือ (1) การสอบปากคํารวมกัน คือ การรวมสอบปากคําบุคคลตาง ๆ ไมวาจะเปนผูตองหา ผูเสียหาย พยาน หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ (2) การรวบรวมพยานหลักฐาน

Page 69: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

134

(3) การลงลายมือช่ือในพยานหลักฐานตาง ๆ เชน บันทึกการสอบปากคํา บันทึกหลักฐานอื่น รวมถึงการรับรองในเอกสารหลักฐานเหลานั้นดวย แตสําหรับการทํารายงานความเห็นทางคดีนั้น พนักงานอัยการจะไมเขาไปรวมทําความเห็นทางคดีดวย ซึ่งในวรรคสองของมาตรา 155/1 กําหนดใหพนักงานสอบสวนเปนผูรับผิดชอบในสํานวนสอบสวนนั้น จึงเปนอํานาจหนาที่ของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ ที่จะตองรวบรวมสํานวนการสอบสวนขั้นสุดทายเพื่อทําความเห็นทางคดีเสนอตอพนักงานอัยการตามที่กําหนดไวในมาตรา 14069 นอกจากจะมีอํานาจหนาที่รวมสอบสวนกับพนักงานสอบสวนแลว พนักงานอัยการยังมีอํานาจในกํากับดูแลการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวนดวย ดังนี้ (1) ใหคําแนะนํา พนักงานอัยการอาจใหคําแนะนําแกพนักงานสอบสวนในการรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ ที่จําเปนตอการสอบสวนหรือการดําเนินคดีอาญา หรือตามที่พนักงานอัยการเห็นสมควรได แตในเรื่องของการใหคําแนะนํานี้อาจเกิดปญหาในทางปฏิบัติได เนื่องจากกฎหมายไมไดกําหนดไววาหากพนักงานสอบสวนไมปฏิบัติตามคําแนะนําแลวจะมีผลประการใดหรือไม และไมไดกําหนดวาในการทํางานรวมกันหากเกิดความขัดแยงแลวจะตองฟงคําสั่งของใครเพื่อใหเปนที่ยุติ (2) ตรวจสอบพยานหลักฐาน พนักงานอัยการมีอํานาจในการตรวจดูพยานหลักฐานตาง ๆ ไมวาจะเปนพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ หรือพยานหลักฐานใด ๆ ที่พนักงานสอบสวนไดรวบรวมมา หากพนักงานอัยการเห็นวาพยานหลักฐานยังไมเพียงพอตอการคนหาความจริงในคดี พนักงานอัยการก็จะดําเนินการรวบรวมพยานหลักฐานหรือแนะนําใหพนักงานสอบสวนทําการรวบรวมพยานหลักฐานเพิ่มเติม (3) ถามปากคําหรือส่ังใหถามปากคําบุคคลที่เกี่ยวของ เมื่อพนักงานอัยการมีอํานาจในการสอบสวนแลว การถามปากคําของพนักงานอัยการตามาตรา 155/1 ถือเปนการสอบสวน ซึ่งคําพยานที่ไดซักถามสามารถรวมเขาไปเปนสวนหนึ่งของสํานวนการสอบสวนได ซึ่งจะแตกตางกับกรณีที่พนักงานอัยการสั่งใหสงพยานมาซักถามตามความในมาตรา 143 วรรคสอง (ก) ที่คําพยานในกรณีหลังนี้ ไมถือเปนสวนหนึ่งของการสอบสวนและไมอาจใชยันพยานผูนั้นหรือใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาของศาลได

69 ณรงค ใจหาญ, อางแลว เชิงอรรถที่ 54, น. 114-115.

Page 70: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

135

การเขารวมทําสํานวนสอบสวนของพนักงานอัยการ ถือเปนเงื่อนไขแหงความชอบดวยกฎหมายของการทําสํานวนสอบสวนในคดีนั้น หากพนักงานสอบสวนไมแจงใหเขารวมในการสอบสวนแลวจะสงผลใหสํานวนการสอบสวนนั้นไมชอบดวยกฎหมาย ซึ่งจะสงผลใหการสอบสวนคดีนั้นไมชอบดวยกฎหมายดวย แตทั้งนี้มีขอยกเวนไววาในกรณีจําเปนเรงดวนและมีเหตุอันควร พนักงานสอบสวนสามารถทําสํานวนสอบสวนไปไดเลย แตจะตองบันทึกเหตุที่ไมอาจรอพนักงานอัยการไดไวในสํานวน และใหถือวาการทําสํานวนสอบสวนนั้นชอบดวยกฎหมายแลว70 การที่ใหพนักงานอัยการรวมทําสํานวนสอบสวนตั้งแตตน จะสงผลดีตอกระบวนการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรมและคดีที่ผูตายถูกกลาวหาตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ดังนี้ (1) พนักงานอัยการมีบทบาทในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในเชิงรุกมากขึ้น โดยเขารวมสอบสวนและทําสํานวนสอบสวน แทนที่แตเดิมจะทําหนาที่พิจารณาสํานวนที่พนักงานสอบสวนไดสงมาใหตรวจและสั่งคดี ภายหลังจากที่ไดทําการสอบสวนเสร็จแลว ซึ่งจะสงผลตอในช้ันพิจารณาคดีมาก (2) พนักงานอัยการสามารถตรวจสอบหรือใหคําแนะนําในการสอบสวนไดงายขึ้น จากเดิมที่จะทําไดเพียงแคส่ังใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนเพิ่มเติมหรือส่ังใหสงพยานมาซักถามตามความในมาตรา 143 วรรคสอง (ก) เทานั้น (3) การรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ กระทําไดอยางชัดเจน และกระบวนการดําเนินคดีอาญารวดเร็วยิ่งขึ้น71 เนื่องจากพนักงานอัยการรวบรวมพยานหลักฐานไดตั้งแตเร่ิมตนกระบวนการสอบสวน ไมตองรอใหพนักงานสอบสวนดําเนินการไปโดยลําพัง ซึ่งระยะเวลาที่ผานไป พยานหลักฐานบางอยางอาจเสียหายหรือถูกทําลายไปแลว อันจะสงผลกระทบตอรูปคดี (4) ปองกันมิใหสํานวนคดีวิสามัญฆาตกรรมและคดีตอสูขัดขวางเจาพนักงานเกิดความขัดแยงกัน พนักงานอัยการจะเขารวมในการตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐานทั้งปวงที่จะพิสูจนความจริงในคดีวา เจาพนักงานไดกระทําการฆาตกรรมเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่หรือไม ผูตายไดตอสูขัดขวางเจาพนักงานซึ่งปฏิบัติหนาที่จริงหรือไม แตเดิมการตรวจสอบสํานวนคดีวิสามัญฆาตกรรมและคดีตอสูขัดขวางเจาพนักงานนั้นไมกระทําการพิจารณาควบคูกันไป จึงเกิดกรณีที่พนักงานอัยการเห็นวาการกระทําของ

70 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 155/1 วรรคทาย 71 สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, อางแลว เชิงอรรถที่ 40, น. 8-9.

Page 71: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

136

เจาพนักงานนั้นเปนการฆาคนตายโดยการยิงทิ้ง ก็ไมอาจไปแสวงหาพยานหลักฐานได และหากในคดีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงาน พนักงานสอบสวนทําสํานวนวาเปนการตอสูขัดขวางเจาพนักงานแลว สํานวนคดีทั้งสองสํานวนก็จะขัดแยงกัน ดังนั้น การเขารวมทําสํานวนสอบสวนของพนักงานอัยการ จะชวยใหเกิดการตรวจสอบการทํางานซึ่งกันและกัน และเมื่อพนักงานอัยการมีอํานาจรวมสอบสวนแลวก็จะสามารถถวงดุลการใชอํานาจไดดวยวิธีการรวบรวมพยานหลักฐานดวยตนเองหรือปฏิเสธที่ลงลายมือชื่อในบันทึกการสอบสวนที่บิดเบือนหรือไมชอบดวยกฎหมายก็ได 4.4.7 การจัดทําเอกสารเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ ระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุดวาดวยการชันสูตรพลิกศพ พ.ศ. 2543 ขอ 14 กําหนดใหพนักงานอัยการตองบันทึกรายละเอียดผลการชันสูตรพลิกศพไวในแบบรายงานการชันสูตร พลิกศพของสํานักงานอัยการสูงสุดเพื่อเสนอผูอํานวยการศูนยใหทราบ ซึ่งแยกตางหากจากรายงานแนบทายบันทึกรายละเอียดแหงการชันสูตรพลิกศพของแพทย และศูนยอํานวยการยังจะตองรายงานผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงอัยการสูงสุดเพื่อทราบดวย นอกจากนี้ยังมีหนาที่เก็บรักษาแบบรายงานการชันสูตรพลิกศพไว เพื่อสงไปรวมเขาไวในสํานวนการไตสวนชันสูตร พลิกศพหรือสํานวนคดีอาญาที่พนักงานสอบสวนจะสงใหพนักงานอัยการในโอกาสตอไปดวย หากเปนกรณีวิสามัญฆาตกรรม ใหพนักงานอัยการนํารายงานที่ ได เสนอตอผูอํานวยการศูนยมารวมไวในสํานวนการชันสูตรพลิกศพ สํานวนการไตสวนการชันสูตรพลิกศพ หรือสํานวนคดีอาญาดวย ทั้งนี้เพื่อเปนการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวนและแพทย พนักงานฝายปกครองมีอํานาจอิสระในการปฏิบัติหนาที่และแสดงความเห็น ซึ่งตามขอบังคับกระทรวงมหาดไทยวาดวยระเบียบการปฏิบัติหนาที่ชันสูตรพลิกศพของพนักงานฝายปกครอง พ.ศ. 2543 ขอ 10 ไดกําหนดวิธีการรายงานผลการชันสูตรพลิกศพในความรับผิดชอบของพนักงานฝายปกครอง หลังจากทําการชันสูตรพลิกศพแลวตามแบบ ชศ.6 ซึ่งเปนคนละสวนกับสําเนารายงานการชันสูตรพลิกศพของพนักงานสอบสวน ซึ่งพนักงานฝายปกครองตองรายงานไปยังผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงปลัดกระทรวงมหาดไทยดวย นอกจากนี้ พนักงานฝายปกครองสามารถทําความเห็นแยงได กรณีที่ไมเห็นดวยตองบันทึกความเห็นแยงลงใน แบบ ชศ.7 ขอ 11 กําหนดไววา “กรณีที่มีความเห็นไมตรงกันและไมอาจ

Page 72: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

137

ลงชื่อในแบบรายงานการชันสูตรพลิกศพของพนักงานสอบสวนได ใหบันทึกความเห็นแยงไวในบันทึกผูชันสูตรพลิกศพตามแบบ ชศ.7 ทายขอบังคับนี้ มอบใหพนักงานสอบสวนหนึ่งชุด พรอมบันทึกใหทราบวามีความเห็นแยงไวแบบในรายงานการชันสูตรพลิกศพของพนักงานสอบสวนและรวบรวมรายงานตามขอ 15” จะเห็นไดวาหนวยงานที่เกี่ยวของกับการชันสูตรพลิกศพกรณีการตายตามมาตรา 150 วรรคสาม ไดวางระเบียบหรือขอบังคับที่กําหนดใหบุคลากรของตนมีหนาที่ในการจัดทําเอกสารหลักฐานในรูปแบบรายงานผลการชันสูตรพลิกศพและตองรายงานผลนั้นไปยังผูบังคับบัญชาดวย ซึ่งกระบวนการนี้ ถือเปนมาตรการที่จะชวยตรวจสอบการทํางานของกันและกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่ขอสงสัยเกี่ยวกับการตาย ก็สามารถนําเอกสารหลักฐานของแตละหนวยงานมาตรวจสอบเปรียบเทียบเพื่อคนหาความจริงได และยังเปนถวงดุลการใชอํานาจของแตละองคกรดวย เมื่อเกิดกรณีที่ไมเห็นดวยจะตองมีการบันทึกความเห็นแยงเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพไวใหปรากฏเปนหลักฐานดวย 4.4.8 การไตสวนการตายในศาล การไตสวนการตายโดยศาล เปนกระบวนการที่กฎหมายมุงหมายใหเกิดการตรวจสอบการทํางานของผูที่มีหนาที่รับผิดชอบในการชันสูตรพลิกศพ โดยจะดําเนินการไตสวนแตเฉพาะกรณีที่ความตายเกิดข้ึนโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ เทานั้น โดยกระบวนการเริ่มตนภายหลังจากที่พนักงานอัยการไดยื่นคํารองขอตอศาลชั้นตนแหงทองที่ที่ศาลนั้นอยู เพื่อใหทําการไตสวน โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ (1) พนักงานอัยการเปนผูยื่นคํารองขอใหศาลทําการไตสวน เมื่อศาลไดรับคํารองขอเชนวานั้นแลว ใหศาลปดประกาศแจงวันที่จะทําการไตสวนไวที่ศาล (2) พนักงานอัยการตองยื่นคํารองขอใหศาลสงสําเนาคํารองและแจงกําหนดวันกาํหนดนัดไตสวนใหสามี ภรรยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตาย ทราบกอนวันนัดไตสวน ไมนอยกวาสิบหาวัน (3) สามี ภรรยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตาย มีสิทธิรวมในการไตสวนดังนี้

Page 73: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

138

(3.1) มีสิทธิที่จะซักถามพยานที่พนักงานอัยการนําสืบ และนําสืบพยานหลักฐานอื่น ทั้งนี้จะตองยื่นคํารองขอตอศาลกอนการไตสวนเสร็จสิ้น (3.2) มีสิทธิที่จะแตงตั้งทนายความเพื่อดําเนินการแทนตนได หากกรณีที่มีการแตงตั้งทนายความเขามาในคดี ก็ใหเปนหนาที่ของศาลตองแตงตั้งทนายความขึ้นเพื่อทําหนาที่ทนายความฝายญาติของผูตาย (4) ศาลมีอํานาจในการสืบพยานเพิ่มเติม เรียกผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญมาใหความคิดเห็นประกอบการไตสวนได (5) คําสั่งศาลเกี่ยวกับการไตสวนการตายใหเปนที่สุด เมื่อศาลมีคําสั่งแลวใหศาลสงสํานวนการไตสวนไปยังพนักงานอัยการเพื่อดําเนินการตอไป การไตสวนการตายมีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะเปนการนําเสนอพยานหลักฐานเขาสูสํานวนการไตสวนของศาล ซึ่งเปนเครื่องมือสําคัญในการทําคําสั่งที่จะตองมีสาระสําคัญตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งไดแก (1) แสดงเหตุและพฤติการณที่ตาย (2) ผูตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด (3) ถาตายโดยคนทํารายใหกลาวดวยวา ใครหรือสงสัยวาใครเปนผูกระทําความผิดเทาที่จะทราบได ทั้งนี้ คําสั่งศาลในการไตสวนนั้น ศาลจะไมสั่งวาการกระทําใหผูนั้นถึงแกความตายเปนความผิดทางอาญาหรือไม เพราะการไตสวนในศาลเปนเพียงกระบวนพิสูจนขอเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานในเบื้องตนวา การตายบุคคลโดยผิดธรรมชาติหรือในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานนั้นมีสาเหตุและพฤติการณการตายอยางไร และตรวจสอบวาเจาพนักงานที่อางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่แลวทําใหผูอ่ืนตายนั้นเปนการปฏิบัติหนาที่จริงหรือไม ซึ่งมีความสําคัญตอการสอบสวนคดีอาญาตอไป เพราะหากเปนกรณีการตายตามมาตรา 150 วรรคสามแลว พนักงานอัยการตองรวมกับพนักงานสอบสวนทําสํานวนสอบสวนตอไป คําสั่ งศาลในการไตสวนการตายนั้นใหถือ เปนที่ สุด แตความเปนที่ สุดนี้ ไมกระทบกระเทือนตอสิทธิในการฟองคดีอาญาของญาติของผูตาย เนื่องจากกฎหมายเหน็วา สทิธใินชีวิตและรางกายของบุคคลเปนเรื่องสําคัญที่กฎหมายตองใหความคุมครองอยางเต็มที่ จึงไมตัดสิทธิของญาติผูตายในการริเร่ิมฟองคดีอาญากับเจาพนักงานผูทําใหตาย จึงมีขอสังเกตวาการไตสวนการตายนั้นมีประโยชนหรือไม เนื่องจากหากญาติของผูตายไมพอใจในผลการไตสวนก็สามารถไปฟองคดีไดดวยตนเอง ไมถูกผูกมัดดวยคําสั่งของศาล ซึ่งในเรื่องนี้เห็นวา สิทธิฟองคดี

Page 74: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

139

ของญาตินั้นเปนกรณีที่กฎหมายใหความคุมครองเปนพิเศษ จึงบัญญัติรับรองสิทธิไวใหเปนการเฉพาะ แตกระบวนการไตสวนการตายนอกจากจะเปนการไตสวนเพื่อคุมครองสิทธิของบุคคลผูตายและญาติแลว ยังถือเปนกระบวนตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานโดยศาลซึ่งเปนองคกรภายนอกดวย ซึ่งกระบวนการไตสวนการตายนี้จะมีชวยปองกันมิใหเจาหนาที่ตํารวจใชอํานาจตามอําเภอใจไดในระดับหนึ่ง แตเดิมการไตสวนการตาย กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ยังไมมีประสิทธิภาพในการคนหาสาเหตุและพฤติการณการตายโดยมีลักษณะเปนการไตสวนในรูปแบบของพิธีการมากกวาเปนการคนหาความจริง เนื่องจากการนําสืบพยานหลักฐานของพนักงานอัยการในการ ไตสวนนั้น พนักงานอัยการจะทําคํารองโดยอาศัยขอเท็จจริงและหลักฐานจากสํานวนชันสูตรพลิกศพของพนักงานสอบสวนเปนหลัก กระบวนการไตสวนของพนักงานอัยการและศาล จึงเปนเพียงแคการตรวจพิจารณาสํานวนของพนักงานสอบสวน ถึงแมวาศาลจะมีอํานาจสืบพยานหลักฐานเพิ่มเติมได แตในทางปฏิบัติแลวศาลจะไมคอยใชอํานาจดังกลาว และแมวาประสงคจะสืบพยานเพิ่มเติมก็อาจจะพบวาพยานหลักฐานนั้นอาจเสื่อมเสีย สูญหาย หรือถูกทําลายไปแลว จึงเปนที่มาของการแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ใหพนักงานอัยการรวมทําสํานวนชันสูตรพลิกศพกับพนักงานสอบสวน โดยพนักงานอัยการผูซึ่งมีความรูความชํานาญในการพิจารณาน้ําหนักแหงพยานหลักฐานเหลานั้น จะไดตรวจสอบวาพยานหลักฐานในสํานวนนั้นเพียงพอที่จะพิสูจนความจริงในกรณีการตายนั้นแลวหรือไม ซึง่ชวยใหสํานวนชันสูตรพลิกศพนั้นเปนสํานวนที่ครบถวนสมบูรณและเปนประโยชนตอศาลในการไตสวนและมีคําสั่งตอไป การจะพิจารณาวาการไตสวนตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทยนั้น มีขั้นตอนและมาตรการเพียงพอที่จะอํานวยความยุติธรรมแลวหรือไม ควรที่จะตองเปรียบเทียบการไตสวนการตายตามกฎหมายไทยและกฎหมายตางประเทศ ซึ่งไดแก ประเทศอังกฤษ และประเทศเยอรมันซึ่งใชระบบการชันสูตรพลิกศพที่แตกตางจากประเทศไทย โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ (1) ลักษณะของระบบการชันสูตรพลิกศพ ในประเทศไทย การชันสูตรพลิกศพเปนระบบตํารวจ ซึ่งกฎหมายกําหนดใหพนักงานสอบสวนเปนผูมีบทบาทสําคัญในการชันสูตรพลิกศพ เนื่องจากหลักการดําเนินคดีอาญาของไทยแยกกระบวนการสอบสวนและฟองรองออกจากกัน พนักงานสอบสวนเปนผูมีอํานาจหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสอบสวน ซึ่งกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดบัญญัติใหการชันสูตร

Page 75: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

140

พลิกศพเปนสวนหนึ่งของกระบวนการสอบสวน ดังนั้นพนักงานสอบสวนจึงเปนองคกรหลักในการชันสูตรพลิกศพ แมวาจะมีเจาหนาที่หรือเจาพนักงานอื่น เชน แพทย พนักงานอัยการ เจาพนักงานฝายปกครองเขารวมในการชันสูตรพลิกศพดวยก็ตาม ก็จะมีบทบาทเปนผูรวมในกระบวนการเทานั้น ถึงแมพนักงานอัยการจะมีอํานาจในการควบคุมและรวมทําสํานวนชันสูตรพลิกและสาํนวนการสอบสวนกับพนักงานสอบสวนก็ตาม แตในทางปฏิบัติแลวการสั่งการของพนักงานอัยการไมคอยสัมฤทธิ์ผลเทาที่ควร เนื่องจากพนักงานสอบสวนจะไมคอยปฏิบัติตาม ในประเทศอังกฤษนั้น การชันสูตรพลิกศพเปนระบบโคโรเนอร ซึ่งโคโรเนอรจะตองเปนนักกฎหมายหรือแพทยที่ไดรับแตงตั้งจากองคกรสวนทองถิ่น เพื่อทําหนาที่สอบสวนการตายโดยผิดธรรมชาติ มีหนาที่รับผิดชอบในการชันสูตรพลิกศพและการไตสวนการตาย และยังมีอํานาจในการแตงตั้งคณะลูกขุนเพื่อรวมในการไตสวนการตายไดดวย ในประเทศเยอรมันนั้น การชันสูตรพลิกศพเปนระบบศาล ซึ่งไดกําหนดไววาการชนัสตูรพลิกศพจะตองมีพนักงานอัยการหรือผูพิพากษารวมในการชันสูตรพลิกศพดวย และการอนุญาตใหทําการผาศพเพื่อตรวจพิสูจนนั้นจะกระทําไดเมื่อมีคําสั่งของศาล จึงเห็นไดวาเปนระบบที่ใหศาลเปนผูมีอํานาจหนาที่และรับผิดชอบในการชันสูตรพลิกศพ โดยตํารวจหรือแพทยนั้นแมจะมีสวนรวมดวยแตตองอยูภายใตอํานาจของศาล (2) องคกรที่เขารวมในการไตสวนการตาย ในประเทศไทย กฎหมายกําหนดใหศาลมีหนาที่ในการไตสวนการตาย โดยเริ่มตนกระบวนการไตสวนการตายจากการยื่นคํารองของพนักงานอัยการ ดังนั้น องคกรที่เกี่ยวของกับการไตสวนการตาย ก็คือ พนักงานอัยการและศาล แตอยางไรก็ตามพนักงานสอบสวนก็ยังคงความเกี่ยวของอยูเนื่องจากคํารองของพนักงานอัยการนั้นจําเปนตองอาศัยสํานวนชันสูตรพลิกศพที่จัดทําโดยพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการ เปนฐานขอมูลในการยื่นคํารองขอใหศาล ไตสวน นอกจากนี้พนักงานอัยการมีหนาที่ในการนําสืบพยานหลักฐานทั้งปวงเพื่อประกอบการ ไตสวนและการทําคําสั่งของศาลดวย ในประเทศอังกฤษนั้น การไตสวนการตายแบงไดเปนสองกรณี คือ การไตสวนโดย โคโรเนอร และการไตสวนโคโรเนอรรวมกับคณะลูกขุน ซึ่งโดยปกติโคโรเนอรสามารถไตสวนไดโดยลําพัง เวนแตเปนกรณีการตายที่กฎหมายกําหนดโดยเฉพาะ โคโรเนอรจะตองแตงตั้งคณะลูกขุนจํานวนไมนอยกวา 7 คน แตไมเกินกวา 11 คน เพื่อมารวมกันพิจารณาไตสวนการตายนั้น

Page 76: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

141

ในประเทศเยอรมันนั้น กําหนดใหศาลเปนผูทําการไตสวนการตาย โดยไมจําตองอาศัยความเห็นของแพทยก็ได หากสาเหตุการตายนั้นเปนที่ประจักษชัดแลว ศาลสามารถพิจารณาไตสวนไปไดโดยลําพังโดยไมตองเรียกแพทยมาชวยชันสูตรพลิกศพก็ได ในกรณีเรงดวนเพื่อมิใหเกิดความเสียหายแกการสอบสวน พนักงานอัยการก็มีอํานาจในการชันสูตรพลิกศพหรือไตสวนการตายเชนกัน และเมื่อใดที่สาเหตุการตายไมปรากฏชัด ศาลจําตองเรียกแพทยอยางนอย 2 คน มาทําการผาศพเพื่อตรวจพิสูจนสาเหตุการตาย ซึ่งแพทยจะเขาทําหนาที่ใหความเห็นทางการแพทยเทานั้น ดังนั้น การพิจารณาไตสวนโดยสวนใหญแลวจะมีศาลเปนองคกรหลักองคกรเดียว (3) กรณีที่ตองมีการไตสวนการตาย ในประเทศไทยนั้น ไมจําตองมีการไตสวนการตายในทุกกรณี กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากําหนดใหทําการไตสวนการตายเฉพาะในกรณีที่การตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของ เจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หากเปนกรณีการตายโดยผิดธรรมชาติธรรมดา ก็เพียงแตตองทําการชันสูตรพลิกศพเทานั้น แตไมจําตองทําการไตสวนการตายแตประการใด ในประเทศอังกฤษนั้น การไตสวนการตายมีวัตถุประสงคเพื่อสืบสวนสอบสวนในความตายของบุคคล หากสาเหตุการตายมีความชัดเจนแลวก็ไมจําตองทําการไตสวนก็ได แตโคโรเนอรและคณะลูกขุน (ถามี) ตองทําการไตสวนในกรณีการตายที่เกิดจากการใชความรุนแรงหรือตายโดยผิดธรรมชาติ การตายโดยไมทราบสาเหตุ การตายในเรือนจํา การตายในระหวางการควบคุมของตํารวจหรือเปนผลจากการบาดเจ็บที่ตํารวจเปนผูกระทํา การตายจากอุบัติเหตุ สารพิษ หรือโรคที่ตองแจงใหหนวยงานของรัฐทราบ รวมถึงการตายที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องอันอาจจะสงผลเสียหายตอสุขภาพหรือความปลอดภัยของประชาชน ในประเทศเยอรมันนั้น เมื่อมีการตายโดยผิดธรรมชาติเกิดขึ้นหรือพบศพที่ยังไมอาจระบุตัวบุคคลได ตํารวจหรือเจาหนาที่ทองถิ่นมีหนาที่แจงใหอัยการหรือศาลทราบโดยทันที เพื่อใหอัยการทําการชันสูตรพลิกศพหรือใหศาลทําการพิจารณาไตสวนการตายโดยทันที ดังนั้น เมื่อมีการตายโดยผิดธรรมชาติเกิดข้ึนหรือพบศพที่ไมอาจระบุตัวบุคคลได จําตองมีการไตสวนการตายทุกกรณี

Page 77: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

142

(4) ความเปนอิสระในการไตสวน ในประเทศไทยนั้น ศาลซึ่งมีหนาที่ทําการไตสวน มีความเปนอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี ซึ่งศาลมีอํานาจในการสืบพยานเพิ่มเติม หรือเรียกผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญมาใหความเห็นประกอบการไตสวนได ซึ่งถือวาศาลมีความเปนอิสระในการไตสวน ในประเทศอังกฤษนั้น โคโรเนอรมีความเปนอิสระเนื่องจากไดรับแตงตั้งจากทองถิ่น มิไดเปนเจาพนักงานทั่วไป จึงไมตองตกอยูภายในสายบังคับบัญชาดังเชนเจาหนาที่ อ่ืน จึงสามารถทําการไตสวนการตายอยางเต็มที่ และถือเปนตัวแทนของประชาชนในทองถิ่นนั้น ที่แตงตั้งขึ้นเพื่อทําหนาที่ตรวจสอบและถวงดุลการทํางานของรัฐ ในประเทศเยอรมันนั้น ศาลไดรับความคุมครองตามหลักความเปนอิสระในช่ังน้ําหนักพยานหลักฐาน ดังนั้นในการไตสวนหรือการชันสูตรพลิกศพ ศาลมีความเปนอิสระในการดําเนินการ สามารถไตสวนไปไดโดยไมจําตองเรียกแพทยหรืออาศัยความเห็นของแพทย แตทั้งนี้จะตองไตสวนไปตามหลักกฎหมายอยางมีเหตุและผล (5) การมีสวนรวมของประชาชน ในประเทศไทยนั้น กฎหมายกําหนดใหสามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตายมีสิทธิเขารวมในการไตสวนการตายเพื่อซักถามและนําสืบพยานหลักฐานอื่นได และมีสิทธิตั้งทนายความเพื่อชวยเหลือหรือดําเนินการหากไมมีทนายความที่ไดรับแตงตั้งเขามาในการไตสวน ศาลตองตั้งทนายความให ในประเทศอังกฤษนั้น ในบางกรณีกฎหมายกําหนดใหโคโรเนอรจะตองแตงตั้งคณะลูกขุน ซึ่งเปนตัวแทนของประชาชนในทองถิ่นนั้น มาทําการไตสวนรวมกันในการตายที่มีความสําคัญ หรือมีเจาหนาที่ของรัฐเขาไปเกี่ยวของ หรืออาจสงผลกระทบตอสุขภาพหรืออนามัยของประชาชน เปนตน นอกจากนี้ญาติของผูตายสามารถแตงตั้งแพทยเขารวมในการตรวจศพไดดวย ในประเทศเยอรมันนั้น ญาติของผูตายจะตองไดรับแจงทันทีที่มีคําสั่งของศาลใหขุดศพที่ฝงอยูข้ึนมาเพื่อพิจารณาไตสวนหาสาเหตุการตาย เพื่อใหญาติสามารถเขารวมกระบวนการตรวจสอบของศาลได นอกจากนี้ญาติของผูตายมีสิทธิที่จะยื่นคํารองขอใหศาลมีคําสั่งใหทําการ ผาศพเพื่อตรวจพิสูจนได เมื่อเห็นวาสาเหตุและพฤติการณการตายยังเปนที่เคลือบแคลงสงสัยอยู เมื่อเปรียบเทียบการไตสวนการตายของแตละประเทศแลวจะพบไดวา การไตสวนการตายของประเทศไทยนั้นมีขอดีมากกวาของประเทศอื่น ดังนี้

Page 78: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

143

องคกรที่เขารวมในการไตสวนการตาย ในประเทศไทยประกอบดวยศาล พนักงานอัยการ ญาติของผูตาย และทนายความฝายญาติของผูตาย ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเยอรมันแลวจะพบไดวา ศาลสามารถพิจารณาไตสวนการตายไปไดโดยลําพัง อาจจะมีบางในบางกรณีที่เรียกแพทยเขามาชวยเหลือแตก็เปนการชวยเหลือโดยการใหความเห็นทางการแพทย ซึ่งทําใหขาดการตรวจสอบและถวงดุลจากองคกรอื่น และสําหรับในประเทศอังกฤษ แมวาจะมีคณะลูกขุน และญาติเขารวมในการไตสวนการตาย แตจะเห็นไดวาคณะลูกขุนนั้นเปนองคกรที่ โคโรเนอรเปนผูแตงตั้งจากประชาชนในทองถิ่น เมื่อเปรียบเทียบกับพนักงานอัยการของไทยแลวจะเห็นไดอยางชัดเจนถึงความแตกตางในความรูทางดานกฎหมายและความชํานาญในการพิจารณาพยานหลักฐานตาง ๆ ซึ่งพนักงานอัยการมีศักยภาพสูงและเปนประโยชนกวาในการไตสวน ทั้งนี้ กระบวนการไตสวนการตายที่ดีและสามารถอํานวยความยุติธรรมใหแกทุกฝายไดนั้น ควรที่จะตองมีมาตรการในการตรวจสอบและถวงดุลระหวางองคกรที่เขารวมในการไตสวนการตาย โดยที่องคกรเหลานั้นไมควรที่จะมีจํานวนหลายฝายจนมากเกินไปแตในขณะเดียวกันก็ไมควรมีนอยเกินไปหรือมีเพียงแคองคกรเดียว และกระบวนการไตสวนการตายจะตองมีความยืดหยุนและรวดเร็ว และประการที่สําคัญควรอยางยิ่งที่จะตองเปดโอกาสใหญาติของผูตายไดเขามามีสวนรวมในการไตสวน โดยตองมีทนายความคอยชวยเหลือสนับสนุนในการนําสืบพยานหลักฐานหรือโตแยงพยานหลักฐานที่ฝายรัฐนําเสนอตอศาลดวย

4.5 ปญหาเกีย่วกับการตรวจสอบและถวงดุลในการชนัสตูรพลิกศพ แมวาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาวาดวย การชันสูตรพลิกศพ จะไดมีการแกไขเพิ่มเติมถึง 6 ครั้ง โดยในการแกไขเพิ่มเติม 5 ครั้งนั้น เปนการแกไขเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับบุคคลหรือองคกรที่จะเขารวมชันสูตรพลิกศพและกระบวนการเกี่ยวกับการไตสวนการตายในระหวางอยูในการควบคุมของเจาพนักงาน โดยมีการกําหนดใหพนักงานอัยการหรือศาล เขามามีหนาที่รับผิดชอบในการชันสูตรพลิกศพดวย โดยในพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที ่21) พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2550 ไดริเร่ิมที่จะยกระดับมาตรฐานชันสูตรพลิกศพใหมีความเปนวิชาชีพมากขึ้น โดยกําหนดใหแพทยตองเขารวมชันสูตรพลิกศพนับแตเมื่อพบการตาย และกําหนดใหแพทยดานนิติเวชศาสตรมีอํานาจหนาที่ในการชันสูตรพลิกศพรวมกับ พนักงานสอบสวน ณ สถานที่เกิด

Page 79: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

144

เหตุ และกําหนดใหพนักงานอัยการรวมกับพนักงานสอบสวนในการทําสํานวนชันสูตรพลิกศพและสํานวนสอบสวนคดีตามมาตรา 150 วรรคสาม และคดีที่ ผูตายถูกกลาวหาตอสูขัดขวาง เจาพนักงานดวย แตอยางไรก็ตามยังมีปญหาบางประการที่ทําใหการชันสูตรพลิกศพ ยังขาดประสิทธิภาพในการตรวจสอบและถวงดุลการใชอํานาจรัฐ ซึ่งไดแก 4.5.1 ปญหาในระบบการชันสูตรพลิกศพและกฎหมายที่เกี่ยวของ เมื่อพิจารณาระบบการชันสูตรพลิกศพของประเทศไทยแลว ถือวาจัดอยูในระบบตํารวจ โดยนับตั้งแตประกาศใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาจนถึงปจจุบัน ซึ่งมีการแกไขเพิ่มเติมถึง 6 คร้ังดวยกัน แตกฎหมายก็ยังคงกําหนดใหพนักงานสอบสวนเปนองคกรหลักที่มีหนาที่รับผิดชอบในการชันสูตรพลิกศพ และในทางปฏิบัติเมื่อมีการตายเกิดขึ้น ผูที่พบศพจะแจงใหตํารวจทราบกอน แลวพนักงานสอบสวนจึงจะสั่งการใหเจาหนาที่ตํารวจไปควบคุมสถานที่พบศพ แลวจึงแจงใหผูที่หนาที่ชันสูตรพลิกศพทราบตอไป นอกจากนี้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 129 ไดบัญญัติวา “ใหทําการสอบสวนรวมทั้งการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีที่ความตายเปนผลแหงการกระทําผิดอาญา ดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายนี้อันวาดวยการชันสูตรพลิกศพ ถาการชันสูตรพลิกศพยังไมเสร็จ หามมิใหฟองผูตองหายังศาล” จากบทบัญญัติดังกลาวจะเห็นไดวาในกรณีที่ความเปนตายนั้นเปนผลแหงการกระทําความผิดอาญาแลว การชันสูตรพลิกศพถือเปนสวนหนึ่งของการสอบสวน และยังเปนเงื่อนไขแหงการฟองผูตองหาตอศาลดวย ดังนั้นกระบวนการชันสูตรพลิกศพถือเปนกระบวนการที่สําคัญ เปนกลไกที่จะชวยคนหาความจริงในการตายของบุคคลได เมื่อพิจารณาจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 129 และมาตรา 148 ถึง 156 แลว จะเห็นไดวาการชันสูตรพลิกศพเปนเรื่องที่อยูในอํานาจหนาที่ของพนักงานสอบสวนเกือบทั้งหมด ยกเวนแตกรณีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ ซึ่งมาตรา 150 วรรคหก กําหนดใหกรณีดังกลาว พนักงานสอบสวนตองปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานอัยการ เมื่อพนักงานสอบสวนเปนผูที่มีอํานาจเบ็ดเสร็จในการรับผิดชอบเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ และกฎหมายกําหนดใหแพทยมาทําหนาที่รวมชันสูตรพลิกศพเทานั้น และแพทยไมมีอํานาจสอบสวนหรือซักถามพยาน หรือไมมีโอกาสไดรับรูหรือพิจารณาพยานหลักฐานอื่น ที่อยูใน

Page 80: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

145

ความรับผิดชอบหรือความครอบครองของพนักงานสอบสวน แพทยสวนใหญจึงมีทัศนคติวางานชันสูตรพลิกศพเปนงานชันสูตรพลิกศพเปนงานลําดับรอง ซึ่งมีความสําคัญนอยกวางานประจําที่ตองตรวจรักษาผูปวย จึงทําใหพนักงานสอบสวนสามารถครอบงําหรือมีอิทธิพลเหนือการชันสูตรพลิกศพไดโดยงาย จนเปนสาเหตุที่แพทยผูรวมชันสูตรพลิกศพมักจะดําเนินการวินิจฉัยเฉพาะสาเหตุการตายเทานั้น สวนพฤติการณการตายจะใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนในการตัดสินถึงพฤติการณการตาย โดยที่ระบบการชันสูตรพลิกศพของไทยและกฎหมายที่เกี่ยวของไดกําหนดใหพนักงานสอบสวนมีบทบาทและอํานาจหนาที่ครอบคลุมเกือบทุกขั้นตอนในการชันสูตรพลิกศพ แพทยจึงเปนเพียงผูที่มาชวยหาสาเหตุการตายเทานั้น โดยแพทยจะไมกาวลวงไปใหความเห็นเกี่ยวกับพฤติการณการตาย ระบบเชนนี้ทําใหขาดการถวงดุลการใชอํานาจ72 โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบัน การตายโดยผิดธรรมชาติที่เปนการฆาตกรรมบางกรณี รูปแบบของคดีมีความสลับซับซอนหรือเกี่ยวของกับผูมีอิทธิพล แตก็ไมไดมีกฎหมายกําหนดใหพนักงานอัยการหรือพนักงานปกครองเขารวมชันสูตรพลิกศพตั้งแตเร่ิมตนกระบวนการ จะมีก็แตเพียงใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนการชันสูตรพลิกศพใหพนักงานอัยการตรวจสอบเทานั้น เวนแตเปนกรณีตามมาตรา 150 วรรคสาม ซึ่งมาตรา 150 วรรคสี่ กําหนดใหพนักงานอัยการรวมทําสํานวนชันสูตรพลิกศพดวย ซึ่งอาจเปนการเร่ิมตนการตรวจสอบที่ลาชาเกินไป เพราะพยานหลักฐานสําคัญที่จะชวยเปดเผยความจริงอาจสูญหายหรือบิดเบือนไปแลว 4.5.2 ปญหาการใชดุลพินิจในการชันสูตรพลิกศพ การชันสูตรพลิกศพนั้น กฎหมายจะกําหนดไววาการตายประเภทใดบางที่จะตองทําการชันสูตรพลิกศพ โดยเหตุที่กฎหมายกําหนดใหตองมีการชันสูตรพลิกศพนั้นมาจากหลักการที่รัฐจะตองใหความคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน เมื่อมีการตายตามที่กฎหมายบัญญัติไวเกิดขึ้น รัฐจึงตองเขามารับผิดชอบในการคนหาความจริงในความตายนั้น โดยหาสาเหตุและ

72 แสวง บุญเฉลิมวิภาส และคณะ, รายงานการวิจัย โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาการ

พัฒนาระบบการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย” เสนอตอสํานักกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม, สิงหาคม 2547, น. 56-57.

Page 81: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

146

พฤติการณการตาย และหากความตายนั้นเปนผลมาจากการกระทําความผิด รัฐมีหนาที่ตองสอบสวนดําเนินคดีหรือคนหาตัวผูกระทําความผิดเพื่อลงโทษตามกระบวนการยุติธรรมตอไป ในปจจุบันประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 148 กําหนดใหมีการชันสูตรพลิกศพใน 2 กรณี คือ การตายโดยผิดธรรมชาติ และการตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน โดยในมาตรา 148 วรรคสอง ไดใหความหมายของการตายโดยผิดธรรมชาติไวดังนี้ (1) ฆาตัวตาย (2) ถูกผูอ่ืนทําใหตาย (3) ถูกสัตวทํารายตาย (4) ตายโดยอุบัติเหตุ (5) ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ สําหรับการตายโดยธรรมชาตินั้น ไดแกการตายอันเนื่องจากโรคตาง ๆ โดยเริ่มต้ังแตการไดรับโรคจนถึงการตายนั้นเปนไปตามวิถีทางธรรมชาติ ซึ่งทางโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลใด ๆ ก็สามารถทําการชันสูตรพลิกศพไดโดยพยาธิแพทยหรือแพทยทั่วไปก็ได แตจะตองไดรับความยินยอมจากทายาทผูมีอํานาจโดยชอบธรรมของผูตายเสียกอน เนื่องจากมิใชกรณีที่มีกฎหมายกําหนดใหตองมีการชันสูตรพลิกศพ73 ซึ่งเมื่อพิจารณาเหตุการตายตามที่ระบุไวในมาตรา 148 แลว จะพบวายังขาดความชัดเจนและไมครอบคลุมการตายบางกรณีที่ควรจะไดรับการตรวจสอบดวยการชันสูตรพลิกศพ กลาวคือ เปนการเปดโอกาสใหมีการใชดุลพินิจวาการตายดังกลาวเปนการตายโดยธรรมชาติหรือการตายโดยผิดธรรมชาติ ยกตัวอยางเชน การตายโดยธรรมชาติบางกรณีที่เกิดขึ้นจากอาการเจ็บปวยหรือโรคภัยไขเจ็บ แตในระยะเวลาสุดทายกอนจะเสียชีวิต ผูตายไดรับการรักษาทางการแพทย เชนนี้แลวหากเกิดความผิดพลาดขึ้นจากการรักษาแลว แพทยในโรงพยาบาลแหงนั้นอาจวินิจฉัยวาเปนการตายโดยธรรมชาติเพื่อปกปดขอผิดพลาดของตนเองหรือเจาหนาที่ของโรงพยาบาลได เมื่อเปนการตายโดยธรรมชาติ ก็ไมจําเปนตองทําการชันสูตรพลิกศพและทําใหการตรวจสอบคนหาสาเหตุการตายที่แทจริงไมอาจกระทําได

73 วิสูตร ฟองศิริไพบูลย, “การตรวจพิสูจนศพซ้ํา”, สารศิริราช, ฉบับที่ 1, ปที่ 56, น.43,

(มกราคม 2547).

Page 82: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

147

เมื่อไดพิจารณาจากกฎหมายวาดวยการชันสูตรพลิกศพของตางประเทศ จะพบวาในหลายประเทศจะใหความสําคัญในการชันสูตรพลิกศพกรณีการตายโดยโรคภัยไขเจ็บบางกรณี โดยกําหนดใหรัฐมีหนาที่ดําเนินการตรวจสอบเพื่อคุมครองผูปวยและญาติผูใกลชิด อาทิเชน (1) ประเทศเยอรมัน ไดกําหนดไวใน Regulation on Medical Post-mortem Examination ใหศาลตองทําการชันสูตรพลิกศพ โดยจะตองมีการผาศพเพื่อตรวจพิสูจนดวย ในกรณีการตายของเด็กทารกแรกเกิด หรือกรณีบุคคลที่เสียชีวิตมีอายุต่ํากวา 16 ป เปนตน นอกจากนี้ในบางกรณีกฎหมายใหอํานาจศาลในการใชดุลพินิจที่จะสั่งใหมีการผาศพเพื่อตรวจพิสูจนดวยเชนกัน ไดแก กรณีบุคคลตายโดยโรคติดตอ โรคเนื้องอก หรือตายภายใน 4 สัปดาหหลังจากไดรับภูมิคุมกันโรค หรือตายโดยไดรับการปลูกถายหรือโอนถายอวัยวะภายใน (2) ประเทศสหรัฐอเมริกา ใน County Medical Examiners Act 1953 และ Public Health Code 1978 ไดกําหนดกรณีการตายที่ตองแจงใหแพทยสอบสวนทําการสอบสวนถึงสาเหตุและพฤติการณการตายไว ซึ่งรวมถึงการตายโดยธรรมชาติบางกรณีดวย ไดแก การตายในหองผาตัดหรือหองพักฟน การตายโดยปราศจากการรักษาทางการแพทยภายใน 48 ชั่วโมง กอนเสียชีวิต หรือการตายซึ่งเปนผลมาจากการคลอดหรือการทําแทง เปนตน (3) ประเทศฟนแลนด กําหนดไวใน Act of establishing the cause of death 1973 มาตรา 7 ไดกําหนดกรณีที่ตองแจงใหแพทยสอบสวนทราบและตองทําการสอบสวนการตายโดยตํารวจไว ซึ่งรวมถึงกรณีการตายโดยปราศจากการรักษาทางการแพทย การตายโดยไดรับสารพิษ หรือการตายโดยมีเหตุจากโรคจากการทํางาน จากกฎหมายตางประเทศดังกลาว จะพบวาไดใหความสําคัญกับการตรวจสอบการตายโดยธรรมชาติในบางกรณีดวย แมวาในเบื้องตนอาจจะเปนเพียงการตายโดยธรรมชาติในรูปแบบปกติธรรมดาเทานั้น แตกฎหมายใหความสําคัญโดยแบงระดับของการตรวจสอบดวยการระบุเงื่อนไขไวในเหต ุการตายนั้น ๆ เพื่อใหรัฐสามารถเขาไปตรวจสอบสาเหตุการตายที่แทจริงได เพื่อใหสามารถคุมครองสิทธิของผูตายและญาติไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4.5.3 ปญหาดานบุคลากร ปญหาดานบุคลากรนั้น อาจแบงออกไดเปน 2 หัวขอยอย ซึ่งไดแก ปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย และปญหาการขาดความรูความชํานาญของบุคลากร โดยมีสาระสําคัญดังนี้

Page 83: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

148

4.5.3.1 ปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย ปญหาดังกลาวเปนปญหาที่เกิดขึ้นมาแตเดิม กอนที่จะมีการแกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเมื่อป พ.ศ. 2542 โดยแตเดิมกฎหมายจะกําหนดใหผูเขารวมการชันสูตรพลิกศพ ณ ที่เกิดเหตุ ประกอบดวยพนักงานสอบสวนและบุคลากรทางการแพทย ดังนี้ 1) สาธารณสุขจังหวัด แพทยประจําสถานีอนามัย หรือแพทยประจําโรงพยาบาล หรือ 2) เจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขประจําทองที่ หรือแพทยประจําตําบล ในกรณีที่บุคคลตามขอ 1) ไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ซึ่งบุคลากรทางการแพทยดังกลาวขางตนก็มีภาระหนาที่ตามสาขาวิชาชีพอยูแลว โดยเฉพาะแพทยที่มีภารกิจหลักในการรักษาโรคภัยไขเจ็บของประชาชน และหากเปนโรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยในตางจังหวัด ซึ่งอัตรากําลังของแพทยหรือเจาหนาที่ไมเพียงพอตอการรับผิดชอบดูแลรักษาสุขภาพของประชาชน การกําหนดใหแพทยในตางจังหวัดตองออกไปชันสูตรพลิกศพยอมเปนการสรางภาระเพิ่มข้ึนใหแกแพทย และหากเกิดกรณีที่แพทยติดภารกิจตองรักษาผูปวย ก็ยอมตองใหเจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขออกไปปฏิบัติหนาที่แทน ก็จะสงผลกระทบใหการชันสูตรพลิกศพขาดประสิทธิภาพและอาจเกิดความผิดพลาดในการวินิจฉัยถึงสาเหตุและพฤติการณที่ทําใหเกิดการตาย ตอมาในป พ.ศ. 2542 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยมุงหมายใหเปนการปรับปรุงระบบการตรวจสอบพยานหลักฐานทางนิติเวชศาสตรใหมีประสิทธิภาพเพียงพอ จึงกําหนดตัวบุคลากรทางการแพทยที่จะรวมทําการชันสูตรพลิกศพรวมกับพนักงานสอบสวน ดังนี้ 1) แพทยทางนิติเวชศาสตร หรือ 2) แพทยประจําโรงพยาบาลของรัฐ หรือ 3) แพทยประจําสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือ 4) แพทยประจําโรงพยาบาลเอกชน หรือแพทยผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมทีข่ึน้ทะเบยีนเปนแพทยอาสาสมัครตามระเบียบของกระทรวงสาธารณสุข โดยแพทยในลําดับรองลงมาจะทําหนาที่ชันสูตรพลิกศพไดก็ตอเมื่อแพทยในลาํดบัทีส่งูกวาไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ซึ่งการแกไขกฎหมายดังกลาวเล็งเห็นถึงความสําคัญของการมอบหมายใหแพทยเปนผูทําการวินิจฉัยสาเหตุและพฤติการณการตายโดยกําหนดใหแพทยทางนิติเวชศาสตร เปนแพทยลําดับแรกที่มีหนาที่รับผิดชอบ แตหากแพทยดังกลาวไมมีหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ผูที่จะเห็นทําหนาที่แทนก็ยังคงตองเปนแพทยเทานั้น

Page 84: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

149

แตอยางไรก็ตาม ดวยเหตุที่บุคลากรทางการแพทยยังขาดแคลนอยูเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะแพทยดานนิติเวชศาสตรยังมีจํานวนนอยมากเมื่อเทียบกับปริมาณงาน และประกอบกบัแพทยก็มีภารกิจหลักในการใหบริการสุขภาพ ในมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 จึงกําหนดบทเฉพาะกาลใหภายในระยะเวลา 5 ป นับแตวันที่พระราชบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับ ซึ่งวันสิ้นสุดระยะเวลาดังกลาว คือ วันที่ 26 มิถุนายน 2548 โดยกําหนดใหแพทยทางนิติเวชศาสตร แพทยประจําโรงพยาบาลรัฐ หรือแพทยประจําสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด อาจมอบหมายใหเจาหนาที่ของโรงพยาบาลหรือเจาหนาที่ในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ผานการอบรมทางนิติเวชศาสตร ไปรวมตรวจชันสูตรพลิกศพในที่เกิดเหตุแทนได โดยจะมอบหมายไดแตเฉพาะในกรณีถูกสัตวทํารายตายและการตายโดยอุบัติเหตุเทานั้น ซึ่งบทเฉพาะกาลดังกลาวเปนมาตรการที่ชวยผอนคลายภาระของแพทยที่จะตองไปยังสถานที่เกิดเหตุ และลดปญหาการขาดแคลนอัตรากําลังแพทยไปเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งเทานั้น ซึ่งระยะเวลาตามบทเฉพาะกาลดังกลาวก็ไดส้ินสุดลงแลว แตก็ไมอาจแกไขปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทยได จึงเปนที่มาของการตราพระราชบัญญัติวาดวยการมอบหมายใหเจาหนาที่ไปรวมชันสูตรพลิกศพตามมาตรา 148 (3) (4) และ (5) แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2550 ซึ่งมีสาระสําคัญใหขยายระยะเวลาการใชบังคับมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 ออกไปตามทีก่าํหนดไวในพระราชกฤษฎีกา74 และใหแพทยทางนิติเวชศาสตร แพทยประจํารัฐ หรือแพทยประจําสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถมอบหมายใหเจาหนาที่ของโรงพยาบาลหรือเจาหนาที่ในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ผานการอบรมทางนิติเวชศาสตร ไปรวมชันสูตรพลิกศพแทนตนได ในกรณีถูกสัตวทํารายตาย การตายโดยอุบัติเหตุ และการตายโดยยังมิปรากฏเหตุดวย ซึ่งการขยายระยะเวลาดังกลาวเปนการแกไขปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทยในระยะเวลาหนึ่งเทานั้น โดยยังมิไดแกไขปญหาในเชิงโครงสรางและระบบการชันสูตร

74 พระราชกฤษฎีกาขยายระยะเวลาการใชบังคับมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัติแกไข

เพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2550 โดยในมาตรา 3 ของรางพระราชกฤษฎีกาดังกลาว บัญญัติไววา “ขยายระยะเวลาการใชบังคับมาตรา 7 แหง พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2542 ออกไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555”

Page 85: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

150

พลิกศพแตประการใด ซึ่งจะสงผลกระทบใหการชันสูตรพลิกศพไมเปนไปตามเจตนารมณของกฎหมายที่มุงหมายจะยกระดับมาตรฐานของการชันสูตรพลิกศพใหมีความเปนวิชาชีพและไดมาตรฐานสากล 4.5.3.2 ปญหาการขาดความรูความชํานาญของบุคลากร ปญหานี้เกิดขึ้นพรอมกับการแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 คร้ังลาสุด ซึ่งกําหนดใหการชันสูตรพลิกศพในกรณีที่ความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ จะตองกระทํารวมกันโดยพนักงานสอบสวน แพทย พนักงานอัยการ และพนักงานฝายปกครอง สําหรับพนักงานสอบสวนและแพทยนั้น ตางก็เปนองคกรที่เกี่ยวของกับงานดานการชันสูตรพลิกศพอยูแล ว บุคลากรที่จะมาทําการชันสูตรพลิกศพยอมมีพื้นฐานทางนิติเวชศาสตรที่เพียงพอตอการปฏิบัติหนาที่ แตสําหรับพนักงานอัยการและพนักงานฝายปกครอง ซึ่งเปนองคกรที่กฎหมายกําหนดเพิ่มเติมใหมีอํานาจหนาที่ในการชันสูตรพลิกศพนั้นอาจพบปญหาและอุปสรรคบางประการ ไดแก พนักงานอัยการแมจะมีความรู ทักษะ และประสบการณในการวินิจฉัยและนําเสนอพยานหลักฐานตอศาล แตก็เปนเฉพาะในประเด็นขอกฎหมายของพยานหลักฐานเหลานั้น แตในการชันสูตรพลิกศพจําเปนที่พนักงานอัยการจะตองมีองคความรูทางนิติเวชศาสตรในระดับสูง เพื่อใหเพียงพอตอการรวมชันสูตรพลิกศพ ตลอดจนการวินิจฉัยและนําเสนอพยานหลักฐานตอศาล แตโดยสวนใหญแลวพนักงานอัยการจะไดรับความรูเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพจากการศึกษาวิชานิติเวชศาสตรในการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรของมหาวิทยาลัยเทานั้น ยังคงขาดซึ่งการศึกษาในภาคปฏิบัติหรือการศึกษาเชิงระบบ ขั้นตอนและกระบวนการเกี่ยวกับการชันสูตร พลิกศพอยางแทจริง นอกจากนี้ ในสวนการทําสํานวนสอบสวนในคดีวิสามัญฆาตกรรมหรือคดีที่ผูตายถูกกลาวหาวาตอสูขัดขวางเจาพนักงานนั้น โดยสวนใหญแลวพนักงานอัยการทั่วไปไมคอยที่ไดเห็นหรือไดตรวจสํานวนคดีดังกลาว เนื่องจากกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 143 วรรคทายกําหนดใหเปนอํานาจของอัยการสูงสุดในการสั่งคดี พนักงานอัยการที่ไปรับผิดชอบทําสํานวนการสอบสวนดังกลาว จําตองทําการพิจารณาศึกษาถึงลักษณะพิเศษของสํานวนดังกลาวเนือ่งจากเปนคดีที่เจาหนาที่ตํารวจไปเกี่ยวของกับความตายของประชาชน ซึ่งในคดีลักษณะเชนนี้อาจจะมีการ

Page 86: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

151

บิดเบือนขอเท็จจริงและพยานหลักฐานตาง ๆ เพื่อใหความชวยเหลือเจาพนักงานผูทาํใหตายใหพนจากความผิดได พนักงานฝายปกครองก็เชนเดียวกัน ถือวาเปนเรื่องใหมที่ไมเคยปฏิบัติกันมากอน และไมมีประสบการณในการชันสูตรพลิกศพ แมวาจะใหพนักงานฝายปกครองทําการศึกษาจากตัวบทกฎหมาย คําพิพากษาศาลฎีกา และความรูทางนิติเวชศาสตรก็ตาม ก็ยังคงตองอาศัยระยะเวลาในการเรียนรูจากการปฏิบัติงานจริง เนื่องจากความรูที่จะไดรับจากแนวทางปฏิบัติจริง จะมีความสําคัญตอการชันสูตรพลิกศพเปนอยางมาก 4.5.4 ปญหาการมีสวนรวมของญาติของผูตาย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ไดบัญญัติรับรองสิทธิของประชาชนในฐานะญาติของผูตายไวหลายประการดวยกัน กลาวคือ (1) สิทธิที่จะไดรับแจงการตาย ซึ่งกฎหมายกําหนดใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนผูซึ่งไดรับแจงวามีเหตุการตายผิดธรรมชาติเกิดขึ้นในเขตทองที่รับผิดชอบ ที่จะตองแจงเหตุการตายไปยัง สามี ภรรยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตาย อยางนอยหนึ่งคนใหทราบถึงการตายนั้น สาเหตุที่กฎหมายกําหนดไวเชนนี้เนื่องจากเคยเกิดเหตุการณที่พนักงานสอบสวนสามารถแจงใหญาติของผูตายทราบการตายได แตไมไดแจงใหบุคคลดังกลาวทราบทําใหกลายเปนศพไรญาติ ทําใหญาติของผูตายกวาจะทราบเรื่องการตายตองใชเวลานานหรือในบางครั้งไมทราบวาญาติของตนไดตายไปแลว ดังนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสอง จึงกําหนดใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนที่จะตองแจงบุคคลผูเกี่ยวของทราบการตายของผูนั้นกอนที่จะทําการชันสูตรพลิกศพ เพื่อใหญาติของผูตายไดมีโอกาสเขารวมสังเกตการณในการชันสูตรพลิกศพนั้น และหากพนักงานสอบสวนละเลยไมแจงใหญาติของผูตายทราบทั้งที่กระทําไดแลว ก็อาจจะมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ได (2) สิทธิที่จะไดรับแจงกําหนดวันนัดไตสวน กฎหมายกําหนดใหศาลตองปดประกาศกําหนดวันไตสวนคดีชันสูตรพลิกศพใหประชาชนไดทราบ เพราะสิทธิในการเขารับฟงการพิจารณาเปนสิทธิของประชาชนทุกคน

Page 87: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

152

โดยเฉพาะญาติของผูตาย จึงไดรับรองสิทธิของญาติของผูตายในการเขารวมกระบวนการไตสวนของศาลเกี่ยวกับเหตุการตายที่เกิดขึ้นจากการกระทําของเจาพนักงาน เพื่อเปนการอํานวยความยุติธรรมใหเกิดขึ้นใหแกประชาชนอยางรวดเร็ว กฎหมายจึงกําหนดใหเมื่อไดรับสํานวนชันสูตรพลิกศพจากพนักงานสอบสวนแลว พนักงานอัยการตองทํา คํารองตอศาลชั้นตนแหงทองที่ที่พบศพนั้น เพื่อใหศาลทําการไตสวนการตาย ในกรณีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่ โดยใหพนักงานอัยการตองแจงกําหนดวันนัดไตสวนใหยัง สามี ภรรยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือญาติของผูตาย อยางนอยหนึ่งคนใหทราบกอนวันนัดไตสวนไมนอยกวาสิบหาวัน (3) สิทธิเขารวมในกระบวนการไตสวน กฎหมายกําหนดใหญาติของผูตายสามารถทําคํารองตอศาลเพื่อเขารวมในการไตสวนเพื่อซักถามพยานที่พนักงานอัยการนําสืบถึงเหตุการตายนั้นได นอกจากนี้ยังสามารถทําคํารองตอศาลเพื่อขอนําสืบพยานหลักฐานอื่นไดดวย อาทิเชน ขอใหศาลมีหมายเรียกผูทรงคุณวุฒิ หรือผูเชี่ยวชาญอื่น ๆ มาโตแยงพยานหลักฐานอื่นในคดีได โดยญาติของผูตายมีสิทธิในการแตงตั้งทนายความดําเนินการแทนได และถาไมมีทนายความตั้งเขามาในคดี กฎหมายก็กําหนดใหศาลตัง้ทนายความขึ้นเพื่อทําหนาที่ทนายความฝายญาติของผูตายดวย75 เหตุที่กฎหมายกําหนดใหสิทธิแกประชาชนในกระบวนการไตสวนของศาลนั้น ก็เพื่อใหเกิดความยุติธรรมและความเปนธรรม เพื่อใหประชาชนในฐานะญาติของผูตายไดรับความเปนธรรมโดยอาศัยกระบวนการทางศาลอยางเต็มที่ โดยสามารถนําพยานหลักฐานตาง ๆ มานําสืบหักลางพยานหลักฐานที่พนักงานอัยการนําสืบได แตทั้งนี้ เนื่องจากกระบวนการสืบพยานจะตองปฏิบัติตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงซึ่งมีรายละเอียดมากและซับซอน จึงตองอาศัยทนายความเปนผูชวยเหลือดําเนินการแทน ดังนั้นญาติของผูตายจึงมีสิทธิตั้งทนายความเขาดําเนินการแทนได และหากญาติของผูตายไมมีทนายความ กฎหมายกําหนดใหศาลตองตั้งทนายความให (4) สิทธิฟองคดีเกี่ยวกับการตาย สิทธิในชีวิตและรางกายและการใชสิทธิทางศาลนั้น เปนสิทธิพื้นฐานที่รัฐจะตองรับรองและคุมครองใหแกประชาชนภายในรัฐเมื่อมีเหตุกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐกระทําใหประชาชนถึงแก

75 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคแปด

Page 88: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

153

ความตายโดยอางวาปฏิบัติราชการตามหนาที่หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงาน ดังนั้น กฎหมายจึงไดรับรองสิทธิของประชาชนในการฟองรองเจาหนาที่ของรัฐเกี่ยวกับความตายที่เกิดขึ้นได แมศาลจะมีคําสั่งเกี่ยวกับสํานวนชันสูตรพลิกศพที่พนักงานอัยการทําคํารองขอตอศาลใหไตสวนและใหถือวาคําสั่งนั้นเปนที่สุดก็ตาม แตกฎหมายก็มิไดตัดสิทธิญาติของผูตายที่จะฟองคดีเกี่ยวกับการตายนั้น ไมวาจะเปนเวลากอนที่ศาลจะมีคําสั่งเกี่ยวกับการไตสวนนั้นหรือการชันสูตรพลิกศพยังไมเสร็จสิ้น หากญาติของผูตายประสงคจะฟองรองเจาหนาที่ของรัฐใหรับผิดทางแพงหรือทางอาญาก็ยอมได เนื่องจากกฎหมายหามแตเฉพาะพนักงานอัยการเทานั้นวาไมใหฟองคดีตอศาลหากการชันสูตรพลิกศพยังไมเสร็จสิ้น76 ดังที่ไดกลาวมาขางตน กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาใหความสําคัญแกการมีสวนรวมของญาติของผูตายไวในการไตสวนการตายโดยศาล โดยไมไดกลาวถึงการเขามีสวนรวมในการชันสูตรพลิกศพซึ่งอยูในขั้นตอนกอนที่จะถึงการไตสวนการตายโดยศาลแตอยางไร ซึ่งจะมีความแตกตางกับกฎหมายตางประเทศ ยกตัวอยางเชน ในประเทศอังกฤษ The coroners Rules 1984 มาตรา 7 กําหนดใหญาติของผูตายเขารวมการตรวจศพไดดวยตนเองแลว ยังมีสิทธิที่จะแตงตั้งแพทยเขารวมการตรวจศพนั้นแทนตนได หรือในประเทศอิตาลี ญาติของผูตายอาจแตงตั้งแพทยเปนที่ปรึกษาของตนเขาไปดูการผาศพ และมีสิทธิทราบผลการผาศพตลอดจนซักถามไดดวย77 เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายไทยแลว กําหนดไวแตเพียงใหพนักงานสอบสวนแจงใหญาติทราบกอนที่เร่ิมทําการชันสูตรพลิกศพเทานั้น ไมถือเปนเงื่อนไขทางกฎหมายทีญ่าตจิะตองอยูดวยการชันสูตรพลิกศพ หากญาติเดินทางมารวมการชันสูตรพลิกศพทันเวลากอนเริ่มการชันสูตรพลิกศพก็อยูในฐานะของผูสังเกตการณเทานั้น อีกทั้งแบบรายงานการชันสูตรพลิกศพของ เจาพนักงานฝายตาง ๆ ไมวาจะเปนพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือพนักงานฝายปกครอง ก็ไมไดกําหนดใหญาติของผูตายรวมลงลายมือช่ือรับรองในรายงานเอกสารตาง ๆ จะปรากฏแตเพียงรายละเอียดวาในการชันสูตรพลิกศพนั้นมีญาติมารวมดวยหรือไม หากมีก็บันทึกรายละเอียดของชื่อสกุลและที่อยูที่ติดตอไดเทานั้น อีกประการหนึ่งที่ควรพิจารณา ก็คือ หากญาติของผูตายไดรับแจงการตายแลวเดินทางไปเพื่อรวมการชันสูตรพลิกศพ แตพนักงานสอบสวนหรือเจาหนาที่ตํารวจขัดขวางไมใหญาติของ

76 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคแปด 77 วิฑูรย อ้ึงประพันธ, อางแลว เชิงอรรถที่ 6, น. 60.

Page 89: 10º··Õè 4 · 2015-07-31 · 66 บทที่ 4 การชัูนสตรพลิกศพตามกฎหมายไทย ในบทนี้ จะกลาวถึง

154

ผูตายเขารวมสังเกตการณในการชันสูตรพลิกศพแลว จะเกิดผลทางกฎหมายประการใดบางนัน้ ในเร่ืองนี้เห็นวาการประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสอง กําหนดใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนที่จะตองแจงบุคคลผูเกี่ยวของทราบการตายของผูนั้นกอนที่จะทําการชันสูตรพลิกศพ เพื่อใหญาติของผูตายไดมีโอกาสเขารวมสังเกตการณในการชันสูตรพลิกศพนั้น และหากพนักงานสอบสวนละเลยไมแจงใหญาติของผูตายทราบทั้งที่กระทําไดแลวหรือขัดขวางไมใหญาติของผูตายอยูรวมในการชันสูตรพลิกศพ พนักงานสอบสวนหรือเจาพนักงานผูนั้นอาจจะมีความผิดฐานเปนเจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ก็ได เนื่องจากการกระทําหรือละเวนการกระทําดังกลาวอาจกอใหเกิดความเสียหายแกญาติของผูตาย เนื่องจากญาติของผูตายอาจจําตองเขารวมกระบวนการไตสวนการตายในศาลตอไปในภายหนา ซึ่งอาจกระทบตอการนําสืบพยานหลักฐานประกอบการพิจารณาไตสวนของศาล แตอยางไรก็ตามการขัดขวางไมใหญาติเขารวมในการชันสูตรพลิกศพ ไมอาจทําใหการสอบสวนคดีดังกลาวเสียไปและพนักงานอัยการยังคงมีอํานาจฟองคดีได เนื่องจากตามหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและแนวคําพิพากษาศาลฎีกา ถือวาเฉพาะแตกรณีการชันสูตรพลิกศพไมเสร็จเทานั้นที่หามมิใหฟองคดีตอศาล ไมรวมถึงกรณีการชันสูตรพลิกศพไมชอบหรือไมมีการชันสูตรพลิกศพก็ตาม