13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

9
1 การออกแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม The Standards Corporate Graphic Identity Design for Chandrakasem Rajabhat University ประชิด ทิณบุตร ( Prachid Tinnabutr) 1 บทคัดยอ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1)เพื ่อออกแบบและพัฒนากราฟกเอกลักษณมาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม 2)เพื่อออกแบบชุดตัวอักษรเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และ 3)เพื ่อออกแบบจัดทํา ตนแบบ ตัวอยางผลงาน และแนวทางการใชกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ไปใชงานหรือ การปรับประยุกตใช กับองคกรและกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย กระบวนการศึกษาวิจัยครั้งนีเปนการวิจัยเชิงพรรณนา โดยมีการดําเนินงานเปน 2 ระยะคือ การดําเนินการออกแบบและพัฒนา ตามกระบวนการสรางสรรค ผลงานออกแบบ และระยะที่สอง เปนการตรวจสอบสมมติฐาน โดยใชวิธีการกลุมรวมพิจารณาผลงานออกแบบและนําไปพัฒนา เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้คือ แบบสัมภาษณและแบบสอบถาม โดยกลุมประชากรที่ใชคือ กลุมผูเชี่ยวชาญดานการ ออกแบบ และนักวิชาการดานการออกแบบเอกลักษณ จากภายนอกองคกร จํานวน 12 คน และจากกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โดยวิธีการสุมแบบเจาะจงเลือก และการสุมเลือกแบบบังเอิญ รวมจํานวน 56 คน รวมทั้งสิ้น 68 คน การเก็บรวบรวมขอมูลใชการสัมภาษณและใชแบบสอบถามโดยตรงและสอบถามทางระบบออนไลน สถิติที่ใชในการ วิเคราะหขอมูลไดแกคารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ทําใหไดผลงานชุดแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ประกอบดวย 1)ชุดแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานมีจํานวนแบบ 3 แบบอันไดแกแบบ ตราสัญลักษณประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม( Chandra Seal) แบบอักษรยอจันทรา( Chandra Logotype)และแบบ เครื่องหมายจันทรา( Chandra Mark) ที่สามารถบงบอกรูปลักษณะของตราสัญลักษณที่มีความแนนอน แสดงความเชื่อมโยงแหง ความเปนราชภัฏสัญลักษณเดิม มีบุคลิกเฉพาะที่โดดเดน แตกตาง และงายในการจดจํา นําสูการนําไปใชใหเกิดความเปนเอกภาพ เดียวกันขององคกรได 2)ชุดแบบตัวอักษรและตัวพิมพเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่มีสัดสวน โครงสรางตามมาตรฐานของตัวอักษรไทย โดยใชชื่อตระกูลแบบตัวพิมพเฉพาะวา ซีอารยู( CRU) อันไดแกแบบตัวอักษรและ ตัวพิมพชื่อ CRU-Chandrakasem,CRU-LanChand. และ CRU-Rajabhat ที่สามารถติดตั้งใชงานไดจริงทั้งในระบบคอมพิวเตอร แบบพีซีและแมคอินทอช และ3)ชุดตนแบบไฟลงานออกแบบกราฟกสิ่งพิมพทั่วไป ผลิตภัณฑของที่ระลึก และเครื่องแตงกาย ที่ใช เปนแบบอยางเพื่อแสดงถึงการนําเอากราฟกเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ซึ่งทั้งหมดไดบันทึก จัดเก็บ รวบรวมเปนแหลงขอมูล แสดงไวเปนคูมือการใชงานกราฟกเอกลักษณมาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จํานวน 36 หนา พรอมแผนดีวีดีที่บันทึกไฟลตนแบบและไฟลประกอบ โดยจัดเก็บเปนชนิดไฟลตามมาตรฐานสากล ที่สามารถนําไปใช ในการผลิตจริงไวทั้งหมด คําสําคัญ(Keywords) การออกแบบกราฟก,กราฟกเอกลักษณมาตรฐาน,แบบตัวอักษรตระกูลซีอารยู มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1 ผูชวยศาสตราจารย สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

Upload: prachid-tinnabutr

Post on 12-Nov-2014

718 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

บทความวิจัยเรื่องการออกแบบกราฟิกเอกลักษณ์มาตรฐาน สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม The Standards Corporate Graphic Identity Design for Chandrakasem Rajabhat University

TRANSCRIPT

Page 1: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

1

การออกแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

The Standards Corporate Graphic Identity Design for Chandrakasem Rajabhat University

ประชิด ทิณบุตร ( Prachid Tinnabutr) 1

บทคัดยอ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ 1)เพ่ือออกแบบและพัฒนากราฟกเอกลักษณมาตรฐานสําหรบัมหาวิทยาลัยราชภัฏ

จันทรเกษม 2)เพ่ือออกแบบชุดตัวอักษรเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และ 3)เพ่ือออกแบบจดัทาํ

ตนแบบ ตวัอยางผลงาน และแนวทางการใชกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรบัมหาวิทยาลัยราชภัฏจนัทรเกษม ไปใชงานหรอื

การปรับประยุกตใช กับองคกรและกิจกรรมตางๆ ที่เก่ียวของทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย กระบวนการศึกษาวิจัยครั้งนี้

เปนการวิจัยเชิงพรรณนา โดยมีการดําเนินงานเปน 2 ระยะคอื การดาํเนนิการออกแบบและพัฒนา ตามกระบวนการสรางสรรค

ผลงานออกแบบ และระยะที่สอง เปนการตรวจสอบสมมติฐาน โดยใชวิธีการกลุมรวมพิจารณาผลงานออกแบบและนําไปพัฒนา

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้คือ แบบสัมภาษณและแบบสอบถาม โดยกลุมประชากรที่ใชคือ กลุมผูเช่ียวชาญดานการ

ออกแบบ และนกัวิชาการดานการออกแบบเอกลักษณ จากภายนอกองคกร จาํนวน 12 คน และจากกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ของ

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โดยวิธีการสุมแบบเจาะจงเลือก และการสุมเลือกแบบบังเอิญ รวมจํานวน 56 คน รวมทั้งส้ิน 68

คน การเก็บรวบรวมขอมูลใชการสัมภาษณและใชแบบสอบถามโดยตรงและสอบถามทางระบบออนไลน สถิติที่ใชในการ

วิเคราะหขอมูลไดแกคารอยละ คาเฉล่ีย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ทําใหไดผลงานชุดแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน

สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ประกอบดวย 1)ชุดแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานมีจาํนวนแบบ 3 แบบอันไดแกแบบ

ตราสัญลักษณประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม( Chandra Seal) แบบอักษรยอจันทรา( Chandra Logotype)และแบบ

เครื่องหมายจันทรา( Chandra Mark) ที่สามารถบงบอกรูปลักษณะของตราสัญลักษณที่มีความแนนอน แสดงความเช่ือมโยงแหง

ความเปนราชภัฏสัญลักษณเดิม มีบุคลิกเฉพาะที่โดดเดน แตกตาง และงายในการจดจํา นําสูการนําไปใชใหเกิดความเปนเอกภาพ

เดียวกันขององคกรได 2)ชุดแบบตัวอักษรและตัวพิมพเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่มีสัดสวน

โครงสรางตามมาตรฐานของตัวอักษรไทย โดยใชช่ือตระกูลแบบตัวพิมพเฉพาะวา ซีอารยู( CRU) อันไดแกแบบตัวอักษรและ

ตัวพิมพช่ือ CRU-Chandrakasem,CRU-LanChand. และ CRU-Rajabhat ที่สามารถติดตั้งใชงานไดจริงทั้งในระบบคอมพิวเตอร

แบบพีซีและแมคอินทอช และ3)ชุดตนแบบไฟลงานออกแบบกราฟกส่ิงพิมพทั่วไป ผลิตภัณฑของที่ระลึก และเครื่องแตงกาย ที่ใช

เปนแบบอยางเพ่ือแสดงถึงการนําเอากราฟกเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ซ่ึงทั้งหมดไดบันทึก จัดเก็บ

รวบรวมเปนแหลงขอมูล แสดงไวเปนคูมือการใชงานกราฟกเอกลักษณมาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จํานวน

36 หนา พรอมแผนดีวีดีที่บันทึกไฟลตนแบบและไฟลประกอบ โดยจัดเก็บเปนชนิดไฟลตามมาตรฐานสากล ที่สามารถนําไปใช

ในการผลิตจริงไวทั้งหมด

คําสําคัญ(Keywords) การออกแบบกราฟก,กราฟกเอกลักษณมาตรฐาน,แบบตัวอักษรตระกูลซีอารยู

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1 ผูชวยศาสตราจารย สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

Page 2: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

2

Abstract

The research objective is 1) to design and redesign the Standards Corporate Graphic Identity for Chandrakasem

Rajabhat University. 2) to design the corporate Identity typefaces set for Chandrakasem Rajabhat University. And 3) to design

the original artworks and prototypes of collateral prints, products and services, sampling and guideline to use and apply for

serving the university and activity. This research processing is a descriptive research which operates in two stages. The first step

followed by the creativity and design process, and the second is to examine the hypothesis which designed and developed by the

associated considerations of participants in the process of design focus groups. Research tools are interviewing and

questionnaire. The population was a group of corporate identity design experts from outside and a group of stakeholders of

Chandrakasem Rajabhat University. Specific selection of 68 data was collected by direct interview, questionnaire, and online

directly questionnaires. The statistics used for data analysis included percentage, mean and standard deviation. Following is the

design result from the research which consists of 1) A set of standard graphic identity for Chandrakasem Rajabhat University

are University Seal (Chandra Seal), Logotype (Chandra Logotype), and Mark (Chandra Mark) can indicate the appearance of a

certain brand. It shows the connection to the old Rajabhat University Symbol, that outstanding personalities differ, and easy to

remember. It can be used to make the same unity of the organization. 2) a set of unique typeface for Chandrakasem Rajabhat

University, named in CRU-font family, i.e. CRU-Chandrakasem, CRU-Rajabhat and CRU-LanChand. It designed to fit the

proportion and the structure of standard Thai characters. It can install the program actually works with both systems and

applications, PC and Macintosh systems. And 3) a set of master files, design sampling of publications, souvenirs, corporate

products and services, dressing forms and other related media. And the design guidelines to use as a template for implementing

the standards graphic identity of the University uniqueness. All of which are recognized as the source collection. It presented as

a standards corporate graphic identity manual for Chandrakasem Rajabhat University within 36 pages attaches with a DVD

recorded all the original files that can be used to produce all original documents.

Keywords : Graphic Design,Standards Corporate Graphic Identity,CRU-Fonts Family,Chandrakasem Rajabhat University

ความสําคัญและความเปนมาของปญหา

นับแตในปพ.ศ.๒๕๔๗ เปนตนมา ไดมกีารประกาศใช

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ อันมีผลใหสถาบันราชภัฏ

ทุกแหงทั่วประเทศไดยกฐานะเปน "มหาวิทยาลัยราชภัฏ" และมี

ผลทําใหมีระบบการบริหารงานเปนแบบนิติบุคคล แยกอิสระ

เฉพาะแตละแหงมีสถานะเทียบเทามหาวิทยาลัยของรัฐเดิมที่เคย

มีมาแตกอน(จันทรเกษม,2552:3) และในความเปล่ียนแปลงใหม

ในสถานะดังกลาวส่ิงที่มหาวิทยาลัยราชภัฏมีจุดเริ่มตนเปน

ทุนเดิมยังคงตองใชเหมือนกันและยังคงเปล่ียนแปลงไดนอย นั่น

ก็คือการที่มีภาพลักษณขององคกรในประเด็นของการเปนที่

ยอมรับของสังคมประเทศ อันเก่ียวเนื่องกับในช่ือเสียงและ

ภารกิจเดิม ที่เคยมีและคงใชรวม กันตลอดมา โดยจะเห็นไดวามี

การใชช่ือนําหนาเหมือนกันทุกแหง แลวใชช่ือเฉพาะของแตละ

แหงตามหลัง เฉกเชนเดียวเชนเดียวกับช่ือของมหาวิทยาลัย

ราชภัฏจันทรเกษมนั่นเอง

ความเปล่ียนแปลงดงักลาว บคุคลทัว่ไป บคุลากร และ

ผูบริหาร ทั้งภายในและภายนอกองคกร มักมองเห็นวาเปนการ

เปล่ียนแปลงเพียงเล็กนอย มีการเปล่ียนแปลงแบบคอยเปนคอย

ไป ใชทรัพยากรที่มีอยูเดิมไปพลางกอน แลวจึงปรับเปล่ียนให

เหมาะสมในภายหลัง ทั้งนี้เพราะภาพลักษณที่เปนอยูดังกลาว

ตองอาศยัเวลาและการประชาสัมพันธ ตามระยะเวลาของ

แผนงานและความพรั่งพรอมที่ตองส่ังสมขึ้นมาใหม ทั้งนี้เพราะ

ภาพลักษณองคกร( Corporate Image) นั้นจะเกิดขึ้นไดจะตอง

อาศัยภาพรวมทั้งหมดขององคการ ที่บุคคลรับรูจาก

ประสบการณ หรือมีความรูความประทับใจ ตลอดจนความรูสึก

ที่มีตอหนวยงานหรือสถาบันโดยการกระทําหรือพฤติกรรม

องคการ การบรหิาร ผลิตภัณฑการบรหิาร และการ

ประชาสัมพันธ ทีจ่ะตองเขามามีบทบาทตอภาพลักษณองคการ

ดวย ภาพลักษณขององคกรจงึมีความสําคญั เพราะสามารถทาํ

ใหสถาบัน หรือหนวยงานมีช่ือเสียงเปนที่ยอมรับเช่ือถือศรัทธา

จากบุคคลที่เก่ียวของและจะทําใหองคกร หนวยงานหรือสถาบัน

Page 3: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

3

นั้นๆ มีความเจริญกาวหนาได ดังนั้นคําวาภาพลักษณขององคกร

จึงมีนัยแหงความเปนนามธรรมคอนขางสูง เปนความเขาใจที่

ตองอาศัยส่ือที่เปนรูปธรรมมารวมแสดงเอกลักษณเฉพาะแทน

ความเปนนามธรรมอยางมีหลักฐาน แลวนําสูการเกิดความเขาใจ

ม่ันใจ เช่ือใจ เล่ือมใส ศรทัธา ในภาพรวมขององคกร เชน การ

รับรูหลักฐานของส่ือ วัตถุ หรือส่ิงแทนองคใดที่เปนรูปธรรม จับ

ตองได เชนเม่ือมองเห็นตราสัญลักษณ สัญรูป ภาพกราฟก

ส่ิงของ เครื่องใช ที่ไดระบุความมีเอกลักษณเฉพาะแลวจะเกิด

การรับรูลัดหรือรับประกันไปสูถึงขั้นเขาใจรวมไดทันทีได เชน

เดียวกันกับการเห็นถึงภาพพจนมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

นับวาเปนสถาบันการศึกษาเกาที่มีช่ือเสียงมานานนับ 69 ป ใน

ปจจุบัน(2552) มีเกียรติคุณตอเหลาบรรดาลูกศิษย และบุคคลใน

สังคมมานานานัปการ เปนที่ยอมรับของสังคมประเทศ และ

ภายนอกประเทศมากมาย นบัวามีภาพลักษณขององคกรทีด่แีละ

เปนที่นาภาคภูมิใจของบุคลากรที่เก่ียวของกันทุกคน อีกทั้งยัง

นับวาเปนมหาวิทยาลัยของรัฐแหงใหมที่ตองสรางเสริม ขยาย

และพัฒนาคุณภาพภารกิจขององคกรที่ตองเปล่ียนแปลงใหม

และกาวไกลไปตออีกในอนาคต ดังนั้นการที่จะอาศัยตนทุนเดิม

ภาพพจนเดิมที่มีอยูเดิมคงจะไมเพียงพอแลว ซ่ึงควรตองมีการ

สรางภาพพจนขึ้นมาใหปรากฏชัดย่ิงขึ้นและรวดเร็วย่ิงขึ้น ทั้งนี้

เพราะในปจจุบันเกิดสภาวะการแขงขันกันในเชิงธุรกิจทาง

การศึกษามากขึ้น ที่ตองแขงขันกันเองในสถานศึกษาภาครัฐและ

สถาบันการศึกษาเอกชน และเปนส่ิงที่ตองกระทําเพ่ือใหอยูใน

เกณฑมาตรฐานตางๆ ทีเ่ปนขอกําหนดของสํานกังานมาตรฐาน

ตางๆอีกมากมาย ซ่ึงการเปล่ียนแปลง ปรับปรุงและพัฒนาองคกร

ในสวนตางๆภายในมหาวิทยาลัย จึงเปนส่ิงจําเปนที่ตองไดรับ

ความรวมมือเปนอยางดี เพ่ือชวยกันสรางภาพลักษณใหเปนไปสู

ทิศทางเดียวกัน และสอดคลองกับปรัชญา วิสัยทัศนและภารกิจ

ของมหาวิทยาลัยที่ไดกําหนดแนวทางไว

ผูวิจัยในฐานะที่เปนบุคลากรดานการสอนดานการออกแบบ

ของมหาวิทยาลัย ไดเหน็ความสําคญัดานการสรางภาพลักษณ

ขององคกร ซ่ึงจําเปนจะตองมีการเปล่ียนแปลงใหม จึงไดทําการ

ออกแบบตราสัญลักษณของมหาวิทยาลัยใหใหมเปนการช่ัวคราว

อยางไมเปนทางการและยังไมครบสมบูรณ ดังแบบตราและแบบ

ตัวอักษรที่กําลังใชอยูในปจจุบันนี้ ซ่ึงจากการติดตามผลการ

นําไปใชแลว ทําใหทราบวามีการนําตราสัญลักษณไปใชอยางไม

ถูกตอง ไมเขาใจ ไมยอมรับและมีการนําไปเปล่ียนแปลงใหมที่

ไมเหมาะสม ไมบงัควรใช(ตามที่มาคือเปนตราประจํารัชกาลที่9)

ไมสมควรปรับ และทําใหไมมีมาตรฐานเดียวกัน จึงทําใหเกิด

ความหลากหลายไรมาตรฐานทั้งที่ใชเปนทางการและไมเปน

ทางการ ทัง้นีเ้พราะทางมหาวิทยาลัยยังไมมกีารกําหนด

มาตรฐานเอาไว อีกทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมนั้นถือวา

เปนองคกรที่จัดตั้งมานาน และจัดวาเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นใหม

มีคูแขงที่มีเปนจํานวนมาก จึงควรตองสรางเอกลักษณเฉพาะตัว

สําหรับองคกร(สุมิตรา ศรีวิบูลย 2546:13)

จากสภาพปจจุบันและปญหาดังกลาว ทําใหผูวิจัยเห็นวา

สมควรที่จะตองทําการศึกษาวิจัยและดําเนินการออกแบบกราฟก

เอกลักษณมาตรฐานเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจนัทรเกษม

ขึน้ใหม ใหถกูตองตามหลักการทางศลิปะและการออกแบบ

เอกลักษณองคกร เพ่ือการนําเสนอใหมีการยอมรับ เกิดนําไปใช

อยางเปนมาตรฐาน และขอตกลงรวมกันในสังคมชาวจันทร

เกษมและหรือผูออกแบบในลําดับถัดไป อันจะเปนการสงเสริม

ภาพลักษณที่ดีและม่ันคงของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ตลอดไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

1.เพ่ือออกแบบและพัฒนากราฟกเอกลักษณมาตรฐานเฉพาะ

ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

2.เพ่ือออกแบบชุดตวัอักษรเอกลักษณเฉพาะของ

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3)เพ่ือออกแบบจดัทาํตนแบบ ตวัอยางผลงาน และแนวทาง

การใชกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน สําหรบัมหาวิทยาลัยราชภัฏ

จันทรเกษม ไปใชงานหรือการปรับประยุกตใช กับองคกรและ

กิจกรรมตางๆ ที่เก่ียวของทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

ขอบเขตของการวิจัย

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มุงศึกษา วิเคราะห ออกแบบสรางสรรคและ

พัฒนาผลงานออกแบบกราฟกส่ือแสดงลักษณะเอกลักษณเพ่ือ

นาํมาใชเปนตนแบบมาตรฐานเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจนัทร

เกษม ในประเด็นที่เก่ียวของกับการสรางสรรคผลงานชุด

1.ออกแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานเฉพาะของมหาวิทยาลัย

ราชภัฏจันทรเกษม

2.ออกแบบตวัอักษรเอกลักษณเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

จันทรเกษม

3.ออกแบบและจดัทาํตนแบบกราฟกเอกลักษณเฉพาะสําหรบั

การประชาสัมพันธองคกรและหนวยงานหลักของมหาวิทยาลัย

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ไดชดุผลงานตนแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานเฉพาะ

ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมเชนตราสัญลักษณระดับ

หลักและระดับรอง อันไดแก 1).แบบตราสัญลักษณประจํา

มหาวิทยาลัยอยางเปนทางการ 2).แบบเครื่องหมาย/อักษรยอจาก

ช่ือของมหาวิทยาลัยและ 3).แบบตราเครื่องหมาย

Page 4: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

4

2.ไดชดุแบบตวัอักษรเอกลักษณมาตรฐานเฉพาะของ

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมที่สามารถนําไปติดตั้งใชพิมพ-

แสดงผลไดทั้งในเครื่องคอมพิวเตอรระบบแมคอินทอชและพีซี

ใชกบัระบบการพิมพเอกสารและงานออกแบบกราฟก ส่ือ

โฆษณาประชาสัมพันธของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ส่ือ

แสดงเอกลักษณเฉพาะในภารกิจ กิจการงานของมหาวิทยาลัย

ราชภัฏจันทรเกษม และหรือเผยแพรรวมใชเปนเอกลักษณใน

นามของมหาวิทยาลัยราชภัฏไดทั่วประเทศ

3.ไดชดุผลงานตนแบบงานกราฟกเอกลักษณเฉพาะสําหรบั

การนําไปใชหรือปรับประยุกตใชกับหนวยงาน กิจการที่เก่ียว

ของทัง้ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย อาทเิชน ตนแบบ

ส่ิงพิมพงานเอกสารราชการและหรอืงานพิมพสํานกังานทัว่ไป

เปนตน

4.มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มีคูมือกํากับการใชงาน

กราฟกเอกลักษณมาตรฐาน เพ่ือใชเปนเครื่องมือกํากับและ

กําหนดแนวทางสําหรับการสรางภาพลักษณที่ดีใหเกิดแกองคกร

ตอไป

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้มีวิธีดําเนินการ 2 วิธีคือ

1.เปนการศกึษาวิจยัเชิงคณุภาพ ( Descriptive Research) ตาม

กระบวนวิธีการสรางสรรคผลงานดานการออกแบบ โดยการศึกษา

เอกสาร การเก็บรวบรวมขอมูลและการวิเคราะหสภาพปจจุบัน

ปญหาทีเ่กิดจากการนาํคณุลักษณะกราฟกเอกลักษณไปใชจรงิของ

องคกร และจากหลักฐานขอมูลทีป่รากฏในสังคมและสากล เพ่ือ

นํามาตั้งเปนโจทยและความตองการจําเปนในการออกแบบ

สรางสรรค แลวนําเสนอเปนรูปแบบลักษณะผลงานชุดกราฟก

เอกลักษณเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจนัทรเกษม ตามระเบยีบ

วิธีและกระบวนวิธีทางการสรางสรรคผลงานออกแบบ(The Design

Process) เปน 4 ขั้นตอนหลักใหญ โดยสรุปคือ

1.1 การศึกษาขอมูลและการนําเสนอแนวความคิดเบื้องตน

(Preliminary Research and Preliminary Ideas)

1.2 การออกแบบและพัฒนาปรบัแกไขแบบ ( Design and

Refinement)

1.3 การรวมพิจารณาคัดเลือกแบบที่เหมาะสม( Decision

Making/Focus Group)

1.4 การผลิตตนแบบจริงและการนําเสนอ แบบใชงานจริง

(Original Artwork & Implementation)

2. เปนการศึกษาความคิดเห็นของกลุมผูเช่ียวชาญภายนอกและผู

มีสวนไดสวนเสียขององคกร ที่มีตอผลงานกราฟกเอกลักษณที่

นําเสนอเปนทางเลือก(Alternative Design Solutions) หรือกระบวน

การรวมคัดเลือกแบบเอกลักษณโดยคณะหรือกลุมประชากรโดยใช

สถิติการวิเคราะหคารอยละ คาเฉล่ีย ของความคิดเห็น เพ่ือใชเปน

แนวทางสรปุผลงานตนแบบผลงานกราฟกตราสัญลักษณ

เครื่องหมายและแบบตัวอักษร ที่จะใชเปนแนวทางกําหนดเปนแบบ

มาตรฐาน แลวสรุปเปนตนแบบสําหรับการนํา เสนอตวัอยาง

รูปแบบผลงานกราฟกเอกลักษณและผลงานที่เก่ียวของ ไวเปน

รูปเลมคูมือการใชงานใหเกิดการนําไปใชและการพัฒนาจาก

ตนแบบจริงเปนเอกลักษณมาตรฐาน

กรอบแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ

ผูวิจัยไดดําเนินกิจกรรมตามกรอบแนวคิดของการศึกษาวิจัย

เปน 4 ขั้นตอนหลัก ดังแสดงเปนแผนภูมิสรุปภาพรวมวิธี

ดําเนินการวิจัยไวดังนี้คือ

แผนภูมิที่1 แสดงกรอบแนวคิดและขั้นตอนวิธีการวิจัย

การเก็บรวบรวมขอมูล

ใชวิธีดําเนินการดังนี้คือ

1.การศึกษารวบรวมขอมูลเบื้องตน จากหลักฐานเอกสาร ส่ือ

ส่ิงพิมพปฐมภูมิและทุติยภูมิ ดวยการบันทึกรวบรวมหลักฐานที่

ปรากฏจากสภาพปจจบุนัปญหาทีเ่กิดจากการนาํเอาคณุลักษณะ

กราฟกเอกลักษณตางๆที่เปนของเดิมไปใชจริงและการปรับแก

ใหม หลังจากที่องคกรมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงฐานะเปน

มหาวิทยาลัยใหม ทั้งภาพรวมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งหมด

และเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจนัทรเกษม รวมทัง้การ

รวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึกแบบมีโครงสรางความ

Page 5: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

5

ตองการดานการใชงาน และขอมูลจากภาระงานที่ตองรวม

รบัผดิชอบงานดานการออกแบบกราฟกเอกลักษณในฐานะเปน

บุคลากรในหนวยงานโดยตรง เพ่ือใชเปนขอมูลสรุปความ

ตองการเบื้องตนในการออกแบบ( Design Briefs)และการ

ออกแบบจัดทําแบบทางเลือก(Alternative Design)

2.การพิจารณาคดัเลือกแบบเพ่ือการกําหนดเปนตนแบบ

มาตรฐานโดยการประชุมดวยการนําเสนอผลงานและใหมีสวน

รวมในการตัดสินใจและการเสนอแนะขอคิดเห็น ทั้งแบบ

โดยตรง เปนกลุมยอย และผานทางระบบออนไลน ดวย

แบบสอบถามแบบประเมินคา 5 ระดับ

ผลการวิจัย

ผลการวิจยั ทาํใหไดผลงานชุดแบบกราฟกเอกลักษณ

มาตรฐาน สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ประกอบ

ดวย 1)ชุดแบบกราฟกเอกลักษณมาตรฐานมีจาํนวนแบบ 3 แบบ

อันไดแกแบบตราสัญลักษณประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร

เกษม( Chandra Seal) แบบอักษรยอจันทรา( Chandra Logotype)

และแบบเครือ่งหมายจนัทรา( Chandra Mark) ที่สามารถบงบอก

รูปลักษณะของตราสัญลักษณที่มีความแนนอน แสดงความ

เช่ือมโยงแหงความเปนราชภัฏสัญลักษณเดิม มีบุคลิกเฉพาะที่

โดดเดน แตกตาง และงายในการจดจาํ นาํสูการนาํไปใชใหเกิด

ความเปนเอกภาพเดยีวกันขององคกรได 2)ชุดแบบตัวอักษรและ

ตัวพิมพเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ที่มีสัดสวนโครงสรางตามมาตรฐานของตัวอักษรไทย โดยใชช่ือ

ตระกูลแบบตัวพิมพเฉพาะวา ซีอารยู( CRU) อันไดแกแบบ

ตัวอักษรและตัวพิมพช่ือ CRU-Chandrakasem,CRU-LanChand.

และ CRU-Rajabhat ที่สามารถติดตั้งใชงานไดจริงทั้งในระบบ

คอมพิวเตอรแบบพีซีและแมคอินทอช และ3)ชุดตนแบบไฟล

งานออกแบบกราฟกส่ิงพิมพทั่วไป ผลิตภัณฑของที่ระลึก และ

เครื่องแตงกาย ที่ใชเปนแบบอยางเพ่ือแสดงถึงการนําเอากราฟก

เอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏจนัทรเกษม ซ่ึง

ทั้งหมดไดบันทึก จัดเก็บ รวบรวมเปนแหลงขอมูล แสดงไวเปน

คูมอืการใชงานกราฟกเอกลักษณมาตรฐานสําหรบัมหาวิทยาลัย

ราชภัฏจนัทรเกษม จาํนวน 36 หนา พรอมแผนดีวีดีที่บันทึกไฟล

ตนแบบและไฟลประกอบ โดยจัดเก็บเปนชนิดไฟลตาม

มาตรฐานสากล ที่สามารถนําไปใชในการผลิตจริงไวทั้งหมด

ภาพที่1.ภาพสรปุรวมผลงานออกแบบกราฟกเอกลักษณ

มาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

Page 6: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

6

อภิปรายผล

การอภิปรายผลวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้คือ

1. จากสรปุผลการวิจยัทีพ่บวา ชุดแบบกราฟกเอกลักษณ

มาตรฐานมีจาํนวนแบบ 3 แบบอันไดแกแบบตราสัญลักษณ

ประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม( Chandra Seal) แบบ

อักษรยอจันทรา( Chandra Logo)และแบบเครือ่งหมายจนัทรา

(Chandra Mark) ซ่ึงการที่ผลงานออกแบบที่เปนขอสรุปตาม

สมมตฐิานประเดน็แรกออกมา มี 3 แบบคือตราสัญลักษณ แบบ

อักษรยอ และเครื่องหมายดังภาพแสดงขางตนนั้น ไดมีความ

สอดคลองตาม แนวคดิ และหลักการของการออกแบบกราฟก

เอกลักษณ ดังที่ไดตั้งเปนสมมติฐานเอาไวแตตน ตามที่ผูวิจัยได

ทาํการศกึษา วิเคราะห สังเคราะห ขึน้จากคณุลักษณะของแบบ

ตราสัญลักษณเดิมที่ปรากฏลักษณะการนําไปใชงานหรือการ

นําไปใชในกิจการงานตางๆของมหาวิทยาลัย โดยที่ตรา

สัญลักษณที่มีมาตรฐานนั้น จะเปนเครื่องมือส่ือบงช้ีและนําทางสู

การสรางภาพลักษณที่ดีใหแกองคกร ดังนั้นจึงควรออกแบบใหมี

ไวอยางนอย 3 รูปแบบเพื่อใหเหมาะสมกับการนําไปเปน

ตนแบบมาตรฐานหรือแนวทางการออกแบบประยุกตตอไปคือ

1.1 ตราสัญลักษณประจํามหาวิทยาลัย ( University Seal)

ควรเขียนและพัฒนาแบบตราขึ้นใหมใหถูกตอง และกําหนด

แบบไวเปนมาตรฐาน เพื่อเปนตัวแทนที่บงบอกฐานะความเปน

องคกร กิจการ และใชส่ือสารการรับรูที่เปนทางราชการอยาง

เครงครัด ใหเหมาะสมกับความเปน “ราชภัฏสัญลักษณ ”หรือ

แบบตราพระราชลัญจกร ในรชักาลที ่9 ที่ไดรับพระราชทานมา

และเปนอัตลักษณที่ยังไมสามารถเปล่ียนแปลงได ตราบใดที่

มหาวิทยาลัยยังไมเปล่ียนแปลงช่ือใหมที่แตกตาง

1.2 แบบอักษรยอประจํามหาวิทยาลัย( University

Logotype) ควรออกแบบไวใหใชเปนมาตรฐานที่แสดงใหเปนถึง

ความเปนกลุมมีพลัง ที่ใกลตัว เพ่ือแสดงแทนความมีบุคลิก

เฉพาะที่แตกตางจากตนกําเนิดที่เหมือนกัน เปนรหัสสําหรับการ

ส่ือสารภายในแบบก่ึงทางการ ใหเกิดการจดจําไดไวและรับรู ได

งาย อานไดเปนมาตรฐานสากล

1.3 แบบเครื่องหมายหรือสัญลักษณ( University Mark)

ควรออกแบบใหใชเปนแบบมาตรฐานกลางระดับกิจกรรมและ

การมีสวนรวมของบุคคลภายในองคกร เปนส่ือแสดงแทนสารที่

จะเช่ือมโยงใหเกิดการรับรูอยางงายๆ รวดเร็วทั้งระหวางองคกร

กับบคุคลภายในสังคม หรอืสาธารณะ สามารถการนาํไปปรบั

ประยุกตใชไดงายภายใตเงื่อนไขแหงการใชสัญลักษณเช่ือมโยง

รวมหรือยังคงแสดงถึงที่มาเดิม ซ่ึงผลงานดังกลาว ก็ไดรับการ

ยอมรบัจากกลุมผูเช่ียวชาญทางการออกแบบ กลุมนกัวิชาการ

จากภายนอกมหาวิทยาลัย และกลุมผูมีสวนไดสวนเสียของ

มหาวิทยาลัย อันไดแกกลุมผูบริหาร ผูแทนหนวยงาน อาจารย

ขาราชการ พนกังานเจาหนาที ่ศษิยเกาและนกัศกึษาปจจบุนัวา

โดยภาพรวมของคุณลักษณะกราฟกชุดนี้มีความเปนเอกลักษณ

มาตรฐานอยูในระดับมาก ซ่ึงการทําวิจัยแบบสนทนากลุม

ทางการออกแบบเฉพาะเรื่องนี้ก็นับวาเปนวิธีที่สอดคลองกับ

แนวคดิของ Morgan D.L.(2001) ที่กลาววาเปนวิธีวิจัยทางการ

ตลาด โดยการเลือกใชตวัแทนกลุมแบบเจาะจงของกลุม

ผูเช่ียวชาญ และใชการสนทนากลุมยอยมาใชซ่ึงอาจใชรวมกับ

แบบสอบถามเพ่ือสามารถรวบรวมขอสรุปเชิงลึกในประเด็น

ปญหาทีเ่ฉพาะเจาะจงในการสนทนาแตละครัง้ และผลงาน

ออกแบบที่ไดเปนขอสรุปนี้ก็ยังสอดคลองกับแนวคิดของ

Askegaard & Chirstensen,(2001) ทีก่ลาววา การทีผ่ลงานกราฟก

เอกลักษณที่สรางสรรคขึ้นมาไดรับการยอมรับและถูกนําไป

สรางสรรคใหเปนส่ือเอกลักษณองคกร นั้น ยอมจะมีบทบาทใน

การสรางความแตกตางในการรับรูถึงภาพลักษณองคกร ซ่ึงการมี

ภาพลักษณองคกรทีเ่หมาะสม จะสามารถสรางความแตกตาง

ใหกับสินคาและบริการ , เสริมสรางความภักดีใหแกองคกร ,

กระตุนการลงทุน , ดึงดูดบุคคลที่มีความสามารถเขามารวมงาน ,

และเปนการสรางแรงจูงใจใหกับพนักงานไดเปนอยางดี และ

ผลงานจากการทีม่กีารออกแบบพัฒนาคณุภาพใหมดวยการ

ปรับปรุงแบบกราฟกที่ดีกวา โดยมีจัดทําขอกําหนดมาตรฐาน

ตางๆทางคุณลักษณะขนาดสัดสวนและโครงสรางและเสนอแนะ

หรือกํากับวิธีการใชนั้น ก็นับเปนส่ิงที่องคกรที่ตั้งมานาน เม่ือช่ือ

และสัญลักษณที่ใชอยูนั้นลาสมัย เพราะสัญลักษณขององคกรมี

การใชงานมานานพอสมควร ดงันัน้จงึมีความความจาํเปนที่

จะตองมีการพัฒนารูปแบบ CI เสียใหม(สุมิตรา ศรีวิบูลย

2540:20-21) ทั้งนี้ก็เพ่ือใหเหมาะสมกับยุคสมัยและเทคโนโลยี

ของการออกแบบ มีความเหมาะสมกับระบบการผลิต ระบบการ

ส่ือสาร ระบบการผลิตภัณฑสินคาและบริการ และที่สําคัญที่สุด

ก็คือ เพ่ือการนําไปใชใหเกิดเปนมาตรฐานเดียวกันภายในของ

องคกรไดสะดวก ถูกตอง อยางเขาใจในความหมายและ

กอใหเกิดกิจกรรมเสริมภาพลักษณ เกิดการตีความที่ดี มีการ

นําไปพัฒนาตอเนื่องไดอยางเปนระบบ

2. จากผลการวิจัยและการออกแบบสรางสรรคชุดแบบ

ตัวอักษรและตัวพิมพเอกลักษณมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราช

ภัฏจันทรเกษม ทําใหไดชุดแบบตัวอักษรที่มีสัดสวนโครงสราง

ตามมาตรฐานของตัวอักษรไทย โดยไดกําหนดใชช่ือตระกูล

แบบตวัพิมพ( Font Family)เฉพาะวา ซีอารยู( CRU) อันไดแก

แบบตัวพิมพช่ือ CRU-Chandrakasem, CRU-LanChand และ

CRU-Rajabhat.Version 1.0 ซ่ึงไดติดตั้งและทดสอบรวมกับ

Page 7: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

7

ระบบปฏิบัติการวินโดวสและระบบแมคอินทอช มีการทดสอบ

ซํ้าและไดรวมทดลองใชงานรวมกับโปรแกรมประยุกต

สํานักงานและโปรแกรมดานคอมพิวเตอรกราฟกโดยไดรับความ

รวมมือในการนําไปใชทดสอบและไดผลตอบรับกลับเปนอยางดี

จากผูบรหิารของหนวยงาน อาจารย นกัศกึษา ศษิยเกาพนกังาน

เจาหนาที่ภายในมหาวิทยาลัย ตลอดทั้งผูเช่ียวชาญและนัก

ออกแบบ จากภาคเอกชน โดยมีเริม่มีการนาํแบบตวัอักษรไป

ทดลองใชงานจริงตามวัตถุประสงคเชิงประจักษจริงในการ

นําไปใชงานคือ แบบตัวอักษร CRU-Chandrakasem และCRU-

Rajabhat เปนแบบตัวอักษรประเภทตัวตกแตง( Display

Typeface) ทีน่าํไปใชเพ่ือการตกแตงขาวสาร เชนการนาํไปใช

เปนตัวเนนขอความสวนพาดหัวขาว ใชเปนช่ือหรือหัวขอสําคัญ

เพ่ือการเนน ยํ้า ส่ือแสดงและการเช่ือมโยงถึงที่มาเดิมและการ

รกัษาบคุลิกทีเ่ปนเอกลักษณเฉพาะของความเปน ราชภัฏ ในการ

รับรูของสังคมไดอยางตอเนื่อง โดยที่มีแบบตัวอักษรช่ือซีอารยู-

ลานจันทร( CRU-LanChand) ใหใชรวมเปนตัวจัดเรียงเนื้อหาที่

เปนเอกลักษณเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ดังที่

ผูวิจัยไดนํามาใชเปนแบบตัวเรียงพิมพแสดงเนื้อหาทั้งหมดใน

รายงานผลการวิจัยเลมนี้ และดังที่มีการนําแบบอักษรชุดดังกลาว

นี้ไปใชงานเพ่ือส่ือถึงเอกลักษณขององคกรแลวดังเชนในงาน

ประเภทกราฟกส่ือ-ส่ิงพิมพตางๆ อาทิเชน วารสารจันทรเกษม

สาร,จดหมายขาวจันทรกระจางฟา จดหมายขาวประจําคณะแผน

พับจากหนวยงานสาขาวิชา คูมอืประกันคณุภาพการศกึษา และ

เว็บไซตตางๆเก่ียวของกับภารกิจในวัตถุประสงคตามประกาศ

ของมหาวิทยาลัย

3. ผลจากการที่ไดวิจัยเพ่ือออกแบบพัฒนาตนแบบตรา

สัญลักษณ แบบตวัอักษร หรือตัวพิมพชุดซีอารยู-ราชภัฏสําเร็จ

นั้น ทําใหการออกแบบสรางสรรคผลงานกราฟกมีองคประกอบ

ครบสมบูรณเปนชุดมาตรฐานเดียวกัน ใชเปนองคประกอบหลัก

ในการบงช้ีถึงลิขสิทธ์ิในตัวผลงาน และทําใหสามารถนําไปเปน

องคประกอบหลักในการสรางสรรคตนแบบไฟลดิจิตัลที่มี

ลิขสิทธ์ิถูกตองตามกฏหมาย สามารถนําไปใชสราง จัดเก็บ คน

คนืและเผยแพรเปนผลงานออกแบบดานกราฟก(เรขศิลป)

ส่ิงพิมพ ผลิตภัณฑของที่ระลึก และเครื่องแตงกาย ฯลฯ เพ่ือใช

ส่ือแสดงถึงการนําเอากราฟกเอกลักษณมาตรฐาน เพ่ือเปนส่ือ

สรางเสริมเอกลักษณและภาพลักษณใหแกองคกร โดยได

รวบรวมผลงานที่ไดออกแบบสรางสรรคทั้งหมดไวเปนรูปเลม

เอกสารคูมือเอกลักษณองคกร ซ่ึงก็สอดคลองกับผลการวิจัยของ

ชลธิศา เที่ยวประดิษฐ(2550) ที่ไดสรุปผลออกแบบผลงานการ

ออกแบบเอกลักษณองคกรสําหรับโครงการโฮมสเตยมาตรฐาน

ไทย เปนรูปเลมเอกสารคูมือเอกลักษณองคกร เพ่ือเปนแบบอยาง

การนําไปใชงาน พรอมทั้งคําอธิบาย อยูในลักษณะแฟมหวงปก

แข็ง บรรจุเนื้อหา 52 หนา และแผนซีดีรอม จํานวน 1 เลม และ

ในการนาํเสนอเอกสารคูมอืการใชงานกราฟกเอกลักษณ

มาตรฐานสําหรับมหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม นั้น ผูวิจัยได

ออกแบบจัดทําเปนตนแบบไฟลอารตเวิรคสําเร็จรูปที่พรอม

นําไปดําเนินการพิมพออกมาเปนรูปเลมจํานวนนอยดวยระบบ

การพิมพแบบดิจิตัลส่ีสี( Color Digital Print Proof) และแยกสี

แมพิมพ เขาแทนพิมพจํานวนมากไดดวยระบบการพิมพออฟ

เซทส่ีสี(Color Offset Press) ในรูปเลมขนาดมาตรฐาน A4 (210

มม.x297 มม.) จํานวน 36 หนา หรือจํานวน 4 หนายก แยกปก

หนา-หลัง อีกทั้งไดนําเสนอเผยแพรไวเปนไฟลการพิมพผาน

ระบบอินเตอรเน็ต( Digital e-Publishing) ดวยไฟลมาตรฐาน

ประเภท. pdf และไฟลภาพ . jpegไวใหผูเขาใชงานดวยระบบ

สมาชิกของเว็บไซต www.chandrakasem.info สามารถดาวนไห

ลดไฟลมาตรฐานเหลานี้ลงไปใชงาน เพ่ือการติดตั้ง พิมพ

เผยแพร และใชอางอิงประกอบใชในเชิงวิชาการไดอกีชองทาง

หนึ่ง

ภาพที่2 .หนงัสือคูมอืการใชงานกราฟกเอกลักษณมาตรฐาน

สําหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะอันเปนผลจากการวิจัยและหรือสาระสืบเนื่อง

ในครั้งนี้ มีดังนี้คือ

Page 8: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

8

1 . ภาพลักษณที่ดีขององคกร คือเปาหมายที่ทุกองคกรอยากมี

และอยากได และเม่ือเกิดมีหรือไดแลวก็ตองหม่ันบํารุงรักษา

สถานภาพใหคงไวในภาวะความเปนปจจุบัน และทําใหดีย่ิงๆขึ้น

ในกาลอนาคต ซ่ึงส่ิงที่ซึมซับเอาภาวะความเปนจริงอันเปน

คุณลักษณะและความดีที่ปรากฏ หรือเปนส่ือกลางแทนคาการ

ตีความที่เปนนามธรรมเหลานี้ไดดีที่สุดก็คือ ตราสัญลักษณของ

องคกร ที่มีคุณลักษณะเปนวรรณกรรมทางการรับรู( Visual

Literacy) ที่ทําใหมองเห็นคุณคาแหงความคงที่

(Consistency)ความลงตัว( Firmness)ทีเ่ปยมดวยความหมาย

(Meaningful)ผานทางเสนสายสีสันลวดลายอันเปนวัจน

และอวัจนสัญลักษณ หรือที่มักเรียกวาเปนคุณลักษณะกราฟก

เอกลักษณเฉพาะขององคกรนั่นเอง ผลงานออกแบบสรางสรรค

ใดๆอันเกิดจากการวิจยัเรือ่งการออกแบบกราฟกเอกลักษณ

มาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมนี้ นับเปนผลการ

ดําเนินงานสวนหนึ่ง ซ่ึงผูวิจัยในฐานะที่เปนบุคลากรในองคกร

แหงนี้ไดเริ่มตน สรรค สรางและพัฒนา เพ่ือใหเกิดมีการ

ออกแบบอยางเปนระบบ( Design System)เกิดมีตนแบบ

มาตรฐาน( Master Blueprint)เกิดแบบแผนตวัอยาง( Design

Pattern) และไดวางแนวทาง( Roadmap) ดวยการใหผูที่มีสวนได

สวนเสียขององคกร ที่เปนตัวแทนประชากรสวนหนึ่ง ไดเขามามี

สวนรวมในกระบวนการพิจารณาตัดสินใจ โดยไดผานการ

ทดสอบและทดลองใชตามกระบวนวิธีการศึกษาวิจัยและ

ออกแบบสรางสรรคมาเปนระดับหนึ่ง และสรุปออกมาไวเปน

รูปแบบคูมือการใชงานและเอกสารเผยแพรประเภทตางๆในทุก

ชองทางการส่ือสารใหพรอมแลว กระบวนการอ่ืนที่ควร

ดําเนินการตอเนื่องนับแตนี้ไป ผูวิจัยขอฝากใหทุกคนในองคกร

นับตั้งแตผูบริหาร คณะกรรมการที่มีอํานาจระดับส่ังการ หัวหนา

งาน และบุคลากรที่เก่ียวของกับการกระทําหนาที่ รักษองคกร

ทุกทาน ควรตองมองเห็นคุณคา เห็นความสําคัญหรือเรงทําความ

เขาใจและการเอาใจใสตอการนาํไปใชงานกันอยางจรงิจงั ใชกนั

อยางถูกตอง ตามแนวทางแบบแผน ชวยกันระแวดระวังรักษา

และพัฒนาแบบตราสัญลักษณหรือกราฟกที่เก่ียวของกับความ

เปนเอกลักษณอยางมีสวนรวม หรือเย่ียงสินทรัพยอันมีคาของ

องคกรสืบไป

2 . มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ควรมีการรับรองแบบตรา

สัญลักษณและกราฟกเอกลักษณที่นําเสนอหรือมีการคัดกรองใช

อยางเปนทางการ ก่ึงทางการ และไมเปนทางการ โดยควรมี

หนวยงานรับผิดชอบติดตามตรวจสอบและพัฒนาโดยตรง หรือ

มีการประกาศ แจง จดลิขสิทธ์ิ( Copyrights) โดยเฉพาะตรา

สัญลักษณประจํามหาวิทยาลัย( University Seal)แบบอักษรยอ

(University Logotype) ชุดแบบตัวอักษรและตัวพิมพตระกูลซี

อารยูทั้ง 3 แบบ (Corporate Fonts) ซ่ึงอาจตราเปนขอกฎหมาย

ไวอยางเปนระบบ ตราเปนระเบียบการใชใหถูกตองเปน

มาตรฐานเฉพาะไว เชนเดียวกับเปนขอบังคับหรือสินทรัพยของ

มหาวิทยาลัย( University Assets) ทั้งนี้ก็เพ่ือใหมีผลตอการนําไป

ปฏิบัติ การนําไปผลิต การเผยแพรใชงานจริงรวมกับทรัพยสิน

และการบริการทั้งหมดทั้งปวง เกิดการบังคับใชทั้งในภาระกิจ

หลักภารกิจรองหรือกิจกรรมเสริมภาพลักษณใดๆทุกดานทุก

ระดับ ใหสมกับศักดิ์ศรีและฐานะความเปนมหาวิทยาลัยใน

ระบบบริหารราชการแหงรัฐ หรือเปนการเตรียมการที่จะพัฒนา

องคกรไปเปนมหาวิทยาลัยนอกระบบในอนาคต ที่ยังคงตอง

เช่ือมโยงประวัติศาสตรหรือที่มาขององคกร ตามเกียรติภูมิที่

ไดรบันามพระราชทานมาวา ราชภัฏ ทีย่นืยาวและคงเอกลักษณ

สืบไป

3 . มหาวิทยาลัยควรมีการจัดพิมพแผยแพร ประชาสัมพันธ

ใหการสนับสนุนงบประมาณในการผลิตสําเนาจากตนแบบ ส่ือ

แมแบบตัวอยางเพ่ือการแจกจายใหแกหนวยงานทุกระดับ

โดยตรงหรือจัดหาชองทางใหสามารถเขาถึงเขาใชไดจาก

ระยะไกลผานระบบอินเตอรเน็ต มีการจัดกิจกรรมสงเสริม การ

เผยแพรความรูความเขาใจ การจัดฝกอบรม การสรางเครือขาย

การจัดประกวด การพัฒนาตนแบบผลิตภัณฑสินคาและบริการ

อ่ืนๆ หรือใหการสนับสนุนการทําวิจัยตอเนื่องและเก่ียวเนื่องใน

การใชกราฟกเอกลักษณองคกร ทั้งในระดับผูเรียน ผูสอนหรือผู

มีสวนเก่ียวของในทุกระดับทั้งภายในและแพรกระจายออกสู

สังคม ทั้งนี้ก็เพ่ือเปนการสงเสริม เพ่ิมการยอมรับ ใหเกิดการรับรู

ในภาพลักษณและเอกลักษณทางสังคมไดอยางตอเนื่องทั่วถึง ให

เกิดความเช่ือม่ันรวมกันวา การสํานึกในความเปนเจาของแหง

ตราสัญลักษณอันทรงคุณคา ยอมนําพาการทํางานไปสูเปาหมาย

แหงตนและองคกรไดในที่สุด

บรรณานุกรม จันทรเกษม,มหาวิทยาลัยราชภัฏ.รายงานประจําป 2552.

กรงุเทพ : มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.มปป.

ชลธิศา เที่ยวประดิษฐ.การออกแบบเอกลักษณองคกรสําหรับ

โครงการโฮมสเตยมาตรฐานไทย.วิทยานพินธ

ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป,

มหาวิทยาลัยศลิปากร, 2545.

สุมิตรา ศรีวิบูลย. การออกแบบอัตลักษณ.พิมพครั้งที่ 2.

กรงุเทพฯ : คอรฟงช่ัน, 2547. Askegaard, S., & Chirstensen, L. T. (2001). “Corporate identity and corporate image Revisited : A semiotic perspective”. European Journal of Marketing, 35(3/4), 292-315. Morgan, C.L. Logos : Logo, Identity, Brand, Culture. Switzerland : RotoVision SA, 1999.

Page 9: 13 prachid-cru-cid-research-article-2-7-2011

9