กาพเห่เรือ1

2

Click here to load reader

Upload: prasatphinyo-fah

Post on 15-Apr-2017

157 views

Category:

Art & Photos


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: กาพเห่เรือ1

กาพยเ์ห่เรือ

นางสาวอาภัสรา

ปราสาทภิญโญ

รหัสนิสิต ๕๖๘๑๑๒๔๐๕๐ เลขท่ี ๑๘

คณะครุศาสตร์

สาขาวิชาภาษาไทย

มหาวิทยาลัยราชภัฏ

บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง

นกบินเฉียงไปทั้งหมู ่

ตัวเดียวมาพลัดคู่

เหมือนพี่อยู่ผู้เดียวดาย

บทเห่ชมนก กล่าวถึงนก ๑๐ ชนิด ไดแ้ก่

นกยูง นกสร้อยทอง นกสาลิกา นกนางนวล

นกแก้ว นกไกฟ่้า นกแขกเต้า นกดุเหว่า นกโนรี

และนกสตัวา

จากบทประพันธ์ข้างต้น กล่าวถึงนกที่บิน

สูงเฉียงไปทั้งฝูงแตม่ีอยู่ตวัหน่ึงต้องพลัดจากคู่

เหมือนกับพี่ที่ ต้องอยู่คนเดียว

บทเหค่รวญ

เสียงสรวลระร่ีนี้

เสียงแก้วพี่หรือเสียงใคร

เสียงสรวลเสียงทรามวัย

สุดสายใจพี่ตามมา

จากบทประพันธ์ข้างต้น กล่าวถึงเสียงหัวเราะนี้

เป็นเสียงแก้วใจพี่หรือเสียงใคร เสียงหัวเราะของนางผู-้

เป็นยอดรักเหมือนตามพีม่า

คุณค่าจากเรื่อง

ด้านวรรณศิลป ์

๑. ดีเด่นทางด้านการพรรณนาให้เห็นภาพ และให้

อารมณ์ความรู้สกึด ี

๒. ศิลปะการแตง่ดี มกีลวิธีพรรณนาโดยใช้การ

อุปมา การเล่นค า การใช้ค าที่แนะให้เห็นภาพ ค าที่ใช้เกิด

อารมณ์สะเทือนใจ

ด้านสังคม

๑. สะท้อนภาพชีวิตของคนไทยในปลายกรุงศรีอยุธยา

ที่ใช้การสัญจรทางน้ าเป็นส าคัญ เน่ืองจากประเทศไทยมี

แม่น้ าล าคลองมาก

๒. ให้ความรู้เกีย่วกับขบวนพยุหยาตราทางชลมารค

และประเพณีการเห่เรือ

๓. สะท้อนให้เห็นขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านยิม

และความเชื่อของคนไทย เช่น ค่านิยมเกีย่วกับความงาม

ของสตรวี่าจะต้องงามพร้อมทัง้รูปทรง มารยาท ยิม้แย้ม

แจ่มใส และพูดจาไพเราะ ความเชื่อเรื่องเวรกรรมตาม

หลักพระพุทธศาสนา เป็นต้น

Page 2: กาพเห่เรือ1

ผูแ้ต่ง : เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง)

ลักษณะค าประพนัธ ์ : แตง่เป็นกาพย์ห่อโคลง มีโคลงสี่สุภาพน า ๑บท เรียกว่าเกริ่นเห่ และตามด้วยกาพย์ยานี ๑๑

จดุประสงคใ์นการประพนัธ ์ : ใช้เห่เรือเล่นในคราวเสด็จฯ โดยทางชลมาครเพื่อไปนมัสการพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี

การด าเนนิเรือ่ง : ด าเนนิเรื่องภายในเวลา ๑ วัน คือ เช้าชมกระบวนเรือ สายชมปลา บ่ายชมไม้ เย็นชมนก กลางคืนเป็นบทครวญ

เรือครุฑยุดนาคหิ้ว

ลิ่วลอยมาพาผันผยอง

พลพายกรายพายทอง

ร้องโห่เห่โอ้เห่มา

บทเหช่มเรอืกระบวน

บทเหช่มกระบวนเรอื กล่าวถงึเรอืทัง้หมด ๑๓ ชนิด

ไดแ้ก่ เรอืสมรรถไชย เรอืไกรสรมุข เรอืสวุรรณหงส ์ เรอืชยั

เรอืครุฑยุดนาค เรอืนาคา เรอืมา้ เรอืวาสกุร ี เรอืคชสหี ์

เรอืราชสหี ์ เรอืมงักร เรอืเลยีงผา และเรอืนกอนิทร ี

จากบทประพนัธข์า้งตน้กล่าวถงึเรอืครุฑยุดนาค ทีม่ี

พลทหารก าลงัพายเรอือย่างเป็นจงัหวะพรอ้มกบัเปล่งเสยีง

โห่รอ้ง บทเหช่มปลา

นวลจันทร์เป็นนวลจริง

เจ้างามพริ้งยิ่งนวลปลา

คางเบือนเบือนหน้ามา

ไม่งามเท่าเจ้าเบือนชาย

บทเห่ชมปลา กล่าวถึงปลาทังหมด ๑๗ ชนดิ

ได้แก่ ปลาแกม้ช้ า ปลาน้ าเงิน ปลากราย ปลาหางไก่

ปลาสร้อย ปลาเน้ืออ่อน ปลาเสือ ปลาหวีเกศ ปลาแปบ

ปลาชะวาด ปลาชะแวง ปลานวลจันทร์ ปลาคางเบือน

ปลากระแห ปลาตะเพยีน และปลาเคล้าด า

จากค าประพันธ์ข้างต้นกล่าวถงึปลานวล-

จันทร์ทีม่ีสีนวลกว่าปลาตวัอ่ืนๆปลาคางเบือนหันหน้า

มายังไม่สวยเท่าเวลาที่น้องหันหน้ามามองพี่

บทเหช่มไม ้

ประยงค์ทรงพวงห้อย

ระย้าย้อยห้อยพวงกรอง

เหมือนอุบะนวลลออง

เจ้าแขวนไว้ให้เรียมชม

บทเห่ชมไม้ กล่าวถึงพรรณไม้ ๑๕ ชนิด

ได้แก่ ดอกนางแย้ม ดอกจ าปา ดอกประยงค์

ดอกพดุจีบ ดอกพกิุล ดอกสกุรม ดอกสายหยดุ

ดอกพุทธชาด ดอกบุนนาค ดอกเต็ง ดอกแต้ว

ดอกแกว้ ดอกกาหลง ดอกมะลิวัลย์ และดอก-

ล าดวน

จากบทประพันธ์ข้างต้นกล่าวถงึดอก

ประยงค์ที่ห้อยกันเป็นพวงดูแลว้ก็เหมือนอุบะที่

ห้อยพวงมาลยัที่นางท าแขวนไวใ้ห้ผู้ชายชื่นชม

บทเหช่มนก