1/59 21 0 r -...

21
วาระการประชุม คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที1/59 วันพฤหัสบดีที21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เวลา 13.00 น. ห้อง R3907 ชั้น 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า ___________________________________________________________ วาระที่ 1 เรื่องเพื่อทราบ 1.1 รายชื่อผู้ลาการประชุม 1.2 แนวทางการจัดการความรู้ปีการศึกษา 2559 1.3 ร่าง แผนการจัดการความรู2559 วาระที่ 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที8/2558 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 ข้อสรุปจาก โครงการ manuscript writing วาระที่ 4 เรื่องพิจารณา - วาระที่ 5 อื่นๆ -

Upload: others

Post on 07-Mar-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 1/59 วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เวลา 13.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

___________________________________________________________ วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ 1.1 รายชื่อผู้ลาการประชุม

1.2 แนวทางการจัดการความรู้ปีการศึกษา 2559 1.3 ร่าง แผนการจัดการความรู้ 2559

วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที่ 8/2558 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 ข้อสรุปจาก โครงการ manuscript writing วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา - วาระท่ี 5 อ่ืนๆ -

Page 2: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

รายงานการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 1/59 วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เวลา 13.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

__________________________________________________________________ รายนามผู้เข้าร่วมการประชุม

1. ผศ.ดร. ศิลปชัย สุวรรณธาดา ที่ปรึกษา 2. อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนกุรรมการ 3. อาจารย์ณัฐฐาพร อะวิลัย อนุกรรมการ 4. อาจารย์วรรธนะ ทรัพย์ประเสริฐ อนุกรรมการ 5. อาจารย์พงษ์ศักดิ์ เชิงขุนทด อนุกรรมการ 6. อาจารย์ปฐมพร สมบัติทวี อนุกรรมการ 7. อาจารย์ชาคริต วรประทีป อนุกรรมการ 8. อาจารย์ไพจิตรา ศรีวิเศษ อนุกรรมการและเลขานุการ

เริ่มการประชุม เวลา 13.00 น. อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนกุรรมการการจัดการความรู้ กล่าวเปิดการประชุม

วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ 1.1 รายช่ือผู้ลาการประชุม เลขานุการฯ แจ้งที่ ที่ประชุมว่าอนุกรรมการเข้าประชุมครบทุกท่าน 1.2 แนวทางการจัดการความรู้ปีการศึกษา 2559 อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนุกรรมการการจัดการความรู้ ชี้แจงให้ที่ประชุมทราบว่า ปีการศึกษา 2559 จะด าเนินการจัดการความในสองประเด็นคือ เทคนิคการตีพิมพ์ผลงานวิจัย และด้านการเรียนการสอนจะใช้แนวปฏิบัติโครงการโรงแรมกีฬาและการบูรณาการกรเรียนการสอน ซึ่งได้รับการรับรอง และรับทราบโดยทั่วกันของคณาจารย์ 1.3 ร่าง แผนการจัดการความรู้ 2559 ร่าง แผนการด าเนินการปี 2559 มีเป้าหมายการจัดการความ เพ่ิมมา 1 เรื่อง คือ การทวนสอบผลการศึกษา รวมแล้วจะมีโครงการจัดการความรู้ใน 3 ประเด็น ซึ่งเป็นการต่อยอดมาจากการด าเนินการเมื่อปีการศึกษา ที่ผ่านมา ที่ประชุมรับทราบ

Page 3: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที่ 8/2558 เลขานุการฯ แจ้งที่ ที่ประชุมว่า ให้อนุกรรมการทุกท่านตรวจสอบความถูกต้องของรายงานครั้งที่ผ่านมา และแจ้งจะส่งเอกสารอนุกรรมทุกท่านทางอีเมล์ เพ่ือจะได้รับทราบ วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 ข้อสรุปจาก โครงการ manuscript writing หลังจากการจัดโครงการ manuscript writing แล้วสามารถสรุปความรู้ได้ดังนี้ ความรู้ที่ได้จากการจัดโครงการ: “เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย manuscript” KM tools: CoP, Dialogue, Knowledge forum โดย ผศ.ดร.ศิลปชัย สวุรรณธาดา และ ดร.บุญศักดิ์ หล่อพิพัฒน์

1) ตัวอย่างงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนานนาชาติ (publication) มักมีสิ่งใหม่และนวัตกรรม 2) ศึกษา หาข้อมูลแหล่งตีพิมพ์ หรือข้อมูลวารสารนั้นๆ ต้องเข้าใจอันดับแรกว่า วารสารต้องการ

งานวิจัยประเภทใดที่สามารถน ามาตีพิมพ์ กล่าวคือ วารสารเล่มนี้เขาขายอะไร เพราะต้องท าวารสารนั้นเพ่ือตอบโจทย์ผู้อ่าน เช่น ผู้อ่านกลุ่มทั่วไป สุขภาพ กีฬา หรือผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม นักวิจัย วิชาการ สถานศึกษา เพราะวารสารเหล่านี้อยู่ได้เพราะขายเนื้อหาเหล่านี้ และรายได้อีกทางหนึ่งก็คือ ค่าธรรมเนียม นอกจากนี้ยังมีวารสารที่ไม่เสียค่าธรรมเนียม

3) ยกตัวอย่าง งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ (journal of exercise physiology online, JEP online) โดยมีข้อสังเกตว่า งานวิจัยที่ได้ตีพิมพ์นี้ มีจุดเด่นที่ส าคัญที่สามารถท าให้บรรณาธิการของวารสารนั้นตอบรับงานวิจัย คือ งานวิจัยที่มี “นวัตกรรม” เมื่อขยายข้อความนี้ สามารถกล่าวได้ว่า งานวิจัยที่มี กรอบแนวคิดที่ดีและมีนวัตกรรม สามรถน าส่งเพ่ือตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติได้ ซึ่งจะมีโอกาสได้รับการตอบรับการตีพิมพ์สูง

4) หลักเกณฑ์การตีพิมพ์ ขึ้นอยู่กับรูปแบบที่วารสารก าหนดไว้ 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอย่างจากวารสาร journal of exercise physiology online (JEP online)

เช่น บทคัดย่อต้อง ไม่เกิน 10 บรรทัด โดยมีเนื้อหาที่กระชับ ครอบคลุมกรอบแนวคิด (conceptual framework)

6) บทคัดย่อนี้ไปได้มีความจ าเป็นหรือไม่ควรมีเนื้อที่เกี่ยวกับวิธีการวิจัย (methods) เพราะส่วนนั้นจะต้องเขียนอยู่ในส่วนของวิธีวิจัยอยู่แล้ว หากแต่การเขียนบทคัดย่อควรให้มีเนื้อหาบอกหรือน าเสนอกรอบแนวคิดที่ท าวิจัยนี้ คืออะไร บอกจุดเด่นที่ต้องการน าเสนอ เช่น เป็นนวัตกรรมใหม่แต่ไม่ต้องบอกวิธี เพียงแค่หรืออาจบอกในท านองที่ว่างานวิจัยในอดีตที่ผ่านมามีจุดผิดพลาดหรือจุดที่สามารถท าได้ดีกว่างานวิจัยในอดีตนั้น หรือกล่าวถึง rational ของงานวิจัยนี้เลย ในส่วนท้ายของบทคัดย่ออาจกล่าวเพียงสรุปผลการวิจัยในภาพรวมเป็นอย่างไร

7) ส าหรับค าศัพท์ (key word) กล่าวคือ อะไรที่อยู่หรือเป็นชื่อในหัวข้อ หรือชื่องานวิจัย (article title) ไม่ควรใส่เป็น Key word

8) การตั้งชื่อเรื่องของรายงานการวิจัย ต้องตั้งชื่อ article title ที่สามารถบอกได้ว่าเป็นงานใหม่หรือเก่า เพราะชื่อเรื่องส าคัญและเป็นตัวบ่งบอกถึงความน่าสนใจของงาน และดึงดูดให้น่าติดตามหรือน่าอ่าน และยังมี

Page 4: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

ผลต่อการตอบรับการตีพิมพ์ หลักการตั้งชื่อ คือ ไม่ควรตั้งชื่อด้วยค าขึ้นต้นว่า “การศึกษา… หรือ a study of ” เพราะชื่อหรือประโยคนี้ไม่น่าสนใจ

9) ส่วนของบทน า ควรบอกที่มาที่ไปของงานวิจัย บอกข้อมูลภูมิหลัง (background) และปัญหาวิจัย (problem research)

10) การเขียน “manuscript” สามรถน าข้อมูลจากงานวิจัยนั้น มาเขียนรายงานวิจัยได้เลย โดยไม่ต้องถึงข้ันที่ว่างานวิจัยนั้นเสร็จสมบูรณ์

11) การลอกงานวิจัย (plagiarism) ยกตัวอย่าง “ไส้กรอก” หากมีการซอยงานชิ้นเดียวแล้วเขียนใหม่ ถือเป็นการ plagiarism หรือการท าวิจัยหรืออ้างอิงที่ไม่ถูกต้อง เช่น ไม่อ้างอิงงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะงานของตนเอง หรือการน าเอางานที่เคยได้รับหรือน าเสนอมาแล้วมาแก้ไขใหม่ (revise) แล้วน าไปขอตีพิมพ์อีกครั้ง ในกรณีที่มีงานวิจัยร่วมกันงานของผู้วิจัยร่วมและใช้คนละตัวแปรที่สนใจศึกษา แล้วน าข้อมูลตรงนั้นมาน าเสนอหรือตีพิมพ์ ถือว่าไม่เป็นการลอก

12) บทสรุปในรายงานการวิจัย (manuscript) อาจมีบทแนะน าและที่บอกแนวทางในการศึกษาครั้งต่อไป (suggestion or further study) ที่สามารถท างานวิจัยต่อยอดได้ อาจชี้แจงว่าหากวิจัยต่อยอดในแนวทางนี้อาจได้ผลที่ดีขึ้นอีก อาจใส่เนื้อหาที่มีแนวทางบอกกล่าวว่า หากท าใครท าวิจัยต่อในด้านนี้ที่คล้ายคลึงกัน อาจเข้าข่ายเป็นการลอก (plagiarism)

13) การเขียน manuscript ส่งตีพิมพ์วารสารนานาชาติ ปัญหาใหญ่คือ เขียนเป็นภาษาอังกฤษแล้วผู้วิจารณ์อ่านแล้วไม่เข้าใจ “Poor English language or grammar”

14) เรื่อง ค าศัพท์/ชื่อองค์กร/ชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทยไม่ตรงกัน การเขียนภาษาไทยและแปลเป็นอังกฤษ (translate) อาจไม่ได้ผลที่ดีนัก เพราะหลายครั้งแปลไม่ได้ความหมายหรือไม่ได้ศัพท ์

15) สิ่งส าคัญอีกเรื่องคือ กรณีการลอกงานวิจัย (plagiarism) หากพบ จะถูกตีตก (reject) ไม่ได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ ที่ประชุมมีความคิดท านองเดียวกันคือ อยากให้สรุปเป็นแนวปฏิบัติอย่างกระชับ เพื่อจะเป็นการท าให้คณาจารย์มีแนวคิด และแรงจูงใจท าให้ท างานวิจัยได้ ที่ประชุมรับทราบ วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา - วาระท่ี 5 อ่ืนๆ -

ปิดการประชุม 15.00 ผู้สรุปการประชุม อาจารย์ไพจิตรา ศรี วิ เศษ

Page 5: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 2/59 วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559 เวลา 13.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

___________________________________________________________ วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ

1.1 Flow chart จากการโครงการ KM (manuscript) วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที่ 1/2559 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 ความรู้ด้าน sport hotel จากท่านคณบด ี วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา - วาระท่ี 5 อ่ืนๆ

Page 6: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

รายงานการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 2/59 วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559 เวลา 13.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

__________________________________________________________________ รายนามผู้เข้าร่วมการประชุม

1. ผศ.ดร. ศิลปชัย สุวรรณธาดา ที่ปรึกษา 2. อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนุกรรมการ 3. อาจารย์ณัฐฐาพร อะวิลัย อนุกรรมการ 4. อาจารย์วรรธนะ ทรัพย์ประเสริฐ อนุกรรมการ 5. อาจารย์พงษ์ศักดิ์ เชิงขุนทด อนุกรรมการ 6. อาจารย์ปฐมพร สมบัติทวี อนุกรรมการ 7. อาจารย์ชาคริต วรประทีป อนุกรรมการ 8. อาจารย์ไพจิตรา ศรีวิเศษ อนุกรรมการและเลขานุการ

เริ่มการประชุม เวลา 13.00 น.

อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนุกรรมการการจัดการความรู้ กล่าวเปิดการประชุม วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ 1.1 รายช่ือผู้ลาการประชุม ความรู้ทีจ่ากการโครงการ KM (manuscript)

ผศ.ดร. ศิลปชัย สุวรรณธาดา ถ่ายทอดประสบการณ์ และอธิบายแผนผังเทคนิคการด้านการตีพิมพ์ ดังนี้

1. สร้างงานวิจัยให้มีจุดแข็ง เช่น นวัตกรรม/ ข้อมูลที่น่าสนใจ ร่วมสมัย แล้วเขียนลงในบทความของเรา และงานของเราต้องพิสูจน์ได้ว่า มีความตรงและเที่ยง 2. เลือกวารสารที่ตีพิมพ์ให้เหมาะสมกับประเภทงานหรือบทความวิจัย/วิชาการ เพราะจะได้รับการพิจาณา ปัจจุบันมีวารสารมากมาย 3. เขียนบทความตามรูปแบบของวารสารที่ก าหนดไว้ให้ถูกต้อง 4. กรณีการเขียนบทความลงวารสารนานชาติ ภาษาอังกฤษต้องมีการเขียนให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์และใช้ประโยคที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นทางการตามหลักวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ต้องใช้ความสามารถและความละเอียดสูง เพราะจุดนี้เป็นสิ่งส าคัญว่า จะสื่อสาร แสดงข้อมูลที่น่าสนใจจากงานของเราได้หรือไม่ จากประสบการณ์หากเขียนได้ดีในข้ันต้นอาจไม่ได้รับการตอบรับ

Page 7: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที่ 1/2559 เลขานุการฯ แจ้งที่ ที่ประชุมว่า ให้อนุกรรมการทุกท่านตรวจสอบความถูกต้องของรายงานครั้งที่ผ่านมา และแจ้งจะส่งเอกสารอนุกรรมทุกท่านทางอีเมล์ เพ่ือจะได้รับทราบ

วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 ความรู้ด้าน sport hotel จากท่านคณบด ีจากการด าเนินกระบวนการจัดการความรู้ โดยท่านคณบดี คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ไก้ให้ความรู้เกี่ยวกับประเด็นการจัดการโครงการโรงแรมกีฬา สรุปเป็นข้อมูล KM ได้ดังนี้

คลังความรู้เรื่องที่ 1 โครงการโรงแรมกีฬา (Sportel)

KM tools: storytelling เรื่องเล่าเร้าใจโดย ผศ.ดร.เฉลิม ชัยวัชราภรณ์

ผศ.ดร.เฉลิม ชัยวัชราภรณ์ คณบดี คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา กล่าวว่า จากองค์ประกอบของคณะฯ ที่มี 2 สาขาวิชา ทั้งด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาและด้านการจัดการกีฬา เมื่อพิจารณาโครงสร้างขององค์กรแล้ว คณะวิชาฯสามารถด าเนินการด้านกีฬาและสุขภาพได้ครบวงจร ในรูปแบบของโรงแรมกีฬา เช่น ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา (สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา) สามารถจัดโปรแกรมอาหาร โปรแกรมการฝึก การวิเคราะห์และออกแบบการฝึก ทดสอบสมรรถภาพ เป็นต้น อีกส่วนหนึ่งคือ การจัดการกีฬา (สาขาวิชาการจัดการกีฬาและนันทนาการเพื่อสุขภาพ) สามรถด าเนินการได้ทั้ง การติดต่อประสานงาน กระบวนการตอนรับ ดูแลที่พัก รายการอาหาร สิ่งอ านวยสามสะดวก การดูแลผู้เข้าพักและนักกีฬาที่มาเก็บตัวในรูปแบบที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลักสุขอนามัยทางกีฬา หากวิเคราะห์ตามหลักการของ SWOT analysis แล้ว จะเห็นว่า องค์กรของเราสามารถให้บริการด้านกีฬาอย่างครบวงจร โดยจะยกตัวอย่าง เชิงบวก เช่น จุดแข็ง กับ โอกาส ดังนี้ จุดแข็ง

- คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มีบุคลากร ทั้งด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาและด้านการจัดการกีฬา - อยู่ใกล้สนามบินสุวรรณภูมิ - อยู่ใกล้องค์กรกีฬา เช่น การกีฬาแห่งประเทศไทย - คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา สังกัด มหาเกษมบัณฑิต ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน มีการจัดการที่มีความ

คล่องตัวสูง มีสิ่งอ านวยความสะดวกทั้งด้านที่อยู่อาศัย และด้านกีฬา - มหาวิทยาลัยมีนโยบายสนับสนุนด้านการกีฬา

โอกาส - ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยอยู่ในเขตเชื่อมต่อบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิและองค์กรกีฬา - การเก็บตัวฝึกซ้อมของทีมกีฬา ช่วง pre-season ทั้งฟุตบอลและฟุตซอล ของทีมอ่ืนๆ มีโอกาสจะ

เลือกสถานที่ของเรา อันเป็นผลมาความสัมพันธ์ของทีมกีฬาและ ทีมกีฬาของมหาวิทยาลัย เนื่องจากมหาวิทยาลัย เกษมบัณฑิต มีทีมกีฬาทั้งสองประเภท

- ไม่มีความเสี่ยงด้านการลงทุนเพ่ิม เนื่องจากมีสิ่งอ านวยความสะดวกพร้อมแล้ว ทั้งบุคลากร ที่พัก สิ่งอ านวยความสะดวก ส่วนวิธีการปฏิบัตินั้น สามารถช่วยันสังเคราะห์ ออกมาเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดีได้

Page 8: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

อยากให้คณาจารย์ทุกท่านได้น าประสบการณ์ที่คณะฯได้ด าเนินการ โครงการโรงแรมกีฬากับทีมฟุตบอล

Global Cyber University เมื่อปีการศึกษา 2558 เป็นบทเรียนรู้สู่การก าหนดแนวปฏิบัติที่ดี เพ่ือจะน าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างสมบูรณ์ทั้งด้าน บุคลากร กระบวนการ และบรรลุเป้าหมาย สิ่งส าคัญองค์กรของคณะยังประกอบด้วย นักศึกษาที่จะเป็น Manpower ได้เป็นอย่างดี ตรงนี้หากบูรณการได้ชัดเจน จะการพัฒนาศักยภาพให้แก่ทุกคนในองค์นี้

วาระที่ 4 เรื่องพิจารณา - วาระท่ี 5 อ่ืนๆ

ปิดการประชุม 15.00 ผู้สรุปการประชุม อาจารย์ไพจิตรา ศรี วิ เศษ

Page 9: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 3/59 วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

___________________________________________________________ วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ

1.1 โครงการ US Sport camp

วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที่ 2/2559 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 กระบวนการ Change management process วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา วาระท่ี 5 อ่ืนๆ

Page 10: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

รายงานการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 3/59 วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

__________________________________________________________________ รายนามผู้เข้าร่วมการประชุม

1. ผศ.ดร. ศิลปชัย สุวรรณธาดา ที่ปรึกษา 2. อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนุกรรมการ 3. อาจารย์ณัฐฐาพร อะวิลัย อนุกรรมการ 4. อาจารย์วรรธนะ ทรัพย์ประเสริฐ อนุกรรมการ 5. อาจารย์พงษ์ศักดิ์ เชิงขุนทด อนุกรรมการ 6. อาจารย์ปฐมพร สมบัติทวี อนุกรรมการ 7. อาจารย์ชาคริต วรประทีป อนุกรรมการ 8. อาจารย์ไพจิตรา ศรีวิเศษ อนุกรรมการและเลขานุการ

เริ่มการประชุม เวลา 13.00 น. อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนุกรรมการการจัดการความรู้ กล่าวเปิดการประชุม

วาระท่ี 1 เรื่องเพ่ือทราบ 1.1 โครงการ US Sport camp มีโครงการโรงแรมกีฬา หรือแบบค่ายกีฬา ในที่ 11-13 พฤศจิกายน 2559 ออกให้ทีม KM ของคณะฯเข้าสังเกตการณ์ เพ่ือน ามาประยุกต์กับองค์ของเรา ที่ประชุม: รับทราบ วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที่ 2/2559 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 กระบวนการ Change management process

Page 11: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

คลังความรู้เรื่องที่ 2 โครงการโรงแรมกีฬา “ สโมสรฟุตบอล Global Cyber University, Korea)

KM tools: Lesson lean, storytelling เรื่องเล่าเร้าใจโดย: อาจารย์ณัฐฐาพร อะวิลัย อาจารย์ณัฐฐาพร อะวิลัย หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา และรักษาการหัวหน้าสาขาวิชาการจัดการกีฬาและนันทนาการเพ่ือสุขภาพ เล่าประสบการณ์โครงการโรงแรมกีฬา ที่ได้ด าเนินการมาแล้ว เมื่อวันที่ 5 มกราคม ถึง วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 รวมเวลา 29 วัน สรุปได้ดังนี้

- เหตุผลที่ สโมสรฟุตบอล Global Cyber University เลือกมาเก็บตัวที่ประเทศไทย เพราะเป็นช่วงฤดูหนาวในประเทศเกาหลี (อุณหภูมิเฉลี่ยติดลบ ท าให้ไม่สามารถฝึกซ้อมได้)

- มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มีความพร้อม ทั้งด้าน บุคคล และสิ่งอ านวยความสะดวก และอยู่ใกล้สนามบิน

- โครงการนี้ส าเร็จได้เพราะมีการ Advocate ผู้บริหารของมหาวิทยาลัยและของคณะฯ - ด าเนินการตามหลักการ PDCA - ด าเนินการตามหลัก 4M - Man power คณะวิชาได้ใช้ ทรัพยากรบุคคล ของคณะฯ ทั้ง อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา

บูรณาการเพ่ือให้งานด าเนินการได ้- นักศึกษา ได้ประสบการณ์จริง ในรูปแบบการท างานในทีมกีฬา (มีองค์ประกอบหลากหลาย ทั้งด้าน

วิทยาศาสตร์และการจัดการ ได้ทั้งศาสตร์และศิลป์) - อาจารย์ได้แนวคิดในการจัดการเรียนการสอน ทั้งชี้น าให้เห็นแนวทาง วิธีปฏิบัติ ทั้งภาพ เล็ก กลาง

ใหญ่ (micro meso macro) จากการเล่าเรื่องของ อาจารย์ณัฐฐาพร ยังสามารถรับทราบ ข้อเสนอแนะ และแนวทางที่จะปรับปรุง

ให้งานด าเนินงานได้มีปะสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน อาทิ ฝ่ายประสานงาน

- ได้รับทราบข้อมูลการเริ่มต้นโครงงาน ซึ่งเป็นช่วงปีใหม่ ท าให้ฝ่ายที่นับการแจ้ง ภาระงาน ทั้งฝ่ายที่พัก วัสดุ ยานพานะ ต้องเร่งรีบ ท าให้มีเบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ จากทางส่วนกลางได้ไม่ครบถ้วน

ด้านอาหารและเครื่องดื่ม - ทางสโมสร กีฬา ไม่ได้แจ้ง รายการอาหารไว้ จึงท าให้ไม่สามารถเตรียมวัตถุดิบในการท าอาหารได้

เพียงพอและถูกต้องตามความต้องการ รวมทั้งกระทบงบประมาณด้านนี้ วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา - วาระท่ี 5 อ่ืนๆ - ปิดการประชุม 15.45 ผู้สรุปการประชุม อาจารย์ไพจิตรา ศรี วิ เศษ

Page 12: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 4/59 วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

___________________________________________________________ วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ - วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม 3/59 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 การแลกเปลี่ยนความรู้ เพ่ือเป็นกระบวนการหนึ่งในกรอบด าเนินงาน change management process วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา วาระท่ี 5 อ่ืนๆ

Page 13: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

รายงานการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 4/59 วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

___________________________________________________________ วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ - วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม 3/59 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 การแลกเปลี่ยนความรู้ เพ่ือเป็นกระบวนการหนึ่งในกรอบด าเนินงาน

คลังความรู้เรื่องท่ี 1 Manuscript Writing

KM tools: CoP, Dialogue, Knowledge forum โดย ผศ.ดร.ศิลปชัย สวุรรณธาดา และ ดร.บุญศักดิ์ หล่อพิพัฒน์ สรุปการจัดการความรู้ที่ได้จากการจัดโครงการ: “เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย manuscript”

1) ตัวอย่างงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนานนาชาติ (publication) มักมีสิ่งใหม่และนวัตกรรม 2) ศึกษา หาข้อมูลแหล่งตีพิมพ์ หรือข้อมูลวารสารนั้นๆ ต้องเข้าใจอันดับแรกว่า วารสารต้องการ

งานวิจัยประเภทใดที่สามารถน ามาตีพิมพ์ กล่าวคือ วารสารเล่มนี้เขาขายอะไร เพราะต้องท าวารสารนั้นเพ่ือตอบโจทย์ผู้อ่าน เช่น ผู้อ่านกลุ่มทั่วไป สุขภาพ กีฬา หรือผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม นักวิจัย วิชาการ สถานศึกษา เพราะวารสารเหล่านี้อยู่ได้เพราะขายเนื้อหาเหล่านี้ และรายได้อีกทางหนึ่งก็คือ ค่าธรรมเนียม นอกจากนี้ยังมีวารสารที่ไม่เสียค่าธรรมเนียม

3) ยกตัวอย่าง งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ (journal of exercise physiology online, JEP online) โดยมีข้อสังเกตว่า งานวิจัยที่ได้ตีพิมพ์นี้ มีจุดเด่นที่ส าคัญที่สามารถท าให้บรรณาธิการของวารสารนั้นตอบรับงานวิจัย คือ งานวิจัยที่มี “นวัตกรรม” เมื่อขยายข้อความนี้ สามารถกล่าวได้ว่า งานวิจัยที่มี กรอบแนวคิดที่ดีและมีนวัตกรรม สามรถน าส่งเพ่ือตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติได้ ซึ่งจะมีโอกาสได้รับการตอบรับการตีพิมพ์สูง

4) หลักเกณฑ์การตีพิมพ์ ขึ้นอยู่กับรูปแบบที่วารสารก าหนดไว้ 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอย่างจากวารสาร journal of exercise physiology online (JEP online)

เช่น บทคัดย่อต้อง ไม่เกิน 10 บรรทัด โดยมีเนื้อหาที่กระชับ ครอบคลุมกรอบแนวคิด (conceptual framework)

Page 14: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

6) บทคัดย่อนี้ไปได้มีความจ าเป็นหรือไม่ควรมีเนื้อที่เกี่ยวกับวิธีการวิจัย (methods) เพราะส่วนนั้นจะต้องเขียนอยู่ในส่วนของวิธีวิจัยอยู่แล้ว หากแต่การเขียนบทคัดย่อควรให้มีเนื้อหาบอกหรือน าเสนอกรอบแนวคิดที่ท าวิจัยนี้ คืออะไร บอกจุดเด่นที่ต้องการน าเสนอ เช่น เป็นนวัตกรรมใหม่แต่ไม่ต้องบอกวิธี เพียงแค่หรืออาจบอกในท านองที่ว่างานวิจัยในอดีตที่ผ่านมามีจุดผิดพลาดหรือจุดที่สามารถท าได้ดีกว่างานวิจัยในอดีตนั้น หรือกล่าวถึง rational ของงานวิจัยนี้เลย ในส่วนท้ายของบทคัดย่ออาจกล่าวเพียงสรุปผลการวิจัยในภาพรวมเป็นอย่างไร

7) ส าหรับค าศัพท์ (key word) กล่าวคือ อะไรที่อยู่หรือเป็นชื่อในหัวข้อ หรือชื่องานวิจัย (article title) ไม่ควรใส่เป็น Key word

8) การตั้งชื่อเรื่องของรายงานการวิจัย ต้องตั้งชื่อ article title ที่สามารถบอกได้ว่าเป็นงานใหม่หรือเก่า เพราะชื่อเรื่องส าคัญและเป็นตัวบ่งบอกถึงความน่าสนใจของงาน และดึงดูดให้น่าติดตามหรือน่าอ่าน และยังมีผลต่อการตอบรับการตีพิมพ์ หลักการตั้งชื่อ คือ ไม่ควรตั้งชื่อด้วยค าขึ้นต้นว่า “การศึกษา… หรือ a study of ” เพราะชื่อหรือประโยคนี้ไม่น่าสนใจ

9) ส่วนของบทน า ควรบอกที่มาที่ไปของงานวิจัย บอกข้อมูลภูมิหลัง (background) และปัญหาวิจัย (problem research)

ปิดการประชุม 15.00 ผู้สรุปการประชุม อาจารย์ไพจิตรา ศรี วิ เศษ

Page 15: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 5/59 วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เวลา 15.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

___________________________________________________________ วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ - วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม 4/59 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 การแลกเปลี่ยนความรู้ เพ่ือเป็นกระบวนการหนึ่งในกรอบด าเนินงาน

วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา วาระท่ี 5 อ่ืนๆ

Page 16: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

รายงานการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 5/59 วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เวลา 15.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

___________________________________________________________ วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ - วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม 3/59 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 การแลกเปลี่ยนความรู้ เพ่ือเป็นกระบวนการหนึ่งในกรอบด าเนินงาน

รูปแบบการเผยแพร่บทความวิจัย: โดยทั่วไปแล้วการเผยแพร่ผลงานวิจัยนั้นสามารถแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ 1. การเผยแพร่ในงานประชุมวิชาการ เป็นรูปแบบการเผยแพร่ผลงานไปยังผู้ที่สนใจซึ่งเป็นรูปแบบที่

ง่ายและรวดเร็ว โดยจะมีการก าหนดช่วงระยะเวลาที่ชัดเจนแน่นอน แต่ผลงานที่เผยแพร่อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับในวงกว้างเท่าที่ควร ซึ่งการเผยแพร่ผลงานมี 2 ลักษณะ คือ รูปแบบของโปสเตอร์ (poster) และพรีเซ้นต์ปากเปล่า (oral) ซึ่งงานประชุมวิชาการนี้เหมาะส าหรับพบปะ แลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นกันระหว่างกลุ่มนักวิจัย และเพ่ือสร้างเครือข่ายนักวิจัยใหม่ ๆ

2. การเผยแพร่ในวารสารวิชาการ เป็นรูปแบบการเผยแพร่งานวิจัยที่ได้รับการยอมรับและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ซึ่งวารสารวิชาการนั้นจะต้องมีระยะการตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ ซึ่งอาจพิจารณาได้จากค่า impact factor ของวารสารนั้น ๆ โดยจะต้องมีกระบวนการตรวจพิจารณาผลงานจากคณะผู้เชี่ยวชาญ สาหรับแต่ละสาขานั้น ๆ โดยเฉพาะ (Peer review) ซึ่งผู้วิจัยสามารถที่จะลงทะเบียนและส่งต้นฉบับผลงานเข้าสู่กระบวนการพิจารณาเพ่ือประเมินคุณภาพของผลงาน โดยบรรณาธิการจะเป็นผู้แจ้งผลการพิจารณามาให้ผู้วิจัยทราบ

อาจารย์วรรธนะ ทรัพย์ประเสริฐ ได้ใช้แนวทางปฏิบัติด้านการจัดการโรงแรมกีฬา จากคลังความรู้ที่ 3

ด าเนินการโครงการ “โรงแรมกีฬากับนักกีฬาโทรลบอล (Throw ball)” ตัวแทนจากประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 13 ถึง 17 มกราคม 60 ผ่านมา อาจารย์ได้สรุปแนวทางบริหารจัดการโครงสร้างและการปฏิบัติงาน โดยใช้นักศึกษาบูรณาการเข้าร่วมทุกหน่วยงาน ดังนี้

Page 17: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

ปิดการประชุม 15.00 ผู้สรุปการประชุม อาจารย์ ไพจิตรา ศรี วิ เศษ

Page 18: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 6/59 วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

___________________________________________________________ วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ - วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที่ 5/2559 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 สรุปองค์ความรู้ วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา วาระท่ี 5 อ่ืนๆ

Page 19: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

รายงานการประชุม

คณะอนุกรรมการ การจัดการความรู้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ครั้งที่ 6/59 วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.00 น.

ห้อง R3907 ช้ัน 9 อาคารเกษมทัศนา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตวิทยาเขตร่มเกล้า

__________________________________________________________________ รายนามผู้เข้าร่วมการประชุม

1. ผศ.ดร. ศิลปชัย สุวรรณธาดา ที่ปรึกษา 2. อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนุกรรมการ 3. อาจารย์ณัฐฐาพร อะวิลัย อนุกรรมการ 4. อาจารย์วรรธนะ ทรัพย์ประเสริฐ อนุกรรมการ 5. อาจารย์พงษ์ศักดิ์ เชิงขุนทด อนุกรรมการ 6. อาจารย์ปฐมพร สมบัติทวี อนุกรรมการ 7. อาจารย์ชาคริต วรประทีป อนุกรรมการ 8. อาจารย์ไพจิตรา ศรีวิเศษ อนุกรรมการและเลขานุการ

เริ่มการประชุม เวลา 13.00 น. อาจารย์พรชัย ลีน้อย ประธานอนุกรรมการการจัดการความรู้ กล่าวเปิดการประชุม

วาระท่ี 1 เรื่องเพื่อทราบ - วาระท่ี 2 รับรองการประชุม 2.1 รับรองการประชุม ครั้งที่ 5/2559 วาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 สรุปองค์ความรู้ องค์ความรู้ด้านการเรียนการสอน ที่ได้จากการจัดการความรู้

อาจารย์พรชัย ลีน้อย ได้จัดการสัมมนา สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการด าเนินการโครงการโรงแรมกีฬา

การถ่ายทอดประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติตามแผนและโครงสร้างของทีม จากคลังความรู้ที่ 5 เรื่อง/ประเด็น สามารถสรุปเป็นแนวทางปฏิบัติส าหรับการจัดโครงการโรงแรมกีฬาและการบูรณาการกับการเรียนการสอน ดังนี้

1. ให้ความส าคัญและบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยค านึงถึงองค์ประกอบขององค์กรของตนเอง ในที่นี้ คณะวิทยาสาสตร์การกีฬา มีคณาจารย์และนักศึกษา 2 สาขาวิชา

Page 20: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

2. ประยุกต์สิ่งอ านวยความสะดวกขององค์กรที่ตนมีอยู่เพื่อใช้ในการด าเนินงาน คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา สังกัด มหาเกษมบัณฑิต ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน มีการจัดการที่มีความคล่องตัวสูง มีสิ่งอ านวยความสะดวกท้ังด้านที่อยู่อาศัยและด้านกีฬา

3. ใช้การจัดการและการสื่อสารที่ดี จัดตั้งโครงสร้างให้เป็นระบบตามคลบังความรู้ที 3 ปรับปรุงตลอดเวลาเพ่ือให้ได้แนวทางจัดการที่ดี จนได้ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติ ดังเช่น คลังความรู้เรื่องที่ 6 ที่ได้เกิดจากการกลั่นกรอง จากกระบวนการจัดการความรู้ผ่านการใช้เครื่องทางการจัดการความแบบต่างๆ

แนวทางการปฏิบัติงานด้านโรงแรมกีฬาที่ดีจะเป็นการท าให้องค์มีความพร้อมและสามารถเป็น excellent

center ได้อีกด้วย อีกทั้งได้พัฒนาทั้งอาจารย์และนักศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ 1) บรรลุเป้าหมายของงาน 2) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน 3) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กร สรุปองค์ความรู้ด้านวิจัย ที่ได้จากการจัดการความรู้

อาจารย์พรชัย ลีน้อย ได้จัดการประชุมย่อยของอนุกรรมการการจัดการความรู้ของคณะฯ ได้สรุปองค์

ความรู้ที่ได้จากการถ่ายทอดประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงาน ร่วมกับการปรับปรุงคลังความรู้ที่ 1 ,2 และ 3 สามารถสรุปเป็นแนวทางปฏิบัติส าหรับการจัดท าบทความวิจัยเพื่อขอตีพิมพ์เผยแพร่ เป็น“4 เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ/นานาชาติ” ดังนี้

4. ให้ความส าคัญ สร้างงานวิจัยให้มีจุดแข็ง หรือจุดที่น่าสนใจ เช่น นวัตกรรม/ ข้อมูลที่น่าสนใจ ร่วมสมัย และงานของเราต้องพิสูจน์ได้ว่า มีความตรงและเท่ียง

5. เลือกวารสารที่ตีพิมพ์ให้เหมาะสมกับประเภทงานหรือบทความวิจัย/วิชาการ เพราะจะได้รับการพิจาณา ปัจจุบันมีวารสารมากมายที่ครอบคลุมคณาจารย์ทั้งสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา และการจัดการกีฬา ร่วมกว่า 10,000 วารสาร โดยเลือกแหล่งตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยต้องสอดคล้องกับหัวข้อและนโยบายของวารสารนั้นๆ

6. เขียนบทความตามรูปแบบของวารสารที่ก าหนดไว้ให้ถูกต้อง 7. กรณีการเขียนบทความลงวารสารนานชาติ ภาษาอังกฤษต้องมีการเขียนให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

และใช้ประโยคที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นทางการตามหลักวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ต้องใช้ความสามารถและความละเอียดสูง เพราะจุดนี้เป็นสิ่งส าคัญว่า จะสื่อสาร แสดงข้อมูลที่น่าสนใจจากงานของเราได้หรือไม่ จากประสบการณ์หากเขียนได้ดีในข้ันต้นอาจไม่ได้รับการตอบรับ

- การเลือกวารสารต่างประเทศเพ่ือตีพิมพ์ควรเลือกวารสารที่มีค่า impact factor น้อย ๆ ก่อนเพราะโดยปกติแล้วจะรู้ผลการพิจารณาได้เร็วกว่าวารสารที่มีค่า impact factor สูง ๆ ซึ่งหลังจากที่ได้รับค าแนะน าจากคณะกรรมการผู้พิจารณาผลงาน ( reviewer) แล้ว ผู้วิจัยจะต้องน าค าแนะน าหรือข้อเสนอแนะมาพิจารณาปรับปรุงแก้ไขผลงานให้มีคุณภาพมากขึ้น เพ่ือที่จะได้สามารถส่งผลงานไปยังวารสารที่มีระดับคุณภาพที่สูงขึ้นต่อไป

- เมื่อผลงานได้รับการปฏิเสธ ให้ผู้วิจัยพิจารณาปรับแก้ผลงานตามข้อเสนอแนะเพ่ือส่งไปให้กรรมการผู้พิจารณาผลงานพิจารณาใหม่หรือสามารถท่ีจะส่งไปยังวารสารอ่ืน

Page 21: 1/59 21 0 R - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตss.kbu.ac.th/home/pdf/KM-2559/05.pdf · 2017. 8. 15. · 5) ในที่นี้วิทยากรยกตัวอยางจากวารสาร

วาระท่ี 4 เรื่องพิจารณา - วาระท่ี 5 อ่ืนๆ -

ปิดการประชุม 15.00 ผู้สรุปการประชุม อาจารย์ไพจิตรา ศรีวิเศษ