ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ o-net (ครูติ่ง)

13
92 สารและสมบัติของสาร บทที1 สารชีวโมเลกุล คือ สารที่มี C และธาตุ H เปนองคประกอบ มีขนาดใหญและพบในสิ่งมีชีวิตเทานั้น มี 4 ประเภท ไดแก 1. ไขมัน และนํ้ามัน ประกอบดวยธาตุ C H O มีหนาที่ดังนีปองกันการสูญเสียนํ้า ชวยทําใหผิวชุมชื้น ปองกันการสูญเสียความรอน ชวยทําใหรางกายอบอุชวยใหผมและเล็บมี สุขภาพดี ชวยละลายวิตามิน A D E K (ไขมัน 1 กรัม ใหพลังงาน 9 กิโลแคลอรี ) ไขมัน เปนสารไตรกลีเซอไรด ซึ่งเกิดจากกรดไขมัน 3 โมเลกุล กับ กลีเซอรอล 1 โมเลกุล กรดไขมันไมอิ่มตัว + กาซออกซิเจน ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นหืน แสดงวา นํ้ามันพืช จะเกิดกลิ่นเหม็นหืนไดงาย แตในธรรมชาติจะมีวิตามินE ซึ่งเปนสารตานหืน การผลิตสบู จากปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน ไดจาก การตมไขมันกับเบส (โซเดียมไฮดรอกไซด / NaOH) 2. โปรตีน ( C H O N ) มีหนาทีชวยเสริมสรางการเจริญเติบโตและซอมแซมเนื้อเยื่อ ชวยรักษาสมดุลนํ้าและกรด-เบส เปน สวนประกอบของเอนไซม ฮอรโมน เลือด และภูมิคุมกัน (1 กรัม ใหพลังงาน 4 KCal) หนวยยอย คือ กรดอะมิโน มีทั้งหมด 20 ชนิด แบงเปน กรดอะมิโนที่จําเปน มี 8 ชนิด ซึ่งรางกายสรางไมได ตองกินจากอาหารเขาไป กรดอะมิโนที่ไมจําเปน มี 12 ชนิด ซึ่งรางกายสามารถสังเคราะหไดเอง การแปลงสภาพโปรตีน คือ การที่ทําให โครงสรางของโปรตีนถูกทําลาย เชน แข็งตัว เมื่อไดรับความรอน เมื่อไดรับสารละลายกรด-เบส เมื่อไดรับไอออนของโลหะหนัก คุณคาทางชีววิทยา หมายถึง คุณภาพของโปรตีนที่นํามาสรางเปนเนื้อเยื่อได(ไข 100%) 3. คารโบไฮเดรต ( C H O ) มีหนาที่ดังนี- เปนแหลงพลังงานหลักของคน (1 กรัมใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี) แบง 3 ประเภท ดังนี3.1 มอโนแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ) แบงเปน นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C 5 H 10 O 5 เรียกวา ไรโบส นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C 6 H 12 O 6 เชน กลูโคส ฟรุกโตส ( ฟรักโตส ) กาแลกโทส 3.2 ไดแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลคู ) กลูโคส + กลูโคส = มอลโทส พบในขาว เมล็ดพืช ใช ในการทําเบียร อาหารทารก กลูโคส + ฟรุกโตส = ซูโครส หรือ นํ้าตาลทราย พบมากในออย กลูโคส + กาแลกโทส = แลกโทส พบมากในนํ้านม 3.3 พอลิแซ็กคาไรด (นํ้าตาลโมเลกุลใหญ ) แปง เกิดจากกลูโคสหลายพันโมเลกุลมาตอกัน แบบสายยาวและแบบกิ่ง พบมากในพืช - รางกายคนยอยสลายไดดวยเอนไซมที่มีในนํ้าลาย (อะไมเลส) เซลลูโลส เกิดจากกลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุล ตอกันแบบสายยาว เปนเสนใยพืช - รางกายคนยอยสลายไมได ชวยกระตุนใหลําไส ใหญเคลื่อนไหว ทําใหอุจจาระออนนุไกลโคเจน เกิดจากกลูโคสเปนแสนถึงลานโมเลกุลมาตอกันแบบกิ่ง พบในคนและสัตว ที่ตับและกลามเนื้อ เปนแหลง พลังงานสํารอง โดยจะสลายกลับคืนเปนกลูโคส เมื่อรางกายขาดแคลนพลังงาน กรดไขมัน อิ ่มตัว ไมอิ่มตัว จํานวนอะตอมไฮโดรเจน มาก นอย จุดหลอมเหลว สูงกวา 25 C ตํ่ากวา 25 C สถานะ ของแข็ง ของเหลว แหลงที่พบมาก ไขมันสัตว นํ้ามันพืช พันธะระหวางคารบอน เดี่ยว คู ความวองไวตอปฏิกิริยา นอย มาก เตรียมสอบวิทยาศาสตร (O-NET) .กรกฤช ศรีวิชัย

Upload: viewil

Post on 12-Nov-2014

386 views

Category:

Education


0 download

Tags:

DESCRIPTION

Credit : http://www.youtube.com/watch?v=1xfruQILfXU

TRANSCRIPT

Page 1: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

92

สารและสมบัติของสารบทที่ 1 สารชีวโมเลกุล คือ สารที่มี C และธาตุ H เปนองคประกอบ มีขนาดใหญและพบในสิ่งมีชีวิตเทาน้ัน มี 4 ประเภท ไดแก 1. ไขมัน และน้ํามัน ประกอบดวยธาตุ C H O มีหนาที่ดังน้ี ปองกันการสูญเสียน้ํา ชวยทําใหผิวชุมชื้น ปองกันการสูญเสียความรอน ชวยทําใหรางกายอบอุน ชวยใหผมและเล็บมีสุขภาพดี ชวยละลายวิตามิน A D E K (ไขมัน 1 กรัม ใหพลังงาน 9 กิโลแคลอรี ) ไขมัน เปนสารไตรกลีเซอไรด ซึ่งเกิดจากกรดไขมัน 3 โมเลกุล กับ กลีเซอรอล 1 โมเลกุล

กรดไขมันไมอิ่มตัว + กาซออกซิเจน ทําใหเกิดกล่ินเหม็นหืน แสดงวา น้ํามันพืช จะเกิดกลิ่นเหม็นหืนไดงาย แตในธรรมชาติจะมีวิตามินE ซึ่งเปนสารตานหืน การผลิตสบู จากปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน ไดจาก การตมไขมันกับเบส (โซเดียมไฮดรอกไซด / NaOH) 2. โปรตีน ( C H O N ) มีหนาที่ ชวยเสริมสรางการเจริญเติบโตและซอมแซมเนื้อเยื่อ ชวยรักษาสมดุลน้ําและกรด-เบส เปนสวนประกอบของเอนไซม ฮอรโมน เลือด และภูมิคุมกัน (1 กรัม ใหพลังงาน 4 KCal)หนวยยอย คือ กรดอะมิโน มีทั้งหมด 20 ชนิด แบงเปน • กรดอะมิโนท่ีจําเปน มี 8 ชนิด ซึ่งรางกายสรางไมได ตองกินจากอาหารเขาไป • กรดอะมิโนท่ีไมจําเปน มี 12 ชนิด ซึ่งรางกายสามารถสังเคราะหไดเอง การแปลงสภาพโปรตีน คือ การที่ทําให โครงสรางของโปรตีนถูกทําลาย เชน แข็งตัว เมื่อไดรับความรอน เมื่อไดรับสารละลายกรด-เบส เมื่อไดรับไอออนของโลหะหนัก คุณคาทางชีววิทยา หมายถึง คุณภาพของโปรตีนที่นํามาสรางเปนเน้ือเยื่อได(ไข 100%) 3. คาร โบไฮเดรต ( C H O ) มีหนาที่ดงัน้ี - เปนแหลงพลังงานหลักของคน (1 กรัมใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี) แบง 3 ประเภท ดังน้ี 3.1 มอโนแซ็กคาไรด ( น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว ) แบงเปน • น้ําตาลที่มีสูตรเปน C

5H

10O

5 เรียกวา ไรโบส

• น้ําตาลที่มีสูตรเปน C6H

12O

6 เชน กลูโคส ฟรุกโตส ( ฟรักโตส ) กาแลกโทส

3.2 ไดแซ็กคาไรด ( น้ําตาลโมเลกุลคู ) • กลูโคส + กลูโคส = มอลโทส พบในขาว เมล็ดพืช ใช ในการทําเบียร อาหารทารก • กลูโคส + ฟรุกโตส = ซูโครส หรือ น้ําตาลทราย พบมากในออย • กลูโคส + กาแลกโทส = แลกโทส พบมากในน้ํานม 3.3 พอลิแซ็กคาไรด (น้ําตาลโมเลกุลใหญ ) • แปง เกิดจากกลูโคสหลายพันโมเลกุลมาตอกัน แบบสายยาวและแบบกิ่ง พบมากในพืช - รางกายคนยอยสลายไดดวยเอนไซมที่มีในน้ําลาย (อะไมเลส) • เซลลูโลส เกิดจากกลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุล ตอกันแบบสายยาว เปนเสนใยพืช - รางกายคนยอยสลายไมได ชวยกระตุนใหลําไส ใหญเคลื่อนไหว ทําใหอุจจาระออนนุม • ไกลโคเจน เกิดจากกลูโคสเปนแสนถึงลานโมเลกุลมาตอกันแบบก่ิง พบในคนและสัตว ที่ตับและกลามเนื้อ เปนแหลงพลังงานสํารอง โดยจะสลายกลับคืนเปนกลูโคส เมื่อรางกายขาดแคลนพลังงาน

กรดไขมัน อิ่มตัว ไมอิ่มตัว จํานวนอะตอมไฮโดรเจน มาก นอย จุดหลอมเหลว สูงกวา 25 ๐C ตํ่ากวา 25 ๐C สถานะ ของแข็ง ของเหลว แหลงที่พบมาก ไขมันสัตว น้ํามันพืช พันธะระหวางคารบอน เดี่ยว คู ความวองไวตอปฏิกิริยา นอย มาก

เตรียมสอบวิทยาศาสตร (O-NET)อ.กรกฤช ศรีวิชัย

Page 2: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

93

4. กรดนิวคลีอิก ( C H O N P ) มีหนวยยอย เรียกวา นิวคลีโอไทด DNA ประกอบดวย นิวคลีโอไทด มาเชื่อมตอกันเกิดเปนสายยาว 2 สายพัน กันเปนเกลียว โดยเกาะกันดวยคูไนโตรเจนเบสที่เฉพาะเจาะจง คือ อะดีนีน (A) กับ ไทมีน (T) กวานีน (G) กับ ไซโตซีน (C)

บทที่ 2 ปโตรเลียม เกิดจาก ซากพืชซากสัตวที่ตายทับถม แลวถูกยอยสลาย เกิดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน 2.1 น้ํามันปโตรเลียม ประเทศไทยพบครั้งแรกท่ี อ.ฝาง จ.เชียงใหม และตอมาพบที่ อ.ลานกระบือ จ.กําแพงเพชร การกล่ันน้ํามันปโตรเลียม เรียกวา การกล่ันลําดับสวน โดยใชความรอน 350-400 oC จะไดผลิตภัณฑ เรียงตามลําดับจากจุดเดือดตํ่าไปสูง ดังน้ี มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เบนซิน กาด ดีเซล หลอลื่น เตา ไข ยางมะตอย 2.2 กาซธรรมชาติ ประเทศไทยพบบริเวณอาวไทยและมีมากในเชิงพาณิชย และพบที่ อ.น้ําพอง จ.ขอนแกน สวนใหญเปนกาซมีเทน รอยละ 80-95 ปฏิกิริยาการเผาไหม คือ ปฏิกิริยาระหวางสารไฮโดรคารบอนกับกาซออกซิเจน แบงเปน - การเผาไหมที่สมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O

2 มากเพียงพอ จะได CO

2 และ H

2O ซึ่งจะไมมีเถาถาน และเขมา

- การเผาไหมไมสมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2 นอย จะได CO ซึ่งจะไปจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ทําใหรางกายเกิด

การขาดออกซิเจน อาจเกิดอาการหนามืด เปนลมหรือเสียชีวิตได 2.3 เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน - กาซมีเทน (CH

4) ใช ในการผลิตกระแสไฟฟา ใช ในรถปรับอากาศเครื่องยนตยูโร-2

- กาซหุงตม ประกอบดวย กาซโพรเพน (C3H

8) และกาซบิวเทน (C

4H

10) ที่ถูกอัดดวยความดันสูง จนมีสถานะเปนของเหลว

เรียกวา LPG (Liquid Petroleum Gas) เลขออกเทน เปนตัวเลขบอกคุณภาพของน้ํามันเบนซิน โดยกําหนดให ไอโซออกเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมดี ทําใหเครื่องยนตเดินเรียบ มีเลขออกเทน 100 นอรมอลเฮปเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมไมดี ทําใหเครื่องยนตกระตุก มีเลขออกเทน 0 - น้ํามันดีเซล บอกคุณภาพโดยใชเลขซีเทน

บทที่ 3 พอลิเมอร คือ สารที่มีขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของสารขนาดเลก็ (มอนอเมอร) จํานวนมาก 3.1 พลาสติก แบงเปน • เทอรมอพลาสติก มีโครงสรางแบบโซตรงหรือโซก่ิง ยืดหยุน และโคงงอได เมื่อไดรับความรอนจะออนตัว สามารถเปลี่ยนรูปรางกลับไปมาได เพราะสมบัติไมมีการเปลี่ยนแปลง • เทอรมอเซต มีโครงสรางแบบตาขาย มีความแข็งแรงมาก เมื่อไดรับความรอนจะไมออนตัว แตจะเกิดการแตกหัก ไมสามารถเปลี่ยนรูปรางได เพราะสมบัติมีการเปลี่ยนแปลง 3.2 ยาง แบงเปน • ยางธรรมชาติ เกิดจากมอนอเมอร คือ ไอโซพรีน รวมตัวกันเปนพอลิไอโซพรีน ดังน้ีมีความยืดหยุน ทนตอแรงดึงทนตอการขัดถู ทนน้ํา น้ํามันพืชและสัตว แตไมทนน้ํามันเบนซินและตัวทําละลายอินทรีย เมื่อไดรับความเย็นจะแข็งและเปราะ แตเมื่อไดรับความรอนจะออนตัวและเหนียว • ยางสังเคราะห (ยางเทียม) เชน : ยาง IR (Isoprene Rubber) มีโครงสรางเหมือนยางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนนอย คุณภาพสมํ่าเสมอ : ยาง SBR (Styrene - Butadiene Rubber) ทนตอการขัดถูแตไมทนตอแรงดึง ใชทําพื้นรองเทา สายยาง

บทที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี เกิดจาก สารเริ่มตน เขาทําปฏิกิริยากัน แลวทําใหเกิดสารใหม เรียกวา ผลิตภัณฑ 4.1 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน - ปฏิกิริยาการเผาไหมของถานหิน จะมีกํามะถัน (S) เมื่อเผาไหมกํามะถันจะทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนทําใหเกิดกาซซัลเฟอรไดออกไซดและเมื่อทําปฏิกิริยากับน้ําฝน ทําใหเกิดกรดกํามะถัน/กรดซัลฟวริก (ฝนกรด) - การเผาไหมเชื้อเพลิงในเคร่ืองยนต จะเกิดกาซ NO

2 กลายเปนฝนกรดไนตริกได

- ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก (Fe2O

3) เกิดจาก ปฏิกิริยาระหวางเหล็กกับกาซออกซิเจน

- ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (ผงฟู) ดวยความรอนจะไดกาซ CO2 และ H

2O

- สารไฮโดรเจนเปอรออกไซด เมื่อไดรับแสงและความรอน จะสลายตัว ดังน้ัน จึงตองเก็บไว ในท่ีมืด - ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO

3) ดวยความรอน ไดปูนขาว (CaO) ใช ในการผลิตปูนซีเมนต

- ปฏิกิริยาระหวางหินปูนกับกรดไนตริก / กรดซัลฟวริก ทําใหสิ่งกอสรางสึกและเกิดหินงอกหินยอย

Page 3: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

94

บทที่ 5 ธาตุและสารประกอบ พันธะเคมี คือ แรงยึดเหน่ียวระหวางอะตอมของธาตุ โดยแบงเปน - พันธะไอออนิก : เกิดจากโลหะกับอโลหะ เชน NaCl CaO - พันธะโควาเลนซ : เกิดจากอโลหะกับอโลหะ เชน H

2 Cl

2 CO

2 CH

4 ธาตุหมู 1A และ 2A เปนโลหะ เปนของแข็ง จุดเดือด / จุดหลอมเหลวสูง นําไฟฟาได ธาตุหมู 1A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 1 จึงหลุดออกงาย ทําใหมีประจุ +1 เชน Na+ มีความวองไวตอปฏิกิริยาสูงมาก ลุกไหมไดอยางรวดเร็ว เกิดปฏิกิริยากับน้ํารุนแรง ธาตุหมู 2A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 2 จึงสูญเสียไดงาย ทําใหมีประจุ +2 เชน Mg2+ ธาตุหมู 7A (Halogen) เปนอโลหะ อยูเปนโมเลกุลมี 2 อะตอม เชน F

2 Cl

2 Br

2 I

2 At

2 • มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 7 จึงสามารถรับอิเล็กตรอนไดอีก 1 กลายเปนไอออนประจุ -1 • มีความวองไวตอปฏิกิริยาเคมีมาก ธาตุหมู 8A เปนอโลหะ มีสถานะเปนกาซ อยูเปนอะตอมอิสระ : He Ne Ar Kr Xe Rn • มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 8 จึงมีความเสถียรมาก ไมวองไวตอปฏิกิริยาเคมี จึงเรียกวา กาซเฉื่อย โลหะแทรนซิชัน เปนโลหะ มีสมบัติกายภาพเหมือนโลหะหมู 1A / 2A แตสมบัติเคมีแตกตางกัน ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติบางประการคลายโลหะและบางประการคลายอโลหะ เชน อะลูมิเนียม (Al) มีความหนาแนนต่ํา จึงแข็งแรงแตน้ําหนักเบา นําไฟฟา/ความรอนดี เชน บอกไซด :ใชทําโลหะอะลูมิเนียม อุปกรณไฟฟา เครื่องครัว หออาหาร คอรันดัม หรือ อะลูมิเนียมออกไซด : ทําอัญมณีที่มีสีตามชนิดของโลหะแทรนซิชัน สารสม (Al(SO

4)2 . 12H

2O) : ใช ในการทําน้ําประปาหรือกวนน้ําใหตกตะกอน

ซิลิกอน (Si) - อะตอมยึดตอกันดวยพันธะโคเวเลนซ ในรูปโครงผลึกรางตาขาย เปนสารก่ึงตัวนํา ใชทําแผงวงจรไฟฟาและอุปกรณไฟฟา ธาตุกัมมันตรังสี คือ ไอโซโทปของธาตุที่มีนิวตรอนตางจากโปรตอนมากๆ ทําใหไมเสถียร จึงสลายตัว โดยปลดปลอยรังสีออกมา ซึ่งตรวจหาและวัดรังสี โดยใชไกเกอรมูลเลอรเคานเตอร

การเคลื่อนที่และพลังงานบทที่ 1 การเคลื่อนที่ แบงเปน 4 ประเภท ดังน้ี 1.1 การเคลื่อนที่แนวตรง : เปนการเคลื่อนที่ ที่ไมมีการเปลี่ยนทิศทาง การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวระดับ • อัตราเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางระยะทางกับเวลา • ความเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางกระจัดกับชวงเวลา ( กระจัด คือ ระยะทางที่สั้นที่สุด) • ความเรง หาไดจาก ความเร็วที่เปลี่ยนไปกับเวลาที่เปลี่ยนแปลง (เมตรตอวินาที 2 ) การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวด่ิง ภายใตแรงโนมถวงของโลก (แนวดิ่ง) ใชสูตร V = U + g t 1.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล : เปนการเคลื่อนที่เปนเสนโคงพาราโบลา เชน การโยนของจากเครื่องบิน การโยนลูกบาสเกตบอลเขาหวง การขวางกอนหิน การยิงธนู การตีลูกกอลฟ 1.3 การเคลื่อนที่แบบวงกลม : เกิดจากเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลม เชน การเหวี่ยงหมุนของบนศีรษะ การเลี้ยวของรถ การขี่มอเตอรไซคไตถัง การโคจรของดวงดาว 1.4 การเคล่ือนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย : เปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา ซํ้าทางเดิมในแนวด่ิง โดยมุมที่เบนจากแนวดิ่งจะมีคาคงที่เสมอ เชน การแกวงของชิงชา การแกวงของลูกตุมนาฬกา

บทที่ 2 สนามของแรง คือ บริเวณที่มีแรงกระทําตอวัตถุ แบงเปน 3 ประเภท 2.1 สนามแมเหล็ก คือ บริเวณที่มีแรงแมเหล็กกระทํา จะมีทิศจากขั้วเหนือไปยังขั้วใตของแทงแมเหล็ก เมื่อใหกระแสไฟฟาไหลผานขดลวดตัวนํา ที่วางตัด (ตั้งฉาก) กับสนามแมเหล็กสม่ําเสมอ จะมีแรงแมเหล็กกระทํา ทําใหขดลวดตัวนําเคลื่อนที่ได นําไปใชสรางมอเตอรไฟฟา กรณีตรงขาม ถาหมุนขดลวดตัวนําใหตั้งฉากกับสนามแมเหล็กสม่ําเสมอ จะทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้น เรียกวา กระแสไฟฟาเหน่ียวนํา ซึ่งคนพบโดย ไมเคิล ฟาราเดย และนําไปสรางเครื่องกําเนิดไฟฟา สนามแมเหล็กโลก โลกเสมือนมีแมเหล็กฝงอยูใต โลก โดยขั้วโลกเหนือ ทําหนาที่เปน ขั้วใตของแมเหล็ก ขั้วโลกใต ทําหนาที่เปน ขั้วเหนือของแมเหล็ก ทําหนาที่ เปนโลปองกันลมสุริยะ 2.2 สนามไฟฟา คือ บริเวณที่มีแรงไฟฟา กระทํา จะมีทิศจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของขั้วไฟฟา - อนุภาคที่มีประจุบวก (โปรตอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วบวกไปยังขั้วลบ

Page 4: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

95

- อนุภาคที่มีประจุลบ (อิเล็กตรอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปยังขั้วบวก หลักการน้ีนําไปใช ในการทําเครื่องกําจัดฝุน โดยเมื่อฝุนละอองผานเขาไปในเครื่อง ฝุนเล็กๆ จะรับประจุไฟฟาลบจากขั้วลบของเครื่อง และจะถูกดูดติดแนนโดยแผนข้ัวบวกของเครื่อง 2.3 สนามโนมถวง คือ บริเวณที่มีแรงโนมถวงกระทํา ทําใหเกิดแรงดึงดูดวัตถุ พุงเขาสูศูนยกลางโลก ณ ผิวโลก แรงโนมถวงมีคา 9.8 นิวตันตอ กิโลกรัม แตจะมีคาลดลงไปเรื่อยๆ เมื่ออยูในระดับสูงขึ้นไปจากผิวโลกเรื่อยๆ แรงโนมถวงของโลกที่กระทําตอวัตถุ ก็คือ น้ําหนักของวัตถุบนโลก (weight)

บทที่ 3 คล่ืน แบงเปน 2 ประเภท 3.1 คล่ืนกล คือ คลื่นที่เดินทางไดตองอาศัยตัวกลาง แบงเปน สมบัติของคลื่น มี 4 ประเภท • การสะทอน : เกิดจากการที่คลื่นไป แลวกลับสูตัวกลางเดิม เชน คางคาวและปลาโลมา โดยการสงคลื่นเสียง (Ultra-sound) ออกไป แลวรับคลื่นที่สะทอนกลับมา • การหักเห : เกิดจากการที่คลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางตัวกลางที่มีสมบัติตางกัน ทําใหทิศทางเบี่ยงเบน เนื่องจากอัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป เชน บางครั้งเห็นฟาแลบ แตไมไดยินเสียงฟารอง • การเลี้ยวเบน : เกิดจากการที่คลื่นปะทะสิ่งกีดขวาง แลวแผกระจายไปตามขอบ เชน การที่เราเดินผานมุมอาคารเรียนหรือมุมตึก จะไดยนิเสียงตางๆ จากอีกดานหน่ึงของอาคาร • การแทรกสอด : เกิดจากการที่คลื่นสองขบวนเคลื่อนที่เขาหากัน ทําใหเกิดบริเวณสงบนิ่งและบริเวณที่สั่นสะเทือนมาก ธรรมชาติของเสียง มี 3 ประเภท • ระดับเสียง ขึ้นอยูกับ ความถี่ของเสียง - หูของคนสามารถรับรูคลื่นเสียงในชวงความถี่ 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ เสียงที่มีความถี่ตํ่ากวา 20 เฮิรตซ เรียกวา อินฟราซาวนด (infrasound) เสียงที่มีความถี่สูงกวา 20,000 เฮิรตซ เรียกวา อัลตราซาวนด (ultrasound) • ความดัง ขึ้นอยูกับ แอมพลิจูด จะวัดเปนระดับความเขมเสียง มีหนวยเปน เดซิเบล ดังน้ี - เสียงคอยที่สุดที่เริ่มไดยิน มีระดับความเขมเสียงเปน 0 เดซิเบล - เสียงดังที่สุดที่ไมเปนอันตรายตอหู มีระดับความเขมเสียงเปน 120 เดซิเบล องคการอนามัยโลก กําหนดวา ระดับความเขมเสียงที่ปลอดภัยตองไม เกิน 85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกินวันละ 8 ชั่วโมง ถาเกินกวาน้ี จะถือวาเปนมลภาวะของเสียง คุณภาพเสียง คือ คุณลักษณะเฉพาะตัวของเสียง (ไมไดแปลวาเสียงดี หรือไมดี ) ขึ้นอยูกับ รูปรางของคลื่น ชวยระบุแหลงกําเนิดเสียงที่แตกตางกัน ทําใหเสียงที่ไดยินวาเปนเสียงอะไร 3.2 คล่ืนแมเหล็กไฟฟา คือ คลื่นที่สามารถเคลื่อนที่ได โดยไมอาศัยตัวกลาง มี 7 ชนิด ดังน้ี แกมมา เอกซ อัลตราไวโอเลต แสง อินฟราเรด ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ พลังงานมาก -------------------------------------------------------------------------> พลังงานนอย ความยาวคลื่นนอย ------------------------------------------------------------------> ความยาวคลื่นมาก คลื่นแมเหล็กไฟฟา จะเคลื่อนที่ในสุญญากาศดวยความเร็วเทากัน คือ 3 x 108 เมตร/วินาที คลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่ใชประโยชนมากในชีวิตประจําวัน คือ คลื่นวิทยุ มี 2 ระบบ คือ - ระบบเอเอ็ม (AM : Amplitude Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหแอมพลิจูดเปลี่ยนแปลง แตความถี่คงที่ สงกระจายเสียงดวยความถี่ 530-1,600 กิโลเฮิรตซ - ระบบเอฟเอ็ม (FM : Frequency Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหความถี่เปลี่ยนแปลง แตแอมพลิจูดคงที่ สงกระจายเสียงดวยความถี่ 88-108 เมกะเฮิรตซ

บทที่ 4 กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร 4.1 กัมมันตภาพรังสี แบงเปน 3 ชนิด รังสีแกมมา () เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่มีความยาวคลื่นส้ัน มีอํานาจทะลุผานมาก ก้ันได ใชตะก่ัว รังสีบีตา () เปนอิเล็กตรอน สามารถกั้นได โดยใชแผนอะลูมิเนียม รังสีแอลฟา () เปนนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม (

2He) สามารถทําใหสารเกิดการแตกตัวเปนไอออนไดดี มีอํานาจทะลุผาน

นอยมาก สามารถกั้นได โดยใชกระดาษ 4.2 พลังงานนิวเคลียร แบงเปน 2 ประเภท ฟชชัน ฟวชัน - ใหญ ----> เล็ก - เล็ก ----> ใหญ - ควบคุมได - ควบคุมไมได - เกิดลูกโซ - ไมเกิดลูกโซ - พลังงานนอย - พลังงานมาก

4

Page 5: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

96

โลก ดาราศาสตร และอวกาศบทที่ 1 โลกและการเปล่ียนแปลง 1.1 โครงสรางโลก แบงตามลักษณะมวลสาร ได 3 ชั้น คือ 1. ชั้นเปลือกโลก แบงเปน 2 บริเวณ คือ • ภาคพื้นทวีป ประกอบดวย ซิลิกาและอะลูมินา • ใตมหาสมุทร ประกอบดวย ซิลิกาและแมกนีเซีย 2. ชั้นเน้ือโลก มีความลึก 2,900 กิโลเมตร แบงเปน 3 สวน คือ • สวนบน เปนหินที่เย็นตัว ชั้นเน้ือโลกสวนบนรวมกับชั้นเปลอืกโลก เรียกวา ชั้นธรณีภาค • ชั้นฐานธรณีภาค เปนช้ันของหินหลอมละลายหรือหินหนืด ที่เรียกวา แมกมา • ชั้นลางสุด เปนช้ันของแข็งรอนที่แนนและหนืด 3. ชั้นแกนโลก แบงเปน 2 สวน คือ • แกนโลกช้ันนอก เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของเหลวรอน • แกนโลกช้ันใน เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของแข็ง 1.2 ปรากฏการณทางธรณีวิทยา แนวรอยตอที่ทําใหเกิดแผนดินไหว มี 3 แนว คือ 1. แนวรอยตอรอบมหาสมุทรแปซิฟก เกิดแผนดินไหวรุนแรงและมากที่สุด ( 80% ) เรียกวา วงแหวนแหงไฟ ไดแก ญี่ปุน ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก 2. แนวรอยตอภูเขาแอลปในยุโรปและภูเขาหิมาลัยในเอเซีย เกิดแผนดินไหว (15%) โดยจะเกิดระดับตื้นและปานกลาง ไดแก พมา อัฟกานิสถาน อิหราน ตุรกี และทะเลเมดิเตอรเรเนียน 3. แนวรอยตอบริเวณสันกลางมหาสมุทรตางๆ ของโลก (5%) ไดแก บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดียและอารกติก โดยจะเกิดแผนดินไหวในระดับตื้น ภูเขาไฟ แบงเปน 2 รูปแบบ ดังน้ี • เกิดจาก การปะทุของแมกมา จะมีสัญญาณบอกเหตุลวงหนา เชน แผนดินไหว และมีเสียงคลายฟารอง ซึ่งเมื่อพนออกมา เรียกวา ลาวา คุพุงเหมือนน้ําพุรอน เมื่อเย็นตัวกลายเปน หินบะซอลต ซึ่งมีรูพรุน • เกิดจาก การระเบิดของแมกมาที่มีกาซ ซึ่งจะแยกเปนฟองเหมือนน้ําเดือดและขยายตัวจนระเบิดอยางรุนแรง พนเศษหิน ผลึกแร เถาภูเขาไฟ และเมื่อเย็นตันเปนหิน เรียกวา หินตะกอนภูเขาไฟ ซึ่งเรียกชื่อตามขนาดและชิ้นสวนที่พนออกมา เชน หินทัฟฟ หินกรวดเหล่ียมภูเขาไฟ หินกรวดมนภูเขาไฟ

บทที่ 2 ธรณีภาค 2.1 แผนธรณีภาคและการเคลื่อนที่ ป พ.ศ.2458 ดร.อัลเฟรด เวกาเนอร นักอุตุนิยมวิทยา ชาวเยอรมัน ไดตั้งสมมติฐานวา “ผืนแผนดินทั้งหมดบนโลกแตเดิมเปนแผนดินผืนเดียวกัน เรียกวา พันเจีย เมื่อ 200 - 135 ลานปที่แลว แยกออกเปน 2 ทวีปใหญ คือ ลอเรเซียทางตอนเหนือและกอนดวานาทางตอนใต และเมื่อ 135-65 ลานปที่แลว ลอเรเซียเริ่มแยกเปนอเมริกาเหนือและแผนยูเรเซีย (ยุโรป+เอเชีย) กอนดวานาจะแยกเปน อเมริกาใต แอฟริกา ออสเตรเลีย แอนตารกติกา และอินเดีย แผนธรณีภาคมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ดังน้ี 1. ขอบแผนธรณีภาคแยกออกจากกัน เกิดจาก การดันตัวของแมกมา ทําใหเกิดรอยแตก จนแมกมาถายโอนความรอนได ทําใหอุณหภูมิและความดันลดลง ทําเปลือกโลกทรุดตัวกลายเปนหุบเขาทรุด ตอมามีน้ําไหลมาสะสมเปนทะเล และเกิดเปนรองลึก แมกมาจึงแทรกดันข้ึนมา สงผลใหแผนธรณีเคลื่อนตัวแยกออกไปทั้งสองขาง เกิดการขยายตัวของพื้นทะเล 2. ขอบแผนธรณีภาคเคลื่อนเขาหากัน มี 3 แบบ คือ - แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคใตมหาสมุทร ทําใหแผนหน่ึงมุดลงใตอีกแผนหน่ึง ปลายของแผนที่มุดลงจะหลอมกลายเปนแมกมา และปะทุขึ้นมา ทําใหเกิดเปนแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร - แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ทําใหแผนธรณีภาคใตมหาสมุทรซึ่งหนักกวามุดลงขางลาง เกิดเปนแนวภูเขาไฟชายฝง เชน อเมริกาใต (แอนดีส) - แผนธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ซึ่งทั้งสองแผนมีความหนามาก ทําใหแผนหน่ึงมุดลงแตอีกแผนหน่ึงเกยขึ้นเกิดเปนเทือกเขาเปนแนวยาวอยูกลางทวีป เชน เทือกเขาหิมาลัย แอลป

Page 6: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

97

บทที่ 3 ธรณีประวัติ 3.1 อายุทางธรณีวิทยา แบงเปน 2 แบบ - อายุสัมบูรณ เปนอายุของหินหรือซากดึกดําบรรพที่สามารถบอกจํานวนปที่แนนอน ซึ่งคํานวณไดจากคร่ึงชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ไดแก ธาตุ C-14 K-40 - อายุเปรียบเทียบ ใชบอกอายุของหิน วาหินชุดใดมีอายุมากหรือนอยกวากัน โดยอาศัยขอมูลจากซากดึกดําบรรพที่ทราบอายุแนนอน ลักษณะลําดับชั้นหินและโครงสรางของชั้นหิน 3.2 ซากดึกดําบรรพ คือ ซากและรองรอยของสิ่งมีชีวิต ที่ตายทับถมอยูในช้ันหินตะกอน พืชและสัตวที่จะเปลี่ยนสภาพเปนซากดึกดําบรรพไดตองมีโครงรางที่แข็ง เพื่อวาแรธาตุตางๆ จะสามารถแทรกซึมเขาไปในชองวางน้ันได ทําใหทนทานตอการผุพังและตองถูกฝงกลบอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตชะลอการสลายตัว โดยซากของสัตวทะเลจะพบมากที่สุด เพราะวาเมื่อจมลงจะถูกโคลนและตะกอนเม็ดละเอียดทับถม ซึ่งตะกอนละเอียดจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตเสียหายนอยที่สุด ประเทศไทยพบซากดึกดําบรรพ เชน ซากไดโนเสาร พบครั้งแรกที่ อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน เปนไดโนเสารเดิน 4 เทา มีคอ-หาง ยาว กินพืชเปนอาหาร ตั้งช่ือวา “ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน” - รองรอยของสิ่งมีชีวิตที่พิมพรอยอยูในตะกอนท่ีแข็งตัวเปนหิน เชน รอยเทาไดโนเสารที่ภูหลวง จ.เลย และที่ภูแฝก จ.กาฬสินธุ หรือรอยเปลือกหอยตาง ๆ นอกจากน้ี ยังมีซากดึกดําบรรพที่ไมกลายเปนหิน เชน ซากชางแมมมอธ ซากแมลงในยางไมหรืออําพัน

บทที่ 4 เอกภพ 4.1 กําเนิดเอกภพ ทฤษฏีกําเนิดเอกภพ “บิกแบง” (Big Bang) กลาววา เมื่อเกิดการระเบิดใหญ ทําใหพลังงานเปล่ียนเปนสสาร เนื้อสารที่เกิดขึ้นจะในรูปของอนุภาคพื้นฐานช่ือ ควารก อิเล็กตรอน นิวทริโน และโฟตอน เมื่อเกิดอนุภาคจะเกิดปฏิอนุภาคที่มีประจุตรงขาม เมื่ออนุภาคพบปฏิอนุภาคชนิดเดียวกัน จะหลอมสลายเปนพลังงานจนหมด แตในธรรมชาติมีอนุภาคมากกวาปฏิอนุภาค จึงทําใหยังมีอนุภาคเหลือ หลังบิกแบง 10-6 วินาที อุณหภูมิจะลดลงเปนสิบลานลานเคลวิน ทําใหควารกรวมตัวกลายเปนโปรตอน (นิวเคลียสของไฮโดรเจน) และนิวตรอน หลังบิกแบง 3 นาที อุณหภูมิจะลดลงเปนรอยลานเคลวิน เกิดการรวมตัวเปนนิวเคลียสของฮีเลียม หลังบิกแบง 300,000 ป อุณหภูมิจะลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียม จะดึงอิเล็กตรอนเขามา ทําใหเกิดเปนอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม หลังบิกแบง 1,000 ลานป จะเกิดกาแลก็ซีตางๆ โดยภายในกาแล็กซีจะมีธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมเปนสารเบื้องตน ในการกําเนิดเปนดาวฤกษรุนแรก ๆ ขอสังเกตและประจักษพยาน ที่สนับสนุนทฤษฏีบิกแบง 1. การขยายตัวของเอกภพ คนพบโดยฮับเบิล นักดาราศาสตรชาวอเมริกา 2.อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ ปจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน นักดาราศาสตร แบงกาแล็กซี ออกเปน 4 ประเภท 1. กาแล็กซีกังหันหรือสไปรัล เชน กาแล็กซีทางชางเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดา กาแล็กซี M -81 (M ยอมาจากเมสสิแอร (Messier) เปนนักลาดาวหางชาวฝรั่งเศส) 2. กาแล็กซีกังหันมีแกนหรือบารสไปรัล เชน กาแล็กซี NGC – 7479 (NGC ยอมาจาก The New General Catalogue) 3. กาแล็กซีรูปไข เชน กาแล็กซี M–87 4. กาแล็กซีไรรูปทรง เชน กาแล็กซีแมกเจลเเลนใหญ

บทที่ 5 ดาวฤกษ เปนกอนกาซรอนขนาดใหญ มีองคประกอบสวนใหญ เปนธาตุไฮโดรเจน 5.1 วิวัฒนาการของดาวฤกษ • ดาวฤกษที่มีมวลนอย เชน ดวงอาทติย ใหแสงสวางนอย จึงมีการใชเชื้อเพลิงนอย ทําใหมีชวงชีวิตยาว และจบชีวิตลงโดยไมมีการระเบิด แตจะกลายเปนดาวแคระ • ดาวฤกษที่มีมวลมาก จะมีขนาดใหญ ใหแสงสวางมาก จึงมีการใชเชื้อเพลิงมาก ทําใหมีชวงชีวิตสั้น และจบชีวิตลงดวยการระเบิดอยางรุนแรง เรียกวา ซูเปอร โนวา (supernova) หลังจากน้ัน ดาวที่มีมวลมาก จะกลายเปนดาวนิวตรอน ดาวที่มีมวลสูงมาก ๆ จะกลายเปนหลุมดํา

กําเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย 1. เมื่อเนบิวลายุบตัว ที่แกนกลางจะมีอุณหภูมิสูงเปนแสนองศาเซลเซียส เรียกวา “ดาวฤกษกอนเกิด”

Page 7: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

98

2. ปจจุบันที่แกนกลางมีอุณหภูมิสูงเปน 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิด ปฏิกิริยาเทอร โมนิวเคลียร คือ ปฏิกิริยาหลอมไฮโดรเจน 4 นิวเคลียส กลายเปนฮีเลียม 1 นิวเคลียสและเกิดพลังงานออกมามหาศาล จนทําใหเกิดสมดุลระหวางแรงโนมถวงกับแรงดันของกาซ เกิดเปนดวงอาทิตย มีสีเหลือง 3. ในอนาคต เมื่อไฮโดรเจนลดลง ทําใหดาวยุบตัวลง ทําใหแกนกลางมีอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 100 ลานเคลวิน จนเกิดปฏิกิริยาเทอร โมนิวเคลียร ที่มีการหลอมฮีเลียม ใหกลายเปนคารบอน ในขณะเดียวกันรอบนอกของดาว ก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิดปฏิกิริยาเทอร โมนิวเคลียส ที่มีหลอมไฮโดรเจนใหกลายเปนฮีเลียมครั้งใหม จึงเกิดพลังงานออกมาอยางมหาศาลและทําใหดวงอาทิตยมีขนาดใหญขึ้นเปน 100 เทา และเปลี่ยนจากสีเหลืองเปนสีแดง เรียกวา ดาวยักษแดง ซึ่งจะปลดปลอยพลังงานออกมามาก ทําใหชวงชีวิตคอนขางสั้น 4. ในชวงทาย แกนกลางจะยุบตัวลงกลายเปนดาวแคระขาว ซึ่งมีขนาดเล็กลงเปน 1 ใน 100 5. ความสวางจะลดลงตามลําดับ และในที่สุดก็จะหยุดสองแสงสวาง กลายเปนดาวแคระดํา (black dwarf) 5.2 ความสวางและอันดับความสวางของดาวฤกษ • ดาวฤกษที่ริบหร่ีที่สุดที่มองเห็นดวยตาเปลา มีอันดับความสวาง 6 • ดาวฤกษที่สวางที่สุด มีอันดับความสวาง 1 • ดวงอาทิตย มีอนัดับความสวาง - 26.7 ถาอันดับความสวางตางกัน x อันดับ จะมีความสวางตางกันประมาณ (2.5)x เทา 5.3 สีและอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ แบงออกเปน 7 ชนิดหลัก ๆ ดังน้ี • ดาวที่มีอายุนอย จะมีอุณหภูมิผิวสูง มีสีขาว น้ําเงิน • ดาวที่มีอายุมาก ใกลถึงจุดสุดทายของชีวิต จะมีอุณหภูมิผิวตํ่า มีสีแดง O B A F G K M มวง คราม น้ําเงิน ขาว เหลือง แสด แดง

บทที่ 6 กําเนิดระบบสุริยะ นักดาราศาสตร แบงเขตพื้นที่รอบดวงอาทิตย เปน 4 เขต คือ 1. ดาวเคราะหชั้นใน ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลก และ ดาวอังคาร มีขนาดเล็กและมีพื้นผิวแข็งหรือเปนหินแบบเดียวกับโลก 2. แถบดาวเคราะหนอย คือ บริเวณระหวางวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี เปนเศษที่เหลือจากการพอกพูนเปนดาวเคราะหหิน แลวถูกดึงดูดจากแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีขนาดใหญและเกิดมากอน ทําใหไมสามารถจับตัวกันมีขนาดใหญได 3. ดาวเคราะหชั้นนอก หรือ ดาวเคราะหยักษ เปนดาวที่มีขนาดใหญ ไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน มีองคประกอบหลัก คือ กาซไฮโดรเจนและฮีเลียมทั้งดวง ดาวพลูโต เปนดาวเคราะหชั้นนอกท่ีอยูไกลและเล็กที่สุด มีสมบัติคลายดาวเคราะหนอย 4. เขตของดาวหาง เปนเศษที่เหลือจากดาวเคราะหยักษ มีจํานวนมากอยูรอบนอกระบบสุริยะ ดวงอาทิตย : เปนดาวฤกษสีเหลือง ชนิดสเปกตรัม G มีอุณหภูมิผิวประมาณ 6,000 เคลวิน - แสงสวางที่เปลงออกมา ทําใหเรามองเห็นดาวเคราะหได โดยใชเวลาเดินทาง 8.3 นาที - ลมสุริยะ ประกอบดวยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน มาจากการแผรังสีของดวงอาทิตย ซึ่งจะมาถึงโลกภายในเวลา 20-40 ชั่งโมง ซึ่งจะสงผลทําใหเกิดปรากฏการณแสงเหนือ-แสงใต ไฟฟาแรงสูงดับที่ขั้วโลก เกิดการรบกวนวงจรอิเล็กทรอนิกสของดาวเทียม และทําใหเกิดการติดขัดในการส่ือสารของคลื่นวิทยุ

บทที่ 7 เทคโนโลยีอวกาศ 7.1 ดาวเทียมและยานอวกาศ การสงดาวเทียมและยานอวกาศขึ้นสูอวกาศ จะตองเอาชนะแรงดึงดูดของโลก ความเร็วมากกวา 7.91 กิโลเมตรตอวินาที ถาหากจะใหยานอวกาศออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย จะตองใชความเร็วที่ 11.2 กิโลเมตรตอวินาที เรียกวา ความเร็วหลุดพน พ.ศ. 2446 ไชออลคอฟสกี ชาวรัสเซีย ไดคนควาเกี่ยวกับเชื้อเพลิงในจรวด เสนอวา ใชเชื้อเพลิงเหลว แยกเชื้อเพลิงและสารที่ชวยในการเผาไหมออกจากกัน นําจรวดมาตอเปนช้ันๆ จะชวยลดมวลของจรวดลง โดยเมื่อจรวดชั้นแรกใชเชื้อเพลิงหมดก็ปลดทิ้งไป และใหจรวดชั้นตอไปทําหนาที่ตอ แลวปลดทิ้งไปเร่ือยๆ โดย จรวดชั้นสุดทายที่ติดกับดาวเทียมหรือยานอวกาศ จะตองมีความเร็วสูงพอที่จะเอาชนะแรงดึงดูดของโลกได พ.ศ. 2469 โรเบิรต กอดดารด ชาวอเมริกัน สามารถสรางจรวดเชื้อเพลิงเหลว โดยใชไฮโดรเจนเหลวเปนเชื้อเพลิงและออกซิเจนเหลวเปนสารที่ชวยในการเผาไหม และแยกอยูตางถังกัน สหภาพโซเวียต สามารถใชจรวดสามทอนสงดาวเทียม ไดเปนประเทศแรก

Page 8: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

99

ชีวิตกับส่ิงแวดลอม ส่ิงมีชีวิตกับการดํารงชีวิตบทที่ 1 ส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดลอม โลก มีระบบนิเวศนหลากหลายรวมกัน เปนระบบขนาดใหญ เรียกวา ชีวภาค(Biophere) เชน - บริเวณเสนศูนยสูตร มีอุณหภูมิสูงและแสงแดดมาก ทําใหมีฝนตกชุก เกิดปาฝนเขตรอน - บริเวณที่สูงหรือตํ่าจากเสนศูนยสูตร เรียกวา เขตอบอุน มีอุณหภูมิและแสงแดดจํากัด จึงไมหลากหลาย - ขั้วโลกเหนือ เรียกวา เขตทุนดรา มอีุณหภูมิและแสงแดดนอย พื้นน้ําเปนน้ําแข็ง มีพืชคลุมดิน ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดพลังงานจากผูผลิตไปยังผูบริโภคลําดับตาง ๆ โดยจะถายทอดไปเพียง 10% สวนพลังงานอีก 90% จะถูกใช ในการดํารงชีวิต นอกจากน้ี ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดโลหะหนัก จากยาฆาแมลงและสารพิษดวย โดยจะมีปริมาณสะสมเพิ่มขึ้นตามลําดับการกินของสิ่งมีชีวิต บทที่ 2 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่เหมือนกัน คือ - เยื่อหุมเซลล ทําหนาที่ หอหุมเซลลและควบคุมการผานสารเขา – ออก - นิวเคลียส เปนศูนยควบคุมการทํางานของเซลลและเปนแหลงเก็บสารพันธุกรรม - ไมโทคอนเดรีย เปนแหลงผลิตสารพลังงานสูง - ไรโบโซม ทําหนาที่ สังเคราะหโปรตีน - รางแหเอนโดพลาซึม ทําหนาที่สังเคราะหและลําเลียงโปรตีน บางสวนสังเคราะหไขมัน - กอลจิคอมเพล็กซ ทําหนาที่ ปรับเปลี่ยนโปรตีนและไขมัน แลวสงไปยังปลายประสาท เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่ตางกัน คือ ในเซลลพืช จะมี : ผนังเซลล ทําใหเซลลคงรูปรางและมีการเจริญในแนวตั้ง มีโครงสรางหลัก คือ เซลลูโลส : คลอโรพลาสต ทําหนาที่ สังเคราะหน้ําตาลโดยใชพลังงานแสง : แวคิวโอล ทําหนาที่ บรรจุน้ําและสารชนิดตาง ๆ ในเซลลสัตว จะมี : ไลโซโซม ทําหนาที่ บรรจุเอนไซมที่มีสมบัติในการยอยสลาย 2.1 การลําเลียงสารผานเซลล มี 4 ประเภท 2.2.1 การแพร คือ การที่สารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนสูง ไปสูที่มีความเขมขนต่ํา ออสโมซิส คือ การแพรของน้ําผานเยื่อหุมเซลล จากบริเวณที่มีน้ํามากไปสูน้ํานอย แบงเปน - ไฮโพโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนต่ําหรือน้ํามาก น้ําจะไหลเขา ทําใหเซลลใหญโดยถาเปนเซลลพืช จะเตง แตเซลลสัตว จะแตก - ไฮเพอรโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนสูงหรือนํ้านอย น้ําจะไหลออก ทําใหเซลลเหี่ยว - ไอโซโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนเทากับภายในเซลล น้ําจะไหลเขา = ไหลออก ทําใหเซลลคงเดิม 2.2.2 การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต ( Facilitated Transport) คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนสูงไปสูบริเวณที่มีความเขมขนต่ํา โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล ซึ่งไมตองอาศัยพลังงาน โดยมีอัตราเร็วมากกวาการแพร 2.2.3 การลําเลียงแบบใชพลังงาน (Active Transport) คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนต่ําไปสูบริเวณที่มีความเขมขนสูง โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล และตองอาศัยพลังงาน 2.2.4 การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล คือ การลําเลียงสารที่มีขนาดใหญ เชน โปรตีน คาร โบไฮเดรต ซึ่งจะไมสามารถผานโปรตีนตัวพาได แตจะใชเยื่อหุมเซลลโอบลอม ดังนี้ - กระบวนการเอนโดไซโทซิส (Endocytosis) เปนการลําเลียงสารเขาเซลล - กระบวนการเอกโซไซโทซิส (Exocytosis) เปนการลําเลียงสารออกเซลล 2.2 กลไกการรักษาดุลยภาพ 2.3.1 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในพืชโดยการคายนํ้าออกที่ปากใบ และการดูดน้ําเขาทางราก 2.3.2 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในรางกายคน • เมื่อรางกายเกิดภาวะขาดนํ้า ทําใหเลือดขน มีความดันเลือดตํ่า สมองไฮโพทาลามัสจะกระตุนตอมใตสมองสวนทาย ใหหลั่งฮอร โมนแอนติไดยูเรติก ออกมา เพื่อไปกระตุนใหทอหนวยไตดูดน้ํากลับคืน 2.3.3 การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรางกายคน ถารางกายมีระดับเมแทบอลิซึมสูง (ปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกาย) ทําใหเกิดกาซ CO

2 มาก เกิดเปนกรดคารบอนิก ซึ่ง

แตกตัวให H+ ออกมา สงผลให pH ในเลือดตํ่าลง หนวยไตจึงทําหนาที่ขับ H+ ออกมาทางปสสาวะ

Page 9: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

100

2.3.4 การรักษาดุลยภาพของนํ้าและแรธาตุในส่ิงมีชีวิตอื่น ๆ • สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวที่อาศัยในน้ํา เชน อะมีบา พารามีเซียม มีโครงสรางเรียกวา คอนแทร็กไทลแวคิวโอล (Contractile Vacuole) ทําหนาที่ กําจัดน้ําและของเสียออกจากเซลล • ปลานํ้าจืด :มีปสสาวะมาก แตเจือจาง และที่เหงือกมีเซลลคอยดูดแรธาตุที่จําเปนกลับคืน • ปลานํ้าเค็ม : มีปสสาวะนอย แตเขมขน และมีผิวหนังและเกล็ดหนา เพื่อปองกันแรธาตุ • นกทะเล มีตอมนาซัล สําหรับขับเกลือออกในรูปน้ําเกลือ ทางรูจมูกและปาก 2.3.5 การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในรางกาย (อุณหภูมิปกติ 35.8-37.7 oC) • เมื่ออากาศรอน ลดอัตราเมแทบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร หลอดเลือดฝอยขยายตัว ผิวจึงมีสีแดง และตอมเหงื่อขับเหง่ือเพิ่มขึ้น กลามเนื้อที่โคนขนจะคลายตัว ทําใหขนเอนราบ • เมื่ออากาศเย็น เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร หลอดเลือดฝอยจะหดตัว ผิวจึงมีสีซีด และลดการทํางานของตอมเหงื่อ กลามเนื้อที่โคนขนจะหดตัว ดึงใหขนลุก บทที่ 3 ภูมิคุมกันของรางกาย เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย เรียกวา แอนติเจน - เซลลเม็ดเลือดขาว ทําหนาที่ ปองกันและทําลายเชื้อโรค โดยสรางมาจากไขกระดูก และอวัยวะนํ้าเหลือง ซึ่งแบงเปน 2 กลุม ดังน้ี 1. กลุมฟาโกไซต (phagocyte) จะใชเยื่อหุมเซลลโอบลอมเชื้อโรค แลวนําเขาสูเซลล เพื่อยอยสลาย 2. กลุมลิมโฟไซต (lymphocyte) จะสรางแอนติบอดี ซึ่งเปนสารโปรตีน ทําหนาที่ตอตานแอนติเจน - ระบบนํ้าเหลือง อวัยวะนํ้าเหลือง เปนแหลงผลิตเซลลเม็ดเลือดขาว ประกอบดวย • ตอมนํ้าเหลือง เชน คอ (เรียกวา ทอนซิล) รักแร โคนขา • มาม เปนอวัยวะนํ้าเหลืองที่มีขนาดใหญที่สุด อยูใตกระบังลมดานซาย • ตอมไทมัส เปนเน้ือเยื่อนํ้าเหลือง ทําหนาที่ สรางเซลลเม็ดเลือดขาวกลุมลิมโฟไซต รางกายเรามีภูมิคุมกันต้ังแตอยูในทองแม โดยสรางแอนติบอดีไดเองและไดรับจากแม และเมื่อคลอดจะไดจากการด่ืมนมแม แตจะปองกันไดเฉพาะบางโรคเทาน้ัน จึงจําเปนตองไดรับภูมิคุมกันเพิ่มเติม โดยแบงเปน วัคซีน - ผลิตจากเชื้อโรคที่ถูกทําใหออนกําลัง หรือ ผลิตจากจุลินทรียที่ตายแลว หรือ ผลิตจากสารพิษที่หมดพิษหรือทอกซอยด เมื่อฉีดเขาไปในรางกายจะเปนแอนติเจน ไปกระตุนใหรางกายสรางแอนติบอดี โดยใชเวลา 4-7 วัน เซรุม : ผลิตจากแอนติบอดี เพื่อฉีดใหรางกายมีภูมิคุมกันทันที ซึ่งเตรียมไดจากการฉีดสารพิษหรือเชื้อโรคเขาไปในตัวสัตว เพื่อกระตุนใหรางกายของสัตว ไดสรางแอนติบอดี แลวจึงนํา มาฉีดใหกับผูปวย เลือดของคน แบงเปน 4 หมู ไดแก หมู A B AB O หมูเลือด แอนติเจนบนเม็ดเลือดแดง แอนติบอดีในน้ําเลือด A A B B B A AB AB ไมมี O ไมมี AB

บทที่ 4 การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เซลลรางกายของคน 1 เซลล จะมี 46 โครโมโซม โดยเหมือนกันเปนคูๆ เรียกวา โฮโมโลกัสโครโมโซม การแบงเซลลแบบไมโตซิส คือ การแบงเซลลรางกาย - ไดเซลลใหม 2 เซลล มีจํานวนโครโมโซมเทาเดิม การแบงเซลลแบบไมโอซิส คือ การแบงเซลลสืบพันธุ - ไดเซลลใหม 4 เซลล มีโครโมโซมลดลงเหลือครึ่งหน่ึง เซลลรางกายของคน 1 เซลล มี 46 โครโมโซม หรือ 23 คู แบงเปน + โครโมโซมรางกายหรือออโตโซม (22 คูแรก) A เปนแอลลีนเดน เชน ลักย้ิม น้ิวเกิน คนแคระ ทาวแสนปม a เปนแอลลีนดอย เชน ผิวเผือก ธาลัสซีเมีย (เลือดจาง) + โครโมโซมเพศ (คูที่ 23) โดย เพศหญิง เปน XX เพศชาย เปน XY ลักษณะที่ผิดปกติจะถูกควบคุมดวยยีนดอย บนโครโมโซม X XC เปนแอลลีนปกติ Xc เปนแอลลีนผิดปกติ เชน ตาบอดสี ฮีโมฟเลีย (โรคเลือดไหลไมหยุด) ภาวะพรองเอนไซมกลูโคส 6 ฟอสเฟต (G6PD)

Page 10: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

101

หมูเลือด (ฟโนไทป) จีโนไทป A IAIA / IAi B IBIB / IBi AB IAIB

O i i 4.4 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 4.4.1 มิวเทชัน (mutation) : เปนการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ทําใหลูกมีลักษณะบางอยางแตกตางไปจากรุนพอ-แม โดยมีทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจากรังสีหรือสารเคมี 4.4.2 การคัดเลือกตามธรรมชาติ ของชารลส ดารวิน เสนอ วา “สิ่งมีชีวิตจะออกลูกเปนจํานวนมาก และมีความแปรผันในแตละรุน แลวเกิดการแกงแยงส่ิงที่จําเปนตอการดํารงชีวิตที่มีอยูอยางจํากัด ดงัน้ัน สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะที่เหมาะสม จะสามารถเอาชีวิตรอดได และจะถายทอดลักษณะที่เหมาะสม ไปยังสิ่งมีชีวิตรุนตอไป” เชน นกจาบท่ีอยูตามหมูเกาะกาลาปากอส พบวา มีจงอยปากแตกตางกันตามลักษณะอาหารของนก 4.4.3 การคัดเลือกพันธุและปรับปรุงพันธุ โดยคน การคัดเลือกพันธุปลาทับทิม : พัฒนาโดยการคัดพันธุปลานิลจากทั่วโลก การปรับปรุงพันธุขาวขาวขาวดอกมะลิ 105 เปนขาวเจา เมื่อใชรังสีแกมมา ทําใหเกิดมิวเทชัน ทําใหไดขาวพันธุ กข 6 ที่เปนขาวเหนียว ขาวพันธุ กข 15 4.5 เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ไดแก 4.5.1 พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering ) : คือ การตัดตอยีน เรียกวา สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม หรือ GMO 4.5.2 การโคลน: หมายถึง การสรางสิ่งมีชีวิตใหม ที่มีลักษณะเหมือนสิ่งมีชีวิตตนแบบทุกประการ 4.5.3 ลายพิมพ DNA : เปนเอกลักษณเฉพาะของบุคคล เปลี่ยนแปลงไมไดและไมมีใครเหมือนกัน (ยกเวน ฝาแฝดแท ) ใชในการพิสูจนผูตองสงสัย หรือหาความสัมพันธทางสายเลือด 4.5.4 การทําแผนที่ยีน หรือ แผนที่จีโนม : เพื่อใหรูตําแหนงของยีนในโครโมโซม เพราะวาเมื่อระบุไดวายีนใดบางที่ผิดปกติ ก็ใชเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมตัดตอยีนที่พึงประสงคเขาไปแทนยีนที่เปนสาเหตุใหเกิดโรค เรียกวิธีรักษาแบบนี้วา การบําบัดรักษาดวยยีน (gene therapy)

บทที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพ นักชีววิทยา จัดจําแนกหมวดหมูสิ่งมีชีวิต ออกไดเปน 5 อาณาจักร ดังน้ี • อาณาจักรสัตว : เปนส่ิงมีชีวิตหลายเซลลและเซลลรวมกันเปนเน้ือเยื่อ : เปนผูบริโภค • อาณาจักรพืช : เปนส่ิงมีชีวิตหลายเซลลและเซลลรวมกันเปนเน้ือเยื่อ : เปนผูผลิต : มีผนังเซลล ซึ่งมีเซลลูโลสเปนองคประกอบ • อาณาจักรโพรทิสตา : เปนส่ิงมีชีวิตเซลลเดียวหรือหลายเซลล : บางชนิดสรางอาหารได แตบางชนิดตองกินอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น • อาณาจักรเห็ดรา และยีสต : ยีสตมีเซลลเดียว เห็ดรามีหลายเซลล : เปนผูยอยสลายอินทรียสาร แตบางชนิดเปนปรสิต • อาณาจักรมอเนอรา : เปนส่ิงมีชีวิตที่เซลลไมมีนิวเคลียส : เปนผูยอยสลายอินทรียสาร บางชนิดสรางอาหารไดเอง ไดแก แบคทีเรีย สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ไวรัส ไมมีอาณาจักร เพราะ ไมมีลักษณะเปนเซลล แตเปนอนุภาค ที่ใช โปรตีนหอหุมสารพันธุกรรมไว สามารถเพิ่มจํานวนไดเฉพาะเมื่ออยูภายในเซลลของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น

Page 11: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

102

1. ความสัมพันธระหวางการสังเคราะหดวยแสง และการหายใจ มีแกสใดที่มีความสัมพันธกัน 1. CO , H2O 2. CO2 , O2 3. H2O , CO2 4. CO , O22. ในระบบนิเวศนาขาวแหงหน่ึงมีสายโซอาหารดังน้ี สาหราย –> ปลา –> กบ –> งู หากพลังงานเร่ิมตนที่ 10,000 kcal พลังงาน ที่ถูกถายทอดไปยังผูบริโภคลําดับสุดทายเปนก่ี kcal 1. 10 2. 100 3. 1000 4. 100003. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการแบงเซลลสืบพันธุ 1. เปนการแบงเซลลแบบไมโตซิส 2. จํานวนโครโมโซมเทาเดิม 3. มีเซลลใหมเกิดขึ้น 6 เซลล 4. จํานวนโครโมโซมมีการลดลงเหลือครึ่งหน่ึง4. แกสใดไมมีอิทธิพลตอปรากฏการณเรือนกระจก 1. มีเทน 2. คารบอนไดออกไซด 3. ไนโตรเจนออกไซด 4. ซลัเฟอรไดออกไซด5. โครงสรางใดของเซลลที่พบเฉพาะในเซลลพืชเทาน้ัน 1. แวคิวโอล 2. เยื่อหุมเซลล 3. กอลจิคอมเพลกซ 4. ไมโทคอนเดรีย6. สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีอุณหภูมิรางกายเปลี่ยนแปลงไดตามสิ่งแวดลอม 1. ปลาวาฬ 2. นกเพนกวิน 3. แมวนํ้า 4. คางคก7. ขอใดไมเกี่ยวของกับอวัยวะนํ้าเหลือง 1. ตอมทอนซิล 2. ตอมไทมัส 3. มาม 4. ตับ8. คนที่มีเลือดหมู O สามารถรับเลือดจากหมูใดบาง 1. หมู A หมู B หมู AB และหมู O 2. หมู B หมู AB และหมู O 3. หมู AB และหมู O 4. หมู O9. พอมีเลือดหมู A แมมีเลือดหมู B ลูกของพอแมคูน้ีจะมีโอกาสมีหมูเลือดใดบาง 1. A และ B 2. AB และ O 3. มีโอกาสเปนไปไดทุกหมู 4. ไมมีโอกาสเปนไปได10. ลักษณะใดที่ไมแสดงออกในพอแม แตสามารถพบในรุนลูก 1. การมีลักยิ้ม 2. การมีน้ิวเกิน 3. โรคธาลัสซีเมีย 4. โรคทาวแสนปม11. เซรุมปองกันโรคพิษสุนัขบา เปนสารประเภทใด 1. แอนติเจน 2. แอนติบอด ี 3. แอนติไบโอติก 4. เอนไซม12. ลําดับของ “ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ” เปนไปตามขอใด เมื่อประชากรเพิ่ม 1. เกิดความผันแปรของยีนในกลุมประชากร เกิดสปชีส ใหม 2. เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได 3. เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ เกิดความหลากหลายในกลุมประชากร ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได 4. เกิดความหลากหลายในกลุมประชากร เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได13. เพราะเหตุใด “ลอ” จึงไมสามารถสืบพันธุมีลูกหลานในรุนตอไปได 1. เปนส่ิงมีชีวิตที่ไดมาจากการผสมเทียมของ มา และ ลา 2. พอ แม มีโครโมโซมที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากมิวเทชัน 3. พอ แม เปนส่ิงมีชีวิตตางสปชีสจึงใหลูกที่ไมสามารถสืบพันธุได 4. ถูกทั้งขอ 1 ขอ 2 และขอ 314. เมื่อนําน้ํามันสําหรับประกอบอาหาร A และ B ปริมาตรเทากัน มาอุนใหรอน แลวหยดทิงเจอรไอโอดีน ทีละหยดและคน รอจน สีทิงเจอรไอโอดีนหายไป แลวเติมหยดตอไป นับจํานวนหยดที่เติมจนกระท่ัง หยดสุดทายที่สีไมหายไป ไดผลการทดลองดังตาราง

น้ํามันชนิดใดเหมาะแกการบริโภคมากที่สุด 1. น้ํามัน A เพราะมีกรดไขมันอ่ิมตัวมากที่สุด 2. น้ํามัน B เพราะมีกรดไขมันอ่ิมตัวมากที่สุด 3. น้ํามัน A เพราะมีกรดไขมันไมอิ่มตัวมากที่สุด 4. น้ํามัน B เพราะมีกรดไขมันไมอิ่มตัวมากที่สุด

แบบทดสอบวิทยาศาสตร

น้ํามัน จํานวนหยด

A 23

B 10

Page 12: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

103

15. สารพันธุกรรมเปนสารประเภทใด 1. โปรตีน 2. ไขมัน 3. คาร โบไฮเดรต 4. กรดนิวคลีอิก16. ขอใดที่อาหารโปรตีนไมถูกทําลายหรือแปลงสภาพ 1. ไขขาวดิบที่คนไขกินเขาไปเพื่อกําจัดยาฆาแมลง 2. เนื้อหมูที่แชไว ในตูเย็นเพื่อแกงใสบาตร 3. เนื้อไกที่ทอดจนเหลือกรอบจะปลอดภัยจากไขหวัดนก 4. หอยแมลงภูที่บีบมะนาวเปนอาหารโปรด17. ขอใดกลาวถึงเลขออกเทนไมถูกตอง 1. เปนตัวแสดงคุณภาพของน้ํามันดีเซลและเบนซิน 2. น้ํามันไรสารตะกั่วมีการเติมเมทิลเทอรเชียรีบิวทิลอเีทอร เพื่อเพิ่มเลขออกเทน 3. สารเตตระเมทิลเลดชวยเพิ่มเลขออกเทน แตการเผาไหมจะใหไอของตะกั่ว 4. น้ํามันที่มีเลขออกเทน 95 มีประสิทธิภาพการเผาไหมเหมือนกับของผสมที่มีไอโซออกเทน 95% และนอรมอลเฮปเทน 5%18. เมื่อนําชิ้นสังกะสีใสสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีการในขอใดทําใหปฏิกิริยาเกิดชาลง 1. ใชแทงแกวคนใหทั่ว 2. ใหผงสังกะสีน้ําหนักเทากันแทนช้ินสังกะสี 3. ใหความรอน 4. เติมน้ํากลั่นลงไปเทาตัว19. พันธะระหวางอะตอมในโมเลกุลของโซเดียมคลอไรด (NaCl) เปนพันธะชนิดใด 1. ไอออนิก 2. โลหะ 3. โควาเลนต 4. วันเดอรวาลส 20. อะตอมของธาตุโบรอนที่มีสัญลักษณนิวเคลียร 11B มีการจัดอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานอยางไร 1. 2, 3 2. 2, 4 3. 2, 4, 5 4. 2, 8, 1

รถเร่ิมเคลื่อนที่ v = 90 km/h v = 90 km/h รถหยุด v = 0 km/h v = 0 km/h t = 20 วินาที t = 40 วินาที t = 60 วินาที t = 0 วินาที21. ความเรงในชวง 0-20 วินาทีแรก มีคาก่ีเมตร/วินาที2 1. 0 2. 1 3. 1.25 4. 4.522. ความเรงในชวง 20-40 วินาทีตอมา มีคาก่ีเมตร/วินาที2 1. 0 2. 1 3. 1.25 4. 4.523. หากปลอยกอนหินจากตึกสูง เมื่อเวลาผานไป 5 วินาที กอนหินจะมีความเร็วกี่เมตร/วินาที (กําหนดคาความเรงโนมถวง = 9.8 เมตร/วินาที2) 1. 9.8 2. 14.8 3. 24.5 4. 4924. ถายิงกอนหินข้ึนไปในแนวด่ิงดวยความเร็วตน 98 เมตร/วินาที กอนหินจะถึงจุดสูงสุดใชเวลานานกี่วินาที 1. 5 2. 10 3. 29.6 4. 4925. มอเตอรไซดไตถังคันหน่ึงเคลื่อนที่ได 5 รอบ ภายในเวลา 2 วินาที จงหาความถี่ของมอเตอรไซดคันน้ี 1. 0.4 Hz 2. 1.5 Hz 3. 2.5 Hz 4. 4.0 Hz26. คลื่นเสียงเปนคลื่นชนิดใด 1. คลื่นตามยาว 2. คลื่นตามขวาง 3. คลื่นแมเหล็กไฟฟา 4. คลื่นอัด-ขยาย27. ขอใดเปนเหตุผลที่เราไมไดยินเสียง 1. ความถี่คลื่นเสียงต่ําเกินไป 2. ความถี่คลื่นเสียงสูงเกินไป 3. ความดังของเสียงนอยเกินไป 4. ถูกทุกขอ28. ขอใดผิดเก่ียวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา 1. คลื่นแกมมามีพลังงานมากกวารังสีเอกซ 2. เคลื่อนที่ได โดยไมอาศัยตัวกลาง 3. คลื่นอินฟราเรดและคลื่นอัลตราไวโอเลตมีความเร็วในสุญญากาศเทากัน 4. คลื่นวิทยุสะทอนในช้ันเรดิโอสเฟยร

5

Page 13: ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

104

29. ขอใดกลาวถึงปฏิกิริยาฟชชันไมถูกตอง 1. เปนปฏิกิริยาแบบเดียวกับปฏิกิริยาในดวงอาทิตย 2. นิวเคลียสเดิมแตกออกเปนสองนิวเคลียสใหม 3. มวลที่หายไปกลายเปนพลังงาน 4. กอใหเกิดปฏิกิริยาลูกโซ30. กัมมันตภาพรังสีใดที่มีอํานาจทะลุทะลวงนอยที่สุด 1. รังสีแกมมา 2. รังสีเอกซ 3. รังสีบีตา 4. รังสีแอลฟา31. แมกมาอยูในสวนใดของโลก 1. เปลือกโลก 2. ธรณีภาค 3. เนื้อโลก 4. แกนโลกช้ันนอก

32. ประเทศใดไมอยูในเขตเกิดแผนดินไหวที่เรียกวา วงแหวนแหงไฟ 1. ญี่ปุน 2. ฟลิปปนส 3. เม็กซิโก 4. อัฟกานิสถาน33. ดินขาวที่ใช ในอุตสาหกรรมเซรามิก เปนผลมาจากการผุพังของหินภูเขาไฟชนิดใด 1. ไรโอไลต 2. พัมมิซ 3. บะซอลต 4. ทัฟฟ34. ภูเขาไฟในบริเวณใดที่เปนผลมาจากการชนกันของแผนธรณีภาคทวีปกับแผนธรณีภาคใตมหาสมุทร 1. เทือกเขาหิมาลัย 2. ภูเขาไฟฟูจิยามา 3. ภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู 4. เทือกเขาแอนดีส35. หลักฐานจากรอยตอของแผนธรณีคูใดที่ทําใหเชื่อวาแผนดินทั้งหมดเคยติดกันเปนแผนเดียวกันในอดีต 1. ทวีปอเมริกาเหนือ กับ ทวีปอเมริกาใต 2. ทวีปอเมริกาใต กับ ทวีปแอฟริกา 3. ทวีปออสเตรเลีย กับ ทวีปเอเชีย 4. ทวีปยุโรป กับ ทวีปเอเซีย36. ซากดึกดําบรรพพบมากที่สุดในหินชนิดใด 1. หินบะซอลต 2. หินปูน 3. หินแกรนิต 4. หินออน37. อะตอมที่เกิดขึ้นคร้ังแรกในเอกภพเปนอะตอมของธาตุใด 1. ไนโตรเจน 2. ไฮโดรเจน 3. ฮีเลียม 4. ออกซิเจน38. ดวงอาทิตยอยูในบริเวณแขนใดของกาแล็กซีทางชางเผือก 1. แขนดาวหงส 2. แขนดาวนายพราน 3. แขนดาวเปอรซิอัส 4. แขนดาวกางเขนใต39. นักดาราศาสตรไดคาดการณไววา วาระสุดทายของดาวอาทิตยจะกลายเปนอะไร 1. ดาวแคระขาว 2. ดาวแคระดํา 3. ดาวยักษแดง 4. ดาวนิวตรอน40. ดาวเคราะหในระบบสุริยะที่มีองคประกอบลักษณเปนแกส คือดาวเคราะหใด 1. ดาวอังคาร 2. ดาวโลก 3. ดาวพลูโต 4. ดาวยูเรนัส