2010 online ii_law_01

12
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 __________________________________________________ สอบตรงนิติศาสตร (1) สรุปหลักกฎหมายแพงและพาณิชย กฎหมายแพงและพาณิชย เปนกฎหมายเอกชน เนื่องจากกําหนดความสัมพันธระหวาง เอกชนกับเอกชน ในฐานะเทาเทียมกัน มีทั้งหมด 6 บรรพ และวาดวยเรื่องตางๆ ดังตอไปนีบรรพ 1 วาดวยหลักทั่วไป บรรพ 2 วาดวยหนีบรรพ 3 วาดวยเอกเทศสัญญา บรรพ 4 วาดวยทรัพยสิน บรรพ 5 วาดวยครอบครัว บรรพ 6 วาดวยมรดก เรื่องที1 กฎหมายลักษณะบุคคล บุคคลทางกฎหมาย หมายถึง ผูซึ่งอาจมีหรืออยูภายใตบังคับแหงสิทธิและหนาทีตามกฎหมาย ซึ่งบุคคลตามกฎหมาย แบงเปน 2 ประเภท คือ 1. บุคคลธรรมดา และ 2. นิติบุคคล 1. บุคคลธรรมดา 1.1 เริ่มตนสภาพบุคคล เมื่อมีการคลอด คือ เมื่อทารกออกมาจากครรภมารดาหมดทั้งตัว และอยูรอดเปนทารก คือ หัวใจเตนหรือหายใจแมเพียงเสี้ยววินาที ดังนั้น แมจะยังไมตัดสายสะดือหรือยังไมตัดรกก็ตาม ยอมมีสภาพบุคคลนับแตนั้น 1.2 ความสําคัญของการมีสภาพบุคคล การมีสภาพบุคคลสงผลใหมีสิทธิในรางกายและสิทธิอื่นๆ เชน มรดกซึ่งตนพึง ไดรับเมื่อมีสภาพบุคคล หรือสิทธิในผลประโยชนอื่นบางประการซึ่งพึงไดรับหากทารกในครรภมีสภาพบุคคล กลาวคือ เมื่อเปนทารก ในครรภมารดาขณะบิดาตายและภายหลังไดคลอดและอยูรอดเปนทารกแลว ยอมเรียกรองสิทธิเหลานั้นยอนหลังไปได เชน ตัวอยาง บิดาเสียชีวิตในขณะที.. เอ อยูในครรภมารดาได 6 เดือน ดังนี.. เอ เมื่อคลอด และอยูรอดเปนทารกแลว ยอมมีสิทธิใน มรดกนั้น

Upload: rathasat-keskaew

Post on 28-May-2015

21 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2010 online ii_law_01

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 __________________________________________________ สอบตรงนิติศาสตร (1)

สรุปหลักกฎหมายแพงและพาณิชย กฎหมายแพงและพาณิชย เปนกฎหมายเอกชน เนื่องจากกําหนดความสัมพันธระหวาง เอกชนกับเอกชน ในฐานะเทาเทียมกัน มีท้ังหมด 6 บรรพ และวาดวยเรื่องตางๆ ดังตอไปน้ี บรรพ 1 วาดวยหลักทั่วไป บรรพ 2 วาดวยหนี้ บรรพ 3 วาดวยเอกเทศสัญญา บรรพ 4 วาดวยทรัพยสิน บรรพ 5 วาดวยครอบครัว บรรพ 6 วาดวยมรดก เรื่องที่ 1 กฎหมายลักษณะบุคคล บุคคลทางกฎหมาย หมายถึง ผูซึ่งอาจมีหรืออยูภายใตบังคับแหงสิทธิและหนาที่ตามกฎหมาย ซึ่งบุคคลตามกฎหมาย แบงเปน 2 ประเภท คือ 1. บุคคลธรรมดา และ 2. นิติบุคคล 1. บุคคลธรรมดา 1.1 เร่ิมตนสภาพบุคคล เมื่อมีการคลอด คือ เมื่อทารกออกมาจากครรภมารดาหมดทั้งตัว และอยูรอดเปนทารก คือ หัวใจเตนหรือหายใจแมเพียงเส้ียววินาที ดังนั้น แมจะยังไมตัดสายสะดือหรือยังไมตัดรกก็ตาม ยอมมีสภาพบุคคลนับแตน้ัน 1.2 ความสําคัญของการมีสภาพบุคคล การมีสภาพบุคคลสงผลใหมีสิทธิในรางกายและสิทธิอ่ืนๆ เชน มรดกซึ่งตนพึงไดรับเมื่อมีสภาพบุคคล หรือสิทธิในผลประโยชนอ่ืนบางประการซึ่งพึงไดรับหากทารกในครรภมีสภาพบุคคล กลาวคือ เม่ือเปนทารก ในครรภมารดาขณะบิดาตายและภายหลังไดคลอดและอยูรอดเปนทารกแลว ยอมเรียกรองสิทธิเหลานั้นยอนหลังไปได เชน ตัวอยาง บิดาเสียชีวิตในขณะที่ ด.ช. เอ อยูในครรภมารดาได 6 เดือน ดังนี้ ด.ช. เอ เมื่อคลอด และอยูรอดเปนทารกแลว ยอมมีสิทธิในมรดกนั้น

Page 2: 2010 online ii_law_01

สอบตรงนิติศาสตร (2) __________________________________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

1.3 ภูมิลําเนาของบุคคล - ใหถือหลักแหลงสําคัญของบุคคลนั้นวาอาศัยอยูท่ีใด ซึ่งอาจมีหลายแหงก็ได เชน ในกรณีท่ีผูน้ันอยูอาศัยสับเปล่ียนไปมา ดังนั้น ภูมิลําเนาของบุคคลจึงไมจําเปนตองมีแหงเดียว - ถาไมมีภูมิลําเนาปรากฏเปนหลักแหลง ใหถือวาถิ่นที่พบตัวบุคคลนั้น เปนภูมิลําเนา - คูสมรส ถือเอาภูมิลําเนาของทั้งสามี ภริยา ท้ังคู เวนแตแสดงเจตนาแยกกันอยางชัดแจง - ผูเยาว ถือตามผูแทนโดยชอบธรรม แตถาบิดา มารดาแยกกันอยู ใหถือตามภูมิลําเนาที่บิดาหรือมารดาที่ผูเยาวอยูดวย - คนไรความสามารถ ถือตามภูมิลําเนาของผูอนุบาล - บุคคลอาจมีภูมิลําเนาเฉพาะการได เชน การยายที่อยูดวยคําส่ังราชการ ใหถือวา ถิ่นที่อยูท่ีถูกโยกยายไปนั้นเปนภูมิลําเนา - บุคคลผูตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก จะมีภูมิลําเนาที่ทัณฑสถานหรือเรือนจํา 1.4 บุคคลที่หยอนความสามารถ 1.4.1 ผูเยาว คือ บุคคลที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ซึ่งจะบรรลุนิติภาวะไดน้ันโดย 2 วิธี คือ 1) อายุครบ 20 ปบริบูรณ หรือ 2) ถาอายุยังไมครบ 20 ปบริบูรณ ตองไดทําการสมรสโดยถูกตองตามกฎหมาย ดวยการจดทะเบียนสมรสนอกจากนั้น ถาชายและหญิงมีอายุครบ 17 ปบริบูรณ แตยังไมครบ 20 ปบริบูรณ ท้ังคูตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม ถาอายุไมถึง 17 ป จะตองไดรับคําส่ังศาลอีกดวย คือ ศาลตองอนุญาตใหสมรสกอน ในกรณีมีเหตุอันสมควร เชน กรณีหญิงตั้งครรภ หลักทั่วไปในการทํานิติกรรมของผูเยาว ตองไดรับความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมกอน ถาไมไดความยินยอม นิติกรรมที่ผูเยาวทําลงจะมีผลเปนโมฆียะ เวนแตจะเขาขอยกเวนตอไปน้ี ขอยกเวนในการทํานิติกรรมของผูเยาว คือ นิติกรรมที่ผูเยาวสามารถทําไดเองโดยไมตองขอความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรม 1) นิติกรรมที่ไดมาซึ่งสิทธิหรือหลุดพนจากหนาที่ 2) นิติกรรมที่ตองทําเองเฉพาะตัว เปนนิติกรรมที่ผูเยาวตองตัดสินใจเองโดยแท 3) นิติกรรมที่ทําลงใหสมแกฐานานุรูปและจําเปนตอการเลี้ยงชีพ 4) กรณีทําพินัยกรรม ผูเยาวจะทําพินัยกรรมไดเมื่ออายุครบ 15 ปบริบูรณ ถาผูเยาวยังอายุไมครบ 15 ปบริบูรณ ยอมมีผลทําใหพินัยกรรมนั้นเปนโมฆะ 5) ผูเยาวประกอบกิจการคา ซึ่งผูแทนโดยชอบธรรมไดยินยอมแลว 1.4.2 คนไรความสามารถ คือ คนสติไมสมประกอบหรือเรียกวาคนวิกลจริต ซึ่งถูกศาลส่ังใหเปนคนไรความสามารถ โดยศาลจะตั้ง “ผูอนุบาล” ใหเปนผูใชอํานาจปกครองคนไรความสามารถ คนไรความสามารถ ถาทํานิติกรรมยอมเปน โมฆียะ เสมอ ผูอนุบาลตองทําแทน 1.4.3 คนเสมือนไรความสามารถ คือ ผูท่ีไมอาจจัดการงานของตนเองได เพราะอาจมีกายพิการ หรือจิตฟนเฟอนแตไมถึงขนาดวิกลจริต หรือเสพสุรายาเมาเปนอาจิณ เมื่อมีการรองขอแลวศาลจะตั้ง “ผูพิทักษ” ใหเปนผูใชอํานาจปกครองดูแลคนเสมือนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ ทํานิติกรรมได สมบูรณ เวนแตการทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินที่สําคัญ ตองขอความยินยอมจากผูพิทักษกอน มิฉะนั้นจะเปน โมฆียะ

Page 3: 2010 online ii_law_01

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 __________________________________________________ สอบตรงนิติศาสตร (3)

1.4.4 คนวิกลจริต คือ คนบา ท่ียังไมถูกศาลส่ังใหเปนคนไรความสามารถ คนวิกลจริต โดยปกติทํานิติกรรมได มีผลสมบูรณ เวนแต ก) ทํานิติกรรมขณะที่จริตวิกล และ ข) คูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูดวยวาผูทํานิติกรรมเปนคนวิกลจริต ซึ่งจะมีผลเปน โมฆียะ 1.5 การสิ้นสภาพบุคคล 1.5.1 ตาย หมายถึง กานสมองหยุดทํางาน 1.5.2 สาบสูญ หมายถึง การตายโดยผลของกฎหมาย แบงเปน 2 กรณี - กรณีธรรมดา บุคคลไปเสียจากภูมิลําเนา หรือถิ่นที่อยูโดยไมมีใครทราบวาเปนตายรายดีอยางไร และ พนเวลา 5 ป - กรณีพิเศษ ซึ่งเกิดเหตุภัยพิบัติ หรือทําการสงคราม หรือเกิดภยันตรายอันอาจเปนภัยถึงชีวิต โดยไมมีใครทราบวาเปนตายรายดีอยางไร เมื่อพนกําหนดเวลา 2 ป ความสําคัญ*** การสาบสูญทั้งสองกรณีขางตน ใหผูมีสวนไดเสีย เชน บิดามารดา คูสมรส ผูสืบสันดาน หรืออัยการรองตอศาลใหมีคําส่ังใหผูน้ันเปนคนสาบสูญ และเปนคนสาบสูญได ศาลตองส่ังใหเปนคนสาบสูญเทานั้น 2. นิติบุคคล คือ บุคคลที่เกิดขึ้นโดยกฎหมาย เชน กระทรวง ทบวง กรม จังหวัด เทศบาล อบจ. อบต. กรมตํารวจ กองทัพเรือ/บก/อากาศ วัด วัดของศาสนาอื่นที่จดทะเบียนเปนนิติบุคคลแลว หางหุนสวนจดทะเบียน บริษัทจํากัด สมาคม มูลนิธิ เปนตน - นิติบุคคล เมื่อจดทะเบียนแลว ยอมเกิดสิทธิและหนาที่เหมือนบุคคลธรรมดา เชน เปนเจาของทรัพยได ทํานิติกรรมสัญญาได โดยผานผูแทนนิติบุคคล แตสิทธิและหนาที่บางประการที่นิติบุคคลไมอาจทําได เชน การจดทะเบียนสมรส การรับรองบุตร การรับรองบุตรบุญธรรม - นิติบุคคลที่พบในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มี 5 ประเภท ไดแก 1. หางหุนสวนสามัญจดทะเบียน 2. หางหุนสวนจํากัด 3. บริษัทจํากัด 4. สมาคม 5. มูลนิธิ ขอควรจํา*** บริษัทมหาชนจํากัด มิใชนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย แตเปนนิติบุคคลตาม พ.ร.บ. บริษัทมหาชน พ.ศ. 2535 - ภูมิลําเนาของนิติบุคคล ไดแก ท่ีตั้งสํานักงานใหญ หรือถิ่นที่เปนที่ตั้งที่ทําการ หรือถิ่นที่ไดเลือกเอาเปนภูมิลําเนาเฉพาะการ - นิติบุคคลกับบุคคลธรรมดาแสดงเจตนาที่แตกตางกัน คือ นิติบุคคล ใหนึกถึงองคกร จะแสดงเจตนาวาจะทําสัญญา หรือ ดําเนินธุรกรรมใด ไดน้ันตองผานผูแทนนิติบุคคล และการที่ทํานั้นตองไมเกินวัตถุประสงคแหงนิติบุคคลนั้น หากกระทําเกินขอบแหงวัตถุประสงคยอมไมผูกพันตอนิติบุคคลนั้น แตหากนิติบุคคลทําการดังกลาวแสวงหาผลประโยชนเร่ือยมา ยอมไมอาจปฏิเสธความรับผิดได ตัวอยาง เชน บริษัท นํ้ามัน จํากัด มีวัตถุประสงคในการคาน้ํามัน แตภายหลังกลับรับจอดรถยนต เชนนี้บริษัทดังกลาวกระทําเกินขอบเขตวัตถุประสงคแหงนิติบุคคล หากภายหลังรถของลูกคาหายไป บริษัทดังกลาวยอมตองรับผิดชอบในเหตุน้ัน

Page 4: 2010 online ii_law_01

สอบตรงนิติศาสตร (4) __________________________________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

เรื่องที่ 2 กฎหมายลักษณะทรัพย ทรัพย หมายความวา วัตถุมีรูปราง ทรัพยสิน หมายความรวมทั้งทรัพยและวัตถุไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได ขอสังเกต ทรัพย นอกจากหมายความรวมถึงวัตถุมีรูปรางแลว จะตองเปนวัตถุท่ีอาจมีราคาและอาจถือเอาไดดวยตามความหมายของทรัพยสิน 1. ประเภทของทรัพยสิน 1.1 อสังหาริมทรัพย หมายความวา ท่ีดินและทรัพยอันติดอยูกับท่ีดินมีลักษณะเปนการถาวร หรือประกอบเปนอันเดียวกับท่ีดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับท่ีดิน หรือทรัพยอันติดอยูกับท่ีดิน หรือประกอบเปนอันเดียวกับท่ีดินนั้นดวย 1.2 สังหาริมทรัพย หมายความวา ทรัพยสินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย และหมายความรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยสินน้ันดวย 1.3 ทรัพยแบงได หมายความวา ทรัพยอันอาจแยกออกจากกันเปนสวนๆ ไดจริงถนัดชัดแจง แตละสวนไดรูปบริบูรณลําพังตัว 1.4 ทรัพยแบงไมได หมายความวา ทรัพยอันจะแยกออกจากกันไมได นอกจากเปลี่ยนแปลงภาวะของทรัพย และหมายความรวมถึงทรัพยท่ีมีกฎหมายบัญญัติวาแบงไมไดดวย ความสําคัญ*** การแบงประเภททรัพยออกเปนทรัพยแบงไดและทรัพยแบงไมได สวนใหญจะใชเพื่อประโยชนของผูเปนเจาของรวม เพราะถาเปนทรัพยแบงไดก็มักไมมีปญหา สามารถแบงไดตามสวน แตหากเปนทรัพยแบงไมไดอาจตองมีวิธีแบงอยางอื่น เชน นําทรัพยไปขายเพื่อนําเงินมาแบงกัน เปนตน 1.5 ทรัพยนอกพาณิชย หมายความวา ทรัพยท่ีไมสามารถถือเอาไดและทรัพยท่ีโอนแกกันมิไดโดยชอบดวยกฎหมาย ตัวอยาง เชน สิทธิท่ีจะไดรับคาอุปการะเลี้ยงดูเปนทรัพยนอกพาณิชยจะสละ หรือโอนไมได หรือท่ีวัด ท่ีธรณีสงฆ หรือท่ีศาสนสมบัติกลางเปนทรัพยนอกพาณิชย 2. สวนควบ สวนควบของทรัพย หมายความวา สวนซึ่งโดยสภาพแหงทรัพยหรือโดยจารีตประเพณีแหงทองถิ่นเปนสาระสําคัญในความเปนอยูของทรัพยน้ัน และไมอาจแยกจากกันไดนอกจากจะทําลาย ทําใหบุบสลาย หรือทําใหทรัพยน้ันเปล่ียนแปลงรูปทรง หรือสภาพไป องคประกอบของสวนควบ 1. เปนสาระสําคัญในความเปนอยูของตัวทรัพย มีอยู 2 ลักษณะ คือ - โดยสภาพของตัวทรัพยเอง - โดยจารีตประเพณีแหงทองถิ่น ตัวอยาง บานเปนสาระสําคัญของที่ดิน บานจึงเปนสวนควบของที่ดิน 2. ทรัพยท่ีมารวมกันนั้นไมอาจแยกจากกันได นอกจากจะทําลาย ทําใหบุบสลายหรือทําใหทรัพยน้ันเปล่ียนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป 3. อุปกรณ หมายความวา สังหาริมทรัพยซึ่งโดยปกตินิยมเฉพาะถิ่น หรือโดยเจตนาชัดแจงของเจาของทรัพยท่ีเปนประธาน เปนของใชประจําอยูกับทรัพยท่ีเปนประธานเปนอาจิณเพื่อประโยชนแกการจัดดูแล ใชสอย หรือรักษาทรัพยท่ีเปนประธาน และเจาของทรัพยไดนํามาสูทรัพยท่ีเปนประธานโดยการนํามาติดตอหรือปรับเขาไว หรือทําโดยประการอื่นใดในฐานะเปนของใชประกอบกับทรัพยท่ีเปนประธานนั้น

Page 5: 2010 online ii_law_01

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 __________________________________________________ สอบตรงนิติศาสตร (5)

4. ดอกผล ดอกผลมีอยู 2 ชนิด คือ 1. ดอกผลธรรมดา 2. ดอกผลนิตินัย ดอกผลธรรมดา หมายความวา ส่ิงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย ซึ่งไดมาจากตัวทรัพย โดยการมีหรือใชทรัพยน้ันตามปกตินิยม และสามารถถือเอาไดเมื่อขาดจากทรัพยน้ัน ดอกผลนิตินัย หมายความวา ทรัพยหรือประโยชนอยางอื่นที่ไดมาเปนครั้งคราวแกเจาของทรัพยจากผูอ่ืนเพื่อการที่ไดใชทรัพยน้ัน และสามารถคํานวณและถือเอาไดเปนรายวันหรือตามระยะเวลาที่กําหนดไว สาระสําคัญของดอกผลนิตินัย 1. ดอกผลนิตินัยตองเปนทรัพยหรือเปนประโยชน 2. ดอกผลนิตินัยตองเปนทรัพยท่ีตกไดแกเจาของแมทรัพย 3. ดอกผลนิตินัยจะตองตกไดแกผูเปนเจาของแมทรัพยเปนการตอบแทนจากการที่ผูอ่ืนไดใชตัวแมทรัพยน้ัน 4. ดอกผลนิตินัยจะตองเปนดอกผลที่ตกไดแกเจาของแมทรัพยเปนครั้งคราว ขอสังเกต ผลกําไรที่ไดจากการขายทรัพยไมใชดอกผลนิตินัย แตผลกําไรที่ไดจากการแบงกําไรของหางหุนสวนหรือเงินปนผลใหแกผูถือหุนในบริษัท ถือวาเปนดอกผลนิตินัย ผูใดมีสิทธิในดอกผล เจาของกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินเปนเจาของดอกผลของตัวแมทรัพยน้ัน ไมวาจะเปนดอกผลนิตินัย หรือดอกผลธรรมดา ขอยกเวนที่ผูอื่นมีสิทธิในดอกผล 1. มีกฎหมายบัญญัติไวเปนพิเศษ เชน - ดอกผลของสินสวนตัวเปนสินสมรส - บุคคลผูไดรับทรัพยสินไวโดยสุจริต ยอมจะไดดอกผลอันเกิดแตทรัพยสินนั้นตลอดเวลาที่ยังคงสุจริตอยู - ถาจะตองสงทรัพยสินคืนแกผูมีสิทธิเอาคืน ผูน้ันไมตองคืนดอกผลตราบเทาที่ยังสุจริตอยู เมื่อใดรูวาจะตองคืนก็ถือวาไมสุจริตแลว 2. มีขอตกลงไวเปนอยางอื่น 3. บุคคลที่ไมไดเปนเจาของแมทรัพยน้ันมีสิทธิเอาดอกผลไปชําระหนี้ท่ีเจาของแมทรัพยเปนหนี้ตน 5. การครอบครองปรปกษ เปนการที่บุคคลครอบครองทรัพยสินของผูอื่น โดยสงบและเปดเผยดวยเจตนาเปนเจาของ กรณี อสังหาริมทรัพย ไดครอบครองติดตอกันเปนเวลา 10 ป กรณี สังหาริมทรัพย ได ครอบครองติดตอกัน เปนเวลา 5 ป บุคคลนั้นไดกรรมสิทธิ์

Page 6: 2010 online ii_law_01

สอบตรงนิติศาสตร (6) __________________________________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

เรื่องที่ 3 กฎหมายลักษณะนิติกรรม-สัญญา นิติกรรม หมายความวา การใดๆ อันทําลงโดยชอบดวยกฎหมาย และดวยใจสมัคร มุงโดยตรงตอการผูกนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคล เพื่อจะกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ 1. ลักษณะของนิติกรรม 1.1 ตองมีการแสดงเจตนาของบุคคล 1.2 ตองประกอบดวยใจสมัคร 1.3 มุงใหมีผลผูกพันในทางกฎหมาย 1.4 เปนการกระทําที่ชอบดวยกฎหมาย 1.5 การกระทํานั้นเพื่อกอใหเกิดการเคลื่อนไหวในสิทธิ ขอควรจํา*** การทํานิติกรรมที่สมบูรณตามกฎหมายจะตอง ครบเงื่อนไขทั้ง 5 ประการ จึงจะมีผลบังคับใชได หากนิติกรรมใดทําไมถูกตองตามที่กฎหมายกําหนดแลว จะสงผลใหนิติกรรมนั้นไมสมบูรณหรืออาจตกเปนโมฆะตามกฎหมาย 2. ประเภทของนิติกรรม นิติกรรมอาจแบงออกไดประเภท 3 ประเภท คือ 2.1 นิติกรรมฝายเดียวกับนิติกรรมหลายฝาย - นิติกรรมฝายเดียว เชน นิติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลฝายเดียว เชน การตั้งมูลนิธิ การทําพินัยกรรม เปนตน - นิติกรรมหลายฝาย เชน นิติกรรมที่เกิดไดโดยการแสดงเจตนาตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป เชน สัญญาซื้อขาย สัญญาเชา เปนตน 2.2 นิติกรรรมที่มีผลเมื่อผูทํามีชีวิตอยู กับนิติกรรมที่มีผลเมื่อผูทําตายแลว - นิติกรรมที่มีผลเมื่อผูทํายังมีชีวิตอยู เชน นิติกรรรมที่ผูทําเจตนาประสงคจะใหเกิดผล ในขณะมีชีวิตอยู เชน คํามั่นจะใหรางวัล เปนตน - นิติกรรมที่มีผลเมื่อผูทําตายแลว เชน นิติกรรมที่ผูทําประสงคใหเปนผล เมื่อตนเองไดเสียชีวิตลงแลว เชน พินัยกรรม เปนตน 2.3 นิติกรรมที่มีคาตอบแทน กับนิติกรรมไมมีคาตอบแทน 3. ความสามารถของบุคคลในการทํานิติกรรม กลาวคือ ถานิติกรรมใดไดกระทําลงโดยผูหยอนความสามารถตามกฎหมาย ซึ่งไดแกบุคคล 4 จําพวก คือ ผูเยาว, คนวิกลจริต, คนไรความสามารถ และคนเสมือนไรความสามารถ นิติกรรมนั้นยอมตกเปนโมฆียะ 4. แบบแหงนิติกรรม หมายถึง วิธีการที่กฎหมายกําหนดไวเปนพิเศษเพื่อเปนหลักบังคับใหผูทํานิติกรรม ตองทําตามใหครบถวน มิฉะนั้น นิติกรรมจะตกเปนโมฆะ เชน ชนิดที่ตองทําเปนหนังสือ ไดแก สัญญาเชาซื้อ, สัญญาตัวแทนบางประเภท เปนตน หรือกรณีท่ี ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียน ตอพนักงานเจาหนาที่ เชน สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย, สัญญาขายฝาก เปนตน

Page 7: 2010 online ii_law_01

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 __________________________________________________ สอบตรงนิติศาสตร (7)

5. ความสมบูรณของการแสดงเจตนา การแสดงเจตนาทํานิติกรรมที่มีผลใหนิติกรรมนั้นๆ ไมสมบูรณตามกฎหมาย อาจมีลักษณะดังตอไปน้ี 5.1 การแสดงเจตนาซอนเรน กลาวคือ เปนการแสดงเจตนาออกมาใหเห็นวามุงที่ จะผูกพันตามที่จะแสดงออก แตแทท่ีจริงแลวมิไดประสงคตามที่ไดแสดงออกแตประการใด นิติกรรมนั้นไมตกเปนโมฆะ เวนแตคูกรณีอีกฝายหนึ่งจะไดรูถึงเจตนาอันซอนอยูในใจของผูแสดงนั้น 5.2 การแสดงเจตนาลวง ไดแก การที่ผูแสดงเจตนาไดสมรูรวมคิดกับคูกรณีอีกฝายหนึ่ง ท่ีเปนผูรับการแสดงเจตนาโดยการแสรงแสดงเจตนาออกมาที่ไมตรงกับเจตนาที่แทจริง ท้ังนี้เพียงเพื่อลวงบุคคลภายนอก การแสดงเจตนาลวงเชนวานั้นมีผลเปนโมฆะ 5.3 นิติกรรมอําพราง จะมีลักษณะเปนการทํานิติกรรมขึ้นมาสองฉบับ ซึ่งมีเนื้อหา ขอความที่แตกตางกัน โดยทํานิติกรรมอันหนึ่งขึ้นมาเพื่อปกปดอําพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งที่ประสงคใหมีผลผูกพันระหวางกันเอง ทําใหนิติกรรมมีผลเปนโมฆะ เชนเดียวกัน 5.4 การแสดงเจตนาโดยสําคัญผิด หมายถึง การแสดงเจตนาโดยเขาใจผิด ซึ่งมีท้ังสวนที่ทําใหเปนโมฆะ และโมฆียะ 5.5 การทํานิติกรรมเพราะกลฉอฉล คือ การหลอกลวง เพื่อใหบุคคลอื่นทํานิติกรรม ซึ่งมีท้ังฉอฉลโดยคูกรณี และบุคคลภายนอก สงผลใหเปนไดท้ัง โมฆียะ หรือสมบูรณ 5.6 การทํานิติกรรมเพราะถูกขมขู คือ ตองเปนการขมขูโดยไมชอบดวยกฎหมาย ซึ่งมีท้ังคูกรณีขมขู และบุคคลภายนอกขมขู สงผลใหนิติกรรมนั้นเปนโมฆียะ 5.7 การทํานิติกรรมที่ตองหามชัดแจงตามกฎหมาย โดยหลักแลวสงผลใหนิติกรรมนั้นเปนโมฆะ 5.8 การทํานิติกรรมที่พนวิสัย ขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน โดยหลักแลวเปนโมฆะ 6. ความไมเปนผลแหงนิติกรรม 6.1 โมฆะกรรม คือ นิติกรรมนั้นเสียเปลามาตั้งแตตนไมมีผลบังคับตามกฎหมาย 6.2 โมฆียกรรม คือ นิติกรรมที่อาจถูกบอกลางใหเปนโมฆะแตเร่ิมแรกได และอาจไดรับสัตยาบันทําใหนิติกรรมนั้นสมบูรณมาแตเร่ิมแรกไดเชนกัน สัญญา เปนนิติกรรมหลายฝายเกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแตสองฝายขึ้นไป ซึ่งแตละฝายนั้นอาจจะเปนบุคคล คนเดียว หรือหลายคนก็ได สัญญาเปนนิติกรรมอยางหนึ่ง ฉะนั้น จึงนําเอาหลักเกณฑเกี่ยวกับความสมบูรณของนิติกรรมมาใชบังคับ แกสัญญาดวย 1. องคประกอบของสัญญา 1.1 สัญญาเกิดขึ้นโดยบุคคลตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป เนื่องจากสัญญาเปนนิติกรรมสองฝาย จึงจําเปนที่ตองมีคูสัญญาตั้งแตสองฝายขึ้นไป 1.2 มีการแสดงเจตนาที่ถูกตองตรงกันของคูสัญญา กลาวคือ มีการแสดงเจตนาขอทําสัญญาที่เรียกวา “คําเสนอ” และ คําตอบรับตามคําเสนอนั้นที่เรียกวา “คําสนอง” สัญญาจึงจะเกิดขึ้น 1.3 ในการทําสัญญาดังกลาวตองมีวัตถุประสงคของคูกรณี กลาวคือ ในการแสดงเจตนาทํานิติกรรมจะตองมีวัตถุประสงคในการทํานิติกรรมทั้งส้ิน ไมวาจะเปนนิติกรรมฝายเดียว หรือนิติกรรมสองฝายก็ตาม ซึ่งหากไมมีวัตถุประสงคยอมไมเกิดเปนนิติกรรม

Page 8: 2010 online ii_law_01

สอบตรงนิติศาสตร (8) __________________________________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

2. ประเภทของสัญญา 2.1 สัญญาตางตอบแทนกับสัญญาไมตางตอบแทน - “สัญญาตางตอบแทน” เปนสัญญาที่คูสัญญาตางเปนทั้งเจาหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน กลาวคือ คูสัญญาตางฝาย ตางมีภาระหนาที่ในการตอบแทนตอกัน - “สัญญาไมตางตอบแทน” เปนสัญญาที่กอหนี้ฝายเดียวโดยที่ไมทําใหคูสัญญาทั้งสองฝายตกเปนเจาหนี้ลูกหนี้ซึ่งกันและกัน กลาวคือ มีคูสัญญาฝายหนึ่งเทานั้นที่เปนเจาหนี้ โดยที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งเปนเพียงลูกหนี้เทานั้น 2.2 สัญญามีคาตอบแทนกับสัญญาไมมีคาตอบแทน - “สัญญามีคาตอบแทน” เปนสัญญาที่คูสัญญาตางมีสิทธิไดรับคาตอบแทนซึ่งกันและกัน ซึ่งคาตอบแทนนั้นอาจจะเปนทรัพยสิน แรงงาน หรือประโยชนอยางอื่นใดก็ได - “สัญญาไมมีคาตอบแทน” เปนสัญญาที่กอประโยชนใหคูสัญญาแตเพียงฝายเดียวโดยที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งไมไดรับประโยชนอยางใดเปนคาตอบแทน 2.3 สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ - “สัญญาประธาน” เปนสัญญาที่เกิดขึ้นอยูไดโดยลําพังไมขึ้นกับสัญญาอื่นใด ซึ่งโดยอาศัยความสมบูรณของสัญญาจากตัวสัญญานั้นเองเทานั้น เชน สัญญาซื้อขาย เปนตน - “สัญญาอุปกรณ” เปนสัญญาที่อาศัยความสมบูรณจากสัญญาอื่นอีกฉบับหนึ่ง โดยที่ไมสามารถเกิดขึ้นและเปนอยูไดโดยลําพังดวยตนเองได 2.4 สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก เปนสัญญาที่คูสัญญาฝายหนึ่งตกลงกับคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง โดยมีเงื่อนไขวา จะใหคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งจัดการชําระหนี้ท่ีคูสัญญาผูกพันใหแกบุคคลภายนอกตามที่ไดตกลงกัน โดยที่บุคคลภายนอกนั้นไมจําตองเขามาเปนคูสัญญาดวย

Page 9: 2010 online ii_law_01

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 __________________________________________________ สอบตรงนิติศาสตร (9)

เรื่องที่ 4 กฎหมายลักษณะหนี้ 4.1 หนี้ หมายถึง นิติสัมพันธระหวางบุคคลสองฝาย ฝายหนึ่งเรียกวาเจาหนี้ อีกฝายหนึ่งเรียกวาลูกหนี้ โดยเจาหนี้มีสิทธิท่ีจะเรียกรองใหลูกหนี้ปฏิบัติการชําระหนี้ไดตามกฎหมาย ความผูกพันที่สามารถใชสิทธิเรียกรองไดตามกฎหมาย เชน หนี้โดยการละเมิด หรือหนี้โดยกฎหมาย เชน ภาษีอากร เปนตน 4.2 องคประกอบของหนี้ มีลักษณะสําคัญ ดังนี้ 4.2.1 การมีนิติสัมพันธ (ความผูกพันกันในกฎหมาย) หากกฎหมายไมรองรับการนั้นก็ไมเกิดหนี้ผูกพันดวย 4.2.2 การมีเจาหนี้และลูกหนี้ (เปนบุคคลสิทธิ) 4.3.3 ตองมีวัตถุแหงหนี้ ไดแก - หนี้กระทําการ เชน ลูกจางตองทํางานใหนายจาง - หนี้งดเวนกระทําการ เชน ผูเปนหุนสวนตองงดเวนไมทําการคาแขงกับหางหุนสวน - หนี้สงมอบทรัพยสิน (หรือโอนกรรมสิทธิ์) เชน ผูใหเชาตองสงมอบทรัพยสินซึ่งใหเชา 4.3 บอเกิดแหงหนี้ 4.3.1 หนี้เกิดโดย นิติกรรม-สัญญา ซึ่งเมื่อมีการผูกนิติสัมพันธขึ้น ก็ยอมเกิดความเปนเจาหนี้-ลูกหนี้ขึ้น โดยปกติ เมื่อเกิดหนี้ ลูกหนี้จะหลุดพนจากเคราะหแหงหนี้ไดดวยการชําระหนี้ ซึ่งจะชําระหนี้อยางไรนั้น ยอมเปนไปตามที่ตกลงในสัญญาที่ทําลง กฎหมายจะไมยุงเกี่ยว แตจะคอยควบคุมอยูกวางๆ มิใหออกนอกกรอบที่กฎหมายระบุ เพราะนิติกรรมเปนบรรดากรณีท่ีกฎหมายไมอาจกลาวไดท้ังหมด เชน การซื้อขายรถยนต การเชาบาน เปนตน การตกลงกันทางธุรกิจ กฎหมายจึงไมเกี่ยวของดวย แตกําหนดกรอบมิใหกระทําทุจริตเทานั้น 4.3.2 หนี้เกิดโดย นิติเหตุ คือ เหตุท่ีเกิดขึ้นโดยการกระทําซึ่งไมมุงกอใหเกิดผลตามกฎหมาย แตกฎหมายจะเอาเรื่องวา กระทําดั่งนี้ผิด และตองชดใช เชน ละเมิด ลาภมิควรได (การไดทรัพยสินเกินสวนที่ควรจะได) จัดการงานนอกสั่ง หรือเปนนิติเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ เชน บุตรจําเปนตองอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา เปนตน โดยผูกระทําผิดตามหนี้ลักษณะนี้ ตองจายคาสินไหมทดแทน ซึ่งศาลจะเปนผูวินิจฉัยตามควรแกพฤติการณและความรายแรงแหงเหตุ 4.4 กําหนดการชําระหนี้ หากคูกรณีมิไดกําหนดเวลาชําระหนี้ไวแนนอน กฎหมายใหถือวา หนี้น้ันตองถึงกําหนดชําระโดยพลัน แตถาตกลงกันไวแลว ก็ใหเปนไปตามที่ตกลงไว ขอควรจํา*** - การชําระดอกเบี้ย หากตกลงอัตราดอกเบี้ยกันไว กฎหมายใหคิดอัตราไมเกินรอยละ15 ตอป สวนกรณีมิไดตกลงอัตราดอกเบี้ยกันไว ใหคิดอัตรารอยละ 7.5 ตอป - หากฝาฝน คิดดอกเบี้ยเกินอัตราท่ีกฎหมายกําหนด คือ เกินรอยละ15 ตอป กฎหมายใหถือวาดอกเบี้ยนั้น เปนโมฆะ มิใหคิดดอกเบี้ยเลย แตเงินตน (ท่ีเปนหนี้) น้ัน ลูกหนี้ยังคงตองชําระอยู

Page 10: 2010 online ii_law_01

สอบตรงนิติศาสตร (10) _________________________________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

4.5 ความระงับแหงหนี้ มี 5 กรณี คือ 4.5.1 การชําระหนี้ เขาหลัก “มีหนี้ตองชําระ” คือ เมื่อมีหนี้ตอกันและไดชําระหนี้แลวก็ถือวาหนี้เปนอันระงับ 4.5.2 การปลดหนี้ คือ เจาหนี้ยอมปลดหนี้ใหแกลูกหนี้โดยเสนหา ทําโดยขีดฆา หรือคืนเอกสารหลักฐานการเปนหนี้ใหแกลูกหนี้เสีย 4.5.3 การหักกลบลบหนี้ คือ บุคคลทั้งสองมีความเปนเจาหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน ก็เอาหนี้ซึ่งกันและกันมาหักกลบกันไป 4.5.4 การแปลงหนี้ใหม คือ เปล่ียนสาระสําคัญของหนี้ เชน เปล่ียนตัวเจาหนี้ เปล่ียนตัวลูกหนี้ เปล่ียนวัตถุแหงหนี้ ตัวอยาง นาย ก เปนหนี้ นาย ข อยู 500 บาท พอถึงกําหนดชําระหนี้ นาย ข ผูเปนเจาหนี้ตกลงกับ นาย ก ให นาย ก ตัดหญาในสนามหลังบาน เปนการชําระหนี้แทนเงิน 4.5.5 หนี้เกลื่อนกลืนกัน คือ หนี้ท่ีความเปนเจาหนี้และลูกหนี้อยูในตัวคนเดียวกัน เชน นาย ข เปนหนี้นาย ก 5,000 บาท แตภายหลังนาย ก ตาย และทําพินัยกรรมยกทรัพยสินใหแก นาย ข แตเพียงผูเดียว เชนนี้กฎหมายใหถือวาหนี้ระงับสินไป เพราะสิทธิและหนาที่ของผูตาย ตกอยูในตัวคนผูเปนลูกหนี้แลว

Page 11: 2010 online ii_law_01

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _________________________________________________ สอบตรงนิติศาสตร (11)

เรื่องที่ 5 กฎหมายลักษณะละเมิด 5.1 หลักเกณฑการละเมิด ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูน้ันทําละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น 5.2 ความรับผิด บุคคลที่ทําละเมิดจะตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนในการกระทําของตนเอง กรณียุยง สงเสริม สนับสนุน หรือรวมกันทําละเมิด ก็ตองรับผิดดวยเชนกัน 5.3 กรณีที่ตองรับผิดในการกระทําละเมิด 1) การใชสิทธิเกินสวน การใชสิทธิซึ่งมีแตจะใหเกิดเสียหายแกบุคคลอื่นนั้น เปนการอันมิชอบดวยกฎหมาย ขอสังเกต*** การปลูกอาคารสูงบังบานที่อยูใกลเคียงจนไมไดรับลมและแสงสวางจากภายนอกพอสมควร เปนละเมิด แตถาเปนยานการคาที่มีความเจริญมาก ท่ีดินมีราคาแพง แมจะปลูกสรางอาคารสูงบังบานผูอ่ืน ก็ถือวาเปนการใชสิทธิตามควรแกสภาพท่ีตั้งที่ดินนั้น ไมเปนละเมิด 2) ความรับผิดของนายจาง นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจางในผลแหงละเมิด ซึ่งลูกจางไดกระทําไปในทางการที่จางนั้น ขอสังเกต*** นายจางมีสิทธิไลเบ้ียลูกจาง เมื่อนายจางซึ่งไดใชคาสินไหมทดแทนใหแกบุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจางไดทํานั้น 3) ความรับผิดของตัวการ ตองรับผิดชอบกับตัวแทนในผลละเมิด ซึ่งตัวแทนไดกระทําไปภายในขอบอํานาจแหงฐานะตัวแทน 4) ความรับผิดของผูวาจางทําของ ผูวาจางทําของไมตองรับผิดเพื่อความเสียหายอันผูรับจางไดกอใหเกิดขึ้นแกบุคคล ภายนอกในระหวางทําการงานที่วาจาง เวนแตผูวาจางจะเปนผูผิดในสวนการงานที่ส่ังใหทํา หรือในคําส่ังที่ตนใหไว หรือในการเลือกหาผูรับจาง 5) ความรับผิดของบิดามารดา ผูอนุบาล บุคคลใดแมไรความสามารถเพราะเหตุเปนผูเยาวหรือวิกลจริตก็ยังตองรับผิดในผลที่ตนทําละเมิด บิดามารดาหรือผูอนุบาลของบุคคลเชนวานี้ยอมตองรับผิดรวมกับเขาดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกหนาที่ดูแลซึ่งทําอยูน้ัน ขอสังเกต*** ตองเปนบิดาโดยชอบดวยกฎหมาย ถาเปนบิดาที่ไมชอบดวยกฎหมายถือวาเปนผูดูแลผูเยาวตองบังคับตามขอถัดไป 6) ความรับผิดของครู อาจารย นายจาง หรือผูรับดูแล ครูบาอาจารย นายจาง หรือบุคคลอื่นซึ่งรับดูแลบุคคล ผูไรความสามารถอยูเปนนิตยก็ดี ชั่วคร้ังคราวก็ดี จําตองรับผิดรวมกับผูไรความสามารถในการละเมิดซึ่งเขาไดกระทําลงในระหวางที่อยูในความดูแลของตน ถาหากพิสูจนไดวาบุคคลนั้นๆ มิไดใชความระมัดระวังตามสมควร 7) ความเสียหายอันเกิดจากสัตว ถาความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว ทานวาเจาของสัตวหรือบุคคลผูรับเล้ียงรับรักษาไวแทนเจาของ จําตองใชคาสินไหมทดแทนใหแกฝายที่ตองเสียหายเพื่อความเสียหายอยางใดๆ อันเกิดแตสัตวน้ัน เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวังอันสมควรแกการเล้ียงการรักษาตามชนิดและวิสัยของสัตว หรือตามพฤติการณอยางอื่น หรือพิสูจนไดวาความเสียหายนั้นยอมจะตองเกิดมีขึ้นทั้งที่ไดใชความระมัดระวังถึงเพียงนั้น ขอสังเกต*** ในกรณีท่ีมีผูรับเล้ียงรับรักษาสัตวโดยเจาของไมไดเกี่ยวของดวย ผูรับเล้ียงรับรักษาจะตองรับผิดแตผูเดียว เจาของไมตองรับผิดดวย แตถาผูท่ีเล้ียงรับรักษาเปนการทําแทนเจาของทรัพย เจาของไมพนความรับผิด

Page 12: 2010 online ii_law_01

สอบตรงนิติศาสตร (12) _________________________________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

8) ความเสียหายที่เกิดจากยานพาหนะ บุคคลใดครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอยางใดๆ อันเดินดวยกําลังเครื่องจักรกล บุคคลนั้นจะตองรับผิดชอบเพ่ือการเสียหายอันเกิดแตยานพาหนะนั้น เวนแตจะพิสูจนไดวาการเสียหายนั้นเกิดแตเหตุสุดวิสัย หรือเกิดเพราะความผิดของผูตองเสียหายนั้นเอง 5.4 คาสินไหมทดแทน คาสินไหมทดแทนจะพึงใชโดยสถานใดเพียงใดนั้น ใหศาลวินิจฉัยตามควรแกพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด คาสินไหมทดแทนนั้น ไดแกการคืนทรัพยสินอันผูเสียหายตองเสียไปเพราะละเมิด หรือใชราคาทรัพยสินนั้น รวมทั้งคาเสียหายอันจะพึงบังคับใหใชเพื่อความเสียหายอยางใดๆ อันไดกอขึ้นนั้นดวย ขอสังเกต*** (1) ความเสียหายที่ผูทําละเมิดตองรับผิดตองเปนความเสียหายที่เปนผลโดยตรงจากการกระทําละเมิด (1.1) กรณีท่ีไมเปนคาเสียหายโดยตรงจากการกระทําละเมิด เชน คาเสียหายที่เปนคาใชจายในการดําเนินคดี คารถในการพาพยานไปใหปากคําตอพนักงานสอบสวน คาจางทนายความ เปนตน (1.2) กรณีท่ีเปนคาเสียหายโดยตรงจากการกระทําละเมิด เชน คายานพาหนะไปกลับโรงพยาบาลเพื่อรักษาแผลที่ถูกทําละเมิด คาจางรถนั่งไปทํางานเพราะเดินไมได เปนตน (2) การใชราคาทรัพยสินที่เสียหายจากเหตุละเมิดตองคํานวณราคาทรัพยโดยคิดราคาในขณะเกิดเหตุละเมิด ไมใชคิดจากราคาที่ซื้อเดิม