2011_02 scor metrics - responsiveness

3
Global Knowledge 44 Logistics Digest February 2011 มาตรวัดการตอบสนองของโซ่อุปทาน รอบเวลาในการเติมเต็มคำสั ่งซื ้อ ดร. .วิทยา สุหฤทดำรง บทความที่แล้ว ผมได้กล่าวถึงมาตร วัด (Metrics) ในการวัดสมรรถนะการดำเนิน งานที่สภาโซ่อุปทาน (Supply Chain Coun- cil : SCC) ได้กำหนดไว้ใน แบบจำลอง อ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทาน (Sup- ply Chain Operation Reference Model : SCOR) มาตรวัดในระดับที่ 1 (บนสุด) ตัว แรก คือ การเติมเต็มคำสั่งซื้ออย่างสมบูรณ์ (Perfect Order Fulfillment) เป็นประเด็น ของความน่าเชื่อถือ (Reliability) ของมุม มองที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า ในบทความนี้ ผม ขอขยายความมาตรวัดในประเด็นของการ ตอบสนอง (Responsiveness) คือ มาตร วัด รอบ เวลา ใน การ เติม เต็ม คำ สั่ง ซื้อ (Order Fulfillment Cycle Time) ในราย ละเอียดครับ ภาพที่ 1 มาตรวัดระดับที่ 1 (เชิงยุทธศาสตร์) ของ SCOR Attribute มาตรวัด Reliability Perfect Order Fulfillment ความน่าเชื่อถือ การเติมเต็มคำสั่งซื้ออย่างสมบูรณ์ Responsiveness Order Fulfillment Cycle Time การตอบสนอง รอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อ Agility Supply Chain Flexibility ความปราดเปรียว/ ความยืดหยุ่นของโซ่อุปทาน ยืดหยุ่น Supply Chain Adaptability ความสามารถในการปรับปลี่ยน ของโซ่อุปทาน Cost Supply Chain Management Cost ต้นทุน ต้นทุนของการจัดการโซ่อุปทาน Cost of Goods Sold ต้นทุนสินค้าขาย Assets Cash-to-Cash Cycle Time ทรัพย์สิน รอบเวลาของการแปลงเป็นเงินสด Return on Supply Chain Fixed Assets อัตราผลตอบแทนจากทรัพย์สินถาวร ของโซ่อุปทาน Return on Working Capital อัตราผลตอบแทนของเงินทุนหมุนเวียน มาตรวัดภายใน มาตรวัดที่เผชิญกับลูกค้า มาตรวัดรอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อ (Order Fulfillment Cycle Time) หมายถึง รอบเวลาเฉลี่ยในการเติมเต็มคำสั่งซื้อที่ทำได้โดยสม่ำเสมอ สำหรับ แต่ละคำสั่งซื้อ รอบเวลานี้เริ่มจากเมื่อรับคำสั่งซื้อจากลูกค้า และจบที่เมื่อลูกค้า ตกลงรับในผลิตภัณฑ์ของคำสั่งซื้อนั้นๆ ใน SCOR ยังให้คำอธิบายไว้ด้วยว่า รอบ เวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อที่ได้จับเวลาจากเวลาที่ลูกค้าออกคำสั่งซื้อ จนถึงเวลา ที่คำสั่งซื้อนั้นได้รับการเติมเต็ม จะนับเวลาเป็นรอบเวลาขั้นต้น (‘gross’ cycle time) ซึ่งจะรวมถึงทั้งเวลาที่องค์กรใช้จริงสำหรับเติมเต็มคำสั่งซื้อนั้น (ทั้งเวลาทีเพิ่มคุณค่า และเวลาที่ไม่เพิ่มคุณค่า หรือทั้ง value-add และ non-value-add

Upload: eisquare-publishing

Post on 27-Nov-2014

213 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

Global Knowledgeมาตร​ ด​ าร​ อบ​ นอง​ อง​ ซ่​ ปทาน วั ก ต ส ข โ อุ รอบ​วลา​ น​ าร​ติม​ต็ม​ ำ​ ง​ อ​ เ ใ ก เ เ ค ส่ั ซ้ืดร. .วิทยา สุหฤทดำรงAttribute Reliability ความน่าเชื่อถือ Responsiveness การตอบสนอง Agility ความปราดเปรียว/ ยืดหยุ่น Cost ต้นทุน Assets ทรัพย์สิน มาตรวัดที่เผชิญกับลูกค้ามาตรวัด Perfect Order Fulfillment การ เติม เต็ม คำ สั่ง ซื้ออย่าง สมบูรณ์ Order Fulfillment Cycle Time รอบ เวลา ใน การ เติมเต็ม คำ สั่งซื้อ Supply Chain Flexibilit

TRANSCRIPT

Page 1: 2011_02 SCOR Metrics - Responsiveness

Global Knowledge

44Logistics Digest February 2011

มาตรวัดการตอบสนองของโซ่อุปทานรอบเวลาในการเติมเต็มคำส่ังซ้ือ ดร. .วิทยา สุหฤท ดำรง

บทความที่แล้ว ผมได้กล่าวถึงมาตรวดั(Metrics)ในการวดัสมรรถนะการดำเนนิงานที่สภาโซ่อปุทาน(SupplyChainCoun-cil : SCC) ได้กำหนดไว้ใน แบบ จำลอง อ้างอิง การ ดำเนิน งาน โซ่ อุปทาน (Sup-ply Chain Operation Reference Model : SCOR)มาตรวัดในระดับที่1(บนสุด)ตัวแรกคือการเติมเต็มคำสั่งซื้ออย่างสมบูรณ์(PerfectOrder Fulfillment) เป็นประเด็นของความน่าเชื่อถือ (Reliability) ของมุมมองที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า ในบทความนี้ ผมขอขยายความมาตรวัดในประเด็นของการตอบสนอง (Responsiveness) คือมาตร วัด รอบ เวลา ใน การ เติม เต็ม คำ สั่ง ซื้อ (Order Fulfillment Cycle Time) ในรายละเอียดครับ

ภาพ ที่ 1 มาตร วัด ระดับ ที่ 1 (เชิง ยุทธศาสตร์) ของ SCOR

Attribute มาตร วัด

Reliability PerfectOrderFulfillmentความ น่า เชื่อ ถือ การเติมเต็มคำสั่งซื้ออย่างสมบูรณ์

Responsiveness OrderFulfillmentCycleTimeการ ตอบ สนอง รอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อ

Agility SupplyChainFlexibilityความ ปราด เปรียว/ ความยืดหยุ่นของโซ่อุปทานยืดหยุ่น SupplyChainAdaptability ความสามารถในการปรับปลี่ยน ของโซ่อุปทาน

Cost SupplyChainManagementCostต้นทุน ต้นทุนของการจัดการโซ่อุปทาน CostofGoodsSold ต้นทุนสินค้าขาย

Assets Cash-to-CashCycleTimeทรัพย์สิน รอบเวลาของการแปลงเป็นเงินสด ReturnonSupplyChainFixedAssets อัตราผลตอบแทนจากทรัพย์สินถาวร ของโซ่อุปทาน ReturnonWorkingCapital อัตราผลตอบแทนของเงินทุนหมุนเวียน

มาตรวัดภายใน

มาตรวัดที่เผชิญกับลูกค้า

มาตรวดัรอบเวลาในการเตมิเตม็คำสัง่ซือ้(OrderFulfillmentCycleTime)หมายถึง รอบเวลาเฉลี่ยในการเติมเต็มคำสั่งซื้อที่ทำได้โดยสม่ำเสมอสำหรับแต่ละคำสั่งซื้อรอบเวลานี้เริ่มจากเมื่อรับคำสั่งซื้อจากลูกค้าและจบที่เมื่อลูกค้าตกลงรบัในผลติภณัฑ์ของคำสัง่ซือ้นัน้ๆในSCORยงัให้คำอธบิายไว้ดว้ยวา่รอบเวลาในการเตมิเตม็คำสัง่ซือ้ที่ได้จบัเวลาจากเวลาที่ลกูคา้ออกคำสัง่ซือ้จนถงึเวลาที่คำสั่งซื้อนั้นได้รับการเติมเต็มจะนับเวลาเป็นรอบเวลาขั้นต้น (‘gross’ cycletime)ซึ่งจะรวมถึงทั้งเวลาที่องค์กรใช้จริงสำหรับเติมเต็มคำสั่งซื้อนั้น(ทั้งเวลาที่เพิ่มคุณค่าและเวลาที่ไม่เพิ่มคุณค่าหรือทั้งvalue-addและnon-value-add

Page 2: 2011_02 SCOR Metrics - Responsiveness

Global Knowledge

February 2011 Logistics Digest

45

time)หรอืเวลาที่ยงัไม่ได้ดำเนนิการ(เรยีกวา่dwelltime)เพราะลูกค้าได้ออกคำสั่งซื้อนั้นมาล่วงหน้าดังนั้น รอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อเบื้องต้น (gross order fulfillmentcycletime)นี้จงึไม่ได้สะทอ้นการตอบสนองที่แท้จริงขององค์กร ตวัอย่างเชน่ถ้าองคก์รใช้เวลา6วนัในการเตมิเตม็คำสัง่ซือ้และลกูคา้ออกคำสัง่ซือ้ลว่งหนา้1วนัดงันัน้รอบเวลาในการเตมิเตม็คำสัง่ซือ้ขัน้ตน้จะเปน็7วนัและถา้ลกูคา้ออกคำสัง่ซือ้ลว่งหนา้3เดอืน(pre-ordering)ดงันั้น รอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อขั้นต้นจะเป็น96วันอย่างไรก็ตามการที่ลูกค้าสั่งล่วงหน้านี้ไม่ได้เป็นการลดความสามารถในการตอบสนองขององคก์รในทางตรงกนัขา้มอาจมีข้อโต้แย้งได้ว่าสิ่งนี้เป็นการเพิ่มความสามารถขององค์กรในการตอบสนองต่อคำสั่งซื้อนั้น เพราะการสั่งล่วงหน้าเป็นการเปิดโอกาสให้องคก์รวางแผนลว่งหนา้ในการเตมิเต็มคำสั่งซื้อด้วยวิธีการที่เหมาะสมที่สุด ความสามารถในการตอบสนองขององคก์รจะพจิารณาโดยการรวมรอบเวลาของกิจกรรมทั้งหมดที่จำเป็นต้องทำเพื่อเติมเต็มคำสั่งซื้อ แต่ไม่ควรรวมเวลาที่ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ (dwell time) ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ไม่มีกิจกรรมใดๆ(ช่วงเวลานี้เกิดขึ้นจากเกิดจากความต้องการของลูกค้า) ดังนั้น คำนิยามของรอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อ ประกอบด้วยทั้งเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อและเวลาที่ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการเติมเต็มคำสั่งซื้อ (Order Fulfill-mentCycleTime=OrderFulfillmentPro-cessTime+OrderFulfillmentDwellTime) หมายเหตุไว้ด้วยว่า เวลาที่ยังไม่ได้ เริ่มดำเนินการ (dwell time) จะเท่ากับ 0 สำหรบัองคก์รที่ไม่ตอ้งการใช้การวดันี้ดงันัน้ รอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อจะเท่ากับ เวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อ (OrderFulfil lment Process Time) นอกจากนั้น เวลาที่ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ (dwelltime) แตกต่างจากเวลาว่าง (idle time)

หรือเวลาที่ ไม่เพิ่มคุณค่าซึ่งมักเกิดจาก ความไร้ประสิทธิภาพในกระบวนการขององค์กร และดังนั้นจึงเป็นความรับผิดชอบขององค์กร เวลาว่าง (idle time)ประเภทนี้ไม่ควรถูกนำไปหักออกจากรอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อขั้นต้น(grossorderfulfill-mentcycletime)

ส่วนใหญ่แล้วเวลาที่ ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ (dwell time) จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการคำสั่งซื้อ (orderingprocess)ซึ่งลูกค้าอาจออกคำสั่งซื้อมาล่วงหน้าเพื่อสำรอง/จองกำลังการผลิต/วัตถุดิบไว้ แต่ขั้นตอนจริงของกระบวนการเติมเต็มคำสั่งซื้อจะเริ่มในภายหลัง สิ่งนี้เกิดขึ้นเสมอในกระบวนการจัดส่ง ที่ซึ่งองค์กรอาจมีผลิตภัณฑ์/บริการพร้อมส่งแต่ลูกค้าร้องขอให้รอกำหนดการจัดส่ง สำหรับการเทียบเคียง (Benchmark-ing)แล้วขอแนะนำให้ใช้OrderFulfillmentProcess Time เนื่องจากเวลานี้จะสะท้อนการตอบสนองได้แมน่ยำมากกวา่ทัง้จะทำให้มั่นใจว่า จะสามารถเทียบเคียงองค์กรในอุตสาหกรรมที่เวลาที่ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ

•RS.1.1OrderFulfillmentCycleTime

oRS.2.1SourceCycleTime •IdentifySourcesofSupplyCycleTime •SelectSupplierandNegotiateCycleTime •ScheduleProductDeliveriesCycleTime •ReceiveProductCycleTime •VerifyProductCycleTime •TransferProductCycleTime •AuthorizeSupplierPaymentCycleTime

oRS.2.2MakeCycleTime •ScheduleProductionActivities CycleTime •IssueMaterial/ProductCycle TimeSchedule •ProduceandTestCycleTime •PackageCycleTime •FinalizeProductionEngineering CycleTime •StageFinishedProductCycleTime •ReleaseFinishedProductto DeliverCycleTime •FinalizeProductionEngineering CycleTime

oRS.2.3DeliverCycleTime •Receive,Con!gure,Enter& ValidateOrderCycleTime •ReserveResources&Determine deliveryDateCycleTime •ConsolidateOrdersCycleTime •BuildLoadsCycleTime •RoutShipmentsCycleTime •SelectCarriersandRage ShipmentsCycleTime •ReceiveProductfromMake/ SourceCycleTimePack •InstallProductCycleTime •Receive&VerifyProduct CycleTimeInstall •ShipProductCycleTime •LoadVehicle&Generate ShippingDocumentationCycleTime •PackProductCycleTime •PickProductCycleTime •ScheduleInstallationCycleTime

หมายเหตุ - รายการ ที่ อักษร เอียง หมาย ถึง อาจ ไม่มี ก็ได้ ขึ้น อยู่ กับ กระบวนการ ระดับ ที่ 3

ภาพ ที่ 2 มาตร วัด ที่ เป็น ลำดับ ชั้น ของ ด้าน การ ตอบ สนอง (Responsiveness) ของ SCOR

มาตร วัด “รอบ เวลา ใน การ เติม เต็ม คำ ส่ัง ซ้ือ” คำนวณ ได้ จาก ค่า โดย ประมาณ ของ

รอบ เวลา ใน การ จัดหา + รอบ เวลา ใน การ ผลิต + รอบ เวลา ใน การ จัด ส่ง

(dwelltime)นบัเปน็สาระสำคญักบัองคก์รในอุตสาหกรรมอื่นที่เวลานี้ไม่เป็นสาระ ดังนั้น มาตรวัดรอบเวลาในการเติมเต็มคำสั่งซื้อ จึงได้ถูกกำหนดออกมาเป็นมาตรวัดระดับที่2จำนวน3มาตรวัดได้แก่รอบเวลาในการจัดหา (RS.2.1 SourceCycleTime);รอบเวลาในการผลิต(RS.2.2MakeCycleTime);รอบเวลาในการจัดส่ง(DeliverCycleTime)

Page 3: 2011_02 SCOR Metrics - Responsiveness

Global Knowledge

46Logistics Digest February 2011

รอบ เวลา ใน การ จัดหา (RS.2.1SourceCycleTime) เรียกได้ว่าเป็นระยะเวลาเฉลี่ยที่เกี่ยวข้องในกระบวนการจัดหา(กระบวนการS1, S2, S3 ซึ่งเป็นกระบวนการในระดับที่2ของSCOR)มาตรวัดนี้ได้มาจากกระบวนการในระดับที่ 3 โดยขึ้นอยู่กับว่าบริษัทใช้กลยุทธ์อย่างไรเพื่อเติมเต็มคำสั่งซื้อ(เช่นเป็นMake-to-stock,Make-to-orderหรือEngineer-to-order)หากใช้กลยุทธ์Make-to-stockหรือ orMake-to-orderก็จะไม่ใช้มาตรวดัในภาพที่2ที่เปน็ตวัอกัษรเอยีง(รอบเวลาในการบง่ชี้แหลง่จดัหาและรอบเวลาในการคัดเลือกผู้จัดส่งวัตถุดิบและการเจรจาต่อรอง) ในการคำนวณซึ่งกล่าวได้ว่ามาตรวัดนี้เป็นรอบเวลารวมของกิจกรรมต่างๆของการจัดหานับตั้งแต่รอบเวลาในการบง่ชี้แหลง่จดัหารอบเวลาในการคัดเลือกผู้จัดส่ง วัตถุดิบและการเจรจาต่อรอง รอบเวลาในการกำหนดการจัดส่ง รอบเวลาในการรับผลิตภัณฑ์ รอบเวลาในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ รอบเวลาในการโอนผลิตภัณฑ์ รอบเวลาในการอนุมัติชำระเงินแก่ผู้จัดส่งวัตถุดิบ รอบ เวลา ใน การ ผลติ(RS.2.2MakeCycleTime)เรียกได้ว่าเป็นระยะเวลาเฉลี่ยที่เกีย่วขอ้งในกระบวนการผลติ(กระบวนการ

M1,M2,M3ซึ่งเป็นกระบวนการในระดับที่ 2 ของ SCOR) มาตรวัดนี้ได้มาจากกระบวนการในระดับที่ 3 โดยขึ้นอยู่กับว่าบรษิทัใช้กลยทุธ์อยา่งไรเพือ่เตมิเตม็คำสัง่ซือ้(เช่น เป็นMake-to-stock,Make-to-orderหรือ Engineer-to-order) หากใช้กลยุทธ์Make-to-stockหรือMake-to-order ก็จะไม่ใช้มาตรวดัในภาพที่2ที่เปน็ตวัอกัษรเอยีง(รอบเวลาในการสรุปแบบการผลิต) ในการคำนวณ ซึ่งกล่าวได้ว่ามาตรวัดนี้เป็นรอบเวลารวมของกจิกรรมตา่งๆของการผลตินบัตัง้แต่รอบเวลาในการสรปุแบบการผลติรอบเวลาในการออกกำหนดการการผลิต รอบเวลาในการเบกิวัตถุดบิ/ผลติภัณฑ์รอบเวลาในการผลติและทดสอบผลติภณัฑรอบเวลา ในการบรรจุผลติภณัฑ์รอบเวลาในการเตรียม พร้อมผลิตภัณฑ์ รอบเวลาในการปล่อยผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเสร็จไปยังการส่งมอบ รอบ เวลา ใน การ จดั สง่ (DeliverCycle Time) เรียกได้ว่าเป็น ระยะเวลาเฉลี่ยที่เกีย่วขอ้งในกระบวนการจดัสง่(กระบวนการD1,D2,D3ซึ่งเป็นกระบวนการในระดับที่2ของSCOR)มาตรวัดรอบเวลาในการจัดส่งนี้ได้มาจากกระบวนการในระดับ3โดยขึ้นอยู่กบัวา่บรษิทัใช้กลยทุธ์อยา่งไรเพือ่เตมิเตม็คำสั่งซื้อ(เช่นเป็นMake-to-stock,Make-

to-orderหรือEngineer-to-order)หากใช้กลยทุธ์Make-to-stockหรอืMake-to-orderก็จะไม่ใช้บางมาตรวัดในการคำนวณ (รอบเวลาในการจัดตารางการติดตั้ง) หรือหากเป็นEngineer-to-orderก็จะไม่ใช้มาตรวัดรอบเวลาในการรวมคำสั่งซื้อในการคำนวณนอกจากนี้ ยังขึ้นกับว่าบริษัทใช้กลยุทธ์การผลิตอย่างไร เช่น เมื่อใช้กลยุทธ์Make-to-stockมาตรวดัรอบเวลาในการรบั,ปรบัแตง่,บันทึกและสอบทานคำสั่งซื้อ ก็จะไม่ได้รวมกระบวนการปรับแต่ง(Configure) โดยสรุปแล้ว รอบเวลาในการจัดส่งจะเป็นรอบเวลารวมของกิจกรรมต่างๆของการจดัสง่นบัตัง้แต่รอบเวลาในการรบั,ปรบัแตง่,บนัทกึและสอบทานคำสัง่ซือ้รอบเวลาในการเตรียมสำรองทรัพยากรและพิจารณาวันส่งมอบ (รอบเวลาในการรวมคำสั่งซื้อ+รอบเวลาในการจัดตารางการติดตั้ง) รอบเวลาในการสร้างระวางการขนส่ง รอบเวลาในการจัดเส้นทางการขนส่งรอบเวลาในการเลือกผู้ส่งและอัตราการส่ง รอบเวลาในการรับผลิตภัณฑ์จากการผลิตหรือจัดหา รอบเวลาในการหยิบผลิตภัณฑ์รอบเวลาในการบรรจุผลิตภัณฑ์ รอบเวลาในการจัดระวางผลติภัณฑ์&ออกเอกสารการจดัส่งรอบเวลาในการจัดส่งรอบเวลาในการรับ&สอบทานผลิตภัณฑ์รอบเวลาในการติดตั้งผลิตภัณฑ์ นอกจากที่กล่าวมาแล้ว SCORยังมีมาตรวัดในระดับที่ 3 ของมุมมองด้านการตอบสนองอีก140กว่าตัววัดซึ่งเป็นในระดับปฏิบัติการ และยังได้ระบุกระบวนการย่อยต่างๆ อันเป็นกิจกรรมที่ทำให้เกิดผลของมาตรวดัระดบัปฏบิตัิการดงักลา่วไว้เชน่เดยีวกับมาตรวัดด้านความน่าเชื่อถือ

ที่มา: Supply Chain Council Inc., SCOR Version 9.0, Supply Chain Operations Reference Model, April 2008.

ดร. วิทยา สุหฤท ดำรง ผู้ อำนวย การ สถาบัน วิทยาการ โซ่ อุปทาน มหาวิทยาลัย ศรีปทุม [email protected]