· 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร...

21

Upload: others

Post on 06-Mar-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี
Page 2:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี
Page 3:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี
Page 4:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

เอกสารหมายเลข 3

โครงรางการเสนอผลงาน (เรื่องท่ี 1)

1. ชื่อผลงาน การเพาะและอนุบาลปลาตะเพียนจดุ 2. ระยะเวลาท่ีดําเนินการ ตุลาคม 2553 – กันยายน 2554 3. ความรูทางวิชาการหรือแนวคิดท่ีใชในการดําเนินการ

1. ความรูดานชีววิทยา และการจัดการพอแมพันธุท่ีด ี2. ความรูดานการเพาะพันธุปลาตะเพียนจดุโดยใชฮอรโมนสังเคราะห 3. พัฒนาการของคัพภะและลูกปลาตะเพียนจุดวัยออน 4. ระดับความหนาแนนท่ีเหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาตะเพยีนจดุวยัออน 5. หลักสถิติท่ีใชวางแผนการทดลองและการวิเคราะหขอมูล

4. สรุปสาระและขั้นตอนการดําเนินการ การเล้ียงพอแมพันธุ พอแมพันธุปลาท่ีใชในการทดลองเปนปลาท่ีรวบรวมจากลําน้ําสาว บริเวณบานสันติสุข ตําบล

ขุนควร อําเภอปง จังหวัดพะเยา ในเดือนมิถุนายน 2553 จํานวน 200 ตัว ความยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร น้ําหนักประมาณ 20-40 กรัม นํามาเล้ียงรวมกันในบอซีเมนตกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 4 เมตร ระดับน้ํา 50 เซนติเมตร ใหอากาศตลอดเวลา ฝกใหกินอาหารสําเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน้ําขนาดเล็กพิเศษ โปรตีนไมต่ํากวา 40 เปอรเซ็นต ในอัตรา 2 เปอรเซ็นตของน้ําหนักตัวปลา วันละ 1 คร้ัง เวลา 14.00 น. เปล่ียนถายน้ําเดือนละ 2 คร้ัง สุมช่ังน้ําหนักจํานวน 30 ตัว ทุก 1 เดือน เพื่อปรับปริมาณอาหาร ใหปลาคุนเคยกับสภาพพื้นท่ี

การเพาะพันธุปลาตะเพียนจุด คัดเลือกพอแมพันธุปลาตะเพียนจุดท่ีมีความสมบูรณเพศ โดยแมพันธุมีลักษณะทองอูม ชองเพศ

มีสีแดงเร่ือๆ พอพันธุปลามีรูปรางเพรียวยาว เม่ือใชมือกดบริเวณทองเบาๆ มีน้ําเช้ือสีขาวขุนไหลออกมา สุมพอแมพันธุปลาตะเพียนจุดแยกตามชุดการทดลองๆ ละ 3 คู นําพอแมพันธุปลาท่ีคัดเลือกฉีดดวย Bus รวมกับ Dom

เขากลามเนื้อบริเวณโคนครีบหลัง ตามแผนการทดลองท่ีกําหนด หลังฉีดฮอรโมนปลอยพอแมพันธุปลา

ตะเพียนจุดลงในตูกระจกขนาด 45×90×45 เซนติเมตร เติมน้ําสูง 30 เซนติเมตร ใหอากาศผานหัวทราย 2 จุด รักษาปริมาณออกซิเจนละลายในน้ําไมใหต่ํากวา 5 มิลลิกรัมตอลิตร ปลอยปลาตูละ 1 คู อัตราเพศผู : เพศเมีย เทากับ 1 : 1 สังเกตความพรอมของแมพันธุโดยแมพันธุจะมีอาการกระวนกระวายวายน้ําไปมารุนแรงผิดปกติ บางตัวอาจจะข้ึนมาฮุบอากาศบริเวณผิวน้ํา เม่ือพบวาแมพันธุมีอาการดังกลาวควรตรวจดูความพรอมของแมพันธุโดยจับหงายทองข้ึนโดยตัวแมพันธุยังอยูในน้ําและบีบบริเวณใกลชองเพศเบาๆ หากพบวาไขพุงออกมาอยางงายดาย แสดงวาแมพันธุพรอมจึงผสมเทียมดวยวิธีแหง (dry method) ตามวิธีการของ Vrassky (อางตามอุทัยรัตน, 2538) จากน้ันรีดไขของแมพันธุแตละตัวช่ังน้ําหนักและจดบันทึก รีดน้ําเช้ือผสมกับไขแลวโรยลง

บนตะแกรงขนาด 20×30 เซนติเมตร ท่ีบุดวยตาขายสีฟาขนาด 22 ชองตาตอนิ้ว ฟกไขปลาในตูกระจกท่ีเตรียม

Page 5:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

ไวใหอากาศผานหัวทราย 2 จุด และสุมไขปลาตะเพียนจุดมาฟกในตะแกรงเล็กขนาด 5.0×5.0 เซนติเมตร จํานวน 1 ตะแกรงๆ ละ 100 ฟอง แลวนําไปวางในกระชังผาโอลอนแกวท่ีแขวนในตูกระจกตูละ 1 ตะแกรง เพ่ือใชสําหรับประเมินอัตราการปฏิสนธิ (fertilization rate) อัตราการฟก (hatching rate) และอัตราการรอดตาย (survival rate)

ศึกษาพัฒนาการของคัพภะและพัฒนาการของลูกปลาตะเพียนจุดวัยออน นําไขปลาตะเพียนจุดท่ีผสมกับน้ําเช้ือมาสองดูดวยกลองจุลทรรศนกําลังขยาย 40 เทา ติดตาม

พัฒนาการของคัพภะตามข้ันตอนตางๆ จนกระทั่งไขปลาฟกเปนตัว บันทึกภาพและระยะเวลา จากน้ันศึกษาตอไปจนลูกปลามีพัฒนาการถึงระยะท่ีมีการเจริญของอวัยวะครบเหมือนตัวเต็มวัย โดยการเก็บตัวอยางลูกปลาคร้ังละ 20 ตัว ดองในนํ้ายาฟอรมาลีนความเขมขน 10 เปอรเซ็นต (อภิชาติ, 2546) นําตัวอยางท่ีไดมาศึกษาท่ีหองปฏิบัติการโดยใชกลองจุลทรรศนกําลังขยายตํ่าท่ีประกอบดวยอุปกรณวาดภาพ (camera lucida) และ micrometer สําหรับวาดภาพและวัดขนาดตางๆ ของลูกปลา นําลูกปลาในระยะท่ีเร่ิมมีระบบทางเดินอาหารสมบูรณสามารถกินอาหารไดไปวัดขนาดของปากลูกปลาภายใตกลองจุลทรรศนกําลังขยายสูง เพื่อใชประกอบการพิจารณาขนาดและชนิดของอาหารที่จะใชอนุบาลลูกปลาอยางเหมาะสมโดยวิธีของ Shirota (1970)

การอนุบาลลูกปลาตะเพียนจุดวัยออนโดยใชอัตราความหนาแนนท่ีตางกัน

ใชลูกปลาตะเพียนจุดวัยออน อายุ 5 วัน อนุบาลในตูกระจกขนาด 45×90×45 เซนติเมตร ระดับน้ําลึก 24.7 เซนติเมตร (100 ลิตร) ปลอยในอัตราความหนาแนนท่ีตางกัน คือ 10, 20 และ 30 ตัวตอลิตร ตามแผนการทดลองท่ีกําหนด ใหอาหารผงสําหรับลูกปลาวัยออน (powder feed) โปรตีนไมต่ํากวา 40 เปอรเซ็นต ผสมนํ้าแลวหวานใหท่ัวบริเวณตูกระจกใหกินจนอ่ิม วันละ 2 คร้ัง เวลา 09.00 น. และ 16.00 น.

การจัดการระหวางการอนุบาล เติมอากาศอยูตลอดเวลาเพ่ือรักษาปริมาณออกซิเจนท่ีละลายนํ้าใหอยูในระดับไมต่ํากวา 5 มิลลิกรัมตอลิตร และดูดตะกอนเศษอาหารและเปล่ียนถายน้ําในอัตรา 50 เปอรเซ็นต ของปริมาตรน้ําท้ังหมดทุกวัน

ศึกษาการเจริญเติบโต โดยกอนการทดลองสุมลูกปลาจํานวน 100 ตัว เพื่อวดัความยาวเหยยีด(total length) ดวย electronic digital caliper ทศนิยม 2 ตําแหนง และชั่งน้ําหนกัเร่ิมตนดวยเคร่ืองชั่งไฟฟาทศนิยม 4 ตําแหนง และหลังจากนั้น เม่ือส้ินสุดการทดลอง 30 วัน นับจํานวนลูกปลาท้ังหมด และสุมลูกปลาจํานวน 10 เปอรเซ็นต ของแตละซํ้าในทุกชุดการทดลองเพื่อนํามาศึกษาการเจริญเติบโต (Hepher, 1988) และอัตราการรอดตาย

การศึกษาคุณสมบัติของนํ้า ศึกษาคุณสมบัติของนํ้าในตูฟกไขปลา และนํ้าท่ีใชในการอนุบาลลูกปลา ดังนี้

วิเคราะหคุณสมบัติของนํ้าทุกวัน โดย ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายนํ้า (dissolved oxygen) ใชวิธีไตเตรท หนวยเปนมิลลิกรัมตอลิตร (mg/l) ตามวิธีท่ีกลาวอางโดยไมตรีและจารุวรรณ (2528)

Page 6:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

อุณหภูมิ (temperature) ใชเทอรโมมิเตอรแบบแทงแกว หนวยวัดเปนองศาเซลเซียส (º C) วิเคราะหคุณสมบัติของนํ้าทุกสัปดาห โดย

ความเปนกรดเปนดาง (pH) ใช pH - meter ยี่หอ HANNA รุน HI 991001 ความเปนดาง (alkalinity) ใชวิธีไตเตรท หนวยเปนมิลลิกรัมตอลิตรของแคลเซียมคารบอเนต (mg/l as CaCO3) ตามวิธีท่ีกลาวอางโดยไมตรีและจารุวรรณ (2528) ปริมาณแอมโมเนียรวม (NH3-N) วัดโดยเคร่ือง spectrophotometer ยี่หอ HACH รุน DR/4000V หนวยเปน mg/l 5. ผูรวมดําเนนิการ 1. นางสิริฉัตร สุนทรวิภาต สัดสวนงาน 80 เปอรเซ็นต (หัวหนาโครงการ) 2. นายพงษพนัธ สุนทรวิภาต สัดสวนงาน 10 เปอรเซ็นต 3. นายววิัฒน ปรารมภ สัดสวนงาน 5 เปอรเซ็นต 4. นายอภิชาติ เติมวิชชากร สัดสวนงาน 5 เปอรเซ็นต 6. สวนของงานท่ีผูเสนอเปนผูปฏบิัต ิ

เปนหัวหนาโครงการวิจัย มีสัดสวนงาน 80 เปอรเซ็นต โดยเปนผูวางแผนการทดลอง ดําเนินการทดลอง เก็บขอมูล วิเคราะหขอมูล รวบรวมและเขียนรายงาน 7. ผลสําเร็จของงาน (เชงิปริมาณ/คุณภาพ)

การเพาะและอนุบาลปลาตะเพียนจุด Puntius binotatus (Valenciennes, 1842) ทดลองท่ีศูนย วิจัยและพฒันาประมงนํ้าจืดพะเยา ระหวางเดือนตุลาคม 2553 ถึงเดือนกันยายน 2554 โดยศึกษาความดกของไขปลาตะเพียนจุดจากตัวอยางปลาตะเพียนจุดเพศเมีย จํานวน 15 ตัวอยาง มีความยาวเฉล่ีย 12.63±0.64 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉล่ีย 37.19±3.76 กรัม พบวา น้ําหนักไขตอแม เฉล่ียเทากับ 5.89±1.22 กรัม จํานวนไขตอไข 1 กรัมเฉล่ีย เทากับ 1,925±234 ฟอง จํานวนไขตอแมเฉล่ีย11,332± 2,353 ฟอง ฉีดกระตุนแมพันธุ จํานวน 18 ตัว ความยาวเฉล่ีย12.69±0.23 เซนติเมตร น้ําหนักเฉล่ีย 35.18±0.52 กรัม คร้ังเดียวดวย Bus อัตราความเขมขน 0 (ชุดควบคุม), 10, 15, 20, 25 และ 30 ไมโครกรัม รวมกับ Dom 10 มิลลิกรัมตอน้ําหนักแมพันธุ 1 กิโลกรัม และชุดควบคุมฉีดดวยน้ํากล่ัน สําหรับพอพันธุ จํานวน 18 ตัว ความยาวเฉลี่ย 10.46±0.19 เซนติเมตร น้ําหนักเฉล่ีย 20.44±0.18 กรัม ฉีดดวย Bus 10 ไมโครกรัม รวมกับ Dom 10 มิลลิกรัมตอน้ําหนักพอพันธุ 1 กิโลกรัมในทุกชุดการทดลอง พบวา หลังฉีดฮอรโมนเปนเวลา 4-5 ช่ัวโมง สามารถเร่ิมรีดไขผสมน้ําเช้ือ แมพันธุมีอัตราการตกไข 100 เปอรเซ็นต ยกเวนในชุดควบคุมท่ีไมมีการตกไข อัตราการปฏิสนธิเฉล่ีย อัตราการฟกเฉล่ีย และอัตราการรอดตายเฉล่ียแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) สรุปไดวา การใช Bus 10 ไมโครกรัม รวมกับ Dom 10 มิลลิกรัมตอน้ําหนักแมพันธุ 1 กิโลกรัม เปนอัตราการใช Bus ท่ีเหมาะสมท่ีสุดเนื่องจากใชในปริมาณนอยท่ีสุดแตอัตราการปฏิสนธิเฉล่ีย อัตราการฟกเฉลี่ย และอัตราการรอดตายเฉล่ียแตกตางกับอัตราการใช Bus ในความเขมขนอ่ืนๆ อยางไมมีนัยสําคัญ (p>0.05) ไขปลาตะเพียนจุดมีลักษณะกลม สีน้ําตาลอมเหลือง ใส จมติดกับวัสดุ กอนสัมผัสน้ําเสนผานศูนยกลางเฉล่ีย 1.02+0.01 มิลลิเมตร หลังสัมผัสน้ําแลวเสนผานศูนยกลางเฉล่ียเพิ่มข้ึนเปน 1.34+0.06 มิลลิเมตร และพัฒนาการ

Page 7:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

ของคัพภะในระยะตางๆ หลังการปฏิสนธิเปนดังนี้ ระยะ cleavage ใชเวลา 1 ช่ัวโมง 25 นาที ระยะ blastula ใชเวลา 2 ช่ัวโมง 25 นาที ระยะ gastrula ใชเวลา 3 ช่ัวโมง 30 นาที พัฒนาจนถึงข้ันเกิด somite ใชเวลา 7 ช่ัวโมง 50 นาที และใชเวลาฟกเปนตัวเวลา 17 ช่ัวโมง 30 นาที ท่ีอุณหภูมิน้ํา 26.2-27.8 ºC และลูกปลาตะเพียนจุดวัยออนพัฒนาจนมีลักษณะคลายตัวเต็มวัยใชเวลา 45 วัน

การทดลองอนุบาลปลาตะเพียนจุดวัยออน อายุ 5 วัน ความยาวเร่ิมตนเฉล่ีย 4.23±0.01 มิลลิเมตร และนํ้าหนักเร่ิมตนเฉล่ีย 0.0005±0.0000 มิลลิกรัม ดวยอัตราความหนาแนนตางกัน คือ 10, 20 และ

30 ตัวตอลิตร ในตูกระจกขนาด 45×90×45 เซนติเมตร ใหกินอาหารสําเร็จรูปชนิดผงท่ีมีระดับโปรตีนไมนอยกวา 40 เปอรเซ็นต เปนระยะ เวลา 30 วัน พบวา ลูกปลามีความยาวสุดทายเฉล่ีย 14.20±0.12, 13.97±0.14 และ 13.24±0.13 มิลลิเมตร น้ําหนักสุดทายเฉล่ีย 0.0411±0.0012, 0.0390±0.0013 และ 0.0321±0.0020 มิลลิกรัม ความยาวเพิ่มเฉล่ียตอวัน 0.332±0.004, 0.325±0.005 และ 0.300±0.004 มิลลิเมตรตอวัน น้ําหนักเพิ่มเฉล่ียตอวัน 0.00135± 0.00004, 0.00128±0.00004 และ 0.00105±0.00007 มิลลิกรัมตอวัน อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะดานน้ําหนักเฉล่ีย 14.94±0.35, 14.77±0.32 และ 14.12±0.22 เปอรเซ็นตตอวัน และมีอัตราการรอดตายเฉล่ีย 55.00±1.57, 52.23±1.84 และ 45.24±1.24 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ลูกปลาท่ีปลอยในอัตราความหนาแนน 10 และ 20 ตัวตอลิตร มีอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แตมีคามากกวาลูกปลาท่ีปลอยในอัตราความหนาแนน 30 ตัวตอลิตรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เม่ือพิจารณาจากอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายจากการทดลองคร้ังนี้ สรุปไดวา การอนุบาลลูกปลาตะเพียนจุดในตูกระจกท่ีอัตรา 20 ตัวตอลิตร เปนอัตราการปลอยท่ีเหมาะสมท่ีสุด 8. การนําไปใชประโยชน

ทําใหทราบขอมูลเพื่อเปนแนวทางในการจัดการ การเพาะพันธุและอนุบาลลูกปลาตะเพียนจุดวัยออน ซ่ึงนําไปสูการพัฒนาท้ังทางดานเศรษฐกิจและการอนุรักษตลอดจนเกษตรกรสามารถพัฒนาปลาชนิดนี้เปนปลาสวยงามไดตอไปในอนาคต 9. ความยุงยากในการดําเนนิการ/ปญหา/อุปสรรค

1. การรวบรวมพอแมพันธุปลาตะเพียนจุดมีความยากลําบากเนื่องจากตองเดินทางดวยเทาเขาไปรวบรวมพันธุปลาบนภูเขาสูงในพื้นท่ีปาดอยผาชาง บานสันติสุข ตําบลขุนควร อําเภอปง จังหวัดพะเยา

2. ปลาตะเพียนจุดเปนปลาท่ีมีขนาดคอนขางเล็ก ดังนั้นในการฉีดฮอรโมนเพาะพันธุและรีดไขตองจับพอแมปลาดวยความระมัดระวัง เพื่อลดความบอบชํ้าของพอแมปลาปลาตะเพียนจุด

3. ตองใชความรูความสามารถและประสบการณในการนําพอ - แมพันธุข้ึนมาเพาะพันธุและเกบ็ตัวอยางลูกปลาวัยออน ตามวิธีของอภิชาติ (2540)

4. ตองใชความรูความสามารถและความเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานในการใชกลองจุลทรรศนกําลังขยายตํ่า (zoom stereomicroscope) ท่ีประกอบกับเคร่ืองชวยในการวาดรูป (camera lucida)

Page 8:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

5. ตองใชความรูความสามารถและความเช่ียวชาญเฉพาะทางดานในการใชเคร่ืองวัดความยาวอยางละเอียด (micrometer) เพ่ือใชในการศึกษาลักษณะตาง ๆ วัดความยาวสวนตาง ๆ เชน ความยาวและความกวางของหัวและลําตัว ความยาวระหวางหัวกับจุดเร่ิมตนของอวัยวะตาง ๆ

6. ตองใชความสามารถในการทําการยอมสีโดยใชวิธีของ Potthoff (1983) เพื่อชวยใหสังเกตมัดกลามเนื้อ และกระดูกสันหลังไดชัดเจน

7. การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการช่ังน้ําหนัก และวัดความยาวจําเปนตองใชรวดเร็วถูกตองแมนยํา และระมัดระวังอยางมาก เนื่องจากลูกปลาตะเพียนจุดอาจช็อกและอาจบอบช้ําไดขณะเก็บรวบรวมขอมูล อีกท้ังยังตองคอยสังเกตพฤติกรรมของปลาทดลองวามีอาการผิดปกติหรือไมเพื่อปองกันความเสียหายท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับงานทดลองได

8. ตองใชสถิติวิเคราะหขอมูลเพื่อการตัดสินใจเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียของตัวแปรที่ศึกษา

9. การใหอาหาร จําเปนตองมีความระมัดระวังในการใหอาหารใหเพียงพอกับความตองการของลูกปลาตะเพียนจุดท่ีใชทดลอง เพื่อใหลูกปลาตะเพียนจุดมีการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายท่ีดี 10. ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการศึกษาเกีย่วกับระดับโปรตีนและพลังงานท่ีเหมาะสมสําหรับปลาตะเพียนจุดในขนาดตางๆ เพือ่จะไดเปนขอมูลพื้นฐานในการใชวัตถุดิบเพื่อทดแทนโปรตีนจากปลาปน

2. ควรมีการศึกษาและพัฒนาสูตรอาหารพอแมพันธุปลาตะเพียนจดุเพือ่ใหมีปริมาณคุณภาพของไขและนํ้าเช้ือสูงข้ึน

3. ควรมีการศกึษาระยะเวลาและความถ่ีท่ีเหมาะสมในการใหอาหาร

ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ

ลงช่ือ.............................................. (นางสิริฉัตร สุนทรวิภาต) ผูเสนอผลงาน ............./............./.............

ขอรับรองวาสัดสวนหรือลักษณะงานในการดําเนินงานของผูนําเสนอขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ

ลงช่ือ............................................ ลงช่ือ.......................................... (นายพงษพันธ สุนทรวิภาต) (นายววิัฒน ปรารมภ) ผูรวมดําเนนิการ ผูรวมดําเนนิการ .........../........../.......... .........../........../..........

Page 9:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

ลงช่ือ............................................. (นายอภชิาติ เติมวิชชากร) ผูรวมดําเนินการ .........../........../..........

ไดตรวจสอบแลวขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ

ลงช่ือ................................................ ลงช่ือ................................................ (.............................................) (.............................................) ตําแหนง............................................... ตําแหนง................................................. ........../.........../........... .........../............../............ (ผูบังคับบัญชาท่ีควบคุมดแูลการดําเนนิการ)

Page 10:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

เอกสารหมายเลข 3

โครงรางการเสนอผลงาน (เรื่องท่ี 2)

1. ชื่อผลงาน การเพาะและอนุบาลปลาจาดนํ้าตก Poropuntius laoensis (Gunther, 1868 ) 2. ระยะเวลาท่ีดําเนินการ มกราคม – ธันวาคม 2552 3. ความรูทางวิชาการหรือแนวคิดท่ีใชในการดําเนินการ

1. ความรูดานชีววิทยา และการจัดการพอแมพันธุท่ีด ี2. ความรูดานการเพาะพันธุปลาจาดน้ําตกโดยใชฮอรโมนสังเคราะห 3. พัฒนาการของคัพภะและลูกปลาจาดนํ้าตกวัยออน 4. ระดับความหนาแนนท่ีเหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาจาดนํ้าตกวยัออน 5. หลักสถิติท่ีใชวางแผนการทดลองและการวิเคราะหขอมูล

4. สรุปสาระและขั้นตอนการดําเนินการ การเล้ียงพอแมพันธุ พอแมพันธุปลาท่ีใชในการทดลอง เปนปลาท่ีรวบรวมจากลําน้ําสาว บริเวณบานสันติสุข ตําบล

ขุนควร อําเภอปง จังหวัดพะเยา ในเดือนมกราคม 2552 จํานวน 100 ตัว ความยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร น้ําหนักประมาณ 30-75 กรัม นํามาเล้ียงรวมกันในบอซีเมนตกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 4 เมตร ระดับน้ําลึก 50 เซนติเมตร ใหอากาศตลอดเวลา ฝกใหกินอาหารสําเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน้ําขนาดเล็กพิเศษ โปรตีนไมต่ํากวา 40 เปอรเซ็นต ในอัตรา 2 เปอรเซ็นตของนํ้าหนักตัวปลา วันละ 1 คร้ัง เวลา 14.00 น. เปล่ียนถายน้ําเดือนละ 2 คร้ัง สุมช่ังนํ้าหนักจํานวน 30 ตัว ทุก 1 เดือน เพื่อปรับปริมาณอาหาร

การเพาะพันธุปลาจาดน้ําตก คัดเลือกพอแมพันธุปลาจาดน้ําตกท่ีมีความสมบูรณเพศ โดยแมพันธุมีลักษณะทองอูม ชองเพศ

มีสีแดงเร่ือๆ พอพันธุปลามีรูปรางเพรียวยาว เม่ือใชมือกดบริเวณทองเบาๆ มีน้ําเช้ือสีขาวขุนไหลออกมา นําพอแมพันธุปลาท่ีคัดเลือกฉีดดวยฮอรโมนสังเคราะหเขากลามเนื้อบริเวณโคนครีบหลัง ตามแผนการทดลองท่ี

กําหนด หลังฉีดฮอรโมนแยกพอแมพันธุปลาจาดน้ําตกขังในกระชังผาโอลอนแกวขนาด 0.5×1.0×0.5 เมตร ท่ีแขวนในถังไฟเบอรกลาสขนาด 1 ลูกบาศกเมตร ระดับน้ําลึก 30 เซนติเมตร สังเกตความพรอมของแมพันธุ เม่ือพบวาแมพันธุพรอมตกไขจึงผสมเทียมดวยวิธีแหง (dry method) ตามวิธีการของ Vrassky (อางตามอุทัยรัตน, 2538) โดยรีดน้ําเช้ือเพศผูรวมกัน แลวเจือจางดวยน้ําเกลือ (NaCl) 0.9 เปอรเซ็นต อัตราสวน 1:1 ปดแผนฟอลย

(foil) เก็บในกลองโฟมใสน้ําแข็ง นําไขท่ีผสมน้ําเช้ือแลวไปโรยลงบนตะแกรงขนาด 1.0×1.0 เมตร ท่ีบุดวยตาขายสีฟาขนาด 22 ชองตาตอนิ้ว ท่ีวางในถังไฟเบอรกลาสขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.5 เมตร ปริมาตรน้ํา 1 ลูกบาศกเมตร ภายในถังฟกไขมีการถายเทน้ําแบบผานตลอดเวลาในอัตรา 3 ลิตรตอนาทีและใหอากาศผานหัว

ทราย 4 จุด และเพิ่มตะแกรงเหล็กขนาด 5.0×5.0 เซนติเมตร จํานวน 3 ตะแกรง โรยไขตะแกรงละ 100 ฟอง

Page 11:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

แลวนําไปวางในกระชังผาโอลอนแกวท่ีแขวนในถังไฟเบอรกระชังละ 1 ตะแกรง เพ่ือใชสําหรับประเมินอัตราการปฏิสนธิ (fertilization rate) อัตราการฟก (hatching rate) และอัตราการรอดตาย (survival rate)

ศึกษาพัฒนาการของคัพภะและพัฒนาการของลูกปลาจาดนํ้าตกวัยออน นําไขปลาจาดน้ําตกที่ผสมกับน้ําเช้ือมาสองดูดวยกลองจุลทรรศนกําลังขยาย 40 เทา ติดตาม

พัฒนาการของคัพภะตามข้ันตอนตางๆ จนกระทั่งไขปลาฟกเปนตัว บันทึกภาพและระยะเวลา จากน้ันศึกษาตอไปจนลูกปลามีพัฒนาการถึงระยะท่ีมีการเจริญของอวัยวะครบเหมือนตัวเต็มวัย โดยการเก็บตัวอยางลูกปลาคร้ังละ 20 ตัว ดองในนํ้ายาฟอรมาลีนความเขมขน 10 เปอรเซ็นต (อภิชาติ, 2546) นําตัวอยางท่ีไดมาศึกษาท่ีหองปฏิบัติการโดยใชกลองจุลทรรศนกําลังขยายตํ่าท่ีประกอบดวยอุปกรณวาดภาพ (camera lucida) และ micrometer สําหรับวาดภาพและวัดขนาดตางๆ ของลูกปลา นําลูกปลาในระยะท่ีเร่ิมมีระบบทางเดินอาหารสมบูรณสามารถกินอาหารไดไปวัดขนาดของปากลูกปลาภายใตกลองจุลทรรศนกําลังขยายสูง เพื่อใชประกอบการพิจารณาขนาดและชนิดของอาหารที่จะใชอนุบาลลูกปลาอยางเหมาะสมโดยวิธีของ Shirota (1970)

การอนุบาลลูกปลาจาดนํ้าตกวัยออนโดยใชอัตราความหนาแนนท่ีตางกัน

ใชลูกปลาจาดนํ้าตกวัยออน อายุ 6 วัน อนุบาลในตูกระจกขนาด 45×90×45 เซนติเมตร ระดับน้ําลึก 24.7 เซนติเมตร (100 ลิตร) โดยปลอยในอัตราความหนาแนนท่ีตางกัน คือ 10, 20 และ 30 ตัวตอลิตร ตามแผนการทดลองที่กําหนด ใหอาหารผงสําหรับลูกปลาวัยออน (powder feed) โปรตีนไมต่ํากวา 40 เปอรเซ็นต ผสมน้ําแลวหวานใหท่ัวบริเวณตูกระจกใหกินจนอ่ิม วันละ 2 คร้ัง เวลา 09.00 น. และ 16.00 น.

การจัดการระหวางการอนุบาล เติมอากาศอยูตลอดเวลาเพ่ือรักษาปริมาณออกซิเจนท่ีละลายนํ้าใหอยูในระดับไมต่ํากวา 5 มิลลิกรัมตอลิตร และดูดตะกอนเศษอาหารและเปล่ียนถายน้ําในอัตรา 50 เปอรเซ็นต ของปริมาตรน้ําท้ังหมดทุกวัน

ศึกษาการเจริญเติบโต โดยกอนการทดลองสุมลูกปลาจํานวน 100 ตัว เพื่อวัดความยาวเหยียด(total length) ดวย electronic digital caliper ทศนิยม 2 ตําแหนง และช่ังน้ําหนักเร่ิมตนดวยเคร่ืองช่ังไฟฟาทศนิยม 4 ตําแหนง และหลังจากนั้น เม่ือส้ินสุดการทดลอง 30 วัน นับจํานวนลูกปลาท้ังหมด และสุมลูกปลาจํานวน 10 เปอรเซ็นต ของแตละซํ้าในทุกชุดการทดลองเพื่อนํามาศึกษาการเจริญเติบโต (Hepher, 1988) และอัตราการรอดตาย

การศึกษาคุณสมบัติของนํ้า ศึกษาคุณสมบัติของนํ้าในถังฟกไขปลา และนํ้าท่ีใชในการอนุบาลลูกปลา ดังนี้

วิเคราะหคุณสมบัติของนํ้าทุกวัน โดย ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายนํ้า (dissolved oxygen) ใชวิธีไตเตรท หนวยเปนมิลลิกรัมตอลิตร (mg/l) ตามวิธีท่ีกลาวอางโดยไมตรีและจารุวรรณ (2528) อุณหภูมิ (temperature) ใชเทอรโมมิเตอรแบบแทงแกว หนวยวัดเปนองศาเซลเซียส (º C)

Page 12:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

วิเคราะหคุณสมบัติของนํ้าทุกสัปดาห โดย ความเปนกรดเปนดาง (pH) ใช pH - meter ยี่หอ HANNA รุน HI 991001 ความเปนดาง (alkalinity) ใชวิธีไตเตรท หนวยเปนมิลลิกรัมตอลิตรของแคลเซียมคารบอเนต (mg/l as CaCO3) ตามวิธีท่ีกลาวอางโดยไมตรีและจารุวรรณ (2528) ปริมาณแอมโมเนียรวม (NH3-N) วัดโดยเคร่ือง spectrophotometer ยี่หอ HACH รุน DR/4000V หนวยเปน mg/l 5. ผูรวมดําเนนิการ 1. นายพงษพนัธ สุนทรวิภาต สัดสวนงาน 60 เปอรเซ็นต (หัวหนาโครงการ) 2. นางสิริฉัตร สุนทรวิภาต สัดสวนงาน 20 เปอรเซ็นต 3. นายเมธา คชาภิชาติ สัดสวนงาน 15 เปอรเซ็นต 4. นายอภิชาติ เติมวิชชากร สัดสวนงาน 5 เปอรเซ็นต 6. สวนของงานท่ีผูเสนอเปนผูปฏบิัต ิ

เปนผูรวมวิจัย มีสัดสวนงาน 20 เปอรเซ็นต โดยเปนผูชวยวางแผนการทดลอง ชวยวิเคราะหขอมูลและเขียนรายงาน 7. ผลสําเร็จของงาน (เชงิปริมาณ/คุณภาพ)

การเพาะและอนุบาลปลาจาดนํ้าตก Poropuntius laoensis (Gunther, 1868) ทดลองท่ีศูนยวิจัยและพัฒนาประมงนํ้าจืดพะเยา ระหวางเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2552 ใชแมพันธุ จํานวน 30 ตัว ความยาวเฉลี่ย 17.65±1.18 เซนติเมตร น้ําหนักตัวเฉล่ีย 57.48±12.57 กรัม ฉีดกระตุนคร้ังเดียวดวยฮอรโมนสังเคราะห buserelin acetate (Bus) 20 ไมโครกรัม รวมกับยาเสริมฤทธ์ิ domperidone (Dom) 10 มิลลิกรัมตอน้ําหนักแมพันธุ 1 กิโลกรัม พอพันธุ จํานวน 30 ตัว ความยาวเฉล่ีย 16.07±1.26 เซนติเมตร น้ําหนักตัวเฉล่ีย 41.27±11.38 กรัม ฉีดดวย Bus 10 ไมโครกรัม รวมกับ Dom 10 มิลลิกรัมตอน้ําหนักพอพันธุ 1 กิโลกรัม ผลการทดลองพบวา หลังจากฉีดฮอรโมนเปนเวลา 7-8 ช่ัวโมง สามารถเร่ิมรีดไขผสมน้ําเช้ือได แมพันธุมีอัตราการตกไข 100 เปอรเซ็นต อัตราการปฏิสนธิเฉล่ีย 83.33± 2.52 เปอรเซ็นต อัตราการฟกเฉล่ีย 85.59±0.43 เปอรเซ็นต และอัตราการรอดตายเฉล่ีย 92.03±1.06 เปอรเซ็นต ไขปลาจาดน้ําตกมีลักษณะกลม สีขาวใส จมติดกับวัตถุ เสนผานศูนยกลางของไขเฉล่ีย 1.12±0.05 มิลลิเมตร และพัฒนาการของคัพภะในระยะตางๆ หลังจากไขไดรับการผสมกับน้ําเช้ือ สรุปไดดังนี้ ระยะ cleavage ใชเวลา 1 ช่ัวโมง 30 นาที ระยะ blastula ใชเวลา 2 ช่ัวโมง 5 นาที ระยะ gastrula ใชเวลา 4 ช่ัวโมง 10 นาที พัฒนาจนถึงข้ันเกิด somite ใชเวลา 7 ช่ัวโมง 25 นาที ใชเวลาในการพัฒนาท้ังหมดจนกระท่ังฟกเปนตัว 20 ช่ัวโมง ท่ีอุณหภูมิน้ํา 26 องศาเซลเซียส และลูกปลาจาดน้ําตกวัยออนพัฒนาจนมีลักษณะคลายตัวเต็มวัยใชเวลา 40 วัน

การทดลองอนุบาลปลาจาดนํ้าตกวัยออน อายุ 6 วัน ความยาวเร่ิมตนเฉล่ีย 4.23±0.01 มิลลิเมตร และนํ้าหนักเร่ิมตนเฉล่ีย 0.0005±0.0000 มิลลิกรัม ดวยอัตราความหนาแนนท่ีตางกัน คือ 10, 20 และ 30 ตัว

ตอลิตร ในตูกระจกขนาด 45×90×45 เซนติเมตร ใหกินอาหารที่มีระดับโปรตีน 40 เปอรเซ็นต เปนระยะ เวลา 30 วัน พบวา ลูกปลามีความยาวสุดทายเฉล่ีย 14.19±0.03, 12.58±0.04 และ 12.10±0.03 มิลลิเมตร

Page 13:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

น้ําหนักสุดทายเฉล่ีย 0.0445±0.0004, 0.0381±0.0005 และ 0.0337±0.0006 มิลลิกรัม ความยาวเพ่ิมเฉล่ียตอวัน 0.3319±0.0013, 0.2782±0.0007 และ 0.2622±0.0008 มิลลิเมตรตอวัน น้ําหนักเพิ่มเฉล่ียตอวัน 0.0015± 0.000014, 0.0013±0.000015 และ 0.0011±0.000019 มิลลิกรัมตอวัน อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะดานน้ําหนัก 14.96±0.031, 14.44±0.04 และ 14.04±0.06 เปอรเซ็นตตอวัน และมีอัตราการรอดตาย 62.73±2.76, 49.40±2.10 และ 42.71±1.43 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ลูกปลาท่ีปลอยในอัตราความหนาแนน 10 ตัวตอลิตร มีอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายมากกวาลูกปลาท่ีปลอยในอัตราความหนาแนน 20 และ 30 ตัวตอลิตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

เม่ือพิจารณาจากอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายจากการทดลองคร้ังนี้ สรุปไดวา การอนุบาลลูกปลาจาดนํ้าตกในตูกระจกท่ีอัตรา 10 ตัวตอลิตร เปนอัตราการปลอยท่ีเหมาะสมท่ีสุด 8. การนําไปใชประโยชน

ทําใหทราบขอมูลเพื่อเปนแนวทางในการจัดการ การเพาะพันธุและอนุบาลลูกปลาจาดน้ําตกวัยออน ซ่ึงนําไปสูการพัฒนาท้ังทางดานการอนุรักษและเศรษฐกิจตลอดจนเกษตรกรสามารถพัฒนาปลาชนิดนี้เปนปลาสวยงามไดตอไปในอนาคต 9. ความยุงยากในการดําเนนิการ/ปญหา/อุปสรรค

1. การรวบรวมพอแมพันธุปลาจาดน้ําตกมีความยากลําบากเนื่องจากตองเดินทางดวยเทาเขาไปรวบรวมพันธุปลาบนภูเขาสูงในพื้นท่ีปาดอยผาชาง บานสันติสุข ตําบลขุนควร อําเภอปง จังหวัดพะเยา

2. ปลาจาดน้ําตกเปนปลาท่ีมีนิสัยคอนขางตกใจงาย ดังนั้นในการฉีดฮอรโมนเพาะพันธุและรีดไขตองจับพอแมปลาดวยความระมัดระวัง เพื่อลดความบอบชํ้าของพอแมปลาจาดน้ําตก

3. ตองใชความรูความสามารถและประสบการณในการนําพอ - แมพันธุข้ึนมาเพาะพันธุและเกบ็ตัวอยางลูกปลาวัยออน ตามวิธีของอภิชาติ (2540)

4. ตองใชความรูความสามารถและความเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานในการใชกลองจุลทรรศนกําลังขยายตํ่า (zoom stereomicroscope) ท่ีประกอบกับเคร่ืองชวยในการวาดรูป (camera lucida)

5. ตองใชความรูความสามารถและความเช่ียวชาญเฉพาะทางดานในการใชเคร่ืองวัดความยาวอยางละเอียด (micrometer) เพื่อใชในการศึกษาลักษณะตาง ๆ วัดความยาวสวนตาง ๆ เชน ความยาวและความกวางของหัวและลําตัว ความยาวระหวางหัวกับจุดเร่ิมตนของอวัยวะตาง ๆ

6. ตองใชความสามารถในการทําการยอมสีโดยใชวิธีของ Potthoff (1983) เพื่อชวยใหสังเกตมัดกลามเนื้อ และกระดูกสันหลังไดชัดเจน

7. การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการช่ังน้ําหนัก และวัดความยาวจําเปนตองใชรวดเร็วถูกตองแมนยํา และระมัดระวังอยางมาก เนื่องจากลูกปลาจาดนํ้าตกตกใจงายและอาจบอบชํ้าไดขณะเก็บรวบรวมขอมูล อีกท้ังยังตองคอยสังเกตพฤติกรรมของปลาทดลองวามีอาการผิดปกติหรือไมเพื่อปองกันความเสียหายท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับงานทดลองได

Page 14:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

8. ตองใชสถิติวิเคราะหขอมูลเพื่อการตัดสินใจเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียของตัวแปรที่ศึกษา

9. การใหอาหาร จําเปนตองมีความระมัดระวังในการใหอาหารใหเพียงพอกับความตองการของลูกปลาจากน้ําตกท่ีใชทดลอง เพื่อใหลูกปลาจากน้ําตกมีการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายท่ีดี 10. ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการศึกษาเกีย่วกับระดับโปรตีนและพลังงานท่ีเหมาะสมสําหรับปลาจาดน้ําตกในขนาดตางๆ เพื่อจะไดเปนขอมูลพืน้ฐานในการใชวัตถุดิบเพื่อทดแทนโปรตนีจากปลาปน

2. ควรมีการศึกษาและพัฒนาสูตรอาหารพอแมพันธุปลาจาดน้ําตกเพื่อใหมีปริมาณคุณภาพของไขและนํ้าเช้ือสูงข้ึน

3. ควรมีการศกึษาระยะเวลาและความถ่ีท่ีเหมาะสมในการใหอาหาร

ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ

ลงช่ือ.............................................. (นางสิริฉัตร สุนทรวิภาต) ผูเสนอผลงาน ............./............./.............

ขอรับรองวาสัดสวนหรือลักษณะงานในการดําเนินงานของผูนําเสนอขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ

ลงช่ือ............................................ ลงช่ือ.......................................... (นายพงษพันธ สุนทรวิภาต) (นายเมธา คชาภิชาติ) ผูรวมดําเนนิการ ผูรวมดําเนนิการ .........../........../.......... .........../........../..........

ลงช่ือ............................................. (นายอภชิาติ เติมวิชชากร) ผูรวมดําเนินการ .........../........../..........

Page 15:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

ไดตรวจสอบแลวขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ ลงช่ือ................................................ ลงช่ือ................................................ (.............................................) (.............................................) ตําแหนง............................................... ตําแหนง................................................. ........../.........../........... .........../............../............ (ผูบังคับบัญชาท่ีควบคุมดแูลการดําเนนิการ)

Page 16:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

เอกสารหมายเลข 4

โครงรางขอเสนอแนวความคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ของ นางสิริฉัตร สุนทรวิภาต เพื่อประกอบการแตงตัง้ใหดาํรงตาํแหนง นักวิชาการประมงชํานาญการพิเศษ ตาํแหนงเลขท่ี 1385 สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด เร่ือง การพัฒนาการเพาะเลี้ยงอ่ึงปากขวดในภาคเหนือตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง หลักการและเหตุผล

อ่ึงปากขวด Truncate-snouted spadefoot frog Glyphoglossus molossus (Gunther, 1869) มีขนาดตัวคอนขางใหญ (จากปลายปากถึงรูกนประมาณ 75 มิลลิเมตร) ลําตัวปอม ตาเล็ก ขาส้ันแตใหญ สวนปลายของหัวคอนขางตัดตรง ปากอยูทางดานลางของหัวและเปนชองเปดตามขวาง แผนเยื่อแกวหูมองเหน็ไมชัดเจน ผิวหนังยน ดานหลังสีน้ําตาลอมเทาหรือสีน้ําตาลดําแตมีจุดสีขาวเล็กกระจาย ดานทองสีขาวหรือสีครีมและมีแตมหรือปนสีเขมกระจายอยูท่ัวไป ขาหนาส้ันแตขาหลังคอนขางยาว เม่ือพับขาหลังแนบกับลําตัวไปทางดานหนา ขอเทาอยูในตําแหนงใกลสวนปลายของปาก นิ้วเทาหนามีแผนหนังระหวางนิ้วเฉพาะนิ้วท่ีสองกับนิ้วที่สาม นิ้วเทาหลังมีแผนหนังระหวางนิ้วใหญ สันใตฝาเทาหลัง (inner metatarsal tubercle) มีขนาดใหญเพื่อใชขุดโพรงดิน แพรกระจายบริเวณประเทศเมียนมาร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักรกัมพูชา และไทย โดยขุดโพรงอาศัยตามพ้ืนลางของปาและพื้นที่โดยรอบอางเก็บน้ําบริเวณท่ีดินมีความรวนซุย ขุดโพรงดินโดยใชสันใตฝาเทาหลังท่ีมีขนาดใหญคุยดินพรอมกับถอยหลังลงไปในดิน เม่ือลงไปอยูในโพรงดินแลวจะมองไมเห็นตัวโพรงหรือชองท่ีอยูเหนือตัว ในฤดูแลงจะอาศัยอยูในโพรงดินเกือบตลอดเวลา แตในฤดูฝนจะข้ึนมาหากินบนพ้ืนดินบางในชวงเวลากลางคืน เม่ือถูกรบกวนจะสูบอากาศเขาปอดและทําใหลําตัวมีขนาดใหญมากข้ึน ผสมพันธุและวางไขในคืนท่ีมีฝนตกหนักมากคร้ังแรกของฤดูฝน วางไขในแองน้ําขังช่ัวคราวที่กระจายอยูในปาเต็งรังในปาดิบแลง รวมท้ังในอางเก็บน้ํา มีนิสัยการสืบพันธุรวมกันเปนกลุมจํานวนมาก (explosive mating aggregation) ไขมีลักษณะกลมใส โดยไขแตละฟองจะมีนิวเคลียสสีน้ําตาลเขมขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.8-2.0 มิลลิเมตร หุมดวยวุนใส (jelly) ทําใหไขแตละฟองมีขนาดใหญข้ึนเปน 4-5 มิลลิเมตร ใชเวลาฟกเปนตัวประมาณ 25 ช่ัวโมง ท่ีอุณหภูมิน้ํา 26 องศาเซลเซียส ลูกอ่ึงปากขวดท่ีฟกออกเปนตัวมีขนาดความยาว 4.74-5.13 มิลลิเมตร (http://www.tistr.or.th/sakaerat/Flora_Fauna/amphebian/ amphebian.htm) แมวาอ่ึงปากขวดไมไดเปนสัตวปาคุมครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 สําหรับสถานภาพเพื่อการอนุรักษจัดเปนสัตวปาใกลถูกคุกคามตามเกณฑของ Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, ONEP (2005) แตไมมีสถานภาพเพื่อการอนุรักษตามเกณฑของ The International Union for

Page 17:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

Conservation of Nature, IUCN (2008) แตเนื่องจากเนื้อของอ่ึงปากขวดมีรสชาติดี ชาวบานในทองถ่ินภาคเหนือนิยมจับมาเพ่ือจําหนายและบริโภคเปนอาหารในแตละปเปนจํานวนมาก จากการสํารวจและการจับของชาวบาน พบวา อ่ึงปากขวดในธรรมชาติเร่ิมมีแนวโนมลดลง อีกท้ังปจจุบันสภาวะแวดลอมมีการเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีไมเหมาะสม ผนวกกับพื้นท่ีอาศัยท่ีเปนปาธรรมชาติถูกเปล่ียนแปลงไปเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม ทําใหประชากรอ่ึงปากขวดลดลงอยางรวดเร็ว จึงนาเปนหวงวาอ่ึงปากขวดอาจจะสูญพันธุไปได จึงไดศึกษาการเพาะพันธุดวยฮอรโมนสังเคราะห buserelin acetate (Bus) รวมกับยาเสริมฤทธ์ิ domperidone (Dom) เนื่องจากในปจจุบันมีการใช Bus ท่ีมีคุณสมบัติในการกระตุนการตกไขของสัตวน้ําและสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก โดยไปกระตุนใหมีการสังเคราะหโกนาโดโทรปน (gonadotropin, Gn) และหล่ังออกมาทําใหการกระตุนการตกไขเปนไปตามธรรมชาติมากท่ีสุด โดยใชรวมกับ Dom มีฤทธ์ิเปน dopamine antagonist โดยไปยับยั้งการทํางานของ dopamine ซ่ึงไปยับยั้งการทํางานของโกนาโดโทรปน รีลิสซิง ฮอรโมน (gonadotropin releasing hormone, GnRH) ดังนั้นเม่ือมีการฉีด Dom ระดับความเขมขนของ GnRH ท่ีมีอยูในกระแสเลือดของแมพันธุจึงเพียงพอท่ีจะกระตุนใหเกิดการหล่ังของ Gn ในปริมาณท่ีมากเพียงพอตอการตกไข ประโยชนของการฉีดฮอรโมน คือ ชวยใหแมพันธุตกไขพรอมกัน ทําใหลูกพันธุท่ีไดมีขนาดสม่ําเสมอมากกวาลูกพันธุท่ีไดจากการผสมพันธุกันเองในบอเล้ียงและไดลูกพันธุรุนเดียวกันจํานวนมากทําใหงายตอการนําไปอนุบาลตอ นอกจากนี้สามารถประเมินปริมาณลูกพันธุท่ีเพาะไดอยางแมนยําดีกวาการเพาะพันธุโดยวิธีอ่ืน ศึกษาคัพภะและพัฒนาการของลูกอ่ึงปากขวด เนื่องจากความรูเกี่ยวกับการเจริญพัฒนาของคัพภะและพัฒนาการเปนประโยชนตอผูเพาะพันธุสัตวน้ํามาก โดยทําใหทราบวาการฟกไขคร้ังนั้นเปนปกติหรือไม หากเกิดความผิดปกติ ความผิดปกติเกิดข้ึนในระยะใด ทําใหสามารถวิเคราะหหาสาเหตุได และยังชวยใหทราบระยะเวลาในการฟกท่ีแนนอน เปนประโยชนในการวางแผนการใชโรงเพาะฟกอยางมีประสิทธิภาพตอไป (อุทัยรัตน, 2531) และทําการศึกษาเปรียบเทียบผลของการอนุบาลลูกอ่ึงปากขวดท่ีอัตราความหนาแนนตางกัน โดยพิจารณาจากอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย อัตราแลกเนื้อ ตนทุนและผลตอบแทน เพื่อปลอยกลับคืนสูแหลงอาศัยตามธรรมชาติตอไป นอกจากน้ียังอาจสามารถสงเสริมเปนอาชีพเสริมใหกับชาวบานได เนื่องจากอ่ึงปากขวดมีราคาแพง เปนท่ีตองการบริโภคภายในประเทศและเปนสัตวน้ําสวยงามของตางประเทศ เชน ญ่ีปุน

สําหรับพื้นท่ีภาคเหนือ ผูเขียนไดออกทําการสํารวจอ่ึงปากขวดในพ้ืนท่ีตางๆ เชน ตลาดภายในจังหวัดเชียงใหม ลําพูน พะเยา ตาก ในฤดูฝน พบวามีอ่ึงปากขวดแพรกระจายอยูตามพื้นท่ีตางๆ อาศัยอยูบริเวณใตดินโดยการขุดเปนโพรงอาศัยอยูใกลจอมปลวก ซ่ึงทางศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพะเยาและสถานีประมงน้ําจืดจังหวัดลําพูน ไดรวบรวมมาเล้ียงไวเพื่อจะพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดใหเปนสัตวน้ําท่ีสามารถเล้ียงไวบริโภคไดภายในครัวเรือนของเกษตรกรเอง และในอนาคตสามารถพัฒนาเพื่อเปนสัตวน้ําสวยงามและลดปญหาการจับจากธรรมชาติเพื่อนําไปจําหนาย ท้ังยังเปนอีกทางเลือกหน่ึงท่ีจะเพิ่มมูลคาและสรางรายไดใหกับเกษตรกรตอไปในอนาคตได

Page 18:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

บทวิเคราะห/แนวคิด/ขอเสนอ จากการพิจารณาถึงหนาท่ีความรับผิดชอบในตําแหนงหนาท่ีขอประเมินแตงต้ัง ประกอบการพิจารณาการพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดในภาคเหนือ โดยใชหลักการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (SWOT) ท้ังสภาพแวดลอมภายใน (จุดแข็ง-จุดออน) และสภาพแวดลอมภายนอก (โอกาส-อุปสรรค) ในการพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดในภาคเหนือ สามารถวิเคราะหไดดังนี้ สภาพแวดลอมภายใน - จุดแข็ง การพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดในภาคเหนือตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีดังนี้ 1. ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหม เปนหนวยงานที่มีหนาท่ีศึกษา คนควา ทดสอบ วิจัย ผลิตและขยายพันธุสัตวน้ําจืดท่ีหายากและใกลสูญพันธุ เพ่ือการอนุรักษและพัฒนาใหเปนสัตวน้ําเศรษฐกิจ พัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงสัตวน้ํา ใหบริการดานวิชาการและถายทอดเทคโนโลยีดานการเพาะเล้ียงสัตวน้ํา ผลิตพันธุสัตวน้ําเพื่อปลอยลงแหลงน้ําและจําหนาย ใหแกเกษตรกรผูเพาะเล้ียงสัตวน้ํา 2. ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหม มีนักวิชาการประมงและทีมงานท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสามารถสนับสนุนและสงเสริมใหการพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดเพ่ือสงเสริมใหเกษตรกรเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดไดภายในควบครัว 3. ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหม เปนแหลงเรียนรูและจุดสาธิตของโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุนชมดานประมง 4. ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหม มีโรงเรือนท่ีใชเพาะเล้ียงสัตวน้ําจําพวก กบภูเขา เขียด และสัตวสะเท้ือนน้ําสะเท้ือนบก 5. สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศของภาคเหนือมีความเหมาะสมและเอ้ืออํานวยตอการเจริญเติบโตและการพัฒนาการเล้ียงอ่ึงปากขวดเพ่ือบริโภคภายในครอบครัว

6. ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหม ไดรับงบประมาณสนับสนุนในโครงการฟนฟูทรัพยากรพันธุปลาและสัตวน้ําของไทย - จุดออน การพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดในภาคเหนือตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ี 1. เกษตรกรผูเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดยังมีจํานวนจํากัด 2. ขอมูลท่ีเกี่ยวของกับอ่ึงปากขวดมีผูศึกษาวิจัย รวบรวม หรือจดบันทึกไวมีนอยมาก 3. สามารถเพาะพันธุอ่ึงปากขวดได แตลูกอ่ึงท่ีหางหดระยะข้ึนฝงมีอัตรารอดตํ่า

4. เกษตรกรสวนมากจับอ่ึงปากขวดเพศเมียท่ีมีไขข้ึนมาบริโภคมากกวาจะปลอยใหไปผสมพันธุกันตามฤดูกาล เนื่องจากหากินไขอ่ึงปากขวดไดปละคร้ัง

5. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับอ่ึงปากขวดมีนอยมาก ในการสรางจุดสาธิตจึงตองอาศัยสมมุติฐานจากการสังเกตของนักวิจัยเอง

Page 19:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

สภาพแวดลอมภายนอก โอกาส การพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดในภาคเหนือตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีดังนี้ 1. ภาคเหนือ มีปาไมคอนขางมีความอุดมสมบูรณซ่ึงมีความเหมาะสมในการเพาะพันธุและอนุบาลเพื่อทําเปนจุดสาธิตการเล้ียงอ่ึงปากขวดไวถายทอดความรูใหแกเกษตรกร 2. เปนกรอบแนวนโยบายของกรมประมงท่ีจะวิจัยและพัฒนาเพื่อสงเสริมงานวิจัยใหสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง

3. สามารถพัฒนาระบบการเล้ียงอ่ึงปากขวดในระบบปด ใหสามารถดําเนินการสรางบอเล้ียงท่ีมีลักษณะเลียนแบบธรรมชาติใหเหมาะสมตอการเพาะเล้ียงได

4. สามารถทําเปนจุดสาธิตเพ่ือใหเกษตรกรนําไปปฏิบัติไดตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสามารถดําเนินการเพาะเล้ียงไวบริโภคไดภายในครัวเรือน และลดรายจายในครอบครัวได 5. อ่ึงปากขวดเปนท่ีนิยมบริโภคภายในตางประเทศและตางประเทศคาดวาจะเปนสัตวเล้ียงสวยงามของประเทศญ่ีปุน

6. สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศของภาคเหนือมีความเหมาะสมและเอ้ืออํานวยตอการเจริญเติบโตและการพัฒนาการเล้ียงอ่ึงปากขวดเพ่ือบริโภคภายในครอบครัว

7. เกษตรกรและผูสนใจสามารถเขามาฝกปฏิบัติงานภายในศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหมไดเนื่องจากเปนศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนดานประมงน้ําจืดอีกดวย

อุปสรรค การพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดในภาคเหนือตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 1. เกษตรกรในภาคเหนือยังใหมตอประสบการณการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวด

2. มีการใชสารเคมีในแหลงท่ีอยูอาศัยของอ่ึงปากขวด เม่ือฝนตกสารเคมีจะไหลลงสูใตผิวดิน 3. สวนใหญของวงจรชีวิตอ่ึงปากขวดจะดํารงชีพภายใตพื้นดิน จึงยากแกการสังเกตการพัฒนาของ

อวัยวะสืบพันธุ ซ่ึงตองรอใหอ่ึงปากขวดข้ึนมาบนผิวดินเองปละ 1 คร้ัง 4. แหลงท่ีอยูอาศัยของอ่ึงปากขวดเส่ือมโทรมจากมลพิษเนื่องมาจากในจังหวัดเชียงใหม ลําพูน และ

พะยา เปนจังหวัดท่ีเกษตรกรปลูกลําไยมาก ทําใหมีการใชสารเคมีจํานวนมาก เมื่อฝนตกเกิดการชะลางสารเคมีไหลลงสูพื้นดิน

5. เกษตรกรจับอ่ึงปากขวดมาบริโภคเกินอัตรา 6. ปจจุบันเกิดสภาวะการเปล่ียนทางฤดูกาลข้ึนมากมาย ฤดูฝนมาเร็วกวากําหนดทําใหน้ําภายใน

พื้นดินสูงข้ึนเปนสาเหตุใหอ่ึงปากขวดข้ึนบนผิวดินกอนการเจริญพันธุ

Page 20:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

แนวคิด/ขอเสนอ แนวคิด/ขอเสนอ การพัฒนาการเพาะเล้ียงอึ่งปากขวดในภาคเหนือตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีดังนี้ 1. แนวคิดสงเสริมใหความรูดานวิชาการแกเกษตรกรใหมีความรูในการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวด เพื่อพัฒนาเปนสัตวเล้ียงเพื่อบริโภคภายในประเทศและสามารถเปนสัตวเล้ียงสวยงามในตางประเทศ เชน ญ่ีปุนตอไปในอนาคต - ข้ันตอนการดําเนินงาน พัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดเพ่ือถายทอดเทคโนโลยีใหเกษตรกรโดยศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหม จะจัดใหมีการฝกอบรมใหความรูและฝกปฏิบัติทําจริงแกเกษตรกรผูท่ีมีความสนใจในการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดใหเปนสัตวน้ําเศรษฐกิจภายในทองถ่ินและคอยๆขยายในเขตพื้นที่ภาคเหนือได 2. แนวคิดศึกษาวิจัยเพื่อใหทราบถึงปญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการดําเนินโครงการ พรอมท้ังหาวิธีการปองกันและแนวทางการแกไขปญหาตางๆ - ข้ันตอนการดําเนินงาน เพื่อพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดเพื่อเล้ียงไวบริโภคภายในครอบครัวในเขตภาคเหนือ โดยศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหม จะศึกษาวิจัยเพื่อใหทราบถึงปญหาและอุปสรรคท่ีเกิดจากการดําเนินโครงการฯ พรอมท้ังหาวิธีปองกันและแนวทางการแกไขปญหาตางๆ โดยการใชแบบสอบถามประกอบกับการสัมภาษณกลุมผูท่ีสนใจในการเล้ียงอ่ึงปากขวด เพื่อใหทราบถึงขอมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมบางประการ ปญหาและอุปสรรคท่ีเกิดจากการดําเนินโครงการฯ พรอมท้ังหาวิธีการปองกันและแนวทางแกไขปญหาตางๆ 3. แนวคิดการพัฒนาการเพาะพันธุและพัฒนาสายพันธุของอึ่งปากขวดเพ่ือคัดเลือกลักษณะพันธุอ่ึงปากขวดเพื่อบริโภค และพันธุอ่ึงปากขวดท่ีเล้ียงเปนสัตวสวยงาม เพื่อไวใชเปนพอแมพันธุไดตลอดไป - ข้ึนตอนการดําเนินงาน เพื่อพัฒนาสายพันธุอ่ึงปากขวดใหมีความสมบูรณ และมีการแลกเปล่ียนพอแมพันธุเพื่อหลีกเล่ียงไมทําใหเกิดการผสมเลือดชิด โดยมีการเพาะพันธุอ่ึงปากขวดในแตละคร้ังจะมีการคัดอ่ึงปากขวดท่ีสมบูรณโตวัยในแตละรุนเพื่อทําการเล้ียงใหเปนพอแมพันธุตอไป ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ทราบสภาพปญหาและอุปสรรคการดําเนินงานการพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดในภาคเหนือตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 2. เกษตรกรในพ้ืนท่ีภาคเหนือมีความสนใจท่ีจะเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวด และมีความรูดานการเพาะพันธุและเล้ียงอ่ึงปากขวดมากข้ึน ซ่ึงจะสามารถปูทางเพ่ือเปนสัตวน้ําสวยงามชนิดตอไปได 3. เกษตรกรผูเล้ียงอ่ึงปากขวดสามารถลดรายจายภายในครัวเรือนและมีรายไดเพิ่มข้ึน 4. ทําใหเกิดสุขภาพจิตดี เศรษฐกิจดี สังคมดี ส่ิงแวดลอมท่ียังยืน 5. อ่ึงปากขวดสามารถผลิตเปนสัตวเศรษฐกิจภายในทองถ่ินได และวางแผนพัฒนาเปนสัตวเล้ียงสวยงามไดในอนาคต

Page 21:  · 2012-03-27 · อุณหภูมิ (temperature) ใช เทอร โมมิเตอร งแก ว หนแบบแท วยวัดเป นองศาเซลเซี

6. เกษตรกร และองคกรตางๆ สามารถเขามามีสวนรวมกับศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดเชียงใหม ไดในการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงได ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. เกษตรกรผูเพาะเล้ียงสัตวน้ําในเขตภาคเหนือทําการเพาะเล้ียงอึ่งปากขวดเพิ่มข้ึน สงเสริมเกษตรกรใหมีรายไดเพิ่มข้ึน 2. มีผลงานวิชาการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดและสามารถนําไปใชไดในสถานท่ีจริง 3. เกษตรกรผูเพาะเล้ียงสัตวน้ํามีความรูดานการเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวดเพ่ิมข้ึนและสงเสริมใหอ่ึงปากขวดเปนสัตวเศรษฐกิจและสามารถเพ่ิมมูลคาอ่ึงปากขวดได

4. ลดการจับอ่ึงปากขวดจากธรรมชาติได 5. สามารถผลิตพันธุอ่ึงปากขวดไดปริมาณท่ีแนนอนและมีคุณภาพ 6. สถิติผลการผลิตและจํานวนการบริโภคอ่ึงปากขวดจากการเพาะเล้ียงในเขตภาคเหนือเพ่ิมข้ึน

7. มีการผลิตท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐานและมีความยั่งยืนของกลุมเกษตรกรผูเพาะเล้ียงอ่ึงปากขวด

ลงช่ือ.............................................. (นางสิริฉัตร สุนทรวิภาต)

ผูเสนอแนวคิด ……../………/…….