2557 - silpakorn...

201
กลยุทธ์ศักยภาพเชิงการแข่งขันของผู ้ประกอบธุรกิจโรงเรียนดนตรีในเขตอาเภอเมืองจังหวัดชัยภูมิ โดย ว่าที่ร้อยตรีจิรโรจน์ ธรรมสโรช วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 19-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • กลยุทธ์ศักยภาพเชิงการแข่งขนัของผู้ประกอบธุรกจิโรงเรียนดนตรีในเขตอ าเภอเมืองจังหวัดชัยภูมิ

    โดย ว่าที่ร้อยตรีจิรโรจน์ ธรรมสโรช

    วิทยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพฒันา

    บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ปีการศึกษา 2557

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • กลยุทธ์ศักยภาพเชิงการแข่งขนัของผู้ประกอบธุรกจิโรงเรียนดนตรีในเขตอ าเภอเมืองจังหวัดชัยภูมิ

    โดย ว่าที่ร้อยตรีจิรโรจน์ ธรรมสโรช

    วิทยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพฒันา

    บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ปีการศึกษา 2557

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • BUSINESS STRATEGIES FOR A COMPETITIVE ADVANTAGE OF MUSIC SCHOOL IN CHAIYAPHUM PROVINCE

    By Acting sub lt. Jiraroch Thummasaroch

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Music Program in Music Research and Development

    Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2014

    Copyright of Graduate School, Silpakorn University

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนุมติัใหว้ิทยานิพนธ์เร่ือง “ กลยทุธ์ศกัยภาพเชิงการแข่งขนัของผูป้ระกอบธุรกิจโรงเรียนดนตรีในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภมิู ” เสนอโดย วา่ท่ีร้อยตรีจิรโรจน์ ธรรมสโรช เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาสงัคีตวิจยัและพฒันา

    ……........................................................... (รองศาสตราจารย ์ดร.ปานใจ ธารทศันวงศ)์

    คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั วนัท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

    อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย ์ดร.ศกัด์ิสิทธ์ิ ราชรักษ ์ คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ .................................................... ประธานกรรมการ (อาจารยจิ์รพรรณ องัศวานนท)์ ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารย ์ดร.นุกลู แดงภูมี ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารย ์ดร.ศกัด์ิสิทธ์ิ ราชรักษ)์ ............/......................../..............

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 56701304: สาขาสงัคีตวิจยัและพฒันา ค าส าคญั: ธุรกิจโรงเรียนดนตรี/กลยทุธ์/การแข่งขนั/จงัหวดัชยัภูมิ จิรโรจน์ ธรรมสโรช: กลยุทธ์ศกัยภาพเชิงการแข่งขนัของผูป้ระกอบธุรกิจโรงเรียนดนตรี ในเขตอ าเภอเมือง จงัหวดัชยัภูมิ. อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์: อ.ดร.ศกัด์ิสิทธ์ิ ราชรักษ.์ 190 หนา้. การศึกษาวิจยั เร่ือง กลยุทธ์การสร้างศกัยภาพเชิงการแข่งขนัธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิ ในคร้ังน้ี มีวตัถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรมผูป้กครองในการตดัสินใจเลือกโรงเรียนดนตรีใหก้บับุตรหลาน เพ่ือศึกษาปัจจยัท่ีส่งผลต่อในการเลือกโรงเรียนดนตรีของผูป้กครองในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภูมิเพ่ือวิเคราะห์ประเดน็ปัญหาในการด าเนินงานธุรกิจดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิเพ่ือสร้างกลยทุธ์ศกัยภาพเชิงการแข่งขนั ของผูป้ระกอบธุรกิจโรงเรียนดนตรีในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภูมิ ซ่ึงในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ทั้ งน้ี เพ่ือให้งานวิจัยเล่มน้ีได้รับข้อมูลท่ีมีความครบถ้วนสมบูรณ์ ผู ้วิจัยได้เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจาก การสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผูป้ระกอบการธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิ โดยจะตอ้งจดทะเบียนกับส านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเขต 1 จังหวดัชัยภูมิและส่วนของข้อมูลเชิงปริมาณได้จากการเก็บแบบสอบถามจากผูป้กครองในจงัหวดัชยัภูมิ จ านวน 400 ราย ส าหรับการวิเคราะห์ขอ้มูลและสถิติท่ีใชใ้นการวิเคราะห์ ประกอบด้วย การแจกแจงความถ่ี (Frequencies Distribution) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และท าการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way Anova) และท าการคน้หาปัจจยัส าคญัเพ่ือใชใ้นการก าหนดกลยุทธ์ดว้ยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) และไดว้ิเคราะห์ผลการวิจยัทั้งหมด มาเป็นกลยุทธ์การสร้างศกัยภาพเชิงการแข่งขนัธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชัยภูมิ ในช่ือ “SCREW” ซ่ึ งประกอบด้วย 5 ส่ วนดังน้ี กลยุท ธ์ S “Suitable” คือกลยุท ธ์ ท่ี เก่ี ยวกับการก าหนดราคาให้ มี ความเหมาะสมกับคุณภาพของบริการและสินค้ากลยุทธ์ C “Coziness space and Area” คือ กลยุทธ์ ท่ีเก่ียวกบัการเลือกสถานท่ีตั้งของการท าธุรกิจและสภาพแวดลอ้มภายในและภายนอกโรงเรียน กลยุทธ์ R “Reliable Staff” คือ กระบวนการส่งมอบบริการท่ีมีคุณภาพผ่านบุคลากรต่างๆในโรงเรียน กลยุทธ์ E “Extension service” คือ กลยุทธ์ท่ีเก่ียวกบับริการเสริมต่างท่ีครอบคลุมกบัความตอ้งการของผูรั้บบริการ และ กลยทุธ์ W “Widely communicate” คือ กลยทุธ์ท่ีเก่ียวกบัการส่ือสารท่ีครอบคลุม ___________________________________________________________________________________ สาขาวิชาสงัคีตวิจยัและพฒันา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ลายมือช่ือนกัศึกษา ………………………………….. ปีการศึกษา 2557 ปีการศึกษา 2557 ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ …………………………………..

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 56701308: MAJOR: MUSIC RESEARCH AND DEVELOPMENT KEY WORD: BUSINESS MUSIC SCHOOL / STRATEGY / COMMPETITIVE / CHAIYAPHUM PROVINCE JIRAROCH THUMMASAROCH: BUSINESS STRATEGEIES FOR A COMPETITIVE ADVENTAGEOF MUSIC SCHOOLIN CHAIYAPHUM PROVINCE. THESIS ADVISOR: SAKSIT RACHRUK, DS.c. 190 pp. Business Strategies for a Competitive Advantage of Music School in Chaiyaphum Province.The purposes of study were (1) to study on decision making behavior of parent who actually choose a music school for their children, (2) to study the factors that influence the selection of a music school in Mueang Chaiyaphum district, Chaiyaphum province, Thailand and (3) to create competitive strategies for music school business in Mueang Chaiyaphum district, Chaiyaphum province. The samples of this study were 400 parents. The instruments used were in-depth interview is a type of qualitative research method and quantitative research method by questionnaires. In-depth interview for entrepreneurs in music school must be registered with The Provincial Educational Service Area Office 1, Ministry of Education, in Chaiyaphum province. Questionnaires for survey decision making behavior of parent who actually choose a music school for their children, developed by researcher and the collecting data procedure was also run by the researcher himself. Statistics used in analyzing data included frequency distribution , percentage , mean, standard deviation and One-Way ANOVA was used for hypothesis testing then analyze factors to find out the critical factors of strategy formulation. SCREW is competitive strategy for entrepreneurs in music school in Mueang Chaiyaphum district, Chaiyaphum province. There are five components of SCREW: Suitable (S) is determining fair and reasonable price , Coziness space and Area (C) is about choosing a business location and internal and external business environment, Reliable Staff (R) is value delivery process by personnel, Extension Service (E) is offering additional services for all wants and wildly communicate (W) means Communication strategy is comprehensive. _________________________________________________________________________________ Program of Music Research and Development Graduate School, Sikpakorn University Student’s signature ………………………………….. …… Academic Year 2014 Thesis Advisor’s signature …………………………………..

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • กติติกรรมประกาศ

    การศึกษาวิจยัคร้ังน้ีคงไม่สามารถส าเร็จลุล่วงได ้หากผูว้ิจยัมิไดรั้บความอนุเคราะห์จากบุคคลดงัต่อไปน้ี

    อาจารย ์ดร.ศกัด์ิสิทธ์ิ ราชรักษ ์และ อาจารยจิ์รพรรณ องัศวานนท์เป็นผูใ้ห้ค าแนะน าและช้ีแนะแนวทางในการท าวิทยานิพนธ์เล่มน้ีและเป็นผูใ้ห้ความรู้ทั้งในดา้นธุรกิจดนตรีและดา้นอ่ืนๆ ซ่ึงความรู้ท่ีได้จากอาจารย์ได้น ามาปรับใช้ในการท าวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ จิรพรรณ องัศวานนท ์ยงัเป็นผูท่ี้ใหโ้อกาสไดเ้ขา้ศึกษาในมหาวิทยาลยัศิลปากร

    อาจารย ์ดร.นุกูล แดงภูมี เป็นผูท่ี้คอยช่วยเหลือและใหค้ าปรึกษาในการท าวิทยานิพนธ์ ในคร้ังน้ี ซ่ึงเป็นผูท่ี้มีส่วนส าคัญท่ีท าให้วิทยานิพนธ์เล่มน้ีส าเร็จได้ และยงัเป็นผูท่ี้มอบความรู้ ความคิดและแนวคิดต่างๆ ท าใหส้ามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆ ทั้งการเรียนและการท าวิทยานิพนธ์ไดต้ลอดมา

    ผูใ้หข้อ้มลูส าคญัและผูต้อบแบบสอบถาม และมีส่วนร่วมในการใหข้อ้มลูท่ีส าคญัต่อการท างานวิจัยคร้ังน้ีให้ส าเร็จลุล่วงไป พร้อมทั้ งสนับสนุนในการเป็นผูช่้วยเหลือในการเก็บข้อมูลแบบสอบถามใหผู้ว้ิจยั

    สุดทา้ยน้ีขอขอบคุณ ครอบครัวธรรมสโรช เป็นส่วนส าคญัยิ่งท่ีท าให้เกิดวิทยานิพนธ์ เป็นทั้งก าลงัใจและคอยสนบัสนุนในดา้นของทุนทรัพยแ์ละใหค้วามช่วยเหลือในทุกๆ ดา้น จนท าให้วิทยานิพนธ์เล่มน้ีส าเร็จลุล่วงไปไดด้ว้ยดี

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญ หนา้ บทคดัยอ่ภาษาไทย ...................................................................................................................... ง บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ ................................................................................................................. จ กิตติกรรมประกาศ ....................................................................................................................... ฉ สารบญัตาราง .............................................................................................................................. ณ บทท่ี 1 บทน า ................................................................................................................................ 1

    ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา .................................................................. 1 วตัถุประสงคข์องการศึกษา ..................................................................................... 4 กรอบแนวคิด........................................................................................................... 5 สมมติฐานการศึกษา ................................................................................................ 5 ขอบเขตการวจิยั ...................................................................................................... 6 ประโยชน์ของงานวจิยั ............................................................................................ 7 นิยามศพัทเ์ฉพาะ ..................................................................................................... 8

    2 วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ง ...................................................................................................... 9 ความหมายของธุรกิจดนตรี (Music Business) ........................................................ 9 กฎระเบียบการจดัตั้งโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ..................................................... 11 แนวความคิดเก่ียวกบัการตลาดบริการ (Services Marketing) ................................. 15 ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาดบริการ (Services Marketing Mix) ....................... 20 แนวความคิดการวเิคราะห์สภาพแวดลอ้มองคก์ร (SWOT Analysis) ........................... 27 พฤติกรรมผูบ้ริโภค (Customer Behavior) .............................................................. 28 ทฤษฏีแรงกดดนัทางการแข่งขนั 5 ประการ (5 Forces Model) ............................... 32 งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง .................................................................................................. 34

    3 วธีิด าเนินการวจิยั .............................................................................................................. 37 ล าดบัขั้นตอนการวิจยั.............................................................................................. 37 สรุปขั้นตอนการวจิยั ............................................................................................... 38 วธีิด ำเนินกำรวจิยั .................................................................................................... 39

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทท่ี ......................................................................................................................................... หนา้ 4 ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล ....................................................................................................... 42

    ขอ้มูลเชิงคุณภาพ .................................................................................................... 42 ขอ้มูลเชิงปริมาณ ..................................................................................................... 52 ผลการวเิคราะห์การด าเนินงานและปัจจยัท่ีส่งผลต่อการตดัสินใจเลือกโรงเรียน ดนตรีของผูป้กครองในจงัหวดัชยัภูมิ ...................................................................... 129 บทสรุปกลยทุธ์ ....................................................................................................... 147

    5 สรุป อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ .................................................................................. 154 สรุป ......................................................................................................................... 154 การเก็บขอ้มูลเชิงคุณภาพ ........................................................................................ 154 การเก็บขอ้มูลเชิงปริมาณ ........................................................................................ 157 ก าหนดกลยทุธ์การสร้างศกัยภาพเชิงการแข่งขนัของผูป้ระกอบธุรกิจโรงเรียน

    ดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิ ............................................................................................. 160 อภิปรายผล .............................................................................................................. 170 ขอ้เสนอแนะ ........................................................................................................... 173

    รายการอา้งอิง .............................................................................................................................. 174 ภาคผนวก .................................................................................................................................... 178 ประวติัผูว้ิจยั ................................................................................................................................ 190

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้

    1 สถิติโดยรวมทั้งประเทศของจ านวนโรงเรียนดนตรีท่ีไดรั้บการจดทะเบียน และจ านวนนกัเรียนระหวา่งปี พ.ศ. 2547 – 2555 .................................................. 2 2 ความแตกต่างระหวา่งการตลาดบริการ และการตลาด ................................................. 20 3 คุณลกัษณะส่วนบุคคลของผูป้กครองจ าแนกตาม “เพศ” ............................................. 53 4 คุณลกัษณะส่วนบุคคลของผูป้กครองจ าแนกตาม “อาย”ุ ............................................. 53 5 คุณลกัษณะส่วนบุคคลของผูป้กครองจ าแนกตาม “ระดบัการศึกษาสูงสุด” ................. 54 6 คุณลกัษณะส่วนบุคคลของผูป้กครองจ าแนกตาม “อาชีพ” .......................................... 55 7 คุณลกัษณะส่วนบุคคลของผูป้กครองจ าแนกตาม “รายไดส่้วนตวัต่อเดือน” ............... 55 8 คุณลกัษณะส่วนบุคคลของผูป้กครองจ าแนกตาม “แนวเพลงท่ีช่ืนชอบ” .................... 56 9 บุตรหลานในความดูแลของท่านมีอายเุท่าใด ................................................................ 57 10 เหตุผลส าคญัท่ีสุดท่ีส่งผลใหผู้ป้กครองตดัสินใจเลือกใชบ้ริการโรงเรียนดนตรี ......... 57 11 ส่ิงท่ีตอ้งการไดรั้บจากโรงเรียนดนตรี .......................................................................... 59 12 บุตรหลานของท่านเขา้รับบริการวิชาในจากโรงเรียนดนตรี ........................................ 60 13 ระดบัความเห็นของผูต้อบแบบสอบถามท่ีมีต่อการตดัสินใจเลือกรับบริการ

    โรงเรียนดนตรีในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภมิู ............................................................ 61 14 การวิเคราะห์ความแปรปรวนความคิดเห็นท่ีมีต่อปัจจยัส่วนประสมการตลาดบริการ

    ท่ีมีผลต่อการดสินใจเลือกใชบ้ริการโรงเรียนดนตรี ในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภมิู โดยจ าแนกตาม เพศ ................................................................................................ 67

    15 การวิเคราะห์ความแปรปรวนความคิดเห็นท่ีมีต่อปัจจยัส่วนประสมการตลาดบริการ ท่ีมีผลต่อการตดัสินใจเลือกใชบ้ริการโรงเรียนดนตรี ในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดั ชยัภมิูโดยจ าแนกตาม อาย ุ...................................................................................... 79

    16 การวิเคราะห์ความแปรปรวนความคิดเห็นท่ีมีต่อปัจจยัส่วนประสมการตลาดบริการ ท่ีมีผลต่อการตดัสินใจเลือกใชบ้ริการโรงเรียนดนตรี ในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดั

    ชยัภมิูโดยจ าแนกตาม ระดบัการศึกษาสูงสุด .......................................................... 91 17 การวิเคราะห์ความแปรปรวนความคิดเห็นท่ีมีต่อปัจจยัส่วนประสมการตลาดบริการ

    ท่ีมีผลต่อการตดัสินใจเลือกใชบ้ริการโรงเรียนดนตรี ในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดั ชยัภมิูโดยจ าแนกตาม อาชีพ ................................................................................... 104

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ตารางท่ี หนา้ 18 การวิเคราะห์ความแปรปรวนความคิดเห็นท่ีมีต่อปัจจยัส่วนประสมการตลาดบริการ

    ท่ีมีผลต่อการตดัสินใจเลือกใชบ้ริการโรงเรียนดนตรี ในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดั ชยัภมิูโดยจ าแนกตาม รายได ้.................................................................................. 116 19 การก าหนดตวัแปร เพ่ือใชใ้นการจดักลุ่มปัจจยัท่ีส่งผล ............................................... 130 20 การตรวจสอบความเหมาะสมขอ้มลู ผา่นการแสดงค่า KMO and Bartltt’s Test ........ 133 21 ค่าสมัประสิทธ์ิ คะแนนองคป์ระกอบการหมุนแกน Othogonal Rotation แบบ Varimax จากความคิดเห็นของกลุ่มผูป้กครองต่อการตดัสินใจเลือกใชบ้ริการ

    โรงเรียนดนตรีในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภมิู ...................................................... 134 22 จ านวนและค่าร้อยละของผูต้อบแบบสอบถามในส่วนของขอ้เสนอแนะเพิ่มเติม ต่อการใหบ้ริการโรงเรียนดนตรีในอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภมิู ...................................... 140 23 แสดงจ านวนและค่าร้อยละของผูต้อบแบบสอบถามในส่วนของขอ้เสนอแนะ เพ่ิมเติมต่อการใหบ้ริการโรงเรียนดนตรีในอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภมิู โดยแยก ตามประเดน็ท่ีผูต้อบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น ................................................ 140 24 องคป์ระกอบกลยทุธ์“SCREW” .................................................................................. 147 25 ขั้นตอนการก าหนดราคาท่ีเหมาะสม ........................................................................... 162 26 ขั้นตอนการเลือกสถานท่ีตั้งของการท าธุรกิจ .............................................................. 164 27 ขั้นตอนการตรวจสอบศกัยภาพในการบริการ ............................................................. 166 28 ตารางการก าหนดบริการเสริม ..................................................................................... 168 29 ขั้นตอนการเลือกช่องทางส่ือสาร ................................................................................. 169

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 1

    บทที่ 1 บทน ำ

    ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ สภาพสังคมในปัจจุบนัมีการแข่งขนัที่สูงมาก ทั้งในดา้นการงาน การเรียน รวมไป

    ถึงในส่วนของภาคธุรกิจต่างๆ ก็มีการแข่งขนัที่สูงเช่นเดียวกนั ส่งให้สภาพเศรษฐกิจมีการขบัเคลื่อนไปขา้งหน้า และมีการหมุนเวียนทางการเงินเกิดข้ึน เมื่อเศรษฐกิจมีการพฒันามากยิ่งข้ึน มนุษยก์็ย ่อมตอ้งพฒันาตามไปดว้ยเช่นกนั เพื ่อให้เกิดการยอมรับทางสังคม ทั้งน้ีการยอมรับทางสังคมจะเกิดข้ึนไดน้ั้นจะตอ้งมีการพฒันาให้มากกว่าคนอื่นๆ เพื ่อก่อให้เกิดเป็นจุดเด่นหรือความสามารถพิเศษ เพื่อให้ไดร้ับการคดัเลือก เช่น ในการสมคัรงานคนส่วนใหญ่เช่ือว่าถา้ใครมีความรู้ความสามารถมากกว่าย่อมสามารถไดเ้ปรียบและมีโอกาสไดรั้บคดัเลือกเขา้ท างานมากกว่าคนอ่ืนๆ

    ในส่วนของการพฒันาศกัยภาพของมนุษยก์็เช่นกนั ในปัจจุบนัผูป้กครองส่วนใหญ่ก็มีความคิดท่ีจะพฒันาบุตรหลานของตนเองให้มากยิ่งข้ึนโดยการส่งบุตรหลานเขา้รับการศึกษามากยิ ่งข้ึนการเรียนเพิ ่มเติมนอกเหนือจากโรงเรียนในชั้นเรียนปกติ เพื ่อให้บุตรหลานของตนเองเกิดความแตกต่างและไดเ้ปรียบกว่าคนอื่นๆ ส่งผลวิชาต่างๆ เช่น วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาองักฤษ ภาษาจีน วิชาวิทยาศาสตร์ ศิลปะ กีฬา ดนตรีฯลฯ ถูกน าเขา้มาสอนในรูปแบบของโรงเรียนสอนพิเศษ ทั้งน้ีเมื่อมีเน้นการเรียนทางวิชาการมากยิ่งข้ึน ย่อมมีความเครียดเกิดข้ึน วิชาการทางดา้นศิลปะแขนงต่างๆ จึงเป็นทางออกที่ดีในการคลายเครียดและยงัเป็นการสร้างความสามารถพิเศษไปในตวั ไม่ว่าจะเป็นศิลปะดา้น ดนตรี วาดรูป การเตน้ ฯลฯ นอกจากวิชาการในดา้นศิลปะจะช่วยผ่อนคลายความเครียดแลว้ ศิลปะยงัช่วยพฒันาศกัยภาพในดา้นต่างๆอีกดว้ย เช่น พฒันาทกัษะทางอารมณ์ สังคม บุคลิกภาพ และสติปัญญา รวมทั้งเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ไปในตวัอีกทางหน่ึง มีนกัวิชาการหลายๆ ท่านไดก้ล่าวว่า ดนตรีไม่ใช่เพียงเพื่อท าให้คนรักดนตรีหรือเพื่อความบนัเทิงร่ืนรมยเ์ท่านั้น แต่ดนตรีศึกษาจะตอ้งมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผูเ้รียนสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่สร้างสรรค์ยิ่งข้ึนทั้งต่อตนเองและผูอ่ื้น และจงัหวะและเสียงของดนตรีนั้นมีผลต่อการรับรู้ในหลายๆดา้น เช่น ดา้น ร่างกาย จิตใจ และสติปัญญาท าให ้เกิดความคิดสร้างสรรค ์ในดา้นต่างๆ และยงัท าให ้มีพฒันาการดา้นต่างๆ เสียงดนตรีเป็นส่ิงเร้าที่มีอิทธิพลต่อจิตใจมนุษย ์สามารถท าให้เกิดอารมณ์ต่างๆ เช่น หดหู่ สนุกสนาน ฮึกเหิมไดใ้นระยะเวลาอนัสั้น และดนตรียงัเป็นส่ิงกระตุน้เกิดพฒันาการทั้งดา้นกาย จิตใจ และทางดา้นอารมณ์ไดเ้ป็นอย่างดี

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 2

    จากที่กล่าวมาแลว้ขา้งตน้จะเห็นไดว้่าโรงเรียนสอนพิเศษมีอิทธิพลต่อสังคมมากยิ่งข้ึนดงัจะเห็นไดว้่าโรงเรียนสอนพิเศษในปัจจุบนัไดร้ับความนิยมแพร่หลายมากข้ึนเร่ือยๆ จนกลายเป็นกระแสที่ผูป้กครองจะตอ้งส่งบุตรหลานไปเรียนพิเศษในหลายๆ ศาสตร์ เพื่อให้มีความสามารถรอบรู้มากกว่าคนอื่นๆท าให้โรงเรียนสอนพิเศษมีการขยายตวัข้ึนอย่างรวดเร็ว หน่ึงในนั้นคือ “โรงเรียนสอนดนตรี” ซ่ึงในปัจจุบนัไดรั้บความสนใจจากผูป้กครองเพิ่มมากข้ึน โดยโรงเรียนดนตรีสากลท่ีเปิดข้ึนในประเทศไทยเป็นแห่งแรก คือโรงเรียนดนตรียามาฮ่า ก่อตั้งข้ึนเมื่อวนัที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2509 นบัว่าเป็นผูน้ าหลกัสูตรดนตรีศึกษารายแรกของประเทศไทยและมีการพฒันาการเรียนการสอนมาจนถึงปัจจุบนั (Yamaha Music School, 2556: 23) จนมีหลกัสูตรส าเร็จรูปออกมาในรูปแบบต่างๆ และยงัตอ้งมีการพฒันาในดา้นอื่นๆ ของโรงเรียนดนตรี เช่น อุปกรณ์และเคร่ืองดนตรีที่ใช้ในการเรียนการสอนให้ครบครัน มีการเพิ่มหลกัสูตรการเรียนการสอนของเคร่ืองดนตรีต่างๆ หลายชนิด ให้อยู่ในโรงเรียนดนตรีแห่งเดียว เพื่อให้สะดวกต่อการมาเรียนและตอบสนองความตอ้งการของผูเ้รียนให้มากท่ีสุด

    จากผลส ารวจทางสถิติของศูนยส์ารสนเทศเพื่อการศึกษาแห่งชาติกระทรวงศึกษาธิการ เผยให้เห็นว่า มีจ านวนโรงเรียนดนตรีที่ไดรั้บการจดทะเบียนถูกตอ้งตามกฎหมายและจ านวนนกัเรียน ทัว่ประเทศ ในช่วงระยะเวลาปี พ.ศ.2547 – พ.ศ. 2555 มีจ านวนเพิ่มข้ึน ดงัน้ี ตารางท่ี 1 สถิติโดยรวมทั้งประเทศของจ านวนโรงเรียนดนตรีท่ีไดรั้บการจดทะเบียนและจ านวน

    นกัเรียนระหวา่งปี พ.ศ. 2547–2555 ปี พ.ศ. จ ำนวนโรงเรียนดนตรี จ ำนวนนักเรียน 2547 171 41,178 2548 202 45,430 2549 222 50,568 2550 239 52,287 2551 241 52,190 2552 274 47,628 2553 287 64,301 2554 258 78,491 2555 503 39,941

    ท่ีมา: กระทรวงศึกษาธิการ, ส านักงานปลดั, ศูนยเ์ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร, สถิติปีกำร ศึกษำฉบับย่อปีกำรศึกษำ 2555. (กรุงเทพฯ: ส านกังานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ, 2556)

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 3

    จากข้อมูลสถิติข้างต้น ในปี 2547 – 2554 เป็นข้อบ่งช้ีว่าโรงเรียนสอนดนตรีได้รับความนิยมจากผูป้กครองและนักเรียนข้ึนเร่ือยๆ จึงท าให้ต้องมีโรงเรียนดนตรีเปิดเพิ่มมากข้ึน เพื่อท่ีจะมารองรับความตอ้งการของกลุ่มผูป้กครองและนกัเรียนใหเ้พียงพอ ซ่ึงท าให้เกิดการแข่งขนัและการขยายตวัอย่างรวดเร็วในธุรกิจโรงเรียนสอนดนตรี แต่ในปี 2555 นั้นจะเห็นได้ว่าจ านวนนักเรียนลดน้อยลง แต่จ านวนโรงเรียนยงัคงเพิ่มมากข้ึนอย่างต่อเน่ืองท าให้สภาพการแข่งขนัในธุรกิจโรงเรียนดนตรีรุนแรงข้ึน ดว้ยเหตุท่ีว่าจ านวนผูรั้บบริการมีจ านวนน้อยลง ท าให้ผูใ้ห้บริการจ าเป็นจะตอ้งแข่งขนัในการดึงดูดลูกคา้ใหเ้ขา้มารับบริการของตนเอง ในส่วนของจังหวดัชัยภูมิเป็นจังหวดัหน่ึงท่ีมีพื้นท่ีใหญ่เป็นล าดับท่ี 3 ของภาคตะวนัออกเฉียงเหนือและเป็นล าดบัท่ี 7 ของประเทศ มีประชากรทั้งส้ิน 1,119,146 คนจากขอ้มูลของส านกังานคลงัจงัหวดัชยัภูมิพบวา่มีมูลค่าผลิตภณัฑม์วลรวมจงัหวดั(GPP) เพิ่มข้ึนอยา่งต่อเน่ืองซ่ึงเป็นตวับ่งช้ีถึงเศรษฐกิจในจงัหวดัชยัภูมิมีการเติบโตอยา่งต่อเน่ืองท าให้เกิดการจา้งงานมากข้ึน เม่ือเศรษฐกิจมีการเติบโตก็เกิดการพฒันามีการขยายตวัของเมือง มีธุรกิจรายใหม่เขา้มาท าธุรกิจมากซ่ึงสอดคลอ้งกบัก าลงัซ้ือของกลุ่มประชากรในจงัหวดัชยัภูมิท่ีเพิ่มมากข้ึน โดยเฉพาะในดา้นของการศึกษา ซ่ึงจากการสัมภาษณ์ผูป้ระกอบการธุรกิจท่ีเก่ียวกับโรงเรียนพิเศษต่างๆ ได้ข้อมูลว่า“ผูป้กครองในจงัหวดัชยัภูมิจะให้ความส าคญัและมีก าลงัซ้ือในบริการท่ีเก่ียวกบัการศึกษามากกว่าประเภทอ่ืน” ดงันั้นธุรกิจท่ีเก่ียวขอ้งกบัการศึกษาเช่น โรงเรียนดนตรีจึงเป็นธุรกิจท่ีน่าใจในการท่ีจะท าธุรกิจในจงัหวดัชัยภูมิ ซ่ึงในปัจจุบนัธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชัยภูมิยงัมีการแข่งขนัในธุรกิจยงัไม่สูงมาก เม่ือเปรียบเทียบกบัจงัหวดัหรือพื้นท่ีอ่ืนๆ หรือแมก้ระทั้งธุรกิจโรงเรียนกวดวิชาในจงัหวดัชยัภูมิเอง จากขอ้มูลยอ้นหลงัของส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษา จงัหวดัชยัภูมิ เขต 1 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 – 2556 พบว่าจ านวนโรงเรียนดนตรีท่ีจดทะเบียนมีเพียง 2 แห่งเท่านั้น และโรงเรียนดนตรีท่ีไม่ได้จดทะเบียนกบัส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา จงัหวดัชัยภูมิอีกจ านวนหน่ึง จงัหวดัชยัภูมิจึงเป็นสถานท่ีๆ น่าสนใจในการประกอบธุรกิจโรงเรียนดนตรี ซ่ึงในการท่ีจะท าธุรกิจนั้นจะตอ้งมีการส ารวจกลุ่มเป้าหมายว่าคุม้ค่ากบัการลงทุนหรือไม่ ซ่ึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งท่ีจะตอ้งศึกษาถึงพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงปัจจยัท่ีส่งผลต่อการตดัสินใจของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อใหต้อบสนองความตอ้งการใชบ้ริการไดอ้ยา่งแทจ้ริง ทั้งน้ีการท่ีจะทราบถึงความต้องการของผูป้กครองและนักเรียนได้อย่างแท้จริงนั้ นจะตอ้งมีการเก็บขอ้มูล เพื่อให้ทราบถึงความตอ้งการนั้นๆ (ฑฐัฎณัย เลิศมีนัย, 2554: 13) กล่าวว่า วิธีการท่ีผูซ้ื้อจะแสดงออกต่อกลยุทธ์การตลาดของธุรกิจ จะมีผลให้ธุรกิจประสบความส าเร็จยิ่ง ธุรกิจจึงมุ่งสร้างส่วนประสมทางการตลาดท่ีสามารถท าให้ลูกคา้พึงพอใจโดยใช้โรงเรียนสยามกลการจงัหวดัชยัภูมิเป็นพื้นท่ีในการศึกษา เพราะธุรกิจโรงเรียนสอนดนตรีในปัจจุบนัน้ีมีการเติบโต

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 4

    อย่างรวดเร็วและมีการแข่งขนัท่ีสูงมาก แต่โรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิ ยงัมีการเติบโตท่ีไม่สูงมากโดยพบวา่ มีโรงเรียนดนตรีเปิดใหม่หลายแห่ง แต่ไม่ประสบผลส าเร็จในการประกอบธุรกิจอยู่ได้ เวน้แต่โรงเรียนดนตรีสยามกลการจงัหวดัชัยภูมิ เท่านั้น ท่ียงัคงมีการเปิดการเรียนการสอนมากกว่า 10 ปี จึงเป็นสาเหตุให้เลือกโรงเรียนดนตรีสยามกลการสาขาจงัหวดัชัยภูมิเป็นพื้นท่ีในการศึกษาและเก็บขอ้มูลซ่ึงในการส ารวจความตอ้งการและปัจจยัท่ีส่งผลต่อการตดัสินใจของกลุ่มผูป้กครองนกัเรียน ท่ีส่งบุตรหลานเขา้มาเรียนดนตรีในโรงเรียนดนตรีสยามกลการจงัหวดัชยัภูมินั้น จะต้องมีการใช้ทฤษฎีต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการวิเคราะห์พฤติกรรมการตดัสินใจใช้บริการของผูป้กครองกลุ่มน้ี ดงันั้นการท่ีจะท าให้ผูป้กครองและนักเรียนเลือกท่ีจะมาเรียนในโรงเรียนดนตรีนั้น จึงควรท่ีจะทราบถึงความต้องการผูป้กครองและนักเรียนเหล่าน้ีให้มากท่ีสุด ทั้งด้านพฤติกรรม ของผูป้กครองในการตดัสินใจและปัจจยัท่ีส่งผลต่อผูป้กครองในการท่ีจะเลือกโรงเรียนดนตรี ให้กบับุตรหลาน ซ่ึงในปัจจุบนัมีโรงเรียนดนตรีเกิดข้ึนเป็นจ านวนมาก การท่ีผูป้กครองจะเลือกโรงเรียนดนตรีสักแห่งแน่นอนวา่จะตอ้งมีปัจจยัหรือความตอ้งการบางอยา่งเกิดข้ึน เพื่อใหเ้กิดความเช่ือมัน่ของผูป้กครองในการเลือกโรงเรียนดนตรีสักแห่ง และให้เจา้ของกิจการโรงเรียนดนตรีตอบสนองความตอ้งการของผูป้กครองไดอ้ยา่งตรงจุด และเป็นแนวทางในการท าธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิ ซ่ึงจะท าใหไ้ดผ้ลก าไรในการท าธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิ ผูว้ิจยัมีความสนใจท่ีจะประกอบธุรกิจโรงเรียนดนตรีในเขตจงัหวดัชยัภูมิ และมีความสนใจท่ีจะศึกษาเก่ียวกบัปัจจยัท่ีส่งผลต่อการตดัสินใจของผูป้กครองในการเลือกโรงเรียนดนตรีให้กับบุตรหลาน พร้อมทั้ งน าผลลัพธ์ท่ีได้จากการวิจัยไปวิเคราะห์ เพื่อสร้างกลยุทธ์ ให้กับผูป้ระกอบการธุรกิจรวมทั้งผูท่ี้สนใจท่ีจะเปิดกิจการโรงเรียนดนตรีในเขตจงัหวดัชยัภูมิให้พฒันาศกัยภาพการให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายไดต้รงตามความตอ้งการมากท่ีสุดซ่ึงหมายถึงการพฒันาวงการธุรกิจในเขตจงัหวดัชยัภูมิ ใหมี้ผลการประกอบการท่ีดีข้ึน และสามารถอยูร่อดไดอ้ยา่งย ัง่ยนื วตัถุประสงค์ของกำรศึกษำ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมผูป้กครองในการตดัสินใจเลือกโรงเรียนดนตรีให้กับบุตรหลาน

    2. เพื่อศึกษาปัจจยัท่ีส่งผลต่อในการเลือกโรงเรียนดนตรีของผูป้กครองในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภูมิ

    3. เพื่อวเิคราะห์ประเด็นปัญหาในการด าเนินงานธุรกิจดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิ

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 5

    4. เพื่อสร้างกลยุทธ์ศกัยภาพเชิงการแข่งขนั ของผูป้ระกอบธุรกิจโรงเรียนดนตรีในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภูมิ กรอบแนวคิด ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิด

    โรงเรียนดนตรี -SWOT

    -กระบวนการใหบ้ริการ

    ของโรงเรียนดนตรีใน

    เขตอ าเภอเมืองจงัหวดั

    ชยัภูมิ

    วเิคราะห์กระบวนการ

    ด าเนินงานของโรงเรียนดนตรีท่ี

    เป็นอุปสรรคต่อการใหบ้ริการ

    กลยุทธ์กำรสร้ำงศักยภำพ

    เชิงกำรแข่งขัน ของผู้

    ประกอบธุรกจิโรงเรียน

    ดนตรีในเขตจงัหวดัชัยภูม ิผูป้กครอง

    -ปัจจยัท่ีส่งผลต่อการ

    เลือกโรงเรียนดนตรี

    -ประเด็นปัญหาท่ี

    ผูป้กครองพบจากการ

    ใชบ้ริการโรงเรียน

    ดนตรี

    -พฤติกรรมของ

    ผูป้กครองในการเลือก

    โรงเรียนดนตรีใหก้บั

    บุตรหลาน

    ปัจจยัในการตดัสินใจเลือก

    โรงเรียนดนตรีของผูป้กครอง

    (7 P’s)

    - ผลิตภณัฑ(์Product)

    - ราคา (Price)

    - สถานท่ี (Place)

    - การส่งเสริมการขาย

    (Promotion)

    - บุคลากร(People)

    - กระบวนการ(Process)

    - ส่ิงแวดลอ้มทางกายภาพ

    (Physical Evidence)

    ตวัแปรตน้ ตวัแปรร่วม ตวัแปรตาม

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 6

    สมมุติฐำนกำรศึกษำ เพศ อายุ สถานภาพ ระดบัการศึกษา รายได ้อาชีพ และส่วนประสมการตลาดบริการ ในขอ้ใดท่ีมีผลต่อกลุ่มผูป้กครองในตดัสินใจเลือกโรงเรียนดนตรีใหก้บับุตรหลานมากท่ีสุด ขอบเขตกำรศึกษำ การวิจยัเร่ือง กลยุทธ์การสร้างศักยภาพเชิงการแข่งขัน ของผู ้ประกอบการธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชัยภูมิเพื่อพฒันารูปแบบของการให้บริการโรงเรียนดนตรี ให้ตรงกับ ความต้องการของกลุ่มผู ้ใช้บริการ ในจังหวดัชัยภูมิ และสร้างกลยุทธ์การสร้างศักยภาพเชิง การแข่งขนั ของผูป้ระกอบการธุรกิจโรงเรียนดนตรี ในจงัหวดัชัยภูมิ โดยจะก าหนดขอบเขต ของการวจิยัดงัน้ี

    1. ขอบเขตการวจิยัดา้นทฤษฎีท่ีเก่ียวกบัการบริการ ในการวิจยัดา้นทฤษฎีท่ีเก่ียวกบัการบริการนั้นใช้แนวคิดทฤษฎีส่วนประสมทาง

    การตลาดบริการ (Services Marketing Mix) โดยสังเคราะห์จากนักวิชาการหลายท่านท่ีมีแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับส่วนประสมทางการตลาดบริการ (Services Marketing Mix) เช่น พิบูล ทีปะปาล (2549: 56), ปณิศาลัญชานนท์ (2548: 118), พิษณุ จงสถิตวฒันา (2544: 75) เป็นต้น ซ่ึงแนวคิดทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาดบริการ(Services Marketing Mix)ประกอบดว้ยส่วนประสม 7 ดา้น ดงัต่อไปน้ี

    1.1 ดา้นผลิตภณัฑ ์(Product) 1.2 ดา้นราคา (Price) 1.3 ดา้นช่องทางการจดัจ าหน่าย (Place) 1.4 ดา้นการส่งเสริมการตลาด (Promotion)

    1.5 ดา้นพนกังาน (People) 1.6 ดา้นกระบวนการใหบ้ริการ (Process) 1.7 ดา้นส่ิงแวดลอ้มทางกายภาพ (Physical Evidence)

    2. ขอบเขตดา้นเน้ือหาของการวจิยั ในการท าการศึกษาคร้ังน้ี จะเป็นการศึกษาเก่ียวกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเลือก

    โรงเรียนดนตรีของผูป้กครอง เขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชัยภูมิ รวมทั้งศึกษาในส่วนของปัญหาและ อุปสรรค์ ท่ีเก่ียวกบัการให้บริการ ทั้งในมุมของผูใ้ห้บริการและผูใ้ช้บริการ และสรุปออกมาเป็น กลยทุธ์การสร้างศกัยภาพเชิงการแข่งขนั ของผูป้ระกอบการธุรกิจโรงเรียนดนตรีในจงัหวดัชยัภูมิ

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 7

    3. ขอบเขตการวจิยัดา้นประชากร 3.1 แจกแบบสอบถามไปยงักลุ่มผูป้กครองท่ีตอ้งการส่งบุตรหลานมาเรียนดนตรี

    ในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภูมิจ านวน 400 ราย 3.2 สัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าของโรงเรียนดนตรี ในเขตอ าเภอเมืองจงัหวดัชัยภูมิ

    จ านวน 2 ราย 4. ขอบเขตการวจิยัดา้นตวัแปรท่ีศึกษา 4.1 ตวัแปรตน้ไดแ้ก่ 4.1.1 จุดเด่นและจุดดอ้ยของรูปแบบการใหบ้ริการของโรงเรียนดนตรี 4.1.2 กระบวนการใหบ้ริการของโรงเรียนดนตรีในเขตจงัหวดัชยัภูมิ 4.1.3 พฤติกรรมของผูป้กครองในการเลือกโรงเรียนดนตรีใหก้บับุตรหลาน 4.1.4 ปัจจยัท่ีส่งผลต่อการเลือกโรงเรียนดนตรี 4.1.5 ประเด็นปัญหาท่ีผูป้กครองพบจากการใหบ้ริการของโรงเรียนดนตรี 4.2 ตวัแปรร่วม ไดแ้ก่ 4.2.1 วเิคราะห์กระบวนการด าเนินงานของโรงเรียนสอนดนตรีท่ีเป็นอุปสรรค

    ต่อการใหบ้ริการ 4.2.2 ปัจจยัในการตดัสินใจเลือกโรงเรียนดนตรีของผูป้กครอง (7P’s) 4.3 ตวัแปรตาม ไดแ้ก่ 4.3.1 สร้างกลยุทธ์การสร้างศกัยภาพเชิงการแข่งขนั ของผูร้ะกอบการธุรกิจ

    โรงเรียนดนตรี ในจงัหวดัชยัภูมิ

    ประโยชน์ของงำนวจัิย ในการวิจยัคร้ังน้ีคาดวา่จะไดผ้ลลพัธ์ท่ีเกิดข้ึนจากการวิจยั และจะก่อให้เกิดประโยชน์ในหลายๆ ประการ ดงัน้ี

    1. ไดแ้นวคิดพื้นฐาน ท่ีเก่ียวกบัการใหบ้ริการของโรงเรียนดนตรี 2. ทราบถึงพฤติกรรมและปัจจยัของผูป้กครองในการตดัสินใจเลือกโรงเรียนดนตรี

    ใหก้บับุตรหลาน 3. ทราบถึงปัญหาและอุปสรรค์ในการด าเนินธุรกิจโรงเรียนดนตรีในเขตอ าเภอเมือง

    จงัหวดัชยัภูมิ 4. ไดก้ลยุทธ์การสร้างศกัยภาพเชิงการแข่งขนั ส าหรับผูป้ระกอบการธุรกิจโรงเรียน

    ดนตรีและผูส้นใจเปิดธุรกิจโรงเรียนดนตรี ในเขตจงัหวดัชยัภูมิ

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 8

    5. ได้แนวทางการบริหารงาน ของโรงเรียนดนตรีในเขตจงัหวดัชัยภูมิ เพื่อให้มีผลประกอบการท่ีดีข้ึน และสามารถอยูร่อดไดอ้ยา่งย ัง่ยนื

    นิยำมศัพท์เฉพำะ

    1. โรงเรียนดนตรี หมายถึง โรงเรียนท่ีมีการเรียนการสอนทางด้านดนตรีในอ าเภอเมืองจงัหวดัชยัภูมิโดยจะตอ้งไดรั้บใบอนุญาต จากกระทรวงศึกษาธิการ

    2. ผูป้ระกอบการหมายถึง บุคคลท่ีจดัตั้งธุรกิจท่ีเก่ียวขอ้งกบัการสอนดนตรี เพื่อแสวงหาผลก าไรจากธุรกิจท่ีเก่ียวขอ้งกบัการสอนดนตรี และสามารถตอบสนองความตอ้งการของผูบ้ริโภคได ้

    3. กลยุทธ์หมายถึง แนวทางหรือแบบแผนการด าเนินธุรกิจ เพื่อให้ธุรกิจนั้นๆบรรลุเป้าหมายภายใตก้ารวิเคราะห์สภาพแวดลอ้มต่างๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขนั

    4. ผูป้กครองหมายถึง บิดา มารดา หรือผูท่ี้ท าหนา้ท่ีอุปการะเล้ียงดูรับผิดชอบนกัเรียนและมีอ านาจในการตดัสินใจเก่ียวกบัการศึกษา

    5. ส่วนประสมทางการตลาดบริการหมายถึง เคร่ืองมือหรือองค์ประกอบท่ีส าคญัต่อการด าเนินงานการตลาด เพื่อให้บรรลุวตัถุประสงค์ทางการตลาดบริการ ท่ีเรียกว่า 7 P’s ซ่ึงจะประกอบไปดว้ยส่วนประสมทั้ง 7 ดา้น ดงัน้ี

    5.1 ผลิตภณัฑ ์(Product) 5.2 ราคา (Price) 5.3 สถานท่ีจ าหน่าย (Place) 5.4 การส่งเสริมการขาย (Promotion) 5.5 บุคลากร (People) 5.6 กระบวนการ(Process) 5.7 ส่ิงแวดลอ้มทางกายภาพ (Physical Evidence)

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 9

    บทที ่2

    ทฤษฎีทีเ่กี่ยวข้อง

    ในการสร้างกลยุทธ์ความได้เปรียบในการแข่งขนัทางการตลาดธุรกิจดนตรีโรงเรียนดนตรีสยามกลการ ในจงัหวดัชยัภูมิผูว้ิจยัไดศึ้กษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งตามล าดบัหัวขอ้ดงัน้ี 1. ความหมายของธุรกิจดนตรี (Music Business) 2. กฎระเบียบการจดัตั้งโรงเรียนเอกชนนอกระบบ 3. แนวความคิดเก่ียวกบัการตลาดบริการ (Services Marketing) 4. ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาดบริการ (Services Marketing Mix) 5. แนวความคิดการวเิคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) 6. พฤติกรรมผูบ้ริโภค (Customer Behavior) 7. ทฤษฎีแรงกดดนัทางการแข่งขนั 5 ประการ (Five Force model) 8. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง ความหมายของธุรกจิดนตรี (Music Business) ธุรกิจดนตรี หมายถึง ธุรกิจท่ีมีการด าเนินกิจกรรมทางธุรกิจ โดยใชเ้สียงดนตรีเขา้มาส่วนเก่ียวขอ้งในรูปแบบต่างๆ ธุรกิจนั้นๆ จะตอ้งมีการแสวงผลก าไรจากการใช้เสียงดนตรี เช่น ค่ายเพลง ร้านขายอุปกรณ์ดนตรี หอ้งบนัทึกเสียง หรือแมก้ระทั้งโรงเรียนดนตรี ก็เป็นส่วนหน่ึงของธุรกิจดนตรี ในงานวจิยัช้ินน้ีเป็นงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัโรงเรียนดนตรี จึงจ าเป็นอยา่งยิง่ท่ีจะมุ่งเนน้ในธุรกิจของโรงเรียนดนตรี

    1. ความเป็นมาของโรงเรียนดนตรีสากลในประเทศไทย ในส่วนของความเป็นมาของโรงเรียนดนตรีสากลในประเทศไทย จากการรวบรวม

    จากนกัวชิาการหลายท่านอาทิ เช่น วรรณเทพหาญกลา้ (2539: 66), ชลหมู่ ชลานุเคราะห์ (2524: 45) พูนพิศ อมาตยกุล (2529) สามารถสรุปไดด้งัน้ี

    การเรียนการสอนดนตรีเร่ิมมีคร้ังแรกในช่วงพ.ศ. 2396- 2411ในรัชสมยัรัชกาลท่ี4พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์ท่ านมีพระราชด าริทรงต้องการให ้มีกองดุริยางค์ทหารในการสวนสนาม ตามรูปแบบการสวนสนามของตะวนัตก จึงมีการเรียน การสอน โดยจา้งครูสอนดนตรีจากต่างประเทศเขา้มาฝึกหดัทหารภายในวงัหนา้และวงัหลงัเป่าแตร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7

  • 10

    เพื่อใช้ประกอบการเดินสวนสนาม และเป็นเคร่ืองประกอบอิสริยยศของพระเจ้าแผ่นดิน และข้าราชการชั้ นสูง ต่อมาในช่วงพ.ศ. 2411 – 2453 ในรัชสมัยรัชกาลท่ี 5พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในช่วงรัชสมัยนั้นประเทศไทยได้มีการติดต่อประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศฝ่ังตะวนัตกมากข้ึน จึงท าให้มีการแลกเปล่ียนน าเอาวฒันธรรมต่างชาติเขา้มาในประเทศไทย รวมถึงดนตรีต่างๆ ของอารยประเทศก็ได้ถูกน าเขา้มาในประเทศไทย หลงัจากนั้นได้มีการก่อตั้ง แตรวงทหารบก และ แตรวงทหารเรือ ข้ึนโดยกรมพระนครสวรรค์วรพินิจภายหลงัไดมี้การเปล่ียนช่ือเป็น “กองดุริยางค์ทหารบก” และ “กองดุริยางค์ทหารเรือ”สถาบนัดนตรีทั้ง 2 แห่งน้ีมีบทบาทส าคญัในวงการดนตรีเป็นอย่างมากในรัชสมยันั้น มีการน าเอาเพลงไทยเดิมมาเรียบเรียงเสียงประสานใหม่ในรูปแบบของดนตรีตะวนัตก และมีการรับผูท่ี้สนใจเขา้รับการฝึกอบรม และบรรจุเขา้รับราชการ ซ่ึงถือได้ว่าทั้ ง 2 สถาบนัน้ี เป็นแหล่งผลิตนักดนตรีและครูท่ีมีฝีมือออกมา รับใช้ในยุครัชสมัยนั้ น ต่อมาในช่วงพ.ศ. 2453 – 2468 ในรัชสมัยรัชกาลท่ี 6พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลา้เจา้อยูห่วัดนตรีตะวนัตกไดมี้บทบาทและไดรั้บความนิยามมากข้ึนในสมยันั้น เร่ิมมีการน าดนตรีไทยมาเล่นผสมสนามกับดนตรีตะวนัตก และมีวงซิมโฟนีออเคสตร้าวงแรกของประเทศ เกิดข้ึนในสมยันั้น โดยมีช่ือเรียกในสมยันั้นวา่ วงเคร่ืองสายฝร่ังหลวง โดยพระองค์ท่าน ไดท้รงโปรดให้จดัตั้งข้ึน แมว้า่ในยุคสมยันั้นดนตรีตะวนัตกไดมี้การแพร่หลายไปยงัทุกสังคมทุกระดับชั้นแล้ว แต่การเรียนการสอนท่ีเป็นทางการก็ยงัคงมีแค่ในส่วนของสถาบันราชการ และโรงเรียนมิชชนันารีเท่านั้น ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. 2475 ซ่ึงตรงกบัรัชสมยัรัชกาลท่ี 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้อยู่หัวในยุคสมยันั้นวงบ๊ิกแบนด์และวงสตริงคอมโบ ้ได้รับความนิยมแพร่หลาย ในหมู่นกัธุรกิจและชนชั้นสูง เพื่อใชบ้รรเลงในงานเตน้ร าต่างๆ ในช่วงสมยันั้นมีดนตรีชาวต่างชาติไดห้ลัง่ไหลเขา้มาประกอบอาชีพเป็นนกัดนตรีในประเทศไทย และมีโรงเรียนดนตรีของเอกชนแห่งแรกเกิดข้ึน โดยมีพระเจนดุริยางค์เป็นผูก่้อตั้ ง ภายใต้ช่ือ “วิทยาสากลดนตรีสถาน” ก่อตั้ งข้ึน ในปี พ.ศ. 2477 มีจุดมุ่งหมายเพื่อผลิตนกัดนตรีอาชีพและผูท่ี้มีความชอบในดนตรี มีการเปิดสอนทั้ง ทฤษฎีและปฏิบติั โรงเรียนแห่งน้ีสามารถเปิดกิจการไดเ้พียง 2 ปีและจ าตอ้งปิดกิจการไป ดว้ยเหตุท่ีวา่ ไม่มีบุคลากรมารับช่วงต่อจากพระเจนดุริยางค ์

    หลังจากนั้ นมีโรงเรียนดนตรีเอกชนต่างๆเกิดข้ึนมากมาย อาทิเช่น “โรงเรียน คอนคอเดียร์” ก่อตั้งข้ึนโดย ครูเอ้ือ สุนทรสนาน มีจุดประสงคเ์พื่อสร้างนกัร้องนกัดนตรีหน้าใหม่ข้ึนมา โรงเรียนแห่งน้ีเปิดกิจการไดไ้ม่นานก็ตอ้งปิดตวัลง หลงัจากนั้นก็มีโรงเรียนดนตรีเอกชนเปิดข้ึนมากมาย ในรูปแบบโรงเรียนดนตรีเล็กๆ อยูท่ ัว่ไปในเขตกรุงเทพมหานคร บางแห่งก็ปิดตวัลงบางแห่งก็เปิดกิจการมาจนทุกวนัน้ี หลังจาก พ.ศ. 2525ได้มีโรงเรียนดนตรีในรูปแบบของ แฟรนไซส์เกิดข้ึน เช่น “สถาบนัดนตรีเคพีเอน็” “สถาบนัดนตรีสยามกลการ” ฯลฯ

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%8E%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%8E%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7

  • 11

    กฎระเบียบการจัดตั้งโรงเรียนเอกชนนอกระบบ โรงเรียนเอกชนนอกระบบ ตามพระราชบญัญติัโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 หมายความวา่โรงเรียนท่ีจดัการศึกษาโดยมีความยดืหยุน่ในการก าหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วธีิการจดัการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษาการวดัและประเมินผล ซ่ึงเป็นเง่ือนไขส าคญัของการส าเร็จการศึกษา ดงัน้ี

    เน่ืองจากในขณะน้ีอยู่ในระหว่างการด าเนินการจัดท ากฎกระทรวง ระเบียบและประกาศเพื่อปฏิบติัตามพระราชบญัญติัโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 และพระราชบญัญัติดงักล่าวก าหนดว่าในระหว่างท่ีย ังมิได้ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่ อป ฏิบัติตามพระราชบญัญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 ให้น ากฎกระทรวงระเบียบและประกาศท่ีออกตามพระราชบัญญัติโรงเรียน เอกชน พ.ศ.2525 ใช้บังคับโดยอนุโลมเท่ าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบญัญติัน้ี

    1. ประเภทการจดัการศึกษานอกระบบ 1.1 ประเภทกวดวิชา ไดแ้ก่ โรงเรียนท่ีตั้งข้ึนโดยมีวตัถุประสงค์เพื่อกวดวิชาบาง

    วชิาตามหลกัสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น โรงเรียนกวดวชิา เป็นตน้ 1.2 ประเภทอาชีวศึกษา ไดแ้ก่ โรงเรียนท่ีตั้งข้ึนโดยมีวตัถุประสงคจ์ะให้การศึกษา

    เก่ียวกบัการอาชีพในสาขาวชิาต่างๆ เช่น โรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์ สอนภาษา เป็นตน้ 1.3 ประเภทศิลปศ