267 4.doc)powercivil.go2cad.com/downloads/c1/sh4.pdf4 | 51 ˘ ˆ˘ ˇˆ˘& ,ˇ ˆ˘& ( ˘! # a...

13
บทที่ 4 การทําสํารวจวงรอบ| 50 บทที 4 การทําสํารวจวงรอบ การทําสํารวจวงรอบ การทําวงรอบเป็นการกําหนดหมุดบังคับทางราบที่ง่ายที่สุด โดยสามารถใช้เพื่อการสํารวจและทําแผน ที่ภูมิประเทศได้ ตามตัวอย่างที่ให้มาการวัดมุมระบบนี้ใช้การเวียนตามเข็มนาฬิกาเป็นหลัก แบบการปิดวงรอบ ที่ง่ายที่สุด คือ การปิดวงรอบโดยที่แต่ละหมุดพิกัด ไม่มีอุปสรรค การส่องกล้องกระทําได้โดยตรง ตัวอย่างการทําสํารวจ จากจุด ไปที่จุด ระยะทาง ม. (Distance) มุมเทียบ (Ref.Angle) หมายเหต ตะวันออก A 0 0 A B 42.71 307.1 B C 50.89 99.2 C D 27.80 96.8 D E 40.71 132.9 E A 37.05 109.7 การกําหนดค่าพิกัด A นั้นจะพิจารณาไม่ให้ค่าพิกัดในจุดทั้งหมดที่เหลือไม่มีค่าเป็นลบ คือคิดจากระยะทางทีน่าจะไม่เกินออกไปเป็นค่าลบ โดยส่วนมากประมาณ 2-3 เท่าของค่าระยะที่มากที่สุด

Upload: others

Post on 28-Jan-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 50

    บทที� 4

    การทาํสาํรวจวงรอบ

    การทําสาํรวจวงรอบ การทําวงรอบเป็นการกาํหนดหมดุบงัคับทางราบทีง่่ายทีสุ่ด โดยสามารถใชเ้พ่ือการสํารวจและทาํแผน

    ที่ภูมิประเทศได ้ ตามตัวอย่างที่ให้มาการวดัมุมระบบนี้ใช้การเวียนตามเข็มนาฬิกาเป็นหลกั แบบการปดิวงรอบที่ง่ายที่สุด คือ การปิดวงรอบโดยทีแ่ต่ละหมุดพิกดั ไม่มอีุปสรรค การส่องกล้องกระทําไดโ้ดยตรง

    ตัวอย่างการทําสํารวจ

    จากจุด ไปที่จุด ระยะทาง ม. (Distance)

    มุมเทียบ (Ref.Angle)

    หมายเหต ุ

    ตะวันออก A 0 0 A B 42.71 307.1 B C 50.89 99.2 C D 27.80 96.8 D E 40.71 132.9 E A 37.05 109.7

    การกําหนดคา่พิกัด A นั้นจะพิจารณาไม่ให้คา่พิกัดในจุดทั้งหมดที่เหลือไมม่ีค่าเปน็ลบ คือคิดจากระยะทางที่น่าจะไม่เกนิออกไปเปน็ค่าลบ โดยส่วนมากประมาณ 2-3 เท่าของค่าระยะทีม่ากที่สุด

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 51

    กําหนดจดุวางหมุดแรก เริ่มจากจุดแรกที่จะทําการวาดให ้ A มีพิกัดตะวนัออก และเหนือ ที ่ 100,100 เพ่ือป้องกนัไม่ให้มีคา่เปน็ลบ เลือก View -> Zoom -> Center เมื่อเลือกแลว้ใส่ค่าตรง Command line

    Command พิมพ์คําสั่ง Command: ‘_zoom Specify corner of window, enter a scale factor (nX or nXP), or [All/Center/Dynamic/Extents/Previous/Scale/Window/Object] :_c Specify center point:100,100 Enter magnification or height :100

    View _> Zoom -> Center พิมพ์ 100,100 พิมพ์ 100

    *ตามตารางที่ต้องพิมพ์คําสัง่จะเป็นตัวหนา

    เพ่ิมจุดจากสํารวจ

    เลือกจากแถบเมน ู “แผนที ่ 2 มิต ิ -> จุดพิกัด -> เพ่ิมจุดจากสํารวจ” จะแสดงหนา้ต่าง “นําเข้าจุดสาํรวจระนาบ” ตามหน้าต่างนี้จะเปน็การเลือกทีเ่ป็นลาํดบัตามตัวเลขที่กาํกับไว้ คือ 1.จุดเริม่ 2.เส้นเทียบมุมเปิด 3.ระยะจดุเป้า 4.ระยะมมีุมเงย, มุมระนาบ 5.ระยะ และ 6.กระทํา แตต่อนแรกเราไดก้ําหนดจดุวางจุดเริ่มไว้ท่ี 100,100 แล้วจึงไมต่อ้งเลือกที่ลําดับที่ 1 คือ 1.จุดเริม่ ให้เลอืกในช่อง พิกัด อ และ พิกัด น ให้พิมพ์ค่าพิกดัที่ 100,100 ได้เลย 100,100 จึงเป็นจดุเริม่

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 52

    เลือกลําดับที ่2.เส้นเทียบมมุเปดิ ถ้าเลือกทิศตะวนัออก ท่านสามารถใส่ 0 ลงไปได้ทันที ถ้าไม่ใช่จึงจะเลือกจดุแรกออกไป แล้วเปดิ Ortho หรือ F8 เพ่ือให้เปน็แนวฉาก เลือกไปทางซ้ายจะเป็นเสน้ตรงออกจากจดุเริม่ สังเกต เมื่อเปิด Ortho สถานะที่ปุม่ Ortho จะแสงสีฟ้าแปลว่าเปดิอยู่เมื่อเขียนเสน้จะเปน็เส้นในแนวฉาก แล้วคลิกกดจุด จะได้ทิศ 0 องศา ใส่ค่าจากตารางโดยเริ่มจาก

    จากจุด ไปที่จุด ระยะทาง ม. (Distance)

    มุมเทียบ (Ref.Angle)

    หมายเหต ุ

    ตะวันออก A 0 0 A B 42.71 307.1

    จากตารางสองแถวแรกใส่คา่ที่ลําดบั 3.ระยะจดุเป้า กําหนดชื่อเป้าเปน็ B เพราะตรงที่จุดทีเ่ราอยู่เปน็จดุ A และต้องการไปอกีจุดนั้นกค็ือจุด B และช่องระยะ พิมพ์คา่จากตารางจุด B คือ 42.71, 307.1 ดังรูป ลําดับที ่4.ระยะมีมมุเงย, มมุระนาบ เลือกช่องมมุระนาบเป็น 90 จากนัน้เลือกลาํดบัที่ 5.ระยะ ติ๊กที่ช่อง และย้ายจดุ ตรงนีต้้องไม่ลืมกด และกดปุ่ม (6.กระทาํ)

    เมื่อกดปุ่มกระทําแลว้ จะแสดงจดุใหม่ใน Drawing

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 53

    พิกัด และมมุเทียบก็จะเปลีย่นไป ตามจุดที่ย้ายไป จากพิกัดและมุมเทียบไม่จําเปน็ต้องเปลี่ยนแปลง ถ้าไม่ออกจากหน้าต่างนี้ ให้ใส่คา่ให้หมดก่อนแลว้ค่อยปดิหน้าตา่งทีเดียว เพ่ือจะได้ไม่ต้องกลับมาเลือกมมุเริ่มและมมุเทียบใหม่ จากนัน้เลือกที่ลําดบัที่ 3.ระยะจุดเป้า ได้เลย ใส่ค่าถดัไป คือ C, D, E แลว้จดุสุดทา้ยจะกลบัไปที ่A ที่สําคัญอย่าลมืกด และย้ายจดุ ไม่เชน่นัน้จุดทีส่ร้างใหม่จะผดิ และกดปุม่ 6.กระทาํ ทุกครั้งที่เพ่ิมจดุ เมื่อได้จุดทัง้หมดแล้วจะเห็นว่าจะมีระยะที่ไมบ่รรจบที่เดมิ จากรูปคือห่างกัน 3.46 ม. ซึ่งอาจจะเกดิความผดิพลาดจากงานวดั หรือมุม กไ็ด้จึงตอ้งทําการปดิวงรอบ การปิดวงรอบ

    การปดิวงรอบเปน็การย้ายจดุของพิกัดทีว่ัดมาจากจุดหมดุให้ถกูต้องมากขึน้ โดยการเดินวงรอบจะกลับมาจดุเดิมมกัจะมกีารคลาดเคลือ่นได้ จงึมีการเฉลีย่ความผดิพลาดตามระยะของการวดัแต่ละชว่ง สาํหรบัการจะนําจดุอื่นที่จะมกีารวดัเทียบกบัจุดปิดวงรอบควรจะทําทีหลงัการปดิวงรอบแล้ว

    ในการทําการสาํรวจปดิวงรอบนัน้สามารถเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ตามปกต ิ จะต้องน้อยมากๆ ในระดบัประมาณ เซนติเมตร แต่จากตวัอย่างจะแสดงให้เห็นเด่นชัดเลยว่าผดิพลาดถึง 3.46 เมตร โดยโปรแกรมจะคํานวณเฉลี่ยความผดิพลาดโดยใช้การคํานวณแบบเฉลี่ย (Average) และใหน้้ําหนักจากความยาวของแต่ละช่วง เลือกจากแถบเมนู “แผนที ่2 มิต ิ -> จุดพิกดั -> เพ่ิมจุดจากสํารวจ” จะแสดงหนา้ต่างเดมิ “นําเข้าจดุสํารวจระนาบ” จากหน้าต่างนี้ให้เลือกปุ่ม (ปิดวงรอบ) โดยจะอยู่ล่างสดุของหน้าต่างโปรแกรม เมื่อเลือกปุ่มปดิวงรอบแลว้ โปรแกรมจะให้เลือกจดุ โดยจะตอ้งเลอืกจุดทัง้หมดทีละจดุ ก่อนอืน่ให้ตัง้ค่า OSnap กอ่นเพ่ือจะไดง้่ายต่อการเลือกจุด เลอืก Tools -> Drafting Setting หรือ แทบ

    ด้านลา่งของ Autocad เลือกไอคอน (OSnap) ให้เป็น On สังเกตที่ปุม่ถ้าเป็นสแีสงสีฟ้าแปลว่าเปิดอยู่ นําเมาส์ไปวางที่ปุ่ม OSNAP แล้วคลิกขวาเลอืก Setting จะแสดงหนา้ต่าง Drafting Setting ขึ้นมาติ๊กเลือกช่องของ Intersection และ Endpoint

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 54

    เมื่อเลือก OSnap แล้วเลือกที่จุดเริ่ม จะแสดงเครื่องหมาย Endpoint ขึ้นมา ดังรปูที่ 1 คลิกเลือกแล้วจะมีเสน้ตามมาให้เลือกจุดถัดไป และจากรปูที ่ 2 OSnap จะแสดงเครื่องหมายเป็น Intersection เพ่ือจะไดเ้ลือกตรงจุดกากบาท จากนัน้ไล่ไปทลีะจุดตามทีเ่รานําเข้ามา จนจบจุด A ที่ไมบ่รรจบ จากรูปที ่3 และกด Enter 2 ครั้งจะแสดงหน้าต่าง Lbound ขึ้นมาดงัรูป เลือก Method เป็น Close Loop กด OK โปรแกรมจะทําการคํานวณปดิวงรอบขึ้นมาใหม ่ให้ทําการย้ายจุดเดมิมาใส่จุดใหม ่ตามรูปที่ 4

    ภาพที� 1 ภาพที� 2

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 55

    การเกบ็ข้อมูลวงรอบในกรณีมีอุปสรรคหรือต้องการใสจุ่ดระดับเพ่ิม จะทําหลงัจากที่ทําการปิดวงรอบแล้ว จากสภาพพ้ืนที ่ที่ต้องเก็บพิกดั ได้แก่ หมดุ A, B, C, D และ E ที่จุด D มีต้นไม้บัง การจะเขา้จุด D ได้ตอ้งมาจากด้านหลังของต้นไม ้ วธิีการปดิวงรอบก็จะหาจดุใหมด่้านนอกที่จะใช้ในการปิดวงรอบ แลว้วดัระยะเขา้มาหาจดุ D จากด้านหลัง ที่จุด D1 จะใส่ค่าเป็น 2 จังหวะ ไดแ้ก ่คา่ของ D ก่อนโดยไม่ต้องบอกว่าย้ายจดุเชน่ ระยะของ D1 ไป D คือ 5.2 เมตร และมมุ คือ 17.2 องศา ที่จุดนี้ไม่ต้องย้ายจุด ขณะที่จุด D1 ไป E คือ 70.12 และมุม 79.3 องศา แต่ให้ย้ายจุด ตารางใส่ค่าจะเปน็ดงันี ้

    จากจุด ไปที่จุด ระยะทาง เมตร (Distance)

    มุมเทียบ (Ref.Angle)

    หมายเหต ุ

    ตะวันออก A 0 0 A B .. .. B C .. .. C D1 .. .. D1 D 5.2 17.2 ไม่ย้ายจุด D E 70.12 79.3 D A’ .. ..

    *( .. หมายถึงค่าที่ไม่ได้มาเกีย่ว) จดุที่เหลอืทําตามปกต ิ

    ภาพที� 3 ภาพที� 4

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 56

    การเพ่ิมจุดระดับ หลังจากที่ปิดวงรอบแล้ว เป็นการปรับค่าสาํรวจให้ถกูต้องมากขึน้ จึงจะคํานวณจุดระดับจากจดุของการปดิวงรอบ ดูจากตัวอย่างในตาราง

    ชื่อจุด จุดระดับ องศา ลิปดา ฟิลิปดา ระยะ ม. ระดบัตา่ง A A001 45 3 8 13.20 9.70 A A002 20 1 4 11.70 9.80 A A003 17 3 5 2.15 10.24 B B001 99 3 33 5.44 10.12 B B002 45 4 34 12.12 9.66

    จุดระดับ A001 จะคํานวณจากจุด A โดยทีม่ีองศามมุเปิด จากวงปิดตามเข็มนาฬิกา 45 องศา 3 ลปิดา 8 ฟิลิปดา ด้วยระยะ 13.2 เมตร และมีระดบัต่างจากจดุ A -0.3

    การใส่ค่า เลือกจากแถบเมน ู“แผนที่ 2 มิติ -> จุดพิกัด -> เพ่ิมจุดจากสํารวจ” เมื่อแสดงหน้าต่าง นําเข้าจดุสํารวจระนาบ แลว้คลิกเลือกปุ่ม (1.จุดเริ่ม) เลือกทีจุ่ด A เปน็จุดเริ่ม เมือ่เลือกจุด A และหนา้ต่างจะแสดงขึ้นมาอีก สังเกตที่ช่อง พิกัด อ และ พิกัด น จะแสดงค่าพิกดัทีต่ัง้ของจดุ A เลือกมุมเทียบโดยเลือกปุ่ม (2.เส้นเทียบมุมเปดิ) เมื่อเลือกแลว้สังเกตว่าเสน้จะตามเมาส์มา ใหเ้ลือกมมุเทียบไปที่จุด E ข้อมูลพิกดัก็จะมาแสดงในชอ่ง ทิศเทียบ(องศา)

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 57

    ในช่อง เป้าชื่อ A001 ใส่ค่าระยะในชอ่งว่าง และ องศา, ลิปดา, ฟิลิปดา ที่ปุม่ (องศา) เลือกแล้วจะแสดงหน้าตา่ง “กรุณาใส่ค่า” ใส่ค่าในช่องว่างแต่ละชอ่ง แล้วกดปุม่ ตกลง

    เลือกระยะโดยใหต้ิ๊ก และย้ายจุด ออกแลว้กดปุ่ม (6.กระทํา) จะไดเ้ส้นจดุระดบั A001 ขึ้นมาโดยที่เรายังอยู่ท่ีจุด A เป็นเพราะวา่ติ๊ก และย้ายจดุ ออกทําการเพ่ิมเส้นจดุอืน่ๆจากตารางก็ทําแบบนี้เชน่เดยีวกัน

    ภาพจากการเพ่ิมจดุระดบัในวงรอบ

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 58

    การทําสาํรวจวงรอบและค่าระดับจาก Excel จาก Excel ไฟล์ชื่อ Survery Close2.xls จะเปน็ตัวอย่างที่ใช้สําหรับการปดิวงรอบโดยการใสข่้อมูล

    สํารวจในไฟล์ Excel แล้วนําเขา้เปน็จุดพิกดัอีกครั้ง เป็นวธิีท่ีสะดวกกว่าการใช้คําสั่ง “เพ่ิมจุดจากสํารวจ” ใช้การใส่ข้อมูลสํารวจในช่องตารางทีเ่ตรียมไว้ใหแ้ล้วนําเขา้ด้วยคําสั่ง “นําจดุพิกัดเข้าจาก Excel” สังเกตจากสีในตาราง Excel นั้นจะมหีลายสีซึ่งจะสะดวในการใส่ค่าตามช่องสีท่ีกาํหนดให ้

    ใน Excel Survery Close2.xls จะเป็นตวัอย่างที่ใช้สําหรบัการปิดวงรอบ จะอยู่ในช่วงสีฟ้า โดยที่จะเริ่มคา่ที ่ตะวันออกกับเหนือที่ 5000, 5000

    ไปที่ช่อง Q, R ใส่ค่า เริ่มตน้ที่ Cell ที่แสดงด้านบนเปน็จุดเริ่มต้นที ่5000, 5000 และที่คอลัมน ์P แถว 12 ใส่ค่าระดับเริ่มต้น

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 59

    ทําการใส่คา่มุมเริ่มต้นจาก ทิศตะวันออก (0 องศา) ของจุดแรกคือ จดุ A โดยใส่เปน็ องศา ลิปดา ฟิลิปดา ตามเข็มนาฬิกา

    ใส่ค่ามุมที่จุดเป้า B เป็นมุมเปิดจาก A-B-C

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 60

    โดยใส่ค่าจากจุดด้วย และไปที่ คอลมัน ์N, O ใส่ค่าระยะ (Distance) และระดับต่าง (Diff elev) ระหว่างจุด

    โปรแกรมจะคํานวณให้ใส่ใน คอลัมน์ A, B, C และ D สังเกตที่ A บรรทดัที่ 16 จะกลับไปที่เดมิ เนื่องจากมกีารปรับปรงุค่าปดิวงรอบ

    การเพ่ิมจดุให้ทําการ Copy บรรทดัที ่15 โดยเลือกไปที ่บรรทัด 15 เลือกเมาส์ขวาคลิก Copy

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 61

    แล้วเลอืก Insert and Copy Cell เพ่ือสร้าง Record ใหม่ท่ีตําแหนง่ C กับ D แลว้แก้ไขค่า C-D, D-E ในการ Update ให้ทําการเรียกที่เมนู tools -> Macro -> ปรบัปรงุปดิวงรอบ หรอื UpdateCL จะได้ปรับปรุงค่าใหถ้กูตอ้ง

    การคํานวณค่าจุดพิกดัจากจุดปิดวงรอบ

    ใน Excel Surveyclose2.xls จะอยู่ในช่องสีชมพู วิธีใช้ให้ใส่ค่าที่ช่องสเีหลือง โดยใส่จากจุดที่มาจากจุดปดิวงรอบ เช่น จดุ B และใส่ชื่อจุดที่ทําการวดั ใส่มุม และระยะ และค่าระดบัต่างที่มาจากค่าจดุปดิวงรอบ ก็จะแสดงผลในแถว A, B, C, D ถ้าตอ้งการเพ่ิมให้ Copy ตารางและวางเพ่ิม แกไ้ขค่าตามต้องการ

    การนําค่าออกไปเป็น CSV

    ข้อห้ามอย่าง Save Worksheet ปัจจุบนัเปน็ CSV โดยตรง เพราะสมการที่ใส่ไว้จะหายหมด ให้ทําการ Copy ส่วนทีต่้องการส่งออก ได้แก่ แถว A, B, C, D

  • บทท่ี 4 การทําสํารวจวงรอบ| 62

    และทําการสร้าง Worksheet ใหม่ท่ี File -> New และวางข้อมูลทีไ่ด้เซฟไปเมือ่กี้นีเ้ลือกที่ Edit -> Paste Special หรือคลิกขวาเลือก Paste Special เลือกเปน็ Values จากนั้นเลือก File -> Save แล้วเลือกช่อง Save as type เป็น CSV (Comma delirrited) (*.csv)