403221...

68
403221 403221 - - spectroscopy spectroscopy 1 1 403221 403221 เคมีอินทรีย เคมีอินทรีย Spectroscopic Identification of Spectroscopic Identification of Organic Compounds Organic Compounds ผศ ผศ . . ดร ดร . . วรา วรา ภรณ ภรณ พาราสุข พาราสุข

Upload: doandiep

Post on 26-Mar-2018

229 views

Category:

Documents


3 download

TRANSCRIPT

403221403221--spectroscopyspectroscopy 11

403221403221เคมีอินทรียเคมีอินทรีย

Spectroscopic Identification of Spectroscopic Identification of Organic CompoundsOrganic Compounds

ผศผศ.. ดรดร.. วราวราภรณภรณ พาราสุขพาราสุข

403221403221--spectroscopyspectroscopy 22

Spectroscopic MethodsSpectroscopic Methods

Mass spectrometryMass spectrometry

UVUV--visible spectroscopyvisible spectroscopy

Infrared spectroscopyInfrared spectroscopy

Nuclear Magnetic Resonance Nuclear Magnetic Resonance spectroscopyspectroscopy

403221403221--spectroscopyspectroscopy 33

Mass spectrometryMass spectrometry

M(g)e-

ionization M.++ e-

fragmentationM1+ + M2+ + M3+

molecular ion+ ...

Mass spectrometerMass spectrometer ทําใหโมเลกุลกาซเปลี่ยนเปนทําใหโมเลกุลกาซเปลี่ยนเปน ion ion ((ionizationionization)) โดยการชนดวยลําอเิล็กตรอนโดยการชนดวยลําอเิล็กตรอนmolecular ion molecular ion อาจแตกเปนสวนยอยลงอาจแตกเปนสวนยอยลง (fragmentation) (fragmentation) บางสวนมีประจุบวกบางสวนมีประจุบวก

403221403221--spectroscopyspectroscopy 44

Mass spectrometry Mass spectrometry วิเคราะหวิเคราะห ions ions ที่เกิดขึ้นรายงานผลเปนที่เกิดขึ้นรายงานผลเปนคาอัตราสวนมวลตอประจุคาอัตราสวนมวลตอประจุ m/Z m/Z Ions Ions สวนใหญมีประจุสวนใหญมีประจุ +1+1 ดงันั้นคาดงันั้นคา m/Z m/Z คือมวลของคือมวลของ ion ion Mass spectrumMass spectrum คอืคอื ตารางหรือกราฟแสดงคาความเขมตารางหรือกราฟแสดงคาความเขมสัมพัทธสัมพัทธ ((relative intensityrelative intensity)) ของสัญญาณที่แตละคาของสัญญาณที่แตละคา m/Zm/Zbase peakbase peak : : สัญญาณที่มีความเขมสูงที่สุดคิดเปนสัญญาณที่มีความเขมสูงที่สุดคิดเปน 100100%%relative intensity relative intensity ของของ ion ion อื่นคิดเปนอัตราสวนอื่นคิดเปนอัตราสวน %% ของของ base peakbase peak

403221403221--spectroscopyspectroscopy 55

mass spectrummass spectrum ของของ NH3 NH3 ในรูปแบบกราฟในรูปแบบกราฟ และและ ตารางตาราง

403221403221--spectroscopyspectroscopy 66

FragmentationFragmentationมักแตกพันธะที่ทําใหเกิดมักแตกพันธะที่ทําใหเกิด ion ion ที่เสถียรที่เสถียรion ion ที่เสถียรจะใหความเขมของสัญญาณสูงที่เสถียรจะใหความเขมของสัญญาณสูง

.+ fragmentationM1+ + M2+ + M3+

molecular ion+ ...[M]

403221403221--spectroscopyspectroscopy 77

AlkaneAlkane

cationcation CHCH33CHCH22++ เสถียรกวาเสถียรกวา CH CH33++

ดังนั้นดังนั้น peak m/Z 29 peak m/Z 29 มีความเขมสูงกวามีความเขมสูงกวา peak m/Z 15peak m/Z 15

CH3CH2CH3CH3CH2CH3

CH3CH2CH3

CH3CH2 CH3

CH3CH2CH3

CH3CH2 CH3

ionization .+

M+, 44.+

fragmentation + + .

.+fragmentation . + +

m/Z, 29

m/Z, 15

403221403221--spectroscopyspectroscopy 88

CH3 CH

CH3

CH2-CH3

.+

+

+ CH3.

CH3CH2.+

m/Z, 57

CH3 CH

+CH2CH3

a

CH3 CH

+CH3

b

+CH3 CH

CH3

CH2cm/Z, 57

m/Z, 43

CH3.

a

b cM+ m/Z, 72

CH3 C

CH3

CH3

CH3

CH3CH3 C

+

CH3

CH3

.+

+ .

m/Z, 57M+ m/Z, 72

22--methylbutanemethylbutane

2,22,2--dimethylpropanedimethylpropane

403221403221--spectroscopyspectroscopy 99

2,22,2--dimethylpropanedimethylpropane

22--methylbutanemethylbutaneCH3 CH

CH3

CH2-CH3

CH3 C

CH3

CH3

CH3

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1010

m/Z, 78

-e- .+.+

Aromatic hydrocarbonAromatic hydrocarbonBenzeneBenzene

Alkyl substituted benzeneAlkyl substituted benzeneCH2R

ionizeCH2R.+

-R.

CH2+

m/Z, 91

CH2

m/Z, 91

++

+

tropylium ion orcycloheptatrienyl cation

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1111

MS MS aromticaromtic compoundcompound

CH2CH2CH3

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1212

Electromagnetic WavesElectromagnetic Waves

คลื่นแสงชวงตางๆคลื่นแสงชวงตางๆ เชน ชวงที่มองเหน็ได (visible) ชวงอัลตราไวโอเลต ชวงอินฟราเรด เปนเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาคลื่นแมเหล็กไฟฟาคลื่นเหลานี้มีความยาวคลื่นแตกตางกันคลื่นเหลานี้มีความยาวคลื่นแตกตางกัน แตมีความเร็วคลื่นเทากันคือแตมีความเร็วคลื่นเทากันคือ 3x103x101010 cm.scm.s--11

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1313

Electromagnetic WavesElectromagnetic Waves

ความถี่คลื่นสัมพันธกับความยาวคลื่นตามสมการความถี่คลื่นสัมพันธกับความยาวคลื่นตามสมการν = c/λ

เมื่อ ν คือ ความถี่คลื่นในหนวย Hz (hertz คือจํานวนรอบตอวินาท)ี λ คือความยาวคลื่นในหนวย m c คือความเร็ว 3x108 m.s-1

ดังนั้นรังสีที่มีความยาวคลื่นสั้นก็จะมีความถี่สูง

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1414

Electromagnetic SpectrumElectromagnetic Spectrum

visible

Wavelength (nm)

Frequency (Hz)

พลังงานสูง พลังงานต่ํา

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1515

Electromagnetic WavesElectromagnetic Waves

เมื่อรังสีเดินทางผานไปยังสาร รังสีนั้นอาจถูกดูดกลืน หรือสงผานออกไปเนื่องจากรังสีแมเหล็กไฟฟาเปนพลังงานรูปหนึ่ง โมเลกุลที่ดูดกลืนรังสีก็จะไดรับพลังงานเพิ่มขึ้น

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1616

Electromagnetic WavesElectromagnetic Waves

พลังงานที่โมเลกุลไดรับเพิ่มขึ้นสัมพันธกบัความถี่ของรังสีตามสมการ

∆E = hνเมื่อ ∆E คือพลังงานที่ไดรับในหนวย J (joule)

h คือคาคงที่ของ Planck มีคา 6.626x10-34 J.sν คือ ความถี่คลื่นในหนวย Hz

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1717

Electromagnetic WavesElectromagnetic Waves

พลังงานที่เพิ่มขึ้นนี้จะทําใหโมเลกุลเกิดการเปลี่ยนแปลงเชน

การสั่น หรือหมุนของอะตอม การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนการเปลี่ยนแปลง spin ของนิวเคลียส

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1818

SpectroscopySpectroscopy

การศึกษา interaction ระหวางพลังงาน (radiant energy) กับวัตถุ หรือโมเลกุลรังสีที่ถูกดดูกลืนตองมีพลังงานเทากับผลตางของพลังงาน 2 สภาวะที่เกีย่วของโมเลกุลสวนใหญอยูในสภาวะ E1

การกระตุนโมเลกุลไปสูสภาวะ E2 ตองใชพลังงาน ∆E

E1

E2

∆E= E2- E1

403221403221--spectroscopyspectroscopy 1919

SpectroscopySpectroscopy

สเปกตรัม (spectrum) ของสารประกอบคอื plot ที่แสดงปริมาณรังสีแมเหล็กไฟฟาที่ถกูดูดกลืน (หรือสงผาน) ที่ความถีต่างๆ ในชวงที่สนใจ มีลักษณะเฉพาะสําหรับสารประกอบแตละชนิด

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2020

UVUV--visible Spectroscopyvisible Spectroscopy

รังสี ultraviolet ความยาวคลื่น λ = 100-400 nm (10-9 m)รังสี visible ความยาวคลื่น λ = 400-800 nmพลังงานชวงรังสี UV-visible จะทําใหอิเล็กตรอนเกิดการเปลี่ยนสภาวะจาก orbital ที่ระดับพลังงานต่ําไปสู orbital ที่มีพลังงานสูงกวาสารที่ดูดกลืนรังสี UV-visible คือสารที่มีพันธะคูหรือพันธะสามในโมเลกุล

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2121

หลักการทาํงานของ UV-visible spectrometer

สารตัวอยาง detector recorder

แหลงกําเนิดแสง

UV-hydrogen vis-tungsten

I0 I

UV-spectrum

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2222

UV-visible spectrum

λmax ความยาวคลื่นที่มีการดูดกลืนรังสีมากที่สุดAbsorbance A = log(I0/I)

A = εcL

ε =molar absorptivity (M-1cm-1)

c =molar concentration

L =ความยาวของเซลบรรจสุาร

λmax

Absorbance

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2323

ขอมูลจาก UV-vis spectrum ของ2,5-dimethyl-2,4-hexadiene

λmax 242.5 nm (ε = 13,100 M-1cm-1)

ตัวทําละลายที่ใชตองไมดูดกลืนรังสีชวง UV-visible เชน

methanol ethanol chloroform

UV-visible spectrum บางครั้งเรียกวา electronic spectrum เพราะเกี่ยวของกบัการกระตุนอิเล็กตรอน

methanol

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2424

การดูดกลืน UV-visible ของแอลคีนพลังงาน

π1

π4∗

π -->π*excitation

π

π3∗

π2

π∗

CH2=CH2λmax 171 nm

CH2=CH-CH=CH2λmax 217 nm

HOMOHOMO

LUMOLUMO

HOMO = Highest Occupied MOLUMO = Lowest Unoccupied MO

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2525

การดูดกลืน UV-visible ของแอลคีน

สารประกอบที่มีพันธะ π การกระตุนอิเล็กตรอนเกิดจากระดับ π -> π*alkene และ non-conjugated diene มี λmax ต่ํากวา 200 nmconjugated multiple bond มี λmax สูงกวา 200 nmสารประกอบที่มีจํานวน conjugated multiple bond มากขึ้นจะดูดกลืนรังสีที่ความยาวคลื่นยาวขึน้

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2626

สารประกอบ λmax εmaxH2C=CH2ethene

171 15,530

H2C=CH-CH=CH21,3-butadiene

217 21,000

H2C=CH-CH=CH-CH=CH21,3,5-hexatriene

274 50,000

β-carotene

497

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2727

การดูดกลืน UV-visible ของสารประกอบคารบอนิล (C=O)พลังงาน

n -->π*excitation

n

π

π∗

π -->π*excitation

CH3C CH3

O::

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2828

การดูดกลืน UV-visible ของสารประกอบคารบอนิล (C=O)

acetone ดูดกลืนรังสีที่ λmax 280 nm, εmax 15การดูดกลืนนี้เกดิจากการกระตุนอิเล็กตรอนจากระดับ n-->π*สารประกอบที่มี C=C conjugate กับ C=O มีการกระตุนอิเล็กตรอนทั้งจาก n-->π* และ π-->π*

CH2 CH C CH3

O n-->π* λmax 324 nm εmax = 24π-->π* λmax 219 nm εmax = 3600

403221403221--spectroscopyspectroscopy 2929

UV-visible spectrum บอกอะไรเราบาง

สารอินทรียที่ดูดกลืนรังสี UV-visible มีความไมอิ่มตัวสารอินทรียที่ดูดกลืนรังสี UV-visible ที่ความยาวคลืน่สูงม ีconjugated π system

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3030

Infrared SpectroscopyInfrared Spectroscopy

รังสีอินฟราเรดคือรังสีในชวงความยาวคลื่น λ = 2-50 µm (10-6 m)ความถี่(wavenumber) ν=1/λ = 4000-500 cm-1

พลังงานชวงรังสีอินฟราเรดจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการสั่นของพนัธะโควาเลนทในโมเลกุล

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3131

โมเลกุลสารอินทรียจะมีการสั่น (vibration) 2 แบบคอืbond stretching (ยืด-หด)angle bending (งอ) ใชพลังงานต่ํากวาการสั่นแบบ

stretching

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3232

ตัวอยางของการสั่นพันธะแบบตางๆ

symmetric antisymmetric

In plane

scissoring

Out of plane

twistingwagging

rocking

bending

stretching

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3333

ความถี่ของรังสี Infrared ที่ถูกดดูกลืนขึ้นกับ1. ชนิดของการสั่นการสั่นแบบ stretching ดูดกลนืรังสีทีช่วงความถี่สูงกวาแบบ bending

2. มวลของอะตอมที่สรางพันธะมวลอะตอมมาก ดูดกลืนรังสีทีช่วงความถี่สูง

C-H stretching 2900cm-1

O-H stretching 3600cm-1

3. ความแข็งแรงของพันธะการสั่นของพนัธะสามดูดกลนืรังสีทีช่วงความถี่สูงกวาพันธะคู

C=C stretching 2200 cm-1

C=C stretching 1660 cm-1

C-C stretching 1200 cm-1

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3434

Infrared spectrum หรือ IR spectrum คือกราฟที่ plot ระหวางปริมาณรังสีที่ถูกดดูกลืน (absorbance) หรือที่ผานออกมา (%transmittance) กับ ความถี่หรือความยาวคลื่นInfrared spectrum คอนขางซับซอนเพราะแตละพันธะสามารถเกิดการสั่นไดหลายแบบ

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3535

Infrared spectrum

Fingerprint regionFunctional group region

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3636

Infrared spectrum แบงเปน 2 สวนคือfunctional group region

ชวงความถี่ประมาณ 1400-4000 cm-1

เปนชวงพลังงานของการสั่นแบบยดื-หดพันธะในโมเลกุลมีประโยชนในการตรวจสอบวามี(หรือไมมี)หมูฟงกชันใดในสารอินทรียบาง

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3737

fingerprint regionชวงความถี่ประมาณ 600-1400 cm-1

ลักษณะ peak ซับซอนแสดงลักษณะเฉพาะของสารมีประโยชนในการตรวจสอบเอกลักษณของสาร เปรียบเทียบวาเปนชนิดเดียวกันหรือไม

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3838

ตัวอยางตารางแสดงคาแถบการดูดกลืนรังสี IR

403221403221--spectroscopyspectroscopy 3939

ตัวอยางี IR spectrum และการอาน

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4040

NMR SpectroscopyNMR Spectroscopy((NNuclear uclear MMagnetic agnetic RResonance esonance

Spectroscopy)Spectroscopy)

ใชพลังงานจากรังสีชวงความถี่วิทยุ (radio frequency)ความถีป่ระมาณ 60 ถึง 800 MHz (106 Hz)

นิวเคลียสที่มีเลขอะตอม หรือ มวลอะตอมเปนเลขคี่มี nucler spingเชน 1H 13Cรังสีชวงความถี่วิทยุทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง nuclear spin ของอะตอมในโมเลกุล

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4141

รูปพลังงานของ nuclear spin

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4242

การทําใหนิวเคลียสเกิด resonance มี 2 วิธีใหสนามแมเหล็กภายนอกคงที่ เปลี่ยนความถี่คลื่นวิทยุใหความถี่คลื่นวิทยุคงที่ เปลี่ยนสนามแมเหล็กภายนอก

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4343

Magnetic shielding by electronนิวเคลียสมีอิเล็กตรอนอยูรอบๆเมื่อโมเลกุลอยูในสนามแมเหล็ก (H0 , applied field) อิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียสทําใหเกิดสนามแมเหล็กเหนี่ยวนาํ ซึ่งมีทิศทางตรงขามกับ สนามแมเหล็ก H0สนามแมเหล็กสุทธิ (effective field) ที่โปรตอนไดรับจึงนอยกวาสนามแมเหล็ก H0 เรียกปรากฏการณนี้วา shielding

effective field ขึ้นกับ electron density และ โปรตอนขางเคยีง

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4444

- ความเขมของสนามแมเหล็ก (Hi) ที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน มีคาแปรตามความหนาแนนอิเล็กตรอน

สนามแมเหล็กภายนอก (H0)

สนามแมเหล็กเหนี่ยวนํา (Hi)

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4545

โปรตอนทีม่ีสภาพแวดลอมตางกัน จะใช applied field (สนามแมเหล็ก H0) ตางกนัเพื่อใหได effective field เทากนัที่ความถี่คลื่นวทิยุหนึ่ง ทุกโปรตอนจะดูดกลืนรังสีที่ effective field เทากัน แตตองใช applied field ตางกนัNMR spectrum ที่ไดคือ กราฟระหวางปรมิาณรังสีที่ถูกดูดกลืน กบั applied field

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4646

NMR spectrum

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4747

ขอมูลที่ไดจาก NMR spectrumจํานวนสัญญาณบอกวาในโมเลกุลมีโปรตอนที่ตางกันกี่ชนิดตําแหนงสัญญาณบอกสภาพแวดลอมทางอิเล็กตรอนของโปรตอนแตละชนิดความเขมหรือความสูงของสัญญาณ บอกอัตราสวนจํานวนโปรตอนแตละชนิดลักษณะการ splitting ของสัญญาณ บอกสภาพโปรตอนที่อยูบนคารบอนขางเคียง

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4848

จํานวนสญัญาณequivalent protons-โปรตอนที่มีสภาพแวดลอมเหมือนกัน

-ใหสัญญาณใน NMR spectrum ที่ตําแหนงเดียวกัน

CH

CH3 CH3

Cl

CH3-CH2-CH2-Cl

CCH3 CH3

Cl

Cl

CHCH3

CH3

CH2-O-CH3

จํานวนชนิดของโปรตอน/จํานวนสัญญาณ

403221403221--spectroscopyspectroscopy 4949

ตําแหนงสญัญาณ Chemical shift (δ, ppm) ใชระบุตําแหนงสัญญาณใน NMR spectrum เทียบกับสารมาตรฐาน tetremethylsilane (TMS)

มีโปรตอนชนิดเดียว 1 สัญญาณใหสัญญาณที่บริเวณสนามแมเหล็กสูงกวาสารอินทรียอื่นกําจัดงายไมเกิดปฏิกิริยากับสารอินทรีย

กําหนดตําแหนงสัญญาณของ TMS ที่ δ = 0 ppmNMR spectrum โดยทั่วไปแสดง scale ตั้งแต δ = 0-10 ppm

Si CH3CH3

CH3

CH3

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5050

Chemical shift (δ, ppm) TMS

H0

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5151

-โปรตอนที่มีกลุมอิเล็กตรอนลอมรอบหนาแนนมาก จะถูกบดบังมาก (shielded) ตองใชสนามแมเหล็ก H0 ที่มีความเขม มากในการเกิด resonance --> high (up) field

-โปรตอนที่ถูกบดบงันอย (deshielded) จะใชสนามแมเหล็ก H0 ความเขมนอยในการเกิด resonance --> low (down)field

CHCl3 CH2Cl2 CH3Clδ (ppm) 7.3 5.3 3.1

CH3F (CH3)2O (CH3)3N CH3CH3

δ (ppm) 4.3 3.2 2.2 0.9

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5252

CH3OCH2CN(a) (b)

(a)

(b)

TMS

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5353

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5454

ความเขมของสญัญาณ บันทกึเปน integration ของพื้นที่ใต peakเปนสัดสวนกับจํานวนโปรตอนที่ใหสัญญาณนั้น

รูปตัวอยางที่ใช integration 1

2

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5555

splitting ของสญัญาณสนามแมเหล็กที่เกิดจากโปรตอนขางเคยีงมีผลตอโปรตอนที่สนใจจํานวน peak ยอยๆ ที่แตกออก => multiplicity multiplicity ของสัญญาณ

= จํานวน H ของคารบอนขางเคียง +1 ระยะหางระหวาง peak ยอยมีคาเทากับ คา coupling constant (Jab) หนวยเปน HzJab คือคา coupling constant ระหวางโปรตอนชนิด a และ b

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5656

multiplicity

จํานวน Hขางเคียง

multiplicity อัตราสวนความเขมของ peak ยอย

0 1, singlet 11 2, doublet 1:12 3, triplet 1:2:13 4, quartet 1:3:3:14 5, quintet 1:4: 6: 4:15 6, sextet 1:5:10:10:5:16 7, septet 1:6:15:20:15:6:1

Quintet, sextet, septet เรยีกรวมวา multiplet

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5757

Ha ทําใหสัญญาณของ Hb split เปน doublet

2Hb ทําใหสัญญาณของ Ha

split เปน triplet

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5858

H

โปรตอนนี้ทําใหสัญญาณของหมู CH3 split เปน doublet

6 โปรตอนนี้ทําใหสญัญาณของ H split เปน septet

403221403221--spectroscopyspectroscopy 5959

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6060

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6161

C2H3Cl3

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6262

C2H5Br

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6363

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6464

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6565

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6666

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6767

NMR spectrum อาจบอกคา chemical shift, multiplicities และ ความเขมของแตละสัญญาณ โดยไมแสดงรูป spectrum เชน

NMR spectrum ของสาร C4H9Br มีขอมูลดังนี้

a. doublet, δ 1.04 ppm, 6H

b. multiplet, δ 1.95 ppm, 1H

c. doublet, δ 3.33 ppm, 2H

403221403221--spectroscopyspectroscopy 6868

ทํานาย NMR spectrum ของสาร CH3CH2CH BrCH3