5 workforce focus 5.1 workforce environment workforce...

17
รายงานประจาปการประเมนคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาต ( TQA) ปการศกษา 2558 สถาบันวัฒนธรรมศกษากัลยาณวัฒนา มหาวทยาลัยสงขลานครนทร การปรับปรุง การ ดาเนนการ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร(Workforce Focus) 5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Workforce Environment) . ดความสามารถและอัตรากาลังของบุคลากร (Workforce Capability and Capacity) 5.1 (1) ดความสามารถและอัตรากาลัง (Capability and Capacity) สถาบันฯ ไดศ กษาประเมนขดความสามารถและอัตรากาลังของบุคลากรตามแบบฟอรมของกองแผนงาน ทยาเขตปัตตาน โดยผูบรหารสถาบันฯศ กษาหาขอมูลในองค กรเพ ่อประเมนความต องการขดความสามารถและ อัตรากาลังของบุคลากร จากการประชุมบุคลากร การประชุมสรุปผลการดาเน นงานประจาป การเปดเวทแลกเปล่ยน เรยนรู ( KM) ผลการประเมนขดความสามารถของบุคลากรในรอบป่ผานมา ผลสะทอนกลับจากผูใช บรการและผล การประเมนโครงการ/กจกรรมในรอบป่ผานมา กาหนดใหม การจัดทาแผนปฏ บัต งานประจาป ของแตละงาน/ฝาย กาหนดหน าท ่ความรับผดชอบรายบุคคลท ่ชัดเจน มการกาหนดกรอบเวลาในการประเมนขดความสามารถ ทักษะ สมรรถนะของบุคลากรโดยสถาบันฯจัดระบบการประเมนผลการปฏ บัต งานของบุคลากรโดยใช แบบรายงานผลการ ปฏ บัต งาน (TORs) ตามท่มหาวทยาลัยกาหนด มการแจงผลการประเมนเพ ่อปรับปรุงการทางานใหบุคลากรรายบุคคล โดยสถาบันฯม กระบวนการประเมนความต องการขดความสามารถและอัตรากาลัง รวมทังทักษะ สมรรถนะและกาลัง บุคลากรท่มอยู ดังแสดงในแผนภาพท5.1-1 แผนภาพท่ 5.1-1 การประเมนขดความสามารถและอัตรากาลังของบุคลากรสถาบันฯ สถาบันฯ มกระบวนการประเมนขดความสามารถและอัตรากาลัง ดังน 1. การว เคราะหองคกรผูบรหารและบุคลากรประชุมทบทวนแผนปฏ บัต การประจาป กอนส นสุดปงบประมาณ ลวงหน าเพ่อว เคราะหและหาขอสรุปการดาเน นงานท่สอดคลองกับภารกจว สัยทัศนพันธกจอัตรากาลังและสายงาน ของบุคลากร รวมทังประเด็นความทาทายต างๆ ของสถาบันฯ การวเคราะหองคกร การวเคราะหตาแหนง การวเคราะหงาน การวเคราะหบุคลากร การวางแผน กลยุทธ การปรับปรุง องคกร การประชุม เพ่อส่อสาร

Upload: others

Post on 17-Feb-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • 62

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    การปรับปรุง การ

    ด าเนินการ

    หมวด 5

    การมุ่งเน้นบุคลากร(Workforce Focus)

    5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Workforce Environment)

    ก. ขดีความสามารถและอัตราก าลังของบุคลากร (Workforce Capability and Capacity)

    5.1 ก (1) ขดีความสามารถและอัตราก าลัง(Capability and Capacity)

    สถาบันฯ ได้ศกึษาประเมินขีดความสามารถและอัตราก าลังของบุคลากรตามแบบฟอร์มของกองแผนงานวทิยาเขตปัตตานี โดยผู้บริหารสถาบันฯศกึษาหาข้อมูลในองคก์รเพื่อประเมินความตอ้งการขีดความสามารถและอัตราก าลังของบุคลากร จากการประชุมบุคลากร การประชุมสรุปผลการด าเนนิงานประจ าป ีการเปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ผลการประเมินขีดความสามารถของบุคลากรในรอบปีท่ีผ่านมา ผลสะท้อนกลับจากผู้ใชบ้ริการและผลการประเมินโครงการ/กิจกรรมในรอบปีท่ีผ่านมา ก าหนดให้มกีารจัดท าแผนปฏบัิตงิานประจ าปขีองแต่ละงาน/ฝ่าย ก าหนดหนา้ที่ความรับผิดชอบรายบุคคลที่ชัดเจน มีการก าหนดกรอบเวลาในการประเมินขีดความสามารถ ทักษะ สมรรถนะของบุคลากรโดยสถาบันฯจัดระบบการประเมินผลการปฏบัิตงิานของบุคลากรโดยใชแ้บบรายงานผลการปฏบัิตงิาน (TORs) ตามท่ีมหาวิทยาลัยก าหนด มีการแจ้งผลการประเมินเพื่อปรับปรุงการท างานให้บุคลากรรายบุคคล โดยสถาบันฯมกีระบวนการประเมินความตอ้งการขีดความสามารถและอัตราก าลัง รวมท้ังทักษะ สมรรถนะและก าลังบุคลากรท่ีมีอยู ่ดังแสดงในแผนภาพท่ี 5.1-1

    แผนภาพที่ 5.1-1 การประเมินขีดความสามารถและอัตราก าลังของบุคลากรสถาบันฯ

    สถาบันฯ มีกระบวนการประเมินขีดความสามารถและอัตราก าลัง ดังนี้

    1. การวเิคราะห์องค์กรผู้บริหารและบุคลากรประชุมทบทวนแผนปฏบัิตกิารประจ าปกี่อนสิน้สุดปีงบประมาณล่วงหนา้เพ่ือวเิคราะห์และหาข้อสรุปการด าเนนิงานท่ีสอดคล้องกับภารกิจวสิัยทัศน์พันธกิจอัตราก าลังและสายงานของบุคลากร รวมท้ังประเด็นความท้าทายตา่งๆ ของสถาบันฯ

    การวิเคราะห์องค์กร

    การวิเคราะห์ต าแหน่ง

    การวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์บุคลากร

    การวางแผน กลยุทธ ์

    การปรับปรุง องค์กร

    การประชุม เพื่อสื่อสาร

  • 63

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    2. การวเิคราะห์งานผู้รับผิดชอบศกึษาองค์ประกอบของงานในต าแหนง่ตา่งๆและน าเข้าท่ีประชุมเพื่อร่วมกันก าหนดสมรรถนะของกลุ่มสายงาน (Functional Competency) และหาตัวร่วมท่ีเป็นสมรรถนะหลัก (Core Competency) ของสถาบันฯแต่งต้ังคณะกรรมการด าเนนิการประเมินซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารและหัวหน้าฝ่ายของผู้รับการประเมินท้ังสองฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายสนับสนุนบริหาร และฝ่ายวิจัย พัฒนาและส่งเสริมวัฒนธรรม ก าหนดเกณฑ์การประเมินโดยค านึงถึงความเหมาะสมตามแผนปฏบัิตกิารท้ังระยะสั้นและระยะยาวของสถาบันฯ และก าหนดเครื่องมือและตัวช้ีวัดในการด าเนนิการเร่ืองความเหมาะสมของอัตราก าลัง ประกอบด้วยแบบฟอร์มการประเมินผลการปฏบัิตงิานท่ีก าหนดโดยมหาวิทยาลัยและแบบประเมินผลส าเร็จของงาน/โครงการและผลสะท้อนกลับจากผู้รับบริการในรอบปีงบประมาณ

    3. การวเิคราะห์ระดับต าแหนง่เพื่อก าหนดสมรรถนะแต่ละกลุ่มต าแหน่ง (Level) โดยการวเิคราะห์จากมาตรฐานก าหนดต าแหนง่และสอบทานโดยการส ารวจข้อมูลเกี่ยวกับระดับสมรรถนะที่จ าเป็นส าหรับแตล่ะกลุ่มต าแหนง่แบ่งระดับความยากง่ายในการปฏบัิตงิานออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง วิเคราะห์งานแตล่ะฝ่าย เมื่อได้ขอ้สรุปวา่มีภาระงานท่ีจ าเป็นเร่งดว่นก็จะขอก าหนดอัตราก าลังใหม่ตามล าดับความจ าเป็น รวมถึงการก าหนดอัตราจ้างเพื่อแกไ้ขปัญหาการขาดแคลนอัตราก าลังของบุคลากร

    4. การวเิคราะห์บุคลากรวเิคราะห์ขอ้มูลบุคลากรท่ีมีอยูน่ ามาจัดระบบงานให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ และความถนัด ตลอดจนมีการประชุมวางแผนพัฒนาเคร่ืองมอืส าหรับการประเมินขีดสมรรถนะของบุคลากรในกลุ่มสายงานต่างๆ โดยการพจิารณาจาก Job Description, แบบรายงานผลการปฏบัิตงิาน ( TORs), การสอบถามและสัมภาษณ ์

    5.1 ก (2) บุคลากรใหม่(New Workforce Members)

    สถาบันฯมีกระบวนการสรรหา วา่จ้าง บรรจุบุคลากรใหม่ ดังนี้ 1. วเิคราะห์ความต้องการก าลังคนโดยพิจารณาจากภารกิจ พันธกิจแผนกลยุทธ์และปริมาณงานโดยรวมของสถาบันฯ ตลอดจนพจิารณาแผนงานหรือโครงการตอ่เนื่องบางโครงการท่ีก าหนดไว้ในอนาคต ประกอบกับการพจิารณาโครงสร้างต าแหน่งบุคลากรท่ีมีอยูใ่นปัจจุบัน 2. ก าหนด Job Description และสมรรถนะหลักที่ตอ้งการของต าแหนง่ตา่งๆ 3. ด าเนนิการสรรหาบุคลากรท่ีมีคุณลักษณะและทักษะตรงตาม Job Description และสมรรถนะหลักที่ตอ้งการโดยยึดตามระเบียบและหลักเกณฑ์การคัดเลอืกบุคคลของมหาวทิยาลัย และค านึงถงึคุณธรรมพฤตกิรรมทางจรยิธรรมของบุคคลตลอดจนผลประโยชนข์องทางราชการเป็นหลัก โดยการสรรหาบุคลากรสามารถด าเนนิการโดยสอบแข่งขัน หรอืสอบคัดเลอืกตามแนวทางและวิธีการท่ีมหาวิทยาลัยก าหนด หรอืการรับโอนโดยมีขัน้ตอนดังนี้ - ออกเป็นประกาศของทางราชการ โดยก าหนดรายละเอยีดคุณสมบัตเิฉพาะต าแหน่งอยา่งชัดเจน รวมถึงเกณฑ์การคัดเลอืกและอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานราชการ

    - ประชาสัมพันธ์การรับสมัครในช่องทางต่างๆ ได้แก่ มอบหมายให้เจ้าหนา้ที่ผู้รับผิดชอบส่งประกาศไปยังมหาวทิยาลัย และลงประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ของสถาบันฯ และเว็บไซต์ของมหาวทิยาลัยเพื่อให้ผู้สนใจ จากหลากหลายพื้นท่ี ภูมลิ าเนา ได้เข้ามาสมัครคัดเลอืกอย่างท่ัวถึง - แตง่ตัง้คณะกรรมการคัดเลอืก ท าหนา้ที่คัดเลอืกให้เป็นไปดว้ยความโป่รงใส ตรวจสอบได้ - ประกาศผลการคัดเลอืกผ่านช่องทางต่างๆ ตามที่ได้ประกาศรับสมัครไว ้

  • 64

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ท้ังน้ีสถาบันฯ มแีนวทางรักษาบุคลากร ดังนี ้

    1. มกีารปฐมนิเทศบุคลากรใหมเ่พื่อสร้างความเข้าใจในภารกิจของสถาบันฯ และรายละเอยีดต่างๆ เกี่ยวกับสิทธิประโยชน ์และสวัสดิการ อันพงึมพีงึได้จากการท างาน และมอบหมายงานตามมาตรฐานก าหนดต าแหนง่และคุณสมบัตขิองบุคลากรเป็นหลัก มีระบบพี่เลีย้งคอยสอนงานและเปิดโอกาสให้บุคลากรใหมไ่ด้เรียนรู้งานเพิ่มเตมิโดยการเลอืกท างานข้ามสายงานได้ตามความสนใจ และมีความยดืหยุ่นของการท างาน บุคลากรมอีสิระในเชงิความคิด และสามารถตัดสินใจงานได้เองโดยค านงึถึงขอบเขตท่ีเหมาะสมอกีทัง้ส่งเสริมให้บุคลากรน าผลการประเมินความพงึพอใจในการจัดโครงการ/กิจกรรมตา่ง ๆ จากผู้รับบริการไปปรับปรุงแผนการปฏบัิตงิานให้บรรลุผลส าเร็จยิ่งขึ้น

    2. ก าหนดเส้นทางความก้าวหนา้ของต าแหน่ง (Career Path) ตามเกณฑ์ของมหาวทิยาลัย โดยศึกษาโครงสร้างของสถาบันฯ และต าแหน่งงาน วเิคราะห์งานและวิเคราะห์ความสามารถในงาน จัดกลุ่มงานจัดท ารูปแบบเส้นทางความก้าวหนา้ของต าแหน่งตลอดจนก าหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานต าแหนง่งานและได้กระจายความรู้ต่างๆเหลา่นีใ้ห้บุคลากรรับทราบอยา่งทั่วถึงผ่านทางระบบเทคโนโลยสีารสนเทศ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดบรรยายพเิศษ และให้เข้าร่วมการอบรมเพิ่มเตมิ

    3. มกีารเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการท างานให้แกบุ่คลากร โดยเนน้การสร้างสภาพแวดลอ้มและบรรยากาศท่ีดใีนการท างาน ให้บุคลากรมคีวามพงึพอใจ ใชเ้ทคโนโลยท่ีีทันสมัยเพื่ออ านวยความสะดวกในการปฏบัิตงิาน มีการส ารวจความพึงพอใจและความไมพ่งึพอใจของบุคลากรเพื่อน าผลท่ีได้มาปรับปรุงคุณภาพชีวิตการท างาน และมีการส่งเสริมความสัมพันธ์อันดรีะหว่างผู้บริหารกับบุคลากรผู้ปฏบัิตงิานและระหว่างบุคลากรผู้ปฏบัิตงิานดว้ยกันเอง และเสริมสร้างความผูกพันในกลุ่มผู้ปฏบัิตงิานให้เกิดความรักความผูกพันฉันพ่ีน้อง มคีวามเอื้ออาทรตอ่กัน โดยเนน้การท างานรว่มกันเป็นทีม

    4. สร้างความภาคภูมิใจและความภักดีต่อสถาบันฯ เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นท้ังในการประชุมอยา่งเป็นทางการและไมเ่ป็นทางการ เพื่อให้ได้ผลสะทอ้นความคิดท่ีหลากหลาย และน าความคิดเห็นท่ีเป็นประโยชนต์อ่สถาบันฯ แปรไปสู่การปฏบัิตแิละการก าหนดในเชงินโยบาย ซึ่งเนน้การด าเนินงานท่ีสอดคล้องกับภารกิจหลักของสถาบันฯ และสามารถตอบสนองความตอ้งการของผู้รับบริการได้อยา่งทั่วถึงเชน่จัดโครงการตดิตาม ทบทวนแผนปฏบัิตงิาน โครงการจัดท าแผนกลยุทธ์ เพื่อให้ทุกคนได้ร่วมกันก าหนดเป้าหมายของ สถาบันฯ ให้เป็นองค์กรท่ีมีภาพลักษณด์ีมีวัฒนธรรมองค์กรท่ีเนน้การปฏบัิตงิานท่ีโปร่งใสเป็นธรรมและมุง่สร้างประโยชนแ์ก่สังคม จัดโครงการเสริมสร้างก าลังใจและวัฒนธรรมองค์กร(Birthday Gift)เป็นต้น

    5.1 ก (3) การท างานให้บรรลุผล(Work Accomplishment)

    สถาบันฯจัดโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น 2 ฝ่ายคอื ฝ่ายสนับสนุนบริหาร และฝ่ายวิจัย พัฒนาและส่งเสริมวัฒนธรรม มีบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถ และมีทีมงานคุณภาพท่ีเป็นก าลังส าคัญในการขับเคลื่อนองคก์รสูเ่ป้าหมายตามแผนกลยุทธ์และพันธกิจที่ก าหนดไว ้มีคณะกรรมการประจ าสถาบันฯและคณะกรรมการด าเนนิงานสถาบัน ท าหน้าท่ีก ากับดูแล และให้ค าปรึกษาในการด าเนินงาน นอกจากนี้สถาบันฯใชร้ะบบการจัดการและการประเมินผลการปฏบัิตงิานของบุคลากร 2 ส่วนคอื การประเมินสมรรถนะหลัก ( Competency) และการประเมินผลการปฏบัิตงิานตามค ารับรอง โดยด าเนินการในรูปของคณะกรรมการ ประกอบด้วยผู้อ านวยการ รองผู้อ านวยการและหัวหน้าฝ่าย โดยใชต้ัวช้ีวัดผลการด าเนนิงานกิจกรรม/โครงการ และตัวชี้วัด KPIs เป็นเครื่องมือในการก ากับการปฏบัิตงิาน โดยก าหนดให้บุคลากรทุกคนเขียนขอ้ตกลงภาระงาน ( TORs) เพื่อระบุภาระงานท่ีจะปฏิบัตติามรอบการ

  • 65

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ประเมินระยะเวลา 6 เดอืน ก าหนดให้มกีารปรับปรุงมาตรฐานภาระงานในทุกรอบการประเมิน สถาบันฯน าผลการปะเมนิมาพจิารณาค่าตอบแทน การเลื่อนขั้นเงินเดอืน การจัดสรรโบนัส การแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบเพื่อปรับปรุงการปฏบัิตงิานและก าหนดเป็นแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคลต่อไป

    นอกจากนี้สถาบันฯ ให้ความส าคัญกับการท างานให้บรรลุผลโดย ( 1) สนับสนุนให้บุคลากรมจีิตบริการเพื่อสร้างความประทับใจให้กับลูกค้า/ผู้รับการ การใช้ระบบสารสนเทศให้เป็นประโยชนข์องการจัดโครงการ/กิจกรรม เพ่ือการสื่อสารกับลูกค้า/ผู้ใชบ้ริการได้อยา่งรวดเร็ว รวมถึงการเพิ่มทักษะท่ีจ าเป็นในการให้บริการ เชน่ ทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ การตอ้นรับ การเป็นพิธีกร เป็นต้น ( 2) สนับสนุนให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนองคก์รเพื่อให้บรรลุผลตามแผนกลยุทธ์ ผ่านกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( KM) การมอบหมายงานท่ี ท้าทายความสามารถ การศึกษาดูงานเพื่อน าประสบการณ์มาพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ การปลูกฝังแนวคิด/ทัศนคติเชงิบวก เป็นต้น

    5.1 ก (4) การจัดการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร(Workforce Change Management)

    สถาบันฯ ก าหนดนโยบายการเรียนรู้งานแต่ละงานผ่านกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( KM) ตามท่ีน าเสนอไวใ้นโครงร่างองค์กร หัวข้อระบบการปรับปรุงผลการด าเนนิการ เร่ืองการเรียนรู้ของสถาบันฯ นอกจากนี้สถาบันมวีธีิการจัดการเปลี่ยนแปลงดา้นตา่งๆ ดังนี้

    1. ด้านโครงสร้าง สถาบันฯ มกีารแบ่งโครงสร้างแบบทางการ แบง่งานตามหน้าท่ีความรับผิดชอบ โดยมคณะกรรมการประจ าสถาบันฯ และคณะกรรมการด าเนนิงานก ากับดูแล และให้ค าปรึกษาในการด าเนินงานของสถาบันฯ ตามขอ้บังคับว่าด้วยการบริหารงานสถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา พ.ศ. 255 2 และแก้ไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ.2556 โดยแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย คือ (1) ฝ่ายสนับสนุนบริหาร รับผิดชอบงานบริหารและธุรการ งานคลังและพัสดุ งานนโยบายและแผน งานประกันคุณภาพ งานประชาสัมพันธ์ งานสารสนเทศ งานวเิทศสัมพันธ์ งานบริการและผลิตสื่อโสตทัศนูปกรณแ์ละ ( 2)ฝ่ายวิจัย พัฒนา และส่งเสริมวัฒนธรรม รับผิดชอบ งานประสานวิจัย งานศกึษาวจิัย งานข้อมูลทางวัฒนธรรม งานทะเบียนและคลังวัตถุ งานอนุรักษแ์ละสงวนรักษาวัตถุ งานบริการวิชาการแก่สังคม งานจัดแสดงข้อมูลทางวัฒนธรรม งานจัดแสดงศลิปะรว่มสมัย งานจัดการเรียนการสอน

    2. ด้านเทคโนโลยี สถาบันฯสนับสนุนให้บุคลากรน าเทคโนโลยมีาใชใ้นการปฏบัิตงิานและพัฒนากระบวนการท างานในการลดขั้นตอนเพื่อให้การด าเนนิงานบรรลุเป้าหมายและเปิดโอกาสให้บุคลากรได้ศึกษาฝึกอบรมทักษะการใชเ้ทคโนโลยสีร้างนวัตกรรมในการท างาน และเปิดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ขอ้มูลสารสนเทศและ ส่งเสริมให้มีการใชค้วามรู้และทักษะใหม่ในการปฏบัิตงิาน เพื่อให้ผลการด าเนนิงานสนองตอบตอ่ความต้องการของทุกฝ่ายได้อยา่งมีประสิทธิภาพ และบุคลากรมโีอกาสพัฒนาทักษะและเพิ่มพูนความรู้ใหม่ๆ เพื่อให้รองรับตอ่ความเปลี่ยนแปลงตา่งๆได้ทันเวลา และเป็นระบบ

    3. ด้านบุคลากร สถาบันฯมรีะบบพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชพีให้แก่บุคลากร โดยมุ่งให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย และแผนงานอันเป็นเป้าหมายหลักในการด าเนินงานของสถาบันฯ มกีาร ก าหนดแผนการจัดกิจกรรมการ

  • 66

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    พัฒนาบุคลากรประจ าป ีเพื่อเตรียมบุคลากรให้พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลง โดยจัดสง่บุคลากรเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา ตามสายงานท่ีรับผิดชอบ และมีการตดิตามผลการพัฒนาตนเองในแบบรายงานผลการปฏบัิตงิาน (TORs) ของบุคลากรทุก 6 เดอืนตามรอบการประเมิน และมีการ มอบหมายภาระงานหลัก 1 งาน งานพเิศษอื่นๆอย่างน้อย 2-3 งาน ตามความสามารถ/ความถนัด ได้แก่ แต่งต้ังให้เป็นคณะกรรมการในโครงการ/กิจกรรมตา่งๆของสถาบันฯ รวมถึงการประสานให้ความร่วมมอืกับหนว่ยงานอื่นๆ ทัง้หนว่ยงานภายใน หนว่ยงานภายนอก และชุมชนเครอืขา่ย เช่น การเป็นวทิยากร การได้รับเชญิเป็นอาจารย์พิเศษ นอกจากนี้สถาบันฯ ได้จัดสรรทุนและจัดหาทุน ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนได้พัฒนาความรูค้วามสามารถในการยกระดับคุณภาพชวีติและคุณภาพงานให้สูงขึ้น โดยการจัดสรรเงินทุนของสถาบันฯ สนับสนุนให้บุคลากรของสถาบันฯ ได้มีการศึกษาวิจัยในประเด็นท่ีสอดคล้องกับภารกิจและพันธกิจของสถาบันฯ รวมท้ังยังจัดหาแหล่งทุนจากภายนอก เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ท่ีเกี่ยวข้องกับภาระงานท่ีรับผิดชอบ

    ข. บรรยากาศการท างานของบุคลากร(Workforce Climate)

    5.1 ข (1) สภาพแวดล้อมด้านการท างาน(Workforce Environment)

    สถาบัน ฯจัดสภาพแวดลอ้มในการท างานเพ่ือสร้างความมั่นใจในความปลอดภัย โดยเนน้การจัดอาคารสถานท่ีท างานให้สะอาดและปลอดภัย เพราะสภาพแวดลอ้มท่ีสะอาด สวยงาม ปลอดภัย จะชว่ยสร้างบรรยากาศการท างานของบุคลากร ท าให้งานมีประสิทธิภาพโดยมีกระบวนการดังนี ้

    1. ด้านสภาพแวดลอ้มทางกายภาพ :สถาบันฯแตง่ตัง้คณะกรรมการด าเนนิกิจกรรม 5 ส และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน เพื่อติดตามดูแลอาคารสถานท่ีและบริเวณตา่งๆ ของสถาบันฯ ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด สวยงาม และมีความปลอดภัย ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศท่ีดใีนการท างานให้แกบุ่คลากร มีการก าหนดแผนงานเพื่อปรับปรุงอาคารสถานท่ีให้สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย มคีวามพร้อมในการปฏบัิตงิานและการให้บริการอยูเ่สมอ รวมถึงการตดิตัง้กล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณจุดเสี่ยง

    2. ด้านสภาพแวดลอ้มทางจิตใจ ความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย :สถาบันฯ ตอบสนองนโยบายของ มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร์ โดยเข้าร่วมเป็นหน่วยงานน ารอ่ง“มหาวทิยาลัยแห่งความสุข” ตามโครงการ “นวัตกรรมจัดการสร้างสุข บูรณาการมหาวทิยาลัยแห่งความสุขสูอ่งคก์รสุขภาวะแห่งประเทศไทย” โดยสถาบันฯ มคี าสั่งที่ 012/2557 แต่งต้ัง “นักสร้างสุของค์กร” สถาบันฯ ส่งเสริมให้ บุคลากร ตรวจสุขภาพประจ าป ีโดยมีการสื่อสารให้บุคลากรได้รับทราบอยา่งทั่วถึงผ่านชอ่งทางการสื่อสารตา่งๆ เชน่ โทรศัพท์ ป้ายประกาศขา่วของสถาบันฯ Group-mail / E-documentสถาบันฯ มุง่สร้างบรรยากาศการท างานที่อบอุน่และเป็นมติร ส่งเสริมให้มีการแก้ไขปัญหาอย่างสันติ หลีกเลี่ยงการต าหนิหรือการถูกลงโทษเมื่อเกิดปัญหา รวมถึงการมอบหมายงานท่ีท้าทายให้แก่บุคลากรเพื่อกระตุน้ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์เชงิบวก สถาบันฯ ประสานกับมหาวิทยาลัยในการจัดเวรยามเพื่อตรวจตราความเรียบร้อยบริเวณอาคารสถานท่ีของสถาบันฯ ทัง้ในวันเวลาราชการ วันหยุดราชการ (เสาร-์อาทิตย)์ วันหยุดนักขัตฤกษ ์สถาบันฯได้มอบหมายให้หัวหน้าอาคารท าหน้าท่ีตรวจสอบดูแลความเรียบร้อยของอาคารสถานท่ี อุปกรณ์เครื่องใชไ้ฟฟา้ ก ากับดูแลการเข้า–ออกอาคารและการปฏบัิตงิานของคนงานประจ าอาคาร

    3. ด้านสภาพแวดลอ้มทางกระบวนการท างาน :สถาบันฯ ออกแบบงานและมเีครื่องมือการท างานที่ ปลอดภัยโดยก าหนดระดับความเสี่ยงของงาน เพื่อป้องกันอุบัตเิหตุเกิดซ้ า ได้แก่ งานปฏิบัตกิารตดิตัง้ภาพในหอศลิป์ งานอนุรักษแ์ละสงวนรักษาวัตถุ งานบริการและผลิตสื่อโสตทัศนูปกรณ ์ การดูแลและปอ้งกันอุบัตเิหตุจากระบบ

  • 67

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    คอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยก าหนดผู้รับผิดชอบให้ท าหน้าท่ีตรวจสอบความไมป่ลอดภัยของอุปกรณแ์ละเครื่องมือ เครื่องใชต้า่งๆ ก่อนลงมอืปฏบัิตงิานเพื่อป้องกันความผิดพลาดในขณะปฏบัิตงิาน มกีารก าหนดแผนงานพัฒนาระดับคุณภาพของการด าเนนิงาน ก าหนดตัวช้ีวัดและเป้าประสงค์ โดยออกแบบสอบถามความคิดเห็นของบุคลากร เพื่อหาข้อสรุปมาใชใ้นการบริหารจัดการให้มีสภาพแวดลอ้มด้านต่างๆ สอดคลอ้งกับความตอ้งการของบุคลากร

    ตารางที่ 5.1-1 กิจกรรมเพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมการท างาน

    กจิกรรม/โครงการ ผู้รับผิดชอบ กรอบเวลา

    1.กิจกรรมเสรมิสรา้งก าลังใจและวัฒนธรรมองค์กร (Birthday Gift)

    คณะกรรมการ/ผู้บรหิาร/บุคลากร ตลอดปี

    2.การแลกเปล่ียนเรียนรู้ (KM) : สุนทรยีสนทนา คณะกรรมการ/ผู้บรหิาร/บุคลากร 2 เดอืน/ครัง้

    3.การคัดเลือกบุคลากรดีเด่น คณะกรรมการ ปีละ 1 ครัง้

    4.กิจกรรมสรา้งสุขในองค์กร คณะกรรมการ/ผู้บรหิาร/บุคลากร ตามแผนปฏบัิติงาน

    5.กิจกรรม 5 ส และ Big Cleaning คณะกรรมการ/ผู้บรหิาร/บุคลากร ตามแผนปฏบัิติงาน

    6.การตรวจสุขภาพประจ าปี งานสนับสนุนบรหิาร ปีละ 1 ครัง้

    7.การพัฒนาบุคลากร : บรรยายพิเศษโดยวิทยากร ศึกษาดูงาน แลกเปล่ียนเรียนรู้กับวิทยากร

    คณะกรรมการ/ผู้บรหิาร/บุคลากร ตามแผนปฏบัิติงาน

    8.การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (Teel Me More) คณะกรรมการ/ผู้บรหิาร/บุคลากร ตามแผนปฏบัิติงาน

    9.กิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ คณะกรรมการ/ผู้บรหิาร/บุคลากร ปีละ 1 ครัง้

    10.กิจกรรมประชุมและสรุปผลการด าเนินงาน คณะกรรมการ/ผู้บรหิาร/บุคลากร ปีละ 2 ครัง้ 11.การประเมนิผลการปฏบัิติงาน คณะกรรมการประเมนิฯ ปีละ 2 ครัง้

    12.การใหค้วามดี ความชอบ คณะกรรมการเลื่อนขั้นเงินเดอืน ปีละ 2 ครัง้

    5.1 ข (2) นโยบายการบริการและสิทธิประโยชน์(Workforce Benefits and Policies)

    สถาบัน ฯมุง่สร้างขวัญและก าลังใจให้แกบุ่คลากร โดยก าหนดนโยบายการบริการและสิทธิประโยชน ์ซึ่งพจิารณาจากความหลากหลายของบุคลากร เพื่อให้สนองตอบตอ่ความต้องการของบุคลากรได้ครบถ้วนและเหมาะสม คือ ( 1)จัดบริการส่ิงอ านวยความสะดวกพื้นฐานและอุปกรณท่ี์จ าเป็นส าหรับส านักงานเชน่พืน้ท่ีปฏบัิตงิานเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องพิมพเ์ครื่องสแกนเอกสารโทรศัพท์โทรสารตู้เก็บเอกสารโตะ๊-เก้าอี้ การถ่ายเอกสารฯลฯ จัดเตรียมไวใ้ห้เพยีงพอตามจ านวนของบุคลากรเพื่อสนับสนุนให้การปฏบัิตงิานเป็นไปอยา่งมีประสิทธิภาพ (2)จัดสวัสดกิารดา้นตา่งๆ ให้แกบุ่คลากรเชน่ประกันสังคม สิทธิการประกันตนการตรวจสุขภาพประจ าปกีารจัดโครงการพัฒนาบุคลากรการจัดฝึกอบรมประชุมสัมมนาศกึษาดูงานท้ังในและตา่งประเทศ การแจกเคร่ืองแตง่กายในวาระต่างๆ เช่น เสื้อกีฬาเป็นต้น(3)บุคลากรร่วมกันออกแบบปรับปรุงส านักงาน ห้องปฏบัิตงิาน และพืน้ท่ีท่ีจ าเป็นต่อการปฏบัิตงิาน โดยแบ่งขอบเขตพื้นท่ีในการปฏบัิตงิานเป็นสัดส่วนเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการให้บริการตามลักษณะงานท่ีแตกต่างกัน ได้แก่ อาคารหอศิลป์ภาคใต ้หอวัฒนธรรมภาคใต ้พิพธิภัณฑพ์ระเทพญาณโมล ีเรือนอ ามาตยโ์ทพระยาพิบูลพทิยาพรรค เป็นต้น

  • 68

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    5.2 ความผูกพันของบุคลากร (Workforce Engagement)

    ก. ผลการปฏิบัตงิานของบุคลากร (Workforce Performance)

    5.2 ก (1) องค์ประกอบของความผูกพัน (Elements of Engagement)

    ผู้บริหาร สถาบัน ฯให้ความส าคัญต่อการสร้างความผูกพันระหว่างบุคลากร ผู้บริหารและองค ์ โดยผู้บริหาร หัวหนา้ฝ่าย และบุคลากรได้ร่วมกันก าหนดองค์ประกอบส าคัญที่ส่งผลตอ่ความผูกพันและความพงึพอใจของบุคลากร โดยให้มีความสอดคล้องกับพันธกิจ และวิสัยทัศน์ขององคก์ร เพื่อน ามาสรา้งเป็นแบบสอบถาม และให้บุคลากรท าแบบสอบถาม เพื่อน ามาประเมินผล วิเคราะห์เพื่อหาปัจจัยส าคัญท่ีมีผลต่อความผูกพันและความพงึพอใจของบุคลากรตามประเด็น ดังนี้ (1) ด้านงานในความรับผิดชอบ (2) ด้านสภาพแวดลอ้มในการท างาน ( 3) ด้านผู้น าและวัฒนธรรมในองค์กร ( 4) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ ( 5) ด้านโอกาสและความก้าวหนา้ทางอาชพีในองคก์ร ( 6) ด้านคุณภาพชีวิต (7) ด้านความสุข

    สถาบันฯ น าผลการประเมินความผูกพันในรอบปีการศึกษา 2557 ที่ผ่านมามาพัฒนาเพื่อสร้างความผูกพันและความพงึพอใจของบุคลาการ โดยก าหนดให้มีโครงการท่ีสง่เสริมความผูกพันของบุคลากรตอ่องค์กร บรรจุในแผนปฏบัิตงิานประจ าปขีองสถาบันฯ จ านวน 4 โครงการ ได้แก่ โครงการ เสริมสร้างก าลังใจและวัฒนธรรมองค์กร (Birthday Gifts)โครงการสุนทรียสนทนา จิบน้ าชายามบ่าย โครงการกิจกรรมวันขึน้ปีใหม่ และโครงการ พัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างศักยภาพและคุณภาพในการปฏบัิตงิาน ซึ่งแต่ละโครงการ มีการจัดท าแบบประเมินผลความพงึพอใจและความไม่พงึพอใจของบุคลากรเพื่อน าผลของการประเมินในแต่ละโครงการมาเปรียบเทียบและก าหนดเป้าหมายไวใ้นแผนงานในรอบปีถัดไป เพื่อให้ครอบคุลมทุกประเด็นตามความส าคัญและความจ าเป็น

    นอกจากนี้ สถาบันฯ เน้นการท างานเป็นทีม ซึ่งเป็นวธีิหน่ึงท่ีช่วยสง่เสริมให้บุคลากรมคีวามมั่นใจในความสามารถของตน และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานที่ได้ปฏบัิตร่ิวมกับเพื่อนในทีม นอกจากนี้ยังช่วยฝึกฝนให้บุคลากรเป็นผู้ฟังท่ีด ียอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ืน มกีารดูแลช่วยเหลอื และไตถ่ามทุกข์สุขของกันและกันอย่างสม่ าเสมอ จนบุคลากรทุกคนรูส้ึกเหมอืนเป็นญาตพิี่นอ้งในครอบครัวเดียวกัน ส่งผลให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียว และเกิดความผูกพันกับสถาบันฯ

    5.2 ก (2) วัฒนธรรมองค์กร(Organizational Culture)

    สถาบันฯ ก าหนดวัฒนธรรมองค์กรคือ “ เป็นองค์กรท่ีให้บริการวิชาการด้านวัฒนธรรมอยา่งมีคุณภาพเพื่อประโยชนส์่วนรวม” โดยมีจุดเนน้ส าคัญคือการท างานแบบมสี่วนร่วม การให้ความส าคัญกับการสื่อสารภายในองคก์ร และมุ่งเนน้การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จากวัฒนธรรมองค์กรท่ีบุคลากรทุกคนรว่มกันก าหนดจึงเป็นเสมอืนบุคลิกภาพและจิตวญิญาณของสถาบันฯ ส่งผลต่อพฤตกิรรมการท างานของบุคลากรให้มีลักษณะเด่น 5 ประการคือ

    ( 1)ความสามัคคี : บุคลากรสถาบันฯมคีวามผูกพันใกล้ชิดเหมอืนคนในครอบครัวเดียวกัน มีน้ าใจชว่ยเหลอืซึ่งกันและกัน ถึงแมบ้างครัง้มคีวามคิดเห็นไม่ตรงกัน แต่รู้จักให้อภัย

    (2)ความคิดสร้างสรรค์ :บุคลากรสถาบันฯมคีวามรู้ ความสามารถ และความช านาญเฉพาะด้าน สามารถน ามาประยุกตใ์ชใ้นการสร้างผลิตภัณฑ์/บริการท่ีหลากหลาย ส่งผลดีต่อภาพลักษณ์ของสถาบันฯ ในการให้บริการวิชาการด้านวัฒนธรรมดว้ยผลงานสร้างสรรค์ซึ่งมคีวามโดดเด่น

  • 69

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ( 3)ความมุ่งมั่นให้เกิดผลส าเร็จของงาน : บุคลากรสถาบันฯได้รับมอบหมายให้ท างานตรงตามความรู้ความสามารถ และสถาบันฯเปิดโอกาสให้มีอิสระทางความคิด บุคลากรจึงท างานด้วยใจรัก และถือวา่งานในหน้าท่ีเป็นงานท่ีท้าทาย ในขณะเดียวกันระบบการท างานเป็นทีมแบบข้ามสายงานก็ชว่ยให้บุคลากรมโีอกาสได้เรียนรู้งานอ่ืนๆเพิ่มเตมิอยา่งรอบด้าน และได้เพิ่มพูนทักษะความช านาญจนสามารถท างานแทนบุคลากรอื่นในยามจ าเป็นได้ นอกจากนี้ต าแหนง่งานท่ีท ายังมคีวามมั่นคงสูง เพราะเป็นงานท่ีอยูภ่ายใตก้ารก ากับดูแลของมหาวทิยาลัยซึ่งเป็นหนว่ยงานของรัฐ บุคลากรส่วนใหญ่จึงเห็นว่าปัจจัยเหลา่นีส้่งผลให้เกิดความมุง่มั่นท่ีจะท างานอยา่งเต็มท่ี

    (4)การมจีิตบริการแก่ลูกค้า : บุคลากรสถาบันฯส่วนใหญ่มภีูมิล าเนาอยู่ในพื้นท่ีภาคใต ้และเป็นศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย จึงมีความใกล้ชดิคุ้นเคยและเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นได้อยา่งลุ่มลึก สามารถน ามาปรับใชใ้นการให้บริการลูกค้าได้อยา่งถูกตอ้งและเหมาะสม แม้จะมีเหตุการณ์ความไม่สงบเกิดขึ้นอยู่เนอืงๆ แต่บุคลากรของสถาบันฯ มคีวามเห็นว่าควรพลกิวิกฤตให้เป็นโอกาส โดยมุ่งสร้างความประทับใจให้แกลู่กค้าด้วยการยึดถอืลูกค้าเป็นศูนย์กลาง และมุ่งเนน้การมีจิตบริการ เห็นได้จากการจัดโครงการ/กิจกรรมตา่งๆ ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดยีิ่งจากลูกค้าที่อยู่ในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต ้โดยส่วนใหญ่เป็นลูกค้าท่ีมาใชบ้ริการของสถาบันฯ อยา่งต่อเนื่อง โดยมีลูกค้าตัง้แต่รุ่นปู่ย่าตายาย รุน่พ่อแม ่จนกระทั่งถึงรุ่นลูก-รุ่นหลาน ด้วยเหตุผลท่ีส าคัญประการหนึ่งก็คือบุคลากรของสถาบันฯ มีความเป็นกันเอง มนี้ าใจ และมีมนุษยสัมพันธ์

    (5)การค านึงถึงผลท่ีมีต่อสังคม: บุคลากรสถาบันฯได้รับการปลูกฝังและถ่ายทอดจากบุคลากรรุ่นเก่าให้ยดึถือปณิธาน “ประโยชนข์องเพื่อนมนุษยเ์ป็นกิจท่ีหน่ึง ( Our Soul is for the Benefit of Mankind)” เป็นหลักในการท างาน เป้าหมายในการท างานของบุคลากรจึงมุง่สร้างประโยชนต์อ่สังคม ทัง้การศึกษาวิจัย การให้บริการวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม การให้บริการเยี่ยมชมหอศิลป์ หอวัฒนธรรมและพพิธิภัณฑ ์ฯลฯ กล่าวได้วา่การด าเนนิงานของสถาบันฯ เป็นท่ีรู้จักอย่างกว้างขวางท่ัวภาคใต ้และภูมิภาคอื่นของประเทศ รวมไปถึงประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียง เห็นได้จากหลายโครงการได้รับการตอบรับอย่างดยีิ่งจากสังคม และมีการด าเนินงานอย่างตอ่เนื่อง เชน่ การจัดงานมหกรรมศลิปวัฒนธรรม ด าเนินงานมายาวนานกว่า 20 ป ี

    5.2 ก (3) การจัดการผลการปฏิบัติงาน(Performance Management)

    สถาบันฯมรีะบบการจัดการผลการปฏบัิตงิานของบุคลากรออกเป็น 2 ส่วนคอื การประเมินสมรรถนะหลัก(Competency) ซึ่งใชว้ธีิการประเมิน 360 องศา และการประเมินผลการปฏบัิตงิานตามค ารับรอง โดยด าเนินการในรูปแบบและแนวทางการประเมินแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ประเมิน และผู้รับการประเมิน

    1. ผู้ประเมิน อยูใ่นรูปของคณะกรรมการจ านวน 2 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการชุดท่ี 1 ท าหนา้ที่พจิารณาตรวจสอบผลการปฏบัิตงิานของบุคลากร โดยก าหนดหลักเกณฑ์การให้คะแนน ประกาศเกณฑ์ต่างๆ ให้บุคลากรได้รับ ทราบ ได้แก่ เกณฑก์ารให้คะแนน การประมวลผลคะแนน และผู้ให้ขอ้มูล โดยการสอบถาม-สัมภาษณ ์รวมท้ังการชี้แจงจุดออ่น จุดแข็งของผู้รับการประเมิน ส่วนคณะกรรมการชุดท่ี 2 ท าหนา้ที่กลั่นกรองผลการให้คะแนนประเมินของคณะกรรมการชุดท่ี 1 และพิจารณาลงความเห็นพร้อมท้ังสง่การรายงานผลให้ผู้บริหารสูงสุดของมหาวทิยาลัยได้รับทราบและพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดอืน/เพิ่มค่าจ้าง

    2. ผู้รับการประเมิน ได้แก่ บุคลากรทุกคนของสถาบันฯ ซึ่งมีส่วนร่วมในการประเมินโดยการรับรู้และยอมรับหลักเกณฑ์ วิธีการและเป้าหมายในการประเมิน รวมท้ังมีการจัดท าข้อตกลงร่วมกับผู้บังคับบัญชาเบือ้งต้นก่อน

  • 70

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ถึงรอบการประเมินภายหลังทราบผลการประเมินจะได้รับค าอธิบายช้ีแจงวิธีการปรับปรุงและพัฒนาตนเองและพัฒนางานเป็นรายบุคคลอย่างเหมาะสม และเป็นท่ียอมรับโดยมีการแบ่งผู้รับการประเมินออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะงานคือ (1) กลุ่มหัวหนา้ฝ่ายเป็นกลุ่มบุคลากรท่ีมีต าแหนง่บริหาร มี 2 ฝ่ายได้แก ่หัวหนา้ฝ่ายสนับสนุนบริหาร และหัวหนา้ฝ่ายวจิัย พัฒนา และส่งเสริมวัฒนธรรม (2) กลุ่มบุคลากร ผู้ปฏบัิตงิานแบ่งตามฝ่ายงานท่ีรับผิดชอบ มี 2 ฝ่ายคอื ฝ่ายสนับสนุนบริหารและฝ่ายวิจัย พัฒนา และส่งเสริมวัฒนธรรม

    แผนภาพที 5.2-1 ขั้นตอนการประเมนิผลการปฏิบัติงานบุคลากรสถาบันฯ

    สถาบันฯ ก าหนดวธีิการพัฒนาบุคลากร เมื่อสิน้สุดรอบปีการประเมินผลการปฏบัิตงิานของบุคลากร สถาบันฯ ได้มีการทบทวนสรุปประเด็นปัญหา และความจ าเป็นเร่งดว่นท่ีต้องการพัฒนาของบุคลากร โดยสถาบันฯ ได้ก าหนดแผนพัฒนารายบุคคลขึ้น เพื่อสามารถปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาบุคลากรได้อยา่งเป็นรูปธรรม

    ก าหนดข้อตกลงภาระงาน (TOR)

    นโยบายสถาบันฯ Job Description

    แผนปฏบัิติงานประจ าปี

    ดัชนีชี้วัดหลัก (KPIs) สถาบันฯ

    หัวหน้าฝ่าย

    ผลงานประจ า (80%) - งานในหน้าที่ความรับผิดชอบ ตาม Job Description40% - งานบรหิาร 40% ผลงานเชิงพัฒนา/พิเศษอ่ืนๆ - งานเชิงพัฒนา 10% - งานพิเศษ 10%

    บุคลากร (ผู้ปฏบัิติงาน)

    ผลงานประจ า (80%) - งานในหน้าที่ความรับผิดชอบ (งานหลักตามJob Description) 60% - งานในหน้าที่ความรับผิดชอบ (งานรอง) 20% ผลงานเชิงพัฒนา/พิเศษอ่ืนๆ - งานเชิงพัฒนา 10% - งานพิเศษ 10%

    การประเมนิผล โดยคณะกรรมการประเมนิผลการปฏบัิติงาน (กรรมการชุดท่ี 1) และคณะกรรมการกลั่นกรอง (กรรมการชุดท่ี 2) ประเมนิผลการปฏบัิติงานตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน (TOR) 80% ประเมนิความสามารถเชิงสมรรถนะ (Competency) 20%

    ผลการประเมนิ

    การเลื่อนขั้นเงินเดอืน การพัฒนา การพิจารณาความดีความชอบ

  • 71

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ส าหรับการบริหารค่าตอบแทน สถาบันฯ ใชห้ลักธรรมาภบิาลมาบริหารจัดการองคก์ร เพื่อให้บุคลากรทุกคนเกิดความมั่นใจสูงสุดตอ่ผลท่ีได้รับจากการปฏบัิตงิานวา่มีความเสมอภาคและยุติธรรม ดังนี้

    - การพจิารณาเลื่อนขัน้เงินเดอืน/เพิ่มค่าจ้าง กระท าทุกรอบ 6เดอืน โดยก าหนดให้บุคลากรทุกคนรายงานผลการปฏบัิตงิาน (TOR) ตามรอบการประเมิน เพื่อพจิารณาจ่ายคา่ตอบแทนให้สอดคล้องกับตามปริมาณงานและคุณภาพงานของบุคลากรในรอบการประเมินนัน้ๆ โดยมีคณะกรรมการท าหน้าท่ีตรวจสอบและประเมินให้คะแนนตามเกณฑ์ของมหาวทิยาลัย และตามเกณฑภ์ายในสถาบันฯ ซึ่งได้จากการประชุมตกลงร่วมกันเป็นการเฉพาะเพื่อให้ สอดคล้องกับลักษณะงานของบุคลากรทุกฝ่าย เมื่อได้ขอ้สรุปผลคะแนนการประเมินแลว้ก็จะแจ้งให้บุคลากรรับทราบอย่างท่ัวถึง เพื่อให้เป็นไปตามหลักการท างานที่มุง่เนน้ความโปร่งใส ไมเ่ลอืกปฏบัิต ิและตรวจสอบได้

    - การให้เงินค่าตอบแทนพิเศษส าหรับบุคลากรท่ีปฏบัิตงิานในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใตส้ถาบันฯ ยึดตามหลักเกณฑ์ของมหาวทิยาลัยฯ ส าหรับเงินรางวัลประจ าปี พิจารณาตามผลการปฏบัิตงิาน

    นอกจากนี้สถาบันฯ มกีารให้เงินค่าตอบแทนประจ าต าแหนง่ส าหรับหัวหน้า ฝ่ายและมีการยกย่องชมเชย สถาบันฯ มีประกาศผลการปฏบัิตงิานทางเว็บไซต์สถาบันฯ และบอร์ดประชาสัมพันธ์รวมถึงประกาศยกย่องชมเชยแก่ผู้ท่ีท าชื่อเสียงให้แกห่นว่ยงาน เช่น การไปน าเสนอผลงานวจิัย ผลงานเชงิพัฒนาฯ เป็นต้น

    ข. การประเมินความผูกพันของบุคลากร (Assessment of Workforce Engagement)

    5.2 ข (1) การประเมินความผูกพัน(Assessment of Engagement) สถาบันฯมกีระบวนการประเมินความผูกพันของบุคลากรอย่างเป็นทางการโดยใชแ้บบประเมินความผูกพัน มี

    องคป์ระกอบ7 ด้าน ผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรด้านงานในความรับผิดชอบ อยูใ่นระดับดี ( 3.74) ด้านสภาพแวดลอ้มในการท างาน อยู่ในระดับดี ( 3.70) ด้านผู้น าและวัฒนธรรมในองค์กร อยูใ่นระดับปานกลาง (2.99) ด้านคา่ตอบแทนและสวัสดิการ อยูใ่นระดับปานกลาง ( 3.23) ด้านโอกาสและความก้าวหนา้ทางอาชพี อยู่ในระดับปานกลาง (3.02) ด้านคุณภาพชวีติ อยู่ในระดับดี ( 3.69) และด้านความสุข อยู่ในระดับดี ( 4.07) และผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรในภาพรวมอยูใ่นระดับปานกลาง(3.49) ส าหรับการประเมินความผูกพันอยา่งไมเ่ป็นทางการ ประเมินจากการมสี่วนร่วมของบุคลากรในกิจกรรม/โครงการตา่งๆท่ีสถาบันฯจัดขึน้ โดยบุคลากรส่วนใหญ่ร้อยละ 95ให้ความร่วมมอืเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ อาทเิชน่ กิจกรรม 5 ส และ Big Cleaning Day กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) กิจกรรมพัฒนาบุคลากร กิจกรรมสร้างสุของค์กร เป็นต้น

    5.2 ข (2) ความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ทางธุรกจิ/กจิการ(Correlation with Business Results) จากผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรตอ่องค์กรพบวา่ บุคลากรส่วนใหญ่มคีวามผูกพันต่อองคก์ร อยู่ในระดับดี การท่ีบุคลากรมคีวามผูกพันต่อองคก์รอยูใ่นระดับดี เป็นตัวช้ีวัดวา่การด าเนนิงานของสถาบันฯ/ผลลัพธ์ทางธุรกิจจะมแีนวโนม้ท่ีด ี อาทิ ผลลัพธ์ดา้นผลิตภัณฑแ์ละกระบวนการ จ านวนโครงการและร้อยละความพงึพอใจของลูกค้า/ผู้รับบริการท่ีน่าจะมีแนวโนม้เพิ่มขึ้น ทัง้นี้ สถาบันฯได้น าผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรตอ่องค์กรมาสื่อสารกับบุคลากรเพื่อเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ทางธุรกิจ เชน่ น าผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรด้านโอกาสและความก้าวหนา้ทางอาชพีในองคก์รมาปรับปรุงผลิตภัณฑ์/บริการท่ีมีความหลากหลายของรูปแบบการให้บริการเพื่อสร้างความประทับใจให้กับลูกค้า/ผู้รับบริการ เป็นต้น นอกจากนี้สถาบันฯ ได้สนับสนุนให้บุคลากรเพิ่มทักษะในการปฏบัิตงิานโดยจัดวิทยากรให้ความรู้ จัดส่งบุคลากรเข้าร่วมฝึกอบรมฯ เพ่ือเพิ่มขดีความสามารถในการให้บริการ

  • 72

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ค. การพัฒนาบุคลากรและผู้น า(Workforce and Leader Development)

    5.2 ค (1) ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา(Learning and Development System)

    สถาบันฯใชข้้อมูลจากแบบส ารวจ และข้อมูลจาก TORs รายบุคคลเกี่ยวกับความต้องการในการพัฒนาตนเองในดา้นตา่งๆ มาจัดท าแผนพัฒนาบุคลากร และจัดกิจกรรมสง่เสริม สนับสนุนให้บุคลากรได้รับการพัฒนา นอกจากนี้สถาบันฯได้ใชว้ธีิการดัง ตอ่ไปน้ี ในการพิจารณาเพื่อการด าเนินงานเกี่ยวกับระบบการเรียนรู้และการพัฒนาส าหรับบุคลากรและผู้น าของสถาบันฯ

    1. สถาบันฯมสีมรรถนะหลักคือ “การให้บริการวิชาการด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต”้ และถือเป็นความท้าทายเชงิกลยุทธ์ ทัง้ในแงข่องพืน้ท่ีท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และภารกิจหลักของการให้บริการวิชาการด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ท้ังน้ีเพื่อให้ด าเนนิงานสามารถบรรลุผลส าเร็จตามเป้าหมายท่ีก าหนดไว้ สถาบันฯ ได้ใชแ้นวทางของระบบ Succession planningมาพัฒนาองค์กรให้เตบิโตอยา่งตอ่เนื่อง โดยมุ่งเนน้การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรเป็นส าคัญ มีการสร้างแรงจูงใจให้แกบุ่คลากรท่ีต้องการความก้าวหนา้ และป้องกันความเสี่ยงจากการออกจากงานของบุคลากร ดังนี ้ - มุง่เนน้ “คนมคีุณภาพ” โดยการเพิ่มพูนศักยภาพของบุคลากรปัจจุบัน เชน่ ก าหนดให้บุคลากรและหัวหน้าฝ่ายเข้ารับการอบรม สัมมนา ในประเด็นท่ีตรงตามสายงานท่ีรับผิดชอบ หรอืเกี่ยวข้องกับหน้าท่ีงาน อย่างนอ้ยปีละ1ครัง้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

    - มุง่เนน้การพัฒนาบุคลากรอยา่งต่อเนื่อง โดยก าหนดแผนพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคลไวใ้นการ รายงานผลการปฏบัิตงิาน ( TORs) ตามรอบการประเมิน และมีการสรุปผลการพัฒนาตนเองและพัฒนางานของบุคลากรเมื่อสิ้นสุดรอบปีการประเมิน เพื่อเนน้ความสามารถในการจัดการตนเองอยา่งมีประสิทธิภาพของบุคลากร

    - มุง่เนน้การรักษาบุคลากรท่ีมีอยู ่โดยเสริมสร้างความมั่นคงในอาชพี มีการก าหนดเส้นทางความ ก้าวหนา้ในอาชพีอยา่งเป็นระบบ รวมท้ังมีการเสริมสร้างขวัญและก าลังใจในการท างาน การเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรผ่านโครงการและกิจกรรมตา่งๆ ได้แก่ การจัดโครงการ เสริมสร้างก าลังใจและวัฒนธรรมองค์กร (Birthday Gifts)โครงการสุนทรียสนทนา จิบน้ าชายามบ่าย โครงการกิจกรรมวันขึน้ปีใหม่ และโครงการ พัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างศักยภาพและคุณภาพในการปฏบัิตงิาน

    - มุง่เนน้การคัดเลอืกบุคลากรท่ีมีคุณภาพเข้ามาท างาน โดยก าหนดคุณสมบัตขิองผู้ท่ีจะเขา้มา ท างานในสถาบันฯ ให้สอดคลอ้งกับภารกิจหลัก และสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงได้ตามบริบทของสังคมในประเทศ สังคมเพื่อนบ้าน และสังคมโลก ทัง้นี้สถาบันฯ ได้ใชว้ธีิคัดเลอืกอยา่งเป็นทางการ เพื่อให้ได้บุคลากรตรงตามความตอ้งการของสถาบันฯ

    - มกีารปรับปรุงสภาพแวดลอ้มในการท างานและมีอุปกรณ/์เครื่องมือส าหรับการท างานที่เหมาะสม เพื่อให้บุคลากรมคีวามสุขกับการท างานและเอ้ือต่อการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เพื่อเพิ่มผลิตภาพของงานอยา่งสม่ าเสมอ

    2. การปรับปรุงผลการด าเนนิการขององคก์ร และนวัตกรรม :สถาบันฯ ได้ด าเนินการดังนี ้

    - ก าหนดเป้าหมายให้สถาบันฯ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้แบบมุง่สู่ความเป็นเลิศในการให้บริการด้าน

    วัฒนธรรม โดยสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรได้ยกระดับความรู้ความสามารถอย่างท่ัวถึง ได้แก่ การจัดสรรทุนให้

    บุคลากรได้ผลิตผลงานวจิัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ท่ีสอดคล้องกับภารกิจ และพันธกิจของสถาบันฯ ทัง้การวจิัย

    รายบุคคล และการวจิัยเป็นทีม มกีารสนับสนุนให้บุคลากรได้ศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น รวมท้ังสนับสนุนให้บุคลากร

    ประสานความรว่มมือกับหน่วยงานอ่ืนๆ เพื่อผลิตผลงานดา้นวัฒนธรรมให้แก่สังคม

  • 73

    รายงานประจ าปีการประเมินคุณภาพ ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ปีการศึกษา 2558

    สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    - ก าหนดแผนงานปรับปรุงระบบเทคโนโลยสีารสนเทศ โดยมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบจัดท าระบบ

    ฐานขอ้มูลดา้นวัฒนธรรม เพ่ือเผยแพร่ผลงานของสถาบันฯ ให้มีความแพร่หลายมากขึน้ ทัง้ในรูปแบบของรายงานวจิัย

    บทความวิจัย บทความวิชาการ และสื่อเสียงในรายการวทิยุ “รักษว์ัฒนธรรม” ซึ่งเป็นผลงานของบุคลากรในสถาบันฯ

    - สร้างระบบเครอืขา่ยออนไลนใ์นเว็บไซต์ของสถาบันฯ ทัง้ภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพ่ือขยาย

    ฐานความรู้โดยการเชื่อมโยงกับแหลง่ข้อมูลดา้นศลิปวัฒนธรรมจากหนว่ยงานอื่น และเป็นการเปิดพรมแดนเครอืขา่ย

    กับต่างประเทศ เพื่อตอบสนองตอ่การเข้าสูป่ระชาคมอาเซียน

    3. จรยิธรรมและวธีิปฏบัิตทิางธุรกิจ /กิ�