510 กิจกรรมที่ 4-1

31
ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร เอกสารศึกษาดวยตนเอง 55 สาขาคอมพิวเตอร สําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กิจกรรมที4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร 1. จุดประสงค ใหผูเรียนสามารถ 1.1 บอกชื่อและหนาที่ของสวนประกอบตางๆ บนไมโครคอมพิวเตอร 1.2 บอกลําดับขั้นตอนการถอดสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร 1.3 ถอดสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร 1.4 บอกชื่อ และหนาที่ของสวนประกอบบนเมนบอรด 1.5 บอกลําดับและขั้นตอนการประกอบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร 1.6 แกไขปญหาพื้นฐานของไมโครคอมพิวเตอร 1.7 เลือกซื้อสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร 2. แนวคิด ปจจุบันไดนําไมโครคอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอนมากขึ้น ผูสอนควรจะมีความรูระดับ หนึ่ง ซึ่งสามารถแกปญหาการใชงานไมโครคอมพิวเตอรไดทั้งในเรื่องฮารดแวรและซอฟตแวร ตลอด จนวิเคราะหปญหาพื้นฐานที่เกิดขึ้นกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร และมีความรูเกี่ยวกับการเลือกซื้อสวน ประกอบของไมโครคอมพิวเตอรใหเหมาะสมกับการใชงาน 3. สื่ออุปกรณ 3.1 ใบงาน ใบงานทีเรื่อง เวลา (นาที) 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร การถอดสวนประกอบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร สวนประกอบบนเมนบอรด การประกอบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร การเลือกซื้อสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร 20 60 60 40 100 3.2 ใบความรู - ใบความรูที4.1 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร - ใบความรูที4.2 การถอดสวนประกอบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร - ใบความรูที4.3 สวนประกอบบนเมนบอรด - ใบความรูที4.4 ขั้นตอนการประกอบเครื่อง ปญหาและแนวทางการแกไข

Upload: sarawut4233

Post on 22-Nov-2014

927 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 55 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 4สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

1. จุดประสงค ใหผูเรียนสามารถ1.1 บอกชื่อและหนาที่ของสวนประกอบตางๆ บนไมโครคอมพิวเตอร1.2 บอกลําดับขั้นตอนการถอดสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร1.3 ถอดสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร1.4 บอกชื่อ และหนาที่ของสวนประกอบบนเมนบอรด1.5 บอกลําดับและขั้นตอนการประกอบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร1.6 แกไขปญหาพื้นฐานของไมโครคอมพิวเตอร1.7 เลือกซื้อสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

2. แนวคิดปจจุบันไดนําไมโครคอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอนมากขึ้น ผูสอนควรจะมีความรูระดับ

หนึ่ง ซ่ึงสามารถแกปญหาการใชงานไมโครคอมพิวเตอรไดทั้งในเรื่องฮารดแวรและซอฟตแวร ตลอดจนวิเคราะหปญหาพื้นฐานที่เกิดขึ้นกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร และมีความรูเกี่ยวกับการเลือกซื้อสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอรใหเหมาะสมกับการใชงาน

3. สื่ออุปกรณ3.1 ใบงาน

ใบงานที่ เร่ือง เวลา (นาที)4.14.24.34.44.5

สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอรการถอดสวนประกอบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอรสวนประกอบบนเมนบอรดการประกอบเครื่องไมโครคอมพิวเตอรการเลือกซื้อสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

20606040100

3.2 ใบความรู- ใบความรูที่ 4.1 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร- ใบความรูที่ 4.2 การถอดสวนประกอบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร- ใบความรูที่ 4.3 สวนประกอบบนเมนบอรด- ใบความรูที่ 4.4 ขั้นตอนการประกอบเครื่อง ปญหาและแนวทางการแกไข

Page 2: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 56 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- ใบความรูที่ 4.5 การเลือกซื้อสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร3.3 อ่ืนๆ

- เครื่องคอมพิวเตอร 10 ชุด ที่มีหมายเลขติดบนสวนประกอบภายใน และตัวอักษรติดบนตําแหนงตางๆ บนเมนบอรด

- ชุดเครื่องมือถอดประกอบคอมพิวเตอร 10 ชุด (ไขควง,ไฟฉาย,ถวยใสน็อต)- บัตรอธิบายหนาที่สวนประกอบภายในไมโครคอมพิวเตอร และบัตรลําดับการถอดอุปกรณ 10

ชุด- ใบรายการสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอรพรอมราคา

4. ขั้นตอนดําเนินการ4.1 การจัดเตรียม

4.1.1 นําหมายเลขไปติดบนสวนประกอบตางๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร (สําหรับใบงาน 4.1)4.1.2 นําตัวอักษรไปติดที่ตําแหนงตางๆ บนเมนบอรดใหสอดคลองกับชื่อในใบงาน 4.3 (สําหรับ

ใบงาน 4.3)4.1.3 แบงกลุมผูเรียนเปนกลุม ดวยการเลือกผูชํานาญการประจํากลุมอยางนอย 1 คนและจับสลาก

สมาชิกของกลุม เพื่อใหแตละกลุมมีสมาชิก 4 – 5 คน4.1.4 ใบงานที่ 4.1 – 4.5 ตามจํานวนกลุม และใบความรูที่ 4.1 – 4.5 ตามจํานวนผูเรียน

4.2 ขั้นตอนการดําเนินการ4.2.1 ใหผูเรียนแตละคนศึกษาใบความรูที่ 4.1 และทําใบงานที่ 4.1 รวมกันภายในกลุม4.2.2 ผูสอนแจกชุดอุปกรณกลุมละ 1 ชุด สําหรับใชทําใบงานที่ 4.2 ประกอบดวย

1) บัตรอธิบายหนาที่ของสวนประกอบภายในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร2) ชุดเครื่องมือถอดประกอบคอมพิวเตอรกลุมละ 1 ชุด (ไขควง, ไฟฉาย, ถวยใสน็อต)

4.2.3 ใหผูเรียนทั้งกลุมรวมกันทําใบงานที่ 4.2 โดยใหผูเรียนแตละคนรวมกันศึกษาจากใบความรูที่ 4.2

4.2.4 ใหผูเรียนศึกษาใบความรูที่ 4.3 และทําใบงานที่ 4.34.2.5 ใหผูเรียนในกลุมรวมกันทําใบงานที่ 4.4 โดยศึกษาจากใบความรูที่ 4.4 และใหผูเรียน

ประกอบเครื่องคอมพิวเตอรกลับคืนตามลําดับยอนหลังจากการถอดสวนประกอบ แลวใหผูสอนตรวจสอบ การประกอบเครื่องคอมพิวเตอรกอนทําการทดสอบ

4.2.6 ใหผูเรียนทั้งกลุมรวมกันศึกษาใบความรูที่ 4.5 และทําใบงานที่ 4.5 รวมกันในกลุม4.2.7 ใหสมาชิกในแตละกลุมนําผลลัพธที่ไดมาอภิปราย และสรุปผลลัพธรวมกัน4.2.8 สุมตัวแทนของแตละกลุมมาสรุปผลลัพธที่ไดจากใบงานที่ 4.1 ถึงใบงานที่ 4.5 ตามลําดับ

Page 3: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 57 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

5. การวัดผลและประเมินผล5.1 ผูสอนสังเกตการทํางานของผูเรียน แลวประเมินผลตามแบบประเมินผลแบบ ก. และแบบ ข.5.2 ผูสอนตรวจสอบความถูกตองในการถอดและประกอบเครื่องคอมพิวเตอร แลวประเมินผลตามแบบ

ประเมินผลแบบ ก. และแบบ ข.

6. แหลงขอมูลเพิ่มเติม6.1 หนังสือคอมพิวเตอรเขาใจงาย สไตล 3 มิติ เรียบเรียงโดย พงษระพี เตชพาหพงษ6.2 หนังสืออัปเกรดและ ซอม PC เขาใจงาย สไตล 3 มิติ เรียบเรียงโดย พงษระพี เตชพาหพงษ6.3 หนังสือเลือกซื้อคอมพิวเตอรและอุปกรณประกอบตางๆ เรียบเรียงโดย มโน มงคลธนานนท6.4 หนังสือประกอบคอมพิวเตอรอยางเซียนพันธุทิพย โดย ภีรพล คชาเจริญ6.5 หนังสือผาคอมพิวเตอร โดย อนิรุทธิ์ รัชตะวราห และ วศิน เพิ่มทรัพย6.6 หนังสือเรียนวิชาคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร ของ สสวท.6.7 http://oho.ipst.ac.th6.8 http://www.byxtreme.com6.9 http://www.hardwarecentral.com6.10 http://www.vision4d.com

7. ขอเสนอแนะ7.1 การทํากิจกรรมใบงานที่ 4.1 จะใชเครื่องคอมพิวเตอรประมาณ 10 เครื่อง โดยเปดฝาครอบเครื่อง

ออก แลวนําตัวเลข (1-15) ไปติดที่อุปกรณ เพื่อใหผูเรียนใชทําใบงาน7.2 การจัดกิจกรรมใบงานที่ 4.2 จะตองใชบัตรอธิบายหนาที่สวนประกอบภายในเครื่องไมโคร

คอมพิวเตอร7.3 การทํากิจกรรมใบงานที่ 4.3 จะตองติดหมายเลขบนตําแหนงตางๆ บนเมนบอรดของเครื่อง

คอมพิวเตอร 10 เครื่อง7.4 การทํากิจกรรมใบงานที่ 4.4 หลังจากผูเรียนประกอบเครื่องคอมพิวเตอรเสร็จเรียบรอยแลว ใหผู

สอนทําการทดสอบเครื่องวาประกอบเครื่องอยางถูกตองหรือไม โดยนําเครื่องคอมพิวเตอรที่ผูเรียนประกอบแลวนั้นมาทําการติดตั้งจอภาพ แผงแปนอักขระ เมาส แลวเสียบสายไฟ จากนั้นสังเกตหนาจอภาพขณะที่เครื่องกําลังตรวจเช็คอุปกรณ (Boot)

7.5 การทําใบงานที่ 4.5 จะใชใบรายการราคาอุปกรณที่เปนปจจุบัน โดยสามารถดูตัวอยางจากรานคา สืบคนจากเวบไซตที่จําหนายอุปกรณ และนิตยสารคอมพิวเตอรรายเดือน

Page 4: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 58 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ตําแหนงหมายเลขที่ใชติดบนสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร สําหรับใบงานที่ 4.1

1 = CPU FAN2 = Power Supper3 = Hard disk4 = Floppy Drive5 = CD Rom6 = VGA Card7 = LAN Card8 = พัดลมดูดอากาศ

9 = Case10 = สาย Floppy disk11 = สาย Hard Disk12 = RAM13 = Battery14 = ขั้วสายไฟแบบ ATX15 = ลําโพง

ตําแหนงตัวอักษรที่ใชติดบนเมนบอรด สําหรับใบงานที่ 4.3

A = Processor socketsB = Memory SlotC = JumperD = PCI SlotE = AGP SlotF = Port KeyboardG = ConnectorH = Chip BIOSI = Chip SetJ = Port แบบอนุกรมK = Port แบบขนาน

Page 5: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตสําหรับครูเทคโนโล

บัตรอธิบายหนาที่ของสวนประกอบภายในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร

ใหพิมพบัตรอธิบายหนาที่ของสวนประกอบภายในเครื่องไมโครคอมพิวเตอรดวยกระดาษการดสี แลวตัดไปใชในใบงานที่ 4.2 กลุมละ 1 ชุด

เปเชน กท่ีผูใชกหนวยจะตองSocke

หนวซึง่สามมาจากตําแหนSD RAเมนบอ

หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือ CPU

นหนวยท่ีทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอุปกรณตางๆ และการประมวลผลารบวก ลบ ตลอดจนเปรียบเทียบเงื่อนไขทางตรรกะ ตามคําสั่งในโปรแกรมําหนดขึ้น ประกอบดวยสองหนวยยอยคือ หนวยควบคุม (Control Unit) และคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit) ปจจุบันการเลือกใชซีพียูเหมาะกับเมนบอรด เชน CPU Pentium 4 ของบริษัทอินเทล ใชเมนบอรด

t 478 ขา

นเองยีสารสนเทศ

ยความจาํหลกั ทําหนารถเกบ็ไวไดชัว่คราว Random Access Mงทีเ่ลอืกได ปจจบุนัM / RD RAM การด

หนวยความจํา (Memory)

าทีเ่กบ็โปรแกรม ขอมลูและผลลพัธท่ีเกดิจากการประมวลผล เฉพาะในเวลาทีม่กีระแสไฟฟาเลีย้งวงจรเทานัน้ RAM ยอemory เปนหนวยความจาํทีส่ามารถเขยีนหรอือานขอมลูในแรมมหีลายชนดิ เชน ชนดิ EDO RAM / SD RAM / DDRรเลอืกใชแรมชนดิใด จะตองใหสอดคลองกบัคณุลกัษณะของ

59 สาขาคอมพิวเตอรสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 6: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเองสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ

แผงวงจรหลักหรือกลางในการเชื่อมตอของอฮารดดิสก วงจรควบคุมจพอรตสําหรับเชื่อมตอกับมาเพื่อใชงานรวมกับซีตองคํานึงถึง ซีพียูดวย

VGA ยอมาจาก Videoแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสจอภาพ คุณภาพของภาปจจุบันการดแสดงผลที่นแบบ 2 มิติและ3 มิติ ไดรทํางานของซีพียู ทําใหกา

ฮารดดิสกเปนจานดวยสารแมเหล็กบรรจุอยถาวร ไมขึ้นอยูกับกระแสเมนบอรด คือ E-IDE กับใชฮารดดิสก แบบ E-IDเซิรฟเวอร (Server)

แผงวงจรหลัก (Main board)

เมนบอรด เปนที่รวบรวมสวนประกอบหลักและเปนศูนยุปกรณตางๆ เชน ซีพียู แรม ฮารดดิสก ฟลอปปไดรฟอภาพ วงจรสังเคราะหเสียง วงจรควบคุมระบบเครือขายอุปกรณภายนอกฯลฯ แผงวงจรหลักแตละแบบจะออกแบบพียูรุนใดรุนหนึ่งเทานั้น ดังนั้นการเลือกใชเมนบอรด

E

การดแสดงผล (VGA Card)

Graphics Array แปลวาขบวนปรับภาพแบบวีดิทัศน เปนท่ีทําหนาที่นําขอมูลท่ีไดจากการประมวลผลมาแสดงบนที่ไดขึ้นอยูกับความสามารถของการดแสดงผลและจอภาพิยมใชเปนแบบ AGP ท้ังเนื่องจากสามารถแสดงภาพกราฟกดเร็วกวาการดแสดงผลแบบ PCI อีกท้ังยังลดภาระในการรทํางานโดยรวมของระบบดีขึ้น

บันูในไฟ S

ฮารดดิสก (Hard Disk)

ทึกขอมูลชนิดแข็ง สวนสําคัญคือ จานโลหะที่เคลือบกลองมิดชิด ใชเก็บขอมูลไดจํานวนมากและเก็บไดอยาง ฮารดดิสกแบงเปน 2 ชนิด ตามลักษณะการเชื่อมตอกับCSI คอมพิวเตอรท่ีใชงานทั่วไปตามสํานักงานสวนใหญ สวน SCSI นิยมใชกับคอมพิวเตอร ท่ีทําหนาที่เปน

60 สาขาคอมพิวเตอรสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 7: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเองสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ

ฟลอปปไดรฟ (Floppy Drive)

เปนอุปกรณอาน-เขียนขอมูลลงบนแผนดิสกเก็ตส ซึ่งที่มีใชอยูในปจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว ความจุ 1.44 เมกะไบต ใชสําหรับเก็บขอมูล โอนยายแฟมขอมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง หรือเปนแผนสําหรับบูตเครื่องคอมพิวเตอร ในกรณีท่ีฮารดดิสกมีปญหา

เครื่องอานแผนซีดสามารถเก็บขอมูลไดสท่ีมีขนาดคอนขางใหญ

เปนอุปกรณท่ีทํากับงานดานมัลติมีเดียไอินเทอรเน็ต คุณภาพขมาใชงานรวมกัน

ซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive)

ี ปจจุบันแผนซีดีมีตนทุนที่ตํ่ามาก แตในทางตรงกันขามูงถึง 650-800 เมกะไบต ทําใหมีผูนิยมนํามาใชเก็บขอมูลตาง ๆ เชน เพลง ภาพยนตร และขอมูลประเภทสื่อประสม

61 สาขาคอมพิวเตอรสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

การดเสียง (Sound Card)

หนาที่สังเคราะหเสียง ทําใหคอมพิวเตอรสามารถประยุกตใชดเปนอยางดี ไมวาจะเปนการดูภาพยนตร ฟงเพลง หรือองเสียงที่ไดขึ้นอยูกับคุณภาพของการดเสียง และลําโพงที่นํา

Page 8: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเองสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ

การดแลน (LAN Card)

การดควบคุมระบบเครือขาย ทําหนาที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอรต้ังแต 2 เครื่องขึ้นไปเขาดวยกันและทําใหคอมพิวเตอรท้ังสองสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลและแบงปนการใชทรัพยากรตาง ๆ ท่ีมีอยู เชน โปรแกรม แฟมขอมูล เครื่องพิมพ โมเด็ม ฯลฯ

พัดลม CPU (CPU Fan)

พัดลมระบายความรอน ในขณะที่ CPU ประมวลผล จะมีความรอนเกิดขึ้นจากการทํางานของวงจรตางๆ ภายใน CPU เปนจํานวนมาก พัดลมระบายความรอนเปนอุปกรณอีกชิ้นที่มีความจําเปน มิฉะนั้นแลวการประมวลผลของ CPU มีโอกาสผิดพลาดไดสูงและในบางครั้งก็อาจหยุดการทํางานได การเลือกใชพัดลมระบายความรอนจะตองคํานึงถึงยี่หอ และรุนของ CPU ดวย

ทําหนาที่แปลงตรง (DC) เพื่อจายกํากําลังไฟฟาของหมอแปไฟฟาขนาด250 วัตตปจจุบันมีอุปกรณมาต

หมอแปลงไฟฟา (Power Supply)

ไฟฟากระแสสลับ(AC) ขนาด 220 โวลต มาเปนไฟฟากระแสลังไฟฟาใหกับอุปกรณตางๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร หนวยวัดลงไฟฟาจะใชหนวยเปน “วัตต” (Watts) โดยปกติหมอแปลง ก็มีกําลังไฟฟาเพียงพอสําหรับใชกับคอมพิวเตอรโดยทั่วไปอพวงกับคอมพิวเตอรเพิ่มขึ้น อาจจะใชขนาด 300-350 วัตต

62 สาขาคอมพิวเตอรสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะผูจัดทํา

Page 9: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 63 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ใบงานที่ 4.1สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

สมาชิกกลุมที่………..………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………..

1. ใหผูเรียนแตละคนศึกษาใบความรูที่ 4.12. ใหผูเรียนในกลุมชวยกันพิจารณาสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอรที่จัดเตรียมไวให แลวบอกชื่อ

และหนาที่ของอุปกรณตามหมายเลขที่กําหนดให

หมายเลขที่ ชื่อสวนประกอบ หนาท่ี123456789101112131415

Page 10: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 64 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ใบงานที่ 4.2การถอดสวนประกอบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร

สมาชิกกลุมที่……………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใหผูเรียนแตละคนศึกษาใบความรูที่ 4.2 แลวชวยกันถอดสวนประกอบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ตามลําดับในการถอด แลวบันทึกผลของลําดับการถอดอุปกรณลงในตารางดานลางนี้

ชื่อสวนประกอบ ลําดับท่ีในการถอดอุปกรณคอมพิวเตอรCPUCPU FANMAINBOARDRAMHARD DISKFLOPPY DRIVECD-ROM DRIVEVGA CARDLAN CARDSOUND CARDPOWER SUPPLY

Page 11: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 65 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ใบงานที่ 4.3สวนประกอบบนเมนบอรด

สมาชิกกลุมที่……………..………………………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………..

ใหผูเรียนแตละคนศึกษาใบความรูที่ 4.3 และพิจารณาตัวอักษรที่ติดบนตําแหนงตางๆ บนเมนบอรด แลว กรอกรายละเอียดในตารางดานลาง โดยใสตัวอักษรใหตรงกับชื่อสวนประกอบ พรอมทั้งคุณลักษณะ และหนาที่ของอุปกรณ

ตัวอักษร ชื่อ คุณลักษณะ(ยี่หอ/รุน/แบบ/ขอบเขตการใชงาน) หนาท่ี

Processor socketMemory slotJumperPCI SlotAGP SlotPort KeyboardConnectorChip BIOSChip SetPort แบบอนุกรมPort แบบขนานPort แบบ USB

Page 12: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 66 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ใบงานที่ 4.4การประกอบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร

สมาชิกกลุมที่……………..………………………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………………………………...

ใหผูเรียนแตละคนศึกษาใบความรูที่ 4.4 แลวเขียนขั้นตอนในการประกอบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร

ขั้นท่ี ชื่อสวนประกอบ ปญหา/ขอเสนอแนะ/เทคนิค123456789101112131415161718

Page 13: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 67 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ใบงานที่ 4.5การเลือกซื้อสวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

สมาชิกกลุมที่……………..………………………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………………………………...

ใหผูเรียนแตละคนศึกษาใบความรูที่ 4.5 แลวอธิบายเหตุผลในการเลือกซื้อสวนประกอบคอมพิวเตอรที่สามารถใชงานเกี่ยวกับการจัดการเอกสาร อินเทอรเน็ต ดูภาพยนตร ฟงเพลงและเลนเกมได โดยกําหนดใหมีงบประมาณอยู 20,000 บาท ลงในตารางตอไปนี้

ลําดับท่ี ชื่อสวนประกอบ เหตุผลท่ีเลือกซ้ือ123456789101112131415161718

Page 14: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 68 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ใบความรูท่ี 4.1สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

อุปกรณคอมพิวเตอร (Computer hardware)อุปกรณคอมพิวเตอร (Computer hardware) หมายถึง องคประกอบทางกายภาพของระบบ

คอมพิวเตอร ซ่ึงประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณตอพวงตางๆ

1. ตัวถังเครื่องหรือเคส (Case)ตัวถังเครื่องหรือเคส (Case) บางครั้งเรียกวา “เสื้อ” สวนใหญมีลักษณะสี่เหล่ียม มีซีพียู (CPU) และ

ฮารดแวรอ่ืนๆ ซ่ึงเปนชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสที่สําคัญติดตั้งอยูภายใน เคสแบงออกเปน 2 แบบใหญๆ โดยแบงตามลักษณะของรูปราง คือ

1) เคสแบบนอน เรียกวา เดสทอป (Desktop) สามารถนําจอภาพวางไวบนเคสได ชวยใหประหยัดพื้นที่จัดวางแตก็มีขอจํากัดดานพื้นที่ภายในที่มีนอยอาจเปนอุปสรรคเมื่อตองการติดตั้งฮารดแวรเพิ่มภายหลัง เคสแบบนี้มีขอเสีย ตรงที่ระบบการระบายความรอนไมดี จึงไมนิยมใชกับ CPU บางรุนที่มีความรอนสูงระหวางการทํางาน

2) เคสแบบตั้ง เรียกวา ทาวเวอร (Tower) ไมสามารถวางจอภาพไวดานบนได จึงใชพื้นที่ในการจัดวางเครื่องคอมพิวเตอรมากกวา แตมีพื้นที่ภายในเคสมากจึงสามารถติดตั้งฮารดแวรไดมากกวา อีกทั้งยังมีการระบายความรอนที่ดี จึงเหมาะที่จะนําไปใชกับ CPU รุนที่มีความรอนสูงๆ

Page 15: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 69 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

โดยทั่วไปดานหนาของเคส จะประกอบดวย สวิตชเปด-ปดเครื่อง (Power Button) ฟลอปปไดรว (Floppy Drive) สําหรับอานแผนฟลอปปดิสต และเครื่องขับซีดีรอม (CD-ROM Drive) สําหรับอานแผนซีดีรอม (CD-ROM) ในคอมพิวเตอรรุนใหม เครื่องอานแผนซีดีรอม อาจถูกแทนที่ดวยเครื่องขับดีวีดี-รอมไดรว (DVD-ROM Drive) สําหรับอานแผนดีวีดี-รอม (DVD-ROM) ซ่ึงอานไดทั้งแผน ซีดีรอม และแผน ดีวีดี-รอม หรือเครื่องอานและเขียนแผนซีดีรอม (CD Writer)

ดานหลังของเคส ประกอบดวย ขั้วตอเมาส (Mouse Connector) ขั้วตอแปนพิมพ (Keyboard Connector) ขั้วตอสายที่เชื่อมกับ Printer (Printer Port) ขั้วตอจอภาพ (VGA Monitor Connector) ขั้วตอ แบบ USB อยางไรก็ตามทั้งหมดขึ้นอยูกับการออกแบบลักษณะของเคสดวย ซ่ึงอาจทําใหมีขอปลีกยอยแตกตาง กันไปบางตามความเหมาะสมในการใชสอยในแตละงาน

อุปกรณคอมพิวเตอรท่ีอยูในเคส1. หมอแปลงไฟฟาหรือเพาเวอรซัพพลาย (Power Supply)

หมอแปลงไฟฟาหรือเพาเวอรซัพพลาย (Power Supply) เปนอุปกรณที่ติดตั้งอยูภายในเคสมีรูปรางเปนกลองสี่เหล่ียม ทําหนาที่แปลงไฟฟากระแสสลับ (AC) มาเปนไฟฟากระแสตรง (DC) เพื่อจายกําลังไฟฟาใหกับอุปกรณตาง ๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร เชน Main board, Hard Disk Drive, Floppy Disk Drive และอ่ืน ๆ นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งพัดลมอยูภายในเพื่อระบายความรอนออกจากเคสดวย

หมอแปลงไฟฟา แตกตางกันตามกําลังการจายไฟซึ่งมีหนวยเปน “วัตต” (Watts) หากในเคสมีฮารดแวรหรืออุปกรณจํานวนมาก กําลังวัตตที่ใชก็จะตองสูงตามไปดวย ปจจุบันคอมพิวเตอรสวนใหญมีหมอแปลงไฟฟา (Power Supply) ขนาดกําลัง 250 วัตต หรือ 300 วัตต ควรเลือกแบบ 300 วัตตขึ้นไปถา

อุปกรณภายในเคสมีจํานวนมากหรือมีแผนจะเพิ่มเติมอุปกรณภายในเคส เชน ฮารดดิสก (Hard Disk) ตัวที่ 2 และตัวที่ 3 หรือเพิ่มจํานวนพัดลมเพื่อชวยระบายความรอนจากเคส เปนตน ควรเลือกแบบ 300 Watts ขึ้น

2. แผงวงจรหลักหรือเมนบอรด (Mainboard)แผงวงจรหลัก(Mainboard) อาจเรียกวา Motherboard หรือ System Board เปนอุปกรณที่สําคัญ

ประกอบดวยช้ินสวนที่ทําหนาที่ควบคุม ดูแล และจัดการทํางานของอุปกรณชนิดตาง ๆ เกือบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร ซ่ึงเปรียบเสมือนศูนยกลางในการทํางานและการเชื่อมตอกับอุปกรณอ่ืน

การทํางานของคอมพิวเตอรนั้นตองอาศัยชิป (Chips) จํานวนหนึ่ง ชิปสวนใหญมีรูปรางสี่เหล่ียมบาง ๆ แบน ๆ คลายขนมปง (Wafer) ชิปแตละตัวมีทรานซิสเตอรบรรจุอยูภายในจํานวนมาก บนเมนบอรดมีชิปที่สําคัญไดแก หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) เปนชิปที่เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร หนวยความจําหลัก (Random Access Memory : RAM) เปนชิปหนวยความจําหลักทําหนา

Page 16: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 70 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ที่เก็บรักษาขอมูลระยะส้ัน ตามความตองการของซีพียู แคช (Cache) เปนชิปหนวยความจําเสริมที่ชวยทําใหการสื่อสารขอมูลระหวางซีพียูและแรมเร็วขึ้น ชิปเซต (Chipset) มี 2 ตัว ทําหนาที่ควบคุมการติดตอ ส่ือสารระหวางชิปตาง ๆ กับอุปกรณอ่ืน ๆที่อยูบนเมนบอรด

หมายเลข 1 เปน Socket สําหรับเสียบ CPUหมายเลข 2 เปน Sockets สําหรับเสียบ

RAM Modules ซ่ึงในภาพนี้มีอยู 3 Sockets

หมายเลข 3 AGP (Accelerated Graphic Port)Slot สําหรับเสียบ VGA Card

หมายเลข 4 Expansion Slots แบบ PCIจํานวน 5 Slots

หมายเลข 5 Ports ตางๆคุณสมบัติหลักของเมนบอรดที่ตองพิจารณา

คือ เมนบอรดแตละยี่หอแตละรุนถูกออกแบบมาควบคูกับชิปเซตที่ติดมาดวย ซ่ึงสามารถใชซีพียูเฉพาะยี่หอและรุนที่กําหนดไวเทานั้น สวนมากมักจะถูกกําหนดใหใช กับซีพียูยี่หอใดยี่หอหนึ่ง เชน อินเทล (Intel) หรือ เอเอ็มดี (AMD) แตสามารถรองรับซีพียู หลายรุนที่มีความเร็วแตกตางกันแตยี่หอเดียวกันได ดังนั้นในการพิจารณาเมนบอรด จําเปนตองพิจารณา ชิปเซตควบคูไปดวย

3. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) บางทีเรียกวา Microprocessor หรือ

Processor คือ ชิปที่เปนสมองหลักของคอมพิวเตอร รับผิดชอบการทํางานของคอมพิวเตอรเกือบทั้งหมดทั้งทางตรงหรือทางออมโดยผานอุปกรณอ่ืน ๆ

ซีพียูผลิตเพื่อคอมพิวเตอรตระกูลใดตระกูลหนึ่งโดยเฉพาะ อาทิ ซีพียูที่ใชกับคอมพิวเตอรตระกูลIBM Compatible หรือนิยมเรียกวา PC ที่ใชระบบปฏิบัติการ Windows เปนหลัก และซีพียูอีกตระกูลหนึ่งที่แพรหลายในตางประเทศ เรียกวา PowerPC ซ่ึงใชกับเครื่องตระกูล Macintosh ที่มีระบบปฏิบัติการเปนของตัวเอง

Page 17: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 71 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

หนาที่สําคัญของซีพียูคือ1) ภาระดานงานคํานวณ (Arithmetic and Logic Unit)2) การประสานงานระหวางฮารดแวรตาง ๆ (Control Unit)3) หนาที่พิเศษซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของซีพียูแตละรุน เชน การเพิ่มความสามารถในการแสดงผล

ดานภาพและเสียง (Multimedia) การเพิ่มความสามารถในการเขาใจคําพูด (Speech Recognition) ซ่ึงตองอาศัยซอฟตแวรประยุกตเพื่อใหสามารถใชประโยชนจากฮารดแวรไดเต็มที่ ประสิทธิภาพ คุณสมบัติของซีพียูที่ควรพิจารณา ไดแก• บริษัทผูผลิต บริษัทที่เปนผูนําและคูแขงสําคัญในปจจุบันไดแก บริษัท Intel ซ่ึงผลิต Intel

CPU และ บริษัท Advanced Micro Devices ซ่ึงผลิต AMD CPU นอกจากนี้ยังมี บริษัท VIA Technologies ผลิต Cyrix CPU ที่มีสวนแบงการตลาดอยูบาง

• รุน แตละบริษัทจะผลิตซีพียูหลายรุน โดยมีประสิทธิภาพเหนือกวารุนเกาเสมอ ความแตกตางระหวางรุนอาจพิจารณาไดหลายดาน แตที่ชัดเจน คือ จํานวนและขนาดของทรานซิสเตอรที่เพิ่มขึ้น เชน ในกรณีของบริษัทอินเทล (Intel) ซีพียู รุน 286 ที่ผลิตในป 1982 มีทรานซิสเตอรเพียง 34,000 ตัว ในปจจุบันซีพียู รุนเพนเทียม โฟร (Pentium 4) มีทรานซิสเตอรเพิ่มขึ้นมากกวา 55 ลานตัว ในดานขนาด ทรานซิสเตอรมีขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ จากซีพียูรุนแรก ๆ ที่ทรานซิสเตอรมีขนาด 0.9 micron (1 micron = 1/1,000,000 เมตร หรือ 1/1000 มิลลิเมตร) ปจจุบันขนาดทรานซิสเตอรลดลงเหลือเพียง 0.13 micron เทานั้น

• ความเร็ว ซีพียูทํางานเปนจังหวะที่คงที่ เรียกวา สัญญาณนาฬิกาหรือคล็อก (Clock Speed) ซ่ึงมีหนวยเปน กิกะเฮิรตซ (Gigahertz : GHz) หรือพันลานจังหวะตอ 1 วินาที ดังนั้นซีพียูที่มีความเร็ว 2.2 GHz จึงทํางานได 2.2 พันลาน (2,200,000,000) จังหวะใน 1 วินาที ถาเปรียบเทียบซีพียูของบริษัทเดียวกันและรุนเดียวกัน ซีพียูที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาสูงกวาจะมีประสิทธิภาพสูงกวาซีพียูที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาต่ํากวา เชน ซีพียู เพนเทียม 4 ของอินเทลที่มีความเร็ว 1.8 GHz จะเร็วกวา ซีพียู เพนเทียม 4 ของ อินเทล ที่มีความเร็ว 1.3 GHz แตก็สามารถใชเปรียบเทียบกับซีพียูรุนเดียวกันเทานั้น จะนําไปเปรียบเทียบกับซีพียูตางบริษัท หรือบริษัทเดียวกันแตตางรุนกันไมได เนื่องจากใน 1 สัญญาณนาฬิกา ซีพียูเหลานี้จะทํางานไมเทากัน เชน ซีพียู เพนเทียม 4 ของ อินเทล ความเร็ว 1.3 GHz จะนําไปเปรียบ

Page 18: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 72 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

เทียบกับ ซีพียู เอ็กซพี 1.3 GHz ของ เอเอ็มดี ไมได เนื่องจากถึงแมจะมีจังหวะการทํางานเทากันแตปริมาณงานที่เกิดขึ้นในแตละจังหวะการทํางานไมจําเปนตองเทากัน

4. พัดลมซีพียู (CPU Fan)พัดลมซีพียู (CPU Fan) ทําหนาที่ระบายความรอนออกจากตัวซีพียู โดย

ประสิทธิภาพของพัดลม จะดูจากคาอัตราการเคลื่อนที่ของอากาศ (Air Flow) ของพัดลม ยิ่งมีคามากยิ่งดี แตก็ตองพิจารณาเรื่องเสียงดังของพัดลมดวย เพราะพัดลมที่ดูดอากาศไดมากก็มีเสียงดังมากตามไปดวย

อุปกรณประกอบที่ชวยในการระบายความรอนอีกชิ้นหนึ่ง คือ ฮีทซิงค (Heatsink) ทําจากวัสดุที่นําความรอนไดดีจําพวกอลูมิเนียม เนื่องจากมีราคาถูกและนําความรอนไดดีระดับหนึ่ง แตก็มีฮีทซิงค ที่ทําจากทองแดงซึ่งมีคุณสมบัตินําความรอนดีกวาอลูมิเนียมมาก แตก็มีขอเสียที่ทองแดงคายความรอนออกไดคอนขางชา จึงไมเหมาะกับสภาพอากาศรอน หากใชงานในสภาพที่ไมมีเครื่องปรับอากาศชวย ฮีทซิงคแบบทองแดงจะเกิดความรอนสะสมมากกวาแบบอลูมิเนียม

อีกสิ่งหนึ่งที่ขาดไมไดเลย คือสาร Thermal Compound สารเคมีที่เราเรียก กัน ติดปากวา "ซิลิโคน" ซ่ึงชวยในการถายเทความรอนจากซีพียูไปยังฮีทซิงค เนื่อง จากฮีทซิงคมีหนาสัมผัสไมเรียบสนิท จะมีชองวางเล็กๆ เกิดขึ้นที่ผิวหนาดานสัมผัส กับซีพียูทําใหการระบายความรอนไมดีพอ ซิลิโคนจะชวยทําใหผิวหนาสัมผัสเรียบ ขึ้นอีกทั้งซิลิโคนที่มีคาความสามารถในการนําความรอน (Thermal Conductivity) สูงชวยลดอุณหภูมิซีพียูไดมาก ซิลิโคนนี้มีใหเลือกใชหลายแบบผลิตจากวัสดุหลาย

ชนิดถาเรียงลําดับจากดีที่สุดไปนอยสุดจะเรียงลําดับดังนี้ Silver Oxide, Copper Oxide, Aluminium Oxide, Zinc Oxide (ซิลิโคนสีขาวที่เราใชกันทั่ว ๆ ไป)

5. แรม (Random Access Memory : RAM)แรมเปนหนวยความจําหลัก RAM ยอมาจาก Random Access Memory หมายถึง การที่ซีพียู

สามารถเขาถึงหนวยความจําไดทันทีโดยไมตองผานสวนอื่น ตางกับการเขาถึงขอมูลในเทปเสียงหรือภาพซึ่งจะตองรอใหเทปเลนผานสวนนั้น การใชคําวา "Random" ซ่ึงแปลวา "สุม" จึงเปนการใชคําที่ไมถูกตองนักเพราะการเขาถึงของแรมถูกกําหนดไวลวงหนาแลวโดยโปรแกรมเมอรไมใชเปนการเขาถึงแบบสุม ซ่ึงบริษัท IBM จะใชคําวา Direct Access Memory แทนที่จะใช Random Access Memory เหมือนที่ใชกันทั่วๆ

Page 19: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 73 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ไป แรมสามารถเก็บขอมูลไดเฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟาเล้ียงเทานั้น เมื่อใดก็ตามที่ไมมีกระแสไฟฟามาเล้ียง ขอมูลที่อยูภายในแรมก็จะหายไป

แรมมีหนาที่เก็บชุดคําสั่งและขอมูลในขณะที่ระบบคอมพิวเตอรกําลังทํางานอยู ไมวาจะเปนการนําเขาขอมูล (Input) หรือการนําออกขอมูล (Output) โดยเนื้อที่ของแรม ถูกแบงออกเปน 4 สวน คือ

1) Input Storage Area เปนสวนที่เก็บขอมูลนําเขาซึ่งไดรับมาจากหนวยรับขอมูลเขา โดยขอมูลนี้จะถูกนําไปใชในการประมวลผลตอไป

2) Working Storage Area เปนสวนที่เก็บขอมูลซ่ึงอยูในระหวางการประมวลผล3) Output Storage Area เปนสวนที่เก็บผลลัพธซ่ึงไดจากการประมวลผล ตามความตองการของผู

ใช เพื่อรอที่จะถูกสงไปแสดงออกยังหนวยแสดงผลอื่นที่ผูใชตองการ4) Program Storage Area เปนสวนที่ใชเก็บชุดคําสั่ง หรือโปรแกรมที่ผูใชตองการจะสงเขามา เพื่อ

ใหคอมพิวเตอรปฏิบัติตามคําสั่งชุดดังกลาว หนวยควบคุมจะทําหนาที่ดึงคําสั่งจากสวนนี้ไปทีละคําสั่งเพื่อทําการแปลความหมายวาคําสั่งนั้นสั่งใหทําอะไร จากนั้นหนวยควบคุมจะไปควบคุมฮารดแวรที่ตองการทํางานดังกลาวใหทํางานตามคําสั่งนั้น ๆ

แรมที่นิยมใชในปจจุบันมี 3 ประเภท ไดแก1) SDRAM (Synchronous DRAM) มี 168 ขา SDRAM จะใชสัญญาณนาฬิกาเปนตัวกําหนดการ

ทํางานโดยใชความถี่ของสัญญาณนาฬิกาเปนตัวกําหนด และมีอัตราการสงถายขอมูลสูงสุดที่ 528 MB ตอวินาที

2) DDR SDRAM หรือ SDRAM II (นิยมเรียก DDR RAM) มี 184 ขาDDR RAM แยกออกมาจาก SDRAM โดยจุดที่ตางกันหลัก ๆคือ DDR SDRAM สามารถใชงานไดทั้งขาขึ้นและขาลงของสัญญาณนาฬิกาเพื่อสงถายขอมูลนั่นทําใหอัตราสงถายเพิ่มขึ้นไดถึงเทาตัว ซ่ึงมีอัตราการสงถายขอมูลสูงสุดถึง 1 G ตอวินาที

Page 20: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 74 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2) RDRAM (Ram Bus DRAM) มี 299 ขา RAMBUS เปนเครื่องหมายการคาของบริษัท RAMBUS Inc. ไดเอาหลักการของ RAMBUS มาพัฒนาใหมโดยการลด pin รวม static buffer และทําการปรับแตงทาง interface ทําใหสามารถใชงานไดถึง 2 ชองสัญญาณ มีอัตราการสงถายขอมูลเพิ่มเปน 3.2 G ตอวินาที และหากวาสามารถใชไดถึง 4 ชองสัญญาณก็จะสามารถเพิ่มไปถึง 6.4 G ตอวินาที เวลาในการเขาถึงขอมูลแบบสุมของ RAM ชนิดนี้จะชา แตการเขาถึงขอมูลแบบตอเนื่องจะเร็วมาก

ผูใชจะตองเลือกประเภทของแรมใหตรงขอกําหนดของเมนบอรดวาใหใชกับ RAM Module ประเภทใดโดยทั้ง 3 ประเภทมีขนาดความจุใหเลือก ไดแก 128 Mb, 256 Mb, 256 Mb และ 512 Mb

6. รอม (ROM : Read-Only Memory) คือหนวยความจําชนิดที่มีโปรแกรมหรือขอมูลบรรจุอยู และพรอมที่จะนํามาตอกับไมโครโปรเซสเซอรไดโดยตรง ซ่ึงโปรแกรมหรือขอมูลนั้นจะไมสูญหายแมไฟเล้ียง ขอมูลที่เก็บอยูในรอมจะสามารถอานออกมาไดแตไมสามารถเขียนขอมูลเขาไปได เวนแตจะใชวิธีการพิเศษซึ่งขึ้นกับชนิดของรอม

7. ฮารดดิสก (Hard Disk)ฮารดดิสกเปนฮารดแวรที่ติดตั้งอยูกับเคสทําหนาที่เก็บแฟมขอมูลในลักษณะถาวร โดยแฟมจะไม

สูญหายแมขณะปดเครื่อง ยกเวนกรณีฮารดดิสกเสียหรือที่เรียกกันวา Hard Disk Crash กลาวไดวาฮารดดิสกเก็บแฟม 2 ประเภท คือ

1) แฟมโปรแกรมหรือโปรแกรมไฟล (Program Files) ไดแก แฟมที่เปนที่เก็บชุดคําสั่งของระบบปฏิบัติการ เชน Windows รุนตาง ๆ, UNIX, Linux หรือแฟมที่เปนชุดคําสั่งของซอฟตแวรประยุกต เชน Word, Excel, Internet Explorer เปนตน

Page 21: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 75 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2) แฟมขอมูลหรือดาตาไฟล (Data Files) ไดแก แฟมขอมูลที่ผูใชสรางขึ้นหรือนํามาบรรจุไว เชน แฟมงานพิมพ งานกราฟกตาง ๆ แฟมเพลง แฟมภาพ เปนตน การสราง บันทึก และการแกไขแฟมขอมูลตองอาศัยซอฟตแวรประยุกต

ฮารดดิสกประกอบดวยแผนโลหะทรงกลมแบนซอนกันหลายช้ัน โดยมีหัวอานและเขียนแทรกอยูระหวางชั้น ในการอานหรือเขียนขอมูล ฮารดดิสกจะหมุนรอบตัวเองโดยหัวอานและเขียนจะเคลื่อนไปมาเพื่อหาขอมูลที่ตองการ ดังนั้นจึงตองอาศัยกลไกขับเคลื่อน (Drive) ในการทํางานดังกลาว ทําใหช่ือเต็มของฮารดดิสก คือ ฮารดดิสกไดรฟ (Hard Disk Drive : HDD) ขอควรระวังคือหามเปดฝาดานในของฮารดดิสกเองเด็ดขาด คุณสมบัติของฮารดดิสกที่ควรพิจารณา ไดแก

1) ขนาดความจุ ฮารดดิสกมีขนาดความจุเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ขณะเดียวกันราคากลับถูกลง ในอดีตคอมพิวเตอรใชระบบปฏิบัติการดอส (DOS) และคนสวนใหญในประเทศใชคอมพิวเตอรกับซอฟตแวรประยุกต CU Writer, Lotus 1-2.3 และ dBASE ความจุของฮารดดิสกในขณะนั้นมีความจุ 20 ถึง 40 เมกกะไบต (Mb) ก็เพียงพอแลว แตปจจุบันผูใชคอมพิวเตอรเกือบทั้งหมดหันมาใชระบบปฏิบัติการ Windows XP หรือ Windows Me และใชซอฟตแวรประยุกตที่มีขนาดใหญจึงตองการฮารดดิสกที่มีความจุสูง ขนาดของฮารดดิสกที่เหมาะสําหรับการใชงานทั่วไปในปจจุบันควรมีความจุอยางต่ํา 40 จิกะไบต (Gb ซ่ึง1 Gb = 1024 Mb) ขึ้นไป

2) อัตราการถายโอนขอมูล หมายถึง อัตราการถายโอนขอมูล (Transfer Rate) ระหวางฮารดดิสกกับฮารดแวรอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ ฮารดดิสกทั่วไปมีมาตรฐานการถายโอนขอมูลใหเลือกระหวาง Ultra DMA 100 (บางที่เรียกวา Ultra ATA 100) ซ่ึงมีอัตราการถายโอนขอมูลได 100 Mbps (Megabits per Second) หรือ Ultra DMA 133 ซ่ึงถายโอนขอมูลที่ 133 Mbps ซ่ึงจะตองใชเมนบอรดที่ออกแบบมาเพื่อรองรับดวย หากนําฮารดดิสกแบบ Ultra DMA 133 มาใชกับเมนบอรดที่รองรับ Ultra DMA 100 Hard Disk อัตราการถายโอนขอมูลก็จะเทากับ 100 Mbps เทานั้น

3) ความเร็วของการหมุน จากที่ทราบแลววาการอานหรือเขียนขอมูลของฮารดดิสกประกอบดวยการเคลื่อนที่ของหัวอานและเขียน รวมทั้งการหมุนรอบตัวเองของแผนโลหะทรงกลมแบน

Page 22: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 76 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ความเร็วในการหมุนจึงเปนคุณสมบัติหนึ่งที่ตองพิจารณา ยิ่งฮารดดิสกหมุนเร็วเทาไร การอานและเขียนขอมูลก็จะเร็วขึ้นเชนกัน การทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรโดยรวมจึงมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ปจจุบันฮารดดิสกทั่วไปมีความเร็ว 5,400 รอบตอนาที (RPM) 7,200 RPM และ 10,000 RPM (RPM = Rotations per Minute)

กรณีที่เครื่องคอมพิวเตอรมีการติดตั้งฮารดดิสกมากกวาหนึ่งตัว จําเปนที่จะตองปรับแตงจัมพเปอรบนตัวฮารดดิสกใหถูกตองโดยฮารดดิสกตัวหลักที่เรียกวา Master จะตองปรับแตงจัมพเปอรอีกแบบหนึ่ง สวนฮารดดิสกที่เหลือเรียกวา Slave จะตองปรับแตงจัมพเปอรอีกแบบหนึ่ง และในกรณีที่ใชฮารดดิสกแบบ Ultra DMA จําเปนตองใชสายเชื่อมตอ แบบที่ออกแบบมาใชกับฮารดดิสกแบบ Ultra DMA โดยเฉพาะจึงจะทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ

8. ฟลอปปดิสกไดรว ( Floppy Disk Drive)ฟลอปปดิสกไดรว (Floppy Disk Drive) เปนอุปกรณในการอาน

และเขียนไฟลขอมูลลงบนแผนฟลอปปดิสก (Floppy Disk) ซ่ึงเปนแผนบันทึกขอมูลออนที่ตองสอดเขาไปในชอง Drive ที่มักอยูดานหนาของเคส การอานขอมูลของฟลอปปดิสกไดรว (Floppy Disk Drive) ชากวาฮารดดิสก (Hard Disk) มาก ซ่ึงเปนขอจํากัดที่ผูใชเขาใจดีและยอม

รับอยูแลว ฮารดดิสกมีขอไดเปรียบ คือ เก็บขอมูลไดมาก แตมีขอเสีย คือ การโยกยายขอมูลจากคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปสูอีกเครื่องหนึ่งกระทําไดยาก เนื่องจากตองใชอุปกรณและใชเวลาจัดเตรียมและดําเนินการพอสมควร ดังนั้นหากปริมาณขอมูลที่จะโยกยายไมมากนัก ฟลอปปดิสก (Floppy Disk) จะเปนทางเลือกที่เหมาะสมกวา

ฟลอปปดิสกไดรว (Floppy Disk Drive) ที่ใชกันสวนใหญใชกับแผนฟลอปปดิสก (Floppy Disk) ที่มีความจุ 1.44 Mb ขนาด 3.5 นิ้ว และ 720 Kb ขนาด 5.25 นิ้ว ซ่ึงหมุนดวยความเร็วคงที่ประมาณ 300 หรือ 360 รอบตอนาที สวนฟลอปปดิสกไดรว (Floppy Disk Drive) ที่อาน Floppy Disk ขนาด 120 Mb ไมไดรับความนิยมเทาที่ควร ทั้งนี้อาจเนื่องจากมีการผลิตฮารดแวรที่เก็บขอมูลปริมาณมากและโยกยายไดสะดวก (Portable

Mass Storage) ออกมาแขงกันหลายรูปแบบ (Formats) ผูบริโภคคงยังไมสูแนใจนักวาแบบใดจะกลายเปนมาตรฐานในที่สุด

ปจจุบันฟลอปปดิสกไดรว (Floppy Disk Drive) และฟลอปปดิสก (Floppy Disk) กําลังจะหายไปจากวงการคอมพิวเตอร จะสังเกตวาคอมพิวเตอรรุนใหมๆในปจจุบันสวนใหญจะไมติดตั้งมาให

Page 23: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 77 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

9. เคร่ืองอานซีดีรอมหรือซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive)ปจจุบันแผนซีดีมีตนทุนที่ต่ํามาก แตในทางตรง

กันขามสามารถเก็บขอมูลไดสูงถึง 640 เมกะไบต ขึ้นไปทําใหมีผูนิยมนํามาใชเก็บขอมูลตาง ๆ ที่มีขนาดคอนขางใหญ เชน เพลง ภาพยนตร และขอมูลประเภทสื่อประสม เครื่องขับแผนซีดีสวนใหญจะติดตั้งอยูกับเคสทางดานหนา การใชงานตองวางแผนลงบนถาดที่เล่ือนออกมาจากซีดีรอมไดรฟจากนั้นเพียงกดปุม ถาดก็จะเคลื่อนกลับเขาไป พรอมที่จะเลนแผนได

คุณสมบัติของซีดีรอมไดรฟที่ตองพิจารณา คือ ความเร็ว แรกทีเดียวซีดีรอมไดรฟมีความเร็ว Double-Speed หรือ 2x จากนั้นความเร็วก็เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนปจจุบันซีดีรอมไดรฟมีความสูงสุดที่ 60x(1 x มีอัตราการถายโอนขอมูล 150 kb/sec) ซ่ึงซีดีรอม 1 แผนจะมีความจุในการจัดเก็บขอมูลได ประมาณ 650-800 เมกะไบต การพิจารณาความเร็วของซีดีรอมไดรฟตองกระทําภายใตเงื่อนไข 2 ประการ ไดแก

1) ความเร็วที่ระบุเปนความเร็วสูงสุดภายใตสภาวะแวดลอมดานฮารดแวรและซอฟตแวรที่เหมาะสมที่สุด ซ่ึงในการใชงานจริงอาจไมไดบรรลุความเร็วดังกลาวเลยก็ได

2) ความเร็วของซีดีรอมไดรฟสงผลเฉพาะแผน CD-ROM ประเภทที่ติดตั้งซอฟตแวร และประเภทสารานุกรมหรือบทเรียนเทานั้น แตไมมีผลตอการเลน Audio-CD และ Video-CD เนื่องจากการเลนดังกลาวตองการใชความเร็วแค 2x เทานั้นเอง

10. เคร่ืองเขียนซีดีรอมหรือซีดีไรทเตอร (CD-Writer)ปจจุบันคอมพิวเตอรสวนใหญไดติดตั้งซีดีไรทเตอรแทนที่จะติดตั้งซีดีรอมไดรฟ ซ่ึงซีดีไรทเตอรมี

ลักษณะกายภาพภายนอกและคุณสมบัติเหมือนซีดีรอมไดรฟทุกประการ แตสามารถบันทึกขอมูลลงแผนซีดีได แผนซีดีที่จะนํามาบันทึกตองเปนแผนซีดีอาร (CD-R) ซ่ึงเปนแผนที่บันทึกไดคร้ังเดียว หากผิดพลาดแผนจะเสียหายเลย หรือแผนซีดีอารดับเบิลยู (CD-RW) ซ่ึงเปนแผนที่บันทึกซ้ําไดประมาณ 1,000 คร้ัง

คุณสมบัติของซีดีไรทเตอรที่ตองพิจารณา คือ ความเร็ว ซ่ึงใชวิธีการระบุเชนเดียวกับซีดีรอมไดรฟแตจะเพิ่มตัวเลขจาก 1 เปน 3 ตัว เชน 20/10/40 หมายความวา ซีดีไรทเตอรตัวนี้บันทึกแผนซีดีอารสูงสุดที่20x บันทึกแผนซีดีอารดับเบิลยูสูงสุดที่ 10x และอานแผนทุกประเภทสูงสุดที่ 40x

11. เคร่ืองอานดีวีดีรอมหรือดีวีดีรอมไดรฟ (DVD-ROM drive)ดีวีดีรอมไดรฟ (DVD-ROM drive) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่เชนเดียวกับซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM

Drive) แตใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยกวา แรกทีเดียว DVD ยอมาจาก Digital Video Disk แตตอมาไดกลายเปน Digital Versatile Disk แผนดีวีดีรอม (DVD-ROM) มีรูปลักษณคลายกับแผนซีดีรอมแตสามารถเก็บขอมูลได

Page 24: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 78 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มากกวาหลายเทา ในชวงแรกแผนดีวีดีรอมมีความจุ 4.7 Gb (1 Gb = 1024 Mb) หรือจุกวาแผนซีดีรอมถึงเกือบเจ็ดเทา คาดวาความจุจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ถึง 8.5 Gb หรือ ประมาณ 12 เทาของแผนซีดีรอมแผนดีวีดีรอมจะตองใชดีวีดีรอมไดรฟอานเทานั้น แตดีวีดีรอมไดรฟจะสามารถอานซีดีรอมไดดวย

ดีวีดีรอมไดรฟมีขนาดเทากับซีดีรอมไดรฟ โดยผูใชตองวางแผนในถาดที่เคลื่อนออกมาจากดานหนาของเคสเชนเดียวกับการเลนซีดีรอม

แผนดีวีดีโดยทั่วไปมี 2 ประเภท ไดแก1) แผนดีวีดีรอม (DVD-ROM) สําหรับเลนกับเครื่องคอมพิวเตอรที่มีดีวีดีรอมไดรฟ แผนดีวีดี

รอมบรรจุซอฟตแวรเพื่อติดตั้งในคอมพิวเตอร หรือบรรจุสาระที่ใชเนื้อที่ในการเก็บขอมูลมาก เชน แฟมภาพ แฟมภาพเคลื่อนไหว แฟมเสียง จึงเหมาะกับโปรแกรมประเภทสารานุกรม

2) แผนดีวีดีวีดีโอ (DVD-Video) สําหรับเลนภาพยนตร หรือ Concert เหมาะสําหรับเลนกับเครื่องเลน DVD-Video Player ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของระบบ Home Theatre แตก็สามารถนํามาเลนกับคอมพิวเตอรที่มีดีวีดีรอมไดรฟไดแตคุณภาพของภาพและเสียงไมดีนัก ยกเวนจะหาฮารดแวรมาเสริมเขากับคอมพิวเตอร แตอยางไรก็ตามคุณภาพของภาพและเสียงคงไมทัดเทียมกับการนําแผนไปเลนกับระบบ Home Theatre ได

12. การดแสดงผลหรือวีจีเอการด (VGA Card)การดแสดงผลหรือวีจีเอการด (VGA Card) เปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาที่ในการนําขอมูลที่ประมวลผลจากซีพียูมาแสดงบนจอภาพ ความละเอียดการแสดงผล(Resolution) วัดจากจํานวนจุดเล็กๆที่แสดงบนจอภาพในแนวตั้งและแนวนอน จุดเล็กๆที่วานี้ เรียกวา”พิกเซล” (Pixel) การดแสดงผลพื้นฐานโดยทั่วไปสามารถแสดงผลในโหมดความละเอียด 640x480 พิกเซล หรือ 800x600 พิกเซล สวนจํานวนสีสันที่แสดงบนจอภาพจะ

ไดมากนอยแคไหนนั้นขึ้นอยูกับคุณภาพของการดแสดงผล สําหรับการดแสดงผลในปจจุบันสามารถแสดงผลไดมากถึง 16.7 ลานสี

คุณสมบัติที่สําคัญของการดแสดงผล (VGA Card)1) หนวยความจํา การดแสดงผล (VGA Card) จะตองมีหนวยความจํา (Memory) ในตัวเอง เพื่อ

เก็บขอมูลกอนจะสงไปยังจอภาพ ปจจุบันการดแสดงผล (VGA Card) สวนใหญมีหนวยความจํา ระหวาง8 Mb ถึง 64 Mb โดยท่ัวไปหนวยความจําระหวาง 8 ถึง 32 Mb นาเพียงพอสําหรับผูที่ใชคอมพิวเตอร แตสําหรับงานกราฟก เชน งานสถาปตยกรรมหรือวิศวกรรม งานระบบสาร

Page 25: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 79 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information Systems หรือ GIS) และโดยเฉพาะอยางยิ่งการเลมเกมบนเครื่องคอมพิวเตอร อาจตองใชหนวยความจําสูง 32 หรืออาจสูงถึง 128 Mb ซ่ึงการมีหนวยความจําสูงๆจะมีผลดีดังตอไปนี้

- แสดงภาพไดเร็วยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการเปลี่ยนจากภาพหนึ่งไปอีกภาพหนึ่ง และการเลื่อนหนาจอขึ้นลงจะเปนธรรมชาติ ไมมีอาการสะดุด

- กําหนดใหแสดงจํานวนสีไดมากขึ้น- ตั้ง Refresh Rate ที่สูงได ซ่ึงการที่จอภาพเรืองแสงไดเนื่องจากการที่การดแสดง

ผล (VGA Card) สงสัญญาณที่สม่ําเสมอไปยังจอภาพ ยิ่งมีการสงสัญญาณถ่ีมากขึ้นเทาไร จอภาพจะแสดงภาพนิ่ง ไมส่ันกระพริบและสบายตามากขึ้น Refresh Rate มีหนวยเปนเฮิรตซ (Hertz : Hz) ซ่ึงวัดจํานวนครั้งตอวินาทีที่มีการสงสัญญาณไปที่จุดเรืองแสงจุดใดจุดหนึ่ง Refresh Rate ที่ดีควรอยูประมาณ 85 Hz แตไมควรใหต่ํากวา 65 Hz

2) การเรงความเร็วในการแสดงภาพสามมิติ (3D) การแสดงภาพสามมิติหรือ 3D หมายถึง การแสดงภาพเดียวกันหลายมุมมอง เสมือนวาผูดูสามารถเคลื่อนไปรอบ ๆ หรือแมแตอยูเบื้องบนของภาพนั้นได (คนละหลักการกับภาพยนตร 3 มิติ) คอมพิวเตอรสวนใหญไมไดมีภาพ 3 มิติสะสมไวลวงหนา แตในการแสดงภาพแตละสถานการณ คอมพิวเตอรจะตัดสินวาภาพจะมีลักษณะอยางไร โดยคํานวณจากขอมูลตัวเลขที่มีอยู ในลักษณะทันทีทันใด (Real Time) การทําเชนนี้เปนการเปลืองทรัพยากรของซีพียูมาก จึงแสดงภาพไดชา โดยเฉพาะเปนปญหาไมทันใจสําหรับการเลนเกม 3 มิติ อยางไรก็ตาม ปจจุบันการดแสดงผล (VGA Card) สวนใหญไดผนวกชิปพิเศษที่ทําหนาที่คํานวณภาพ 3 มิติ โดยเฉพาะ จึงทําใหการแสดงภาพเปนไปอยางรวดเร็ว

13) การดเสียงหรือซาวดการด (Sound Card)การดเสียงหรือซาวดการด (Sound Card) เปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ชวยใหคอมพิวเตอรมีระบบ

เสียงเทียบเทาเครื่องเลนเสียง สัญญาณเสียงที่คอมพิวเตอรรูจักเปนสัญญาณดิจิทัล (Digital) คอมพิวเตอรจะตองแปลงใหเปนสัญญาณแอนะล็อก (Analog) กอนเปนเสียงที่มนุษยรูจัก ในทางกลับกันหากจะมีการนําเขาเสียงจากภายนอก เชน เสียงจากไมโครโฟน จากเครื่องเสียง เขาสูคอมพิวเตอรจะตองมีการแปลงเสียงที่เปน

สัญญาณแอนะล็อก (Analog) ใหเปนสัญญาณดิจิทัล (Digital)ปจจุบันเมนบอรดสวนใหญไดผนวกความสามารถใน

การจัดการเสียงเขาไปดวยหรือที่เรียกวา Sound on Board ในกรณีที่เมนบอรดไมมีความสามารถดานนี้หรือมีแตผูใชตองการขีดความสามารถดานเสียงที่สูงกวาที่ใหมาบนเมนบอรดผูใชจะตองจัดหามาติดตั้งเอง การดเสียง (Sound Card) ที่เปนแบบ PCI

Page 26: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 80 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ตองเสียบลงที่ PCI Slot ที่ยังวางอยู ที่ขอบของการดเสียง (Sound Card) ซ่ึงเมื่อเสียบแลวจะอยูดานหลังเคสมีปล๊ักไวใหเสียบ Input เสียงจากแหลงตาง ๆ เชน ไมโครโฟน และเครื่องเสียงตางๆ และปลั๊กสําหรับ Output เสียง เชน ลําโพงที่มีภาคขยายเสียงในตัวเอง เปนตน

การดเสียง (Sound Card) มีราคาแตกตางกัน ตั้งแตไมกี่รอยบาทจนถึงหลายพันบาท ขึ้นอยูกับคุณภาพของเสียงที่ได และคุณสมบัติอ่ืนๆ เชน การจําลองเสียงใหมีความลึก (3D Sound) หรือความสามารถในการเลน Karaoke ยี่หอของชิปที่ติดตั้งบนการดเสียง (Sound Card) ก็มีอิทธิพลในการเลือกซื้อเชนกัน

14) แลนการดหรือเน็ตเวิรคการด (LAN Card or Network Card)แลนการดหรือเน็ตเวิรคการด (LAN Card or Network Card) เปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ใชเชื่อม

ตอคอมพิวเตอรเขากับเครือขาย โดยจะทําหนาที่ควบคุมการไหลเวียนขอมูลระหวางคอมพิวเตอรกับเครือขาย ความเร็วของขอมูลที่วิ่งบนเครือขายจะมีหนวยเปน “เมกกะบิตตอวินาที” (Mbps)

ปจจุบันแลนการดจะรองรับความเร็วไดทั้ง 10 – 100 Mbps ระบบคอมพิวเตอรเน็ตเวิรค (Computer Network) ที่ทําใหคอมพิวเตอรภายในหนวยงานสามารถติดตอกันเอง หรือติดตอกับระบบอินเทอรเน็ต (Internet) คอมพิวเตอรทุกตัวที่เกี่ยวของกับการสื่อสารจะตองมีแลนการดหรือเน็ตเวิรคการด (LAN Card or Network Card) หรือบางที่เรียก Ethernet Card เสียบลงที่ Expansion slot ดานหลังของการดที่มี Socket จะอยูที่หลังเครื่องพอดี ผูใชเพียงนําปลายสายเน็ตเวิรคดานหนึ่งเสียบที่ Socket ดังกลาว และอีกดานหนึ่งเสียบกับจุดเชื่อมตอของระบบเครือขาย (Network System)

จากนั้นติดตั้งซอฟตแวรที่จําเปน ก็เปนอันวาสามารถติดตอกับคอมพิวเตอรในระบบได

15) สายเคเบิล (Cable)สายเคเบิล (Cable) เปนสายสัญญาณในการเชื่อมตออุปกรณภายใน

กับเมนบอรด เชน ฮารดดิสก ฟลอปปดิสก ซีดีรอม ฯลฯ นิยมเรียกกันวา “สายแพ” การตอสายเคเบิลจะตองตอใหถูกดานดวย โดยใหสังเกตเสนสีแดงของสายเคเบิล ซ่ึงเปนเครื่องหมายบอกวาตําแหนงนั้นจะตองตอเขากับเข็มตัวแรกของคอนเนกเตอรทั้งสองฝง

Page 27: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 81 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

อุปกรณประกอบพวงอื่นๆ ท่ีจําเปน1. แผงแปนอักขระหรือคียบอรด (Keyboard)

คียบอรดถือไดวาเปนฮารดแวรพื้นฐานที่สุด ทําหนาที่รับคําสั่งและขอมูลที่ผูใชปอนพิมพแลวสงรหัสใหเครื่องคอมพิวเตอร คียบอรดเชื่อมกับคอมพิวเตอรโดยสายขอมูลที่นําไปเสียบกับสวนของคียบอรดพอรต (Keyboard Port) บนเมนบอรดที่อยูดานหลังเครื่อง ขั้วตอคียบอรด (Keyboard Connector) มี 2 ขนาด คือ ขนาดใหญ (มี 5 ขา ศัพทเทคนิคเรียกวา DIN) และขนาดเล็ก (มี 6 ขา ศัพทเทคนิคเรียกวา Mini DIN หรือ PS2) ดังนั้นกอนซื้อคียบอรดจึงควรสํารวจดูกอนวาเมนบอรดรับขั้วตอชนิดใด หากไมสามารถหาคียบอรดที่มีขนาดขั้วตอตามตองการไดก็สามารถใช Adapter มาปรับขั้วตอใหเล็กลงหรือใหญขึ้นได นอกจากนี้อยามองขามความยาวของสายคียบอรดเพราะสายที่ส้ันเกินไปจะกลายเปนขอจํากัดของการจัดตั้งเคสในตําแหนงที่ตองการดังนั้นควรเลือกคียบอรดที่สายยาวไวกอน

ปจจุบันมีคียบอรดมากมายหลากหลายชนิด แตก็พอจะจําแนกไดเปนสองชนิด คือ ชนิด 101 ปุมและ 104 ปุม ซ่ึงชนิด 104 ปุม ออกแบบมาเพื่อตอบสนองคอมพิวเตอรที่ใชระบบปฏิบัติการวินโดว โดยมีปุมพิเศษ 2 ปุม สําหรับการเรียก Start Menu และอีก 1 ปุมไวใชแทนการคลิกปุมขวาของ Mouse คียบอรดในประเทศไทยจะมีอักษรภาษาไทยที่แปนดวย

2. เมาส (Mouse)เมาส เปนฮารดแวรที่ใชคูกับคียบอรดจัดเปนอุปกรณรับเขาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเปนปุมครอบอยูกับ

ลูกยางทรงกลม (Tracking Ball) เมื่อลากไปกับพื้นแลวจะมีการสงสัญญาณตามแนวแกน X และ แกน Y เขาสูคอมพิวเตอรใชช้ีบอกตําแหนงตาง ๆ หรือส่ังกระทําการอยางใดอยางหนึ่งผานบนจอภาพ เพื่ออํานวยความสะดวกและรวดเร็วในการทํางาน หากพิจารณาจากความแตกตางของขั้วตอ (Connectors) ที่

Page 28: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 82 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

เสียบเขาเครื่องคอมพิวเตอรดานหลังเคสเปนเกณฑจะจําแนกเมาสได 3 ประเภท คือ1) Serial Mouse ขั้วตอมีลักษณะแบนสําหรับเสียบที่ Serial Port 1 หรือ 2 แตมักนิยมเสียบที่ Serial Port 12) PS/2 Mouse ขั้วตอมีลักษณะกลมเล็กสําหรับเสียบที่ PS/2 Mouse Port3) USB Mouse ขั้วตอมีลักษณะแบนเล็กสําหรับเสียบที่ USB Portเมาสเปนอุปกรณที่ตองดูแลทําความสะอาดลูกยางทรงกลม (Tracking Ball) และกลไกที่ลูกยาง

สัมผัสอยูภายในจะชวยยืดอายุการใชงาน ในกรณีที่ตองเปลี่ยนเมาสใหมควรสํารวจเสียกอนวาขั้วตอเปนแบบใดเพื่อซ้ือไดถูกประเภท เมาสบางยี่หอจะแถม Adapter สําหรับใหแปลงขั้วตอได เชน แปลงจากขั้วตอ PS/2 เปนขั้วตอ Serial แตสวนใหญแลวจะไมแถมมาให และมีขอสังเกตอีกที่หนึ่ง คือแตเดิมเมาสจะมีเพียง 2 ปุม ปจจุบันไดมีเมาส 3 ปุม หรือมีลูกกลิ้งตรงกลางระหวาง 2 ปุมเดิม ซ่ึงปุมหรือลูกกลิ้งนี้ถูกกําหนดใหอํานวยความสะดวกในการอาน Web Pages ตางๆ โดยมากผูใชเล่ือนจอขึ้นลงบอยมาก หรืออาจกําหนดใหปุมที่ 3 ทําหนาที่พิเศษอื่น ๆ ไดอีกดวย ดังนั้นการซื้อเมาสควรเลือกใหถูกประเภท เนื่องจากรานสวนใหญมักจะปฏิเสธการเปลี่ยนหรือคืนสินคา

3. จอภาพหรือมอนิเตอร (Monitor)จอภาพหรือมอนิเตอร (Monitor) เปนฮารดแวรทําหนาที่ทั้งการ

แสดงผล และการนําเขาขอมูลจากคียบอรด รวมทั้งการแสดงตําแหนงของตัวช้ีจากเมาส จอภาพหรือมอนิเตอร (Monitor) ที่มีลักษณะเหมือนจอโทรทัศน ทั่วไปเรียกวา ซีอารที (Cathode Ray Tube : CRT) ภายในหลอด CRT จะประกอบดวย

1) ปนอิเล็กตรอน ซ่ึงจะสรางใหเกิดลําแสงอิเล็กตรอน โดยจะมีเจาปนอิเล็กตรอนอยูทั้งหมดสามกระบอกใชสําหรับแมสี ทั้งสาม (แดง, เขียว, น้ําเงิน)

2) Anodes จะเปนตัวเรงความเร็วของอิเล็กตรอนที่ถูกยิงออกมา3) Deflecting Coils เปนตัวที่จะสรางสนามแมเหล็กไฟฟาออนๆ ขึ้น เพื่อใชเปนตัวควบ

คุมทิศทางของอิเล็กตรอนที่ถูกยิงออกมานอกจากนี้ยังมีแผนโลหะที่มีรูจํานวนมาก ซ่ึงเรียกวา slot mask หรือ shadow mask ทําหนาที่บังคับ

ใหลําแสงอิเล็กตรอนเรียงกันเปนระเบียบอยางสวยงาม เมื่อลําแสงอิเล็กตรอนตกกระทบกับจอภาพสารที่เคลือบอยูบนผิวของจอภาพจะเรืองแสงออกมา สวนสีที่มองเห็นบนจอภาพถูกกําหนดโดยความเขมของลําแสงอิเล็กตรอนที่ยิงออกมา ลําแสงที่ถูกยิงออกมากระทบกับจอภาพจะเริ่มตั้งแตมุมขวาบนไลไปทางซายมือเร่ือย ๆ จนสุด แลวก็เล่ือนมาที่บรรทัดใหมโดยยิงแสงไลไปมาจนทั่วจอภาพแลว ก็จะเริ่มใหมที่มุมขวาบนอีก จอภาพจะถูก Redraw (ฉายลําแสงไปจนทั่วหนาจอ และกลับไปเริ่มใหม)

Page 29: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 83 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

จอภาพหรือมอนิเตอร (Monitor) แบบแอลซีดี (LCD) เปนแบบจอแบนคําวา LCD ยอมาจาก Liquid Crystal Display จอภาพเปนแบบผลึกเหลวซึ่งเปนสสารที่แทบจะเรียกไดวาโปรงใส และมีคุณสมบัติก้ํากึ่งระหวางของแข็งและของเหลว(เมื่อตอนอยูเฉยเจาผลึกเหลวจะอยูในสถานะของเหลว แตเมื่อมีแสงผานมาก็จะเกิดการจัดเรียงโมเลกุลใหมแลวมีคุณสมบัติ เปนของแข็งแทน สวนที่แสงผานไปแลวก็จะกลับมามีคุณสมบัติเปนของเหลวเหมือนเดิม จอแอลซีดีใช

กันอยางแพรหลายในเครื่องคอมพิวเตอร แบบพกพาตาง ๆ ไมวาจะเปน โนตบุก (Note Book) และ PDA รวมไปถึงโทรศัพทมือถือ ในปจจุบันแบงออกเปนสองแบบใหญๆ ก็คือ Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN) กับ Thin Flim Transistor (TFT)

การแสดงผลบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอรจะตองอาศัยแผงวงจรทําหนาที่เปลี่ยนสัญญาณภาพแบบดิจิทัลใหเปนแอนะล็อกเสียกอนแลวจึงสงไปยังจอภาพ แผงวงจรอาจเปนสวนหนึ่งของเมนบอรดหรืออยูในรูปของการดแสดงผลที่มีช่ือเรียกหลากหลาย เชน ดิสเพลยการด (Display Card), วีจีเอ การด (VGA Card), ซูเปอรวีจีเอการด (Super VGA Card), กราฟกการด (Graphic Card), วีดีโอการด (Video Card) ซ่ึงบอยครั้งอาจมีการใชคําวา อแดปเตอร (Adapter) หรือ บอรด (Board) แทนคําวา การด (Card) ก็ได สําหรับในประเทศไทยจะรูจักในชื่อ “การดจอ”

คุณสมบัติท่ีสําคัญของจอภาพ1) ขนาดของจอภาพ วัดจากความยาวของเสนทแยงมุมที่จอภาพ ปจจุบันจอภาพสวนใหญมีขนาด

ตั้งแต 15 นิ้ว ขึ้นไป และมีราคาลดลงมาก2) ความละเอียดของจอภาพ เชนเดียวกับจอโทรทัศน จอภาพประกอบดวยจุดเรืองแสง (Pixel)

จํานวนมาก จํานวนจุดเรืองแสงของจอภาพ (Monitor Resolution) คํานวณไดจากการนําจํานวนจุดเรืองแสงในแนวนอนคูณดวยจํานวนจุดเรืองแสงในแนวตั้ง แตในทางปฏิบัติมักจะรายงานเปนตัวคูณ (Expression) แทนที่จะเปนผลคูณ เนื่องจากตัวคูณจะสื่อความหมายกับบุคคลทั่วไปไดดีกวา สําหรับจอขนาด 15 นิ้ว Monitor Resolution ไมควรต่ํากวา 1280 x 1024 สําหรับขนาด 17 นิ้ว ไมควรต่ํากวา 1600 x 1200

3) ระยะหางระหวางจุดเรืองแสงของจอภาพ (Dot Pitch) นอกจากจํานวนของจุดเรืองแสงแลวยังตองคํานึงถึงระยะหางระหวางจุดเหลานั้นอีกดวย ยิ่งจุดอยูชิดกันเทาไรภาพก็จะดูสบายตามากขึ้นเทานั้น การวัดระยะหางระหวางจุดเรืองแสงของจอภาพ (Dot Pitch) โดยวัดระยะหางจากกึ่งกลางของจุดเรืองแสงหนึ่งไปยังกึ่งกลางของอีกจุดเรืองแสงที่อยูติดกัน คาตัวเลขที่ไดยิ่งต่ําเทาไรคุณภาพของภาพก็จะดีขึ้นเทานั้น ปจจุบัน Dot Pitch ที่ยอมรับไดควรมีคา ระหวาง 0.24 ถึง 0.28 มิลลิเมตร

4) การแผรังสีขอจอภาพ ความสัมพันธระหวางสนามแมเหล็กที่แผจากจอภาพกับสุขภาพของผูใชคอมพิวเตอร ยังคงเปนที่ถกเถียงกัน และยังหาขอยุติไมได อยางไรก็ตามวงการคอมพิวเตอรได

Page 30: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 84 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ยอมรับมาตรฐานของจอภาพที่รัฐบาลสวีเดนไดตั้งไว คือ MRP II ซ่ึงหมายถึงการแผรังสีต่ําในระดับที่ยอมรับได

การเชื่อมตออุปกรณเขากับคอมพิวเตอรอุปกรณที่จะตอเชื่อมกับคอมพิวเตอรตองอาศัยสายเคเบิล (Cable) พรอมกับคอนเน็กเตอร

(Connector) เปนอุปกรณในการติดตอ โดยการนําคอนเน็กเตอรของอุปกรณนั้นมาเสียบเขากับคอนเน็กเตอรของคอมพิวเตอร คอนเน็กเตอรที่มีหัวเข็มเรียกวา “คอนเน็กเตอรตัวผู” สวนคอนเน็กเตอรที่มีรูเข็มเรียกวา “คอนเน็กเตอรตัวเมีย”

คอนเน็กเตอรท่ีอยูภายนอกคอนเน็กเตอรที่อยูภายนอกสวนใหญจะอยูดานหลังของตัวเครื่องคอมพิวเตอร คอนเน็กเตอรของ

อุปกรณบางตัวอาจจะมีสกรูขันหรือคลิปหนีบเพื่อใหติดแนนไมหลุดงาย ๆ1. พอรตตอคียบอรด (Keyboard Port) เปนคอนเน็กเตอรตัวเมียมี 6 รู ซ่ึงรูจักกันในชื่อของ mini-

DIN หรือ PS/2 connecter สําหรับคอมพิวเตอรรุนเกา พอรตคียบอรดจะมีขนาดใหญกวาและมีเพียง 5 รู พอรตนี้เรียกวา DIN

1

2

5

6

7

4

3

9

8

2. พอรตตอเมาส (Mouse Port) เปนคอนเน็กเตอรตัวเมีย มี 6 รู พอรตลักษณะนี้มักจะมีคอมพิวเตอรรุนใหม ๆ เราเรียกพอรตนี้วา mini-DIN หรือ connecter สําหรับคอมพิวเตอรรุนเกาจะไมมีพอรตตอเมาสโดยตรง แตจะใชพอรตอนุกรมในการเชื่อมตอกับเมาสแทน

3. พอรตอนุกรม (Serial Port) เปนไดทั้งคอนเน็กเตอรตัวผู 9 หรือ 25 เข็ม พอรตอนุกรมเชื่อมตอกับสายเคเบิลที่มีคอนเน็กเตอรตัวเมีย 9 หรือ 25 รู สวนใหญแลวจะใชพอรตนี้เชื่อมตอเมาส หรือโมเด็มติดตั้งภายนอก

4. พอรตขนาน (Parallel Port) เปนคอนเน็กเตอรตัวเมีย มี 25 รู สวนใหญแลวมักจะใชพอรตนี้ในการเชื่อมตอกับเครื่องพิมพ โดยท่ีเครื่องพิมพจะมีสายเคเบิลที่มีคอนเน็กเตอร 25 เข็มอยู

Page 31: 510 กิจกรรมที่ 4-1

ซอฟตแวร ฮารดแวร และระบบเครือขายคอมพิวเตอร กิจกรรมที่ 4 สวนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร

เอกสารศึกษาดวยตนเอง 85 สาขาคอมพิวเตอรสําหรับครูเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

5. พอรต USB (Universal Serial Bus) (USB Port) เปนพอรตรุนใหมที่สามารถตออุปกรณพวงไดถึง 127 ตัว หนาตาของพอรต USB จะเปนคอนเน็กเตอรส่ีเหล่ียมเล็ก ๆ พีซีรุนใหม ๆ มักจะมีพอรต USB2 พอรต นอกจากนี้อุปกรณรุนใหม ๆ ที่เพิ่งวางตลาดก็เร่ิมจะสนับสนุนพอรต USB มากขึ้น เชน กลองดิจิทัลเครื่องพิมพ เมาสหรือโมเด็ม เปนตน

6. พอรตเชื่อมตอเครือขาย (Network Port) พอรตเชื่อมตอเครือขายแบบที่นิยมใชเปนแบบพอรตRJ-45 มีหนาตาคลายกับแจ็คตอสายโทรศัพทที่เราคุนเคย

7. พอรตตอจอภาพ (VGA Card Port) เปนคอนเน็กเตอรตัวเมีย มี 15 รู ซ่ึงเปนของการดแสดงผลในสวนจอภาพนั้นจะมีสายเคเบิลที่มีคอนเน็กเตอรตัวผู 15 เข็ม ในการเชื่อมตอเขากับพอรตตอจอภาพ

8. พอรตตอจอยสติก (Game Port) เปนคอนเน็กเตอรตัวเมียมี 15 รู และสวนใหญพอรตนี้จะอยูที่การดเสียง ใชเชื่อมตอเขากับจอยสติก ซ่ึงเปนคันโยกบังคับที่ใชในการเลมเกม นอกจากนี้คุณยังสามารถใชพอรตจอยสติกนี้เชื่อมตออุปกรณดนตรีบางชนิดได เชน อิเล็กทรอนิกสซินทีไซเซอร (Electronic Synthesizer) เปนตน

9. ออดิโอแจ็ค (Audio Jack) คอมพิวเตอรสวนใหญในปจจุบันมักจะมีการดเสียงติดมาดวย ลําโพงที่เชื่อมตอกับการดเสียงจะใชสายเคเบิลที่มีหัวออดิโอแจ็ค (Audio Jack) และนอกจากลําโพงแลวยังมีไมโครโฟน และหูฟงซึ่งใชออดิโอแจ็คในการเชื่อมตอในลักษณะเดียวกันนี้