กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

28
รายงาน เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง32101 จัดทําโดย นางสาว ชุติมณฑน เอี ่ยมศรีทรัพย เลขที ่ 16 นางสาว ธิพรัตน เนื ่องภิรมย เลขที ่ 17 นางสาว ภาสวัณ คูหา เลขที ่ 18 นางสาว แพรพลอย พรหมชนะ เลขที ่ 19 นางสาว วรรณนิลา ชนะใจวัฒนา เลขที ่ 20 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/5 เสนอ อาจารย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Upload: jlmind-chutimon

Post on 02-Nov-2014

11 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

รายงาน

เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง32101

จัดทําโดย

นางสาว ชุติมณฑน เอ่ียมศรีทรัพย เลขท่ี 16

นางสาว ธิพรัตน เน่ืองภิรมย เลขท่ี 17

นางสาว ภาสวัณ คูหา เลขท่ี 18

นางสาว แพรพลอย พรหมชนะ เลขท่ี 19

นางสาว วรรณนิลา ชนะใจวัฒนา เลขท่ี 20

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/5

เสนอ

อาจารย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี

ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 2: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

คํานํา

ในการจัดทํารูปเลมรายงานเรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนการจัดทํารายงานขึ้นเพื่อ

ใหสามารถศึกษาหาขอมูลตางๆ เกี่ยวกับเรื่องของกระบวนการเทคโนโลยี โดยแบงเปน ขอมูลดังนี้ คือบอก

ความหมายและขั้นตอนการแกปญหา การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา การเลือกเครื่องและ

ออกแบบขั้นตอน การดําเนินการแกปญหา รวมทั้งการตรวจสอบและปรับปรุง อีกทั้งยังมีการถายทอด

ความคิดในการแกปญหาดวยอัลกอริทึม ซึ่งจะประกอบดวยการเขียนรหัสจําลองและ การเขียนผังงาน ซึ่งจะ

มีทั้งเนื้อหาและภาพประกอบสันสีสวยงามนาอาน ซึ่งจะเปนประโยชนตอผูตองการศึกษาไมมากก็นอย

หากรายงานเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใดก็ขอ อภัยไว ณ ที่นี้ดวย

คณะผูจัดทํา

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 3: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

สารบัญ

เรื่อง หนา

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

ข้ันตอนท่ี 1 วิเคราะหปญหาและกําหนดรายละเอียดของปญหา 2

ข้ันตอนท่ี 2 วางแผนในการแกปญหา 3

ข้ันตอนท่ี 3 ดําเนินการแกปญหา 4

ข้ันตอนท่ี 4 การตรวจสอบและปรับปรุง 6

การถายทอดความคิดในการแกไขปญหาดวยอัลกอริทึม(Algorithm) 6

- การเขียนรหัสจําลอง 7

- การเขียนผังงาน 11

ประโยชนของผังงาน 12

ประเภทของผังงาน 12

สัญลักษณที่ใชในการเขียนผังงาน (FLOWCHATING SYMBOLS) 15

หลักเกณฑในการเขียนผังงาน 17

1.โครงสรางแบบเปนลําดับ (Sequence Structure) 17

2.โครงสรางแบบมีตัวเลือก (Selection Structure) 18

3.โครงสรางแบบทําซํ้า (Iteration Structure) 19

- การเขียนโปรแกรม 21

Mind Mapping 22

คําถาม 23

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 4: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process). คือ ขั้นตอนการแกปญหาหรือตอบสนองตอ

ความตองการซึ่งจะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรใหเปนผลผลิตหรือผลลัพธระบบเทคโนโลยี

ประกอบดวยกระบวนการเทคโนโลยีกอใหเกิดประโยชนใชสอย ตามที่มนุษยตองการและเปลี่ยนแปลงการ

เพิ่มประสิทธิภาพในการทํากิจกรรมตางๆของมนุษย เพราะมนุษยมีความตองการในการสรางสิ่งอํานวย

ความสะดวกตางๆในการดํารงชีวิต ซึ่งจะนําไปสูปญหาที่อาจเกิดจากการประดิษฐคิดคนตางๆที่มนุษยสราง

ขึ้น และบางครั้งปญหาอาจเกิดการผลิตสิ่งของตางๆไมตรงตามความตองการไมไดคุณภาพจึงตองมีการ

ออกแบบ เพื่อจะนํามาแกปญหาที่เกิดขึ้นดังกลาว.

ความสําคัญของกระบวนการทางเทคโนโลย.ี

1. เปนพื้นฐานปจจัยจําเปนในการดําเนินชีวิตของมนุษย.

2. เปนปจจัยหลักที่จะมีสวนรวมในการพัฒนา.

3. เปนเรื่องราวของมนุษย และธรรมชาติ.

กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ กระบวนการจัดการกับขอมูลขาวสาร โดยการนําเขา

ขอมูลดิบ มาผานกระบวนการตางๆ เพื่อทําใหขอมูลเปนสารสนเทศที่นํามาใชประโยชนได สามารถนํามา

วิเคราะหจนเปนความรู สามารถนํามาใชแกปญหาและชวยนํามาใชในการตัดสินใจ

กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบดวย การรวบรวมขอมูล การตรวจสอบความถูกตอง

ของขอมูล การประมวลผลเพื่อใหไดสารสนเทศและความรูที่นํามาใชในการตัดสินใจ และการเผยแพร

สารสนเทศ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 5: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

วิธีการแกปญหาอยางเปนระบบ มีขั้นตอนคือ

ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะหปญหาและกําหนดรายละเอียดของปญหา

การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา (State the problem) ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนแรกสุด

กอนที่จะลงมือแกปญหา แตผูแกปญหามักจะมองขามความสําคัญของขั้นตอนนี้อยูเสมอ จุดประสงคของ

ขั้นตอนนี้ คือการทําความเขาใจกับปญหาเพื่อแยกใหออกวาขอมูลที่กําหนดมาในปญหาหรือเงื่อนไขของ

ปญหาคืออะไร และสิ่งที่ตองการคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใชประมวลผล ในการวิเคราะหปญหาใด กลาว

โดยสรุปมีองคประกอบในการวิเคราะห ดังนี้

1. การระบุขอมูลเขา ไดแก การพิจารณาขอมูลและเงื่อนไขที่กําหนดมาในปญหา

2. การระบุขอมูลออก ไดแก การพิจารณาเปาหมายหรือสิ่งที่ตองหาคําตอบ

3 การกําหนดวิธีประมวลผล ไดแก การพิจารณาขั้นตอนวิธีหาคําตอบหรือขอมูลออก

ตัวอยางที่ 1 แสดงการวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของการหาคาเฉลี่ยของจํานวน

เต็ม 5 จํานวน ไดแก 0 3 4 8 และ 12

(1) การระบขอมูลเขา

ในที่นี้โจทยกําหนดใหหาคาเฉลี่ยของจํานวนเต็ม 5 จํานวน ดังนั้น

ขอมูลเขาไดแกจํานวน 0 3 4 8 และ 12

(2) การระบุขอมูลออก

จากโจทยสิ่งที่เปนคําตอบของปญหา คือคาเฉลี่ย (x) ของจํานวนทั้งหา

(3) การกําหนดวิธีการประมวลผล

จากสิ่งที่โจทยตองการ "คาเฉลี่ย" หมายถึง ผลรวมของจํานวนทั้ง 5

หารดวย 5 ดังนั้น ขั้นตอนของการประมวลผลประกอบดวย

3.1 รับคาจํานวนทั้ง 5 จํานวน

3.2 นําจํานวนเต็มทั้ง 5 มาบวกเขาดวยกัน

3.3 นําผลลัพธจากขอ 3.2 มาหารดวย 5

ตัวอยางที่ 2 แสดงการวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของการหาคา x เม่ือ x คือ

จํานวนเต็มจํานวนหนึ่งในกลุมจํานวนเต็ม 5 จํานวนที่มีคาเฉลี่ยเปน 10

และจํานวนอีก 4 จํานวนไดแก 3 4 8 และ 12

(1) การระบขอมูลเขา

จากโจทยขอมูลเขา ไดแก

2.1 จํานวนอีก 4 จํานวน คือ 3 4 8 12

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 6: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.2 คาเฉลี่ยของจํานวนทั้ง 5 จํานวน คือ 10

(2) การระบุขอมูลออก

จากโจทยสิ่งที่เปนผลลัพธ คือ คา x

(3) การกําหนดวิธีการประมวลผล

จากโจทยและความหมายของ "คาเฉลี่ย" เราสามารถสรุปขั้นตอนของ

การประมวลผลไดดังนี้

3.1 หาคาผลรวมของจํานวนเต็มทั้ง 5 โดยนําคาเฉลี่ยคูณดวยจํานวน

ของเลขจํานวนเต็ม นั่นคือ 10 ´ 5 = 50

3.2 จากความหมายของ "ผลรวม" จะได 3+4+8+12+x = 50

3.3 แกสมการ 27 + x = 50 (จะได x = 23 ซึ่งคือผลลัพธ)

ขั้นตอนที่ 2 วางแผนในการแกปญหา

การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools and Algorithm development) ขั้นตอนนี้เปน

ขั้นตอนของการวางแผนในการแกปญหาอยางละเอียดถี่ถวน หลังจากที่เราทําความเขาใจกับปญหา พิจารณา

ขอมูลและเงื่อนไขที่มีอยู และสิ่งที่ตองการหาในขั้นตอนที่ 1 แลว เราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใชใน

การแกปญหา ขั้นตอนนี้จําเปนตองอาศัยประสบการณของผูแกปญหาเปนหลัก หากผูแกปญหาเคยพบกับ

ปญหาทํานองนี้มาแลวก็สามารถดําเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา

ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการเลือกเคร่ืองมือที่ใชในการแกปญหา โดยพิจารณาความเหมาะสมระหวาง

เครื่องมือกับเงื่อนไขตางๆ ของปญหาซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของเครื่องมือในการแกปญหาดังกลาว

และสิ่งที่สําคัญคือความคุนเคยในการใชงานเครื่องมือนั้นๆ ของผูแกปญหา

อีกสิ่งหน่ึงที่สําคัญในการแกปญหา คือยุทธวิธีที่ใชในการแกปญหาหรือที่เราเรียกวาข้ันตอน

วิธ ี(algorithm) ในการแกปญหา หลังจากที่เราไดเครื่องมือชวยแกปญหาแลว ผูแกปญหาตองวางแผนวาจะ

ใชเคร่ืองมือดังกลาวเพื่อใหไดผลลัพธที่ถูกตองและดีที่สุด การออกแบบขั้นตอนวิธีในการแกปญหา ผู

แกปญหาควรใชแผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการทํางานเพื่อใหงายตอความเขาใจ เชน ผัง

งาน (flowchart) ที่จําลองขั้นตอนวิธีการแกปญหาในรูปของสัญลักษณ รหัสลําลอง (pseudo code) ซึ่งเปน

การจําลองขั้นตอนวิธีการแกปญหาในรูปของคําบรรยาย การใชเคร่ืองมือชวยออกแบบดังกลาวนอกจาก

แสดงกระบวนการที่ชัดเจนแลว ยังชวยใหผูแกปญหาสามารถหาขอผิดพลาดของวิธีการที่ใชไดงายและ

แกไขไดอยางรวดเร็ว

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 7: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ขั้นตอนที่ 3 ดําเนินการแกปญหา

การดําเนินการแกปญหา (Implementation) หลังจากที่ไดออกแบบขั้นตอนวิธีเรียบรอยแลว ขั้นตอนนี้เปน

ขั้นตอนที่ตองลงมือแกปญหาโดยใชเครื่องมือที่ไดเลือกไว หากการแกปญหาดังกลาวใชคอมพิวเตอรเขามา

ชวย ขั้นตอนนี้ก็เปนการใชโปรแกรมสําเร็จหรือใชภาษาคอมพิวเตอรเขียนโปรแกรมแกปญหา ขั้นตอนนี้

ตองอาศัยความรูเกี่ยวกับเคร่ืองมือที่เลือกใชซึ่งผูแกปญหาตองศึกษาใหเขาใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่

ดําเนินการหากพบแนวทางที่ดีกวาที่ออกแบบไวก็สามารถปรับเปลี่ยนได

การแกปญหาดวยกระบวนการสารสนเทศ

การแกปญหามีหลายวิธี ขึ้นกับชนิดของาน วิธีการแกปญหาอยางหนึ่งอาจแกปญหาอีกอยางหนึ่งไมได และการแกปญหา

อาจจําเปนตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไมก็ได ดังนั้น จึงควรยึดหลักการแกปญหาอยางเปนระบบ เพื่อไมใหเสียเวลา

หลงทาง และสับสน วิธีการแกปญหาแตละวิธีมีความเหมาะสมกับงานแตกตางกันไป กอนที่จะใชวิธีแกปญหา ดวย

กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ จะขอยกวิธีการแกปญหาอยางมีขั้นตอนโดยทั่วไป มาใหพิจารณาดูจํานวน

หน่ึง

1.1 หลักการแกปญหาตามวิธีวิทยาศาสตร ( Scientific method ) วิธีการแกปญหาทางวิทยาศาสตรเปนวิธีที่มี

มานานมากแลว ซึ่งใชศึกษาคนควาความรูใหมๆ ตั้งแตหลายรอยปกอน จนเกิดความกาวหนาทาวิทยาศาสตร

ดานตางๆ มากมายอยางทุกวันนี้ หลักการแกปญหา ทางวิทยาศาสตร มีดังนี้

1. เก็บขอมูลเบื้องตน โดยการศึกษา สังเกตเหตุการณหรือปรากฏการณทางธรรมชาติ

2. ตั้งสมมิฐานเกี่ยวกับสาเหตุ แนวความคิด หรือทฤษฎี ของการเกิดปรากฎการณและทางการ

แกปญหา

3. พัฒนาการวิธีการที่จะทดสอบสมมติฐานหรือทฤษฎีตามขอ 2

4. ทําการทดลองเพื่อพิสูจนสมมติฐานหรือทฤษฎี โดยตั้งวัตถุประสงคใหชัดเจน อาจมีการตั้งกลุม

ทดลองภายใตการควบคุม เปรียบเทียบกับกลุมที่ไมควบคุม ทําการบันทึกผลการทดลองที่สังเกตพบไวอยาง

ละเอียดแมนยํา

5. วิเคราะหผลการทดลอง เพื่อหาคําตอบวาสมมติฐานที่ตั้งไวนั้นเปนจริงหรือไม

6. เขียนรายงานสรุปผลคําตอบที่ไดผลที่ไดจากวิธีนี้เปนที่ยอมรับกันมาก เนื่องจากเปนวิธีที่พิสูจน

ได เห็นผลชัดเจน และ มีวัตถุประสงคเดนชัด แตผลที่ไดอาจขาดความคิดสรางสรรค หรือบางครั้งสําหรับ

ปญหางายๆ ก็ไมจําเปนตองใชขั้นตอนมากมายเชนนี้ และปญหาบางอยางก็อาจใชไมไดเลย เพราะทดลอง

ไมได

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 8: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.2 หลักการแกปญหาตามวิธีการทางวิศวกรรม ( Engineering problem solving ) วิธีเหมาะกับการแกปญหา

ในการออกแบบผลิตภัณฑ สินคา หรือเพื่อสรางสิ่งใหมหรือเพื่อการแกปญหาในเชิงวิศวกรรม มีขั้นตอน

ดังน้ี

1. วิเคราะหปญหา กําหนดรายละเอียดปญหาใหชัดเจนเปนขอๆ กําหนดความ ตองการและขอจํากัด

ในการแกปญหาเปนขอๆวิเคราะหขอมูลวามีขอมูลใดที่มีอยูแลวและใชไดอะไรคือสิ่งที่ยังไมรูและตองการรู

2. สรางแบบจําลองวิธีการแกปญหา ( Define model ) อาจเปนแบบจําลองทางคณิตศาสตร หรือบาง

กรณีตองสรางแบบจําลองยอสวนจากของจริง คิดคนหาสูตรสมการที่จะใชแกปญหา เก็บขอมูลที่ตองใช

แกปญหา

3. คํานวณหาคําตอบโดยใชแบบจําลอง วิธี และสมกาในขอ 2 ตรวจสอบผลลัพธที่ไดวาถูกตอง

เหมาะสมหรือไม

4. ผลลัพธหรือคําตอบที่ไดมีเหตุผลวาถูกตองเหมาะสม จึงนําไปปฏิบัติ

1.3 วิธีการแกปญหาแบบสรางสรรค ( Creative problem solving ) วิธีนี้เปนวิธีแกปญหาที่ใชแนวคิดแบบ

สรางสรรค สามารถนําไปใชงานไดกวางขวาง ซึ่งมีหลายวิธีเชนกนัในที่นี้ขอยกตัวอยางวิธีของ Sidney J.

Parness ดังน้ี

1. ใชความสังเกตอยางพินิจพิเคราะห คือใหตื่นตัวตกใจ ใชตาดูหูฟง เพื่อใหมองเห็นปญหาตาง ๆ ที่

เกิดขึ้น และมองเห็นวิธีแกปญหาที่อาจเปนไปได

2. คนหาความจริง โดยเก็บรวบรวมขอมูล เชน ทําการศึกษา ทดลอง หรือทําวิธีใดๆที่เหมาะสม

3. คนหาปญหา เพื่อดูวาปญหาที่แทจริงคืออะไร สาเหตุของการเกิดคืออะไร

4. คนหาแนวความคิดในการแกปญหา โดยการคิดคนวิธีการแกปญหาหลายๆวิธีที่อาจใชได อยาเพิ่ง

ดวนสรุปวิธีนั้นวิธีนี้ดีที่สุด ทําการประเมินและปรับปรุงแนวคิดใหดีขึ้น

5. คนหาวิธีการแกปญหาที่เหมาะสม โดยการกําหนดเกณฑในการเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งจากวิธีที่คิดไว

หลายๆวิธี เชน เลือกวิธีที่เร็ว ราคาถูก และดีเพียงพอกับความตองการ

6. คนหาวิธีการยอมรับวิธีแกปญหาที่เลือกไว โดยหาวิธีที่จะทําใหตนเองและผูเกี่ยวของยอมรับวิธี

แกปญหาที่เลือกไวรวมกัน และตกลองแกปญหาดวยวิธีนั้นขอเสียของวิธีนี้คือ ไมกลาวถึงวิธีการนําไป

ปฏิบัติ หรือการทดสอบวิธีการแกปญหาที่เลือกไวกอนนําไปใชจริง แตมีจุดเดนตรงที่ชวยสรางแนวทางการ

แกปญหาที่หลากหลาย ที่ผูใชเลือกไดโดยอิสระ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 9: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้ันตอนที่ 4 การตรวจสอบและปรับปรุงการตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแกปญหาแลว ตองตรวจสอบใหแนใจวา

วิธีการนี้ใหผลลัพธที่ถูกตอง โดยผูแกปญหาตองตรวจสอบวาขั้นตอนวิธีที่สรางขึ้นสอดคลองกับรายละเอียด

ของปญหา ซึ่งไดแก ขอมูลเขา และขอมูลออก เพื่อใหมั่นใจวาสามารถรองรับขอมูลเขาไดในทุกกรณีอยาง

ถูกตองและสมบูรณ ในขณะเดียวกันก็ตองปรับปรุงวิธีการเพื่อใหการแกปญหาน้ีไดผลลัพธที่ดีที่สุด

ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนดังกลาวขางตน เปนเสมือนขั้นบันได (stair) ที่ทําใหมนุษยสามารถ

ประสบความสําเร็จในการแกปญหาตางๆ ได รวมทั้งการเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อ

แกปญหาก็ตองใชกระบวนการตามข้ันตอนท้ัง 4 น้ีเชนกัน

การถายทอดความคิดในการแกไขปญหาดวยอัลกอริทึม(Algorithm)

การจําลองเปนขอความ (Algorithm)

ขั้นตอนที่สําคัญในการแกปญหาคือการวางแผน การวางแผนที่ดีจะชวยใหการแกปญหาเปนไปได

โดยงาย ผูที่สามารถวางแผนในการแกปญหาไดดีนอกจากจะตองใชประสบการณความรู และความมีเหตุผล

แลว ยังควรรูจักวางแผนใหเปนข้ันตอนอยางเปนระเบียบดวย

การจําลองความคิดเปนสวนหนึ่งในขั้นตอนที่สองของการแกปญหา การจําลองความคิดออกมาใน

ลักษณะเปนขอความ หรือเปนแผนภาพจะชวยใหสามารถแกปญหาไดดี โดยเฉพาะปญหาที่ยุงยากซับซอน

การวางแผนจะเปนแนวทางในการดําเนินการแกปญหาตอไป อีกทั้งเปนการแสดงแบบเพื่อใหผูที่เกี่ยวของ

ไดเขาใจและสามารถปฏิบัติตามในแนวทางเดียวกัน ทั้งน้ีก็ดวยวัตถุประสงคอยางเดียวกับกลุมกิจการ

กอสราง ซึ่งจําเปนตองมีแบบแปลนเปนเครื่องมือติดตอสื่อสารระหวางผูออกแบบและผูกอสราง แบบแปลน

เหลานั้นจะอยูในรูปลักษณะของการวาดภาพหรือแสดงเครื่องหมายซึ่งเปนที่เขาใจกันระหวาง ผูเกี่ยวของ

แบบแปลนจะตองจัดทําใหเสร็จกอนที่จะลงมือกอสราง โดยผานการตรวจสอบ ทบทวนและพิจารณาจาก

ผูเกี่ยวของหลายฝาย เมื่อเห็นวาเปนที่ถูกตองและพอใจของทุกฝายแลว จึงกอสรางตามแบบนั้น แตถายังไม

เปนที่พอใจ ก็จะพิจารณาแกไขแบบแปลนสวนนั้นๆเสียกอนจะไดไมตองรื้อถอนหรือทุบทิ้งภายหลัง และ

เมื่อตองการซอมแซมหรือตอเติมก็นําเอาแบบแปลนเดิมมาตรวจสอบและเพิ่มแบบแปลนในสวนน้ันได

โดยงาย การใชแบบแปลนจึงเปนสิ่งที่จําเปนระหวางชางกอสราง ผูออกแบบและผูเกี่ยวของอื่นๆ เปนอยาง

มาก เพราะประหยัดเวลา คาใชจายและเขาใจงาย เมื่อสรุปรวมแลวแบบแปลนเหลานั้นก็คือขอตกลงใหสราง

อาคารของผูจางกับผูรับจางที่อยูในรูปแบบกะทัดรัด แทนที่จะเขียนเปนขอความที่เปนลายลักษณอักษรอยาง

ยืดยาว และยังเปนเครื่องมือใหชางใชในการกอสรางอีกดวย

เครื่องมือที่ใชในการจําลองความคิดมักจะประกอบขึ้นดวยเครื่องหมายที่แตกตางกันหลายอยาง แตพอ

สรุปไดเปน 2 ลักษณะ คือ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 10: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 การจําลองความคิดเปนขอความหรือคําบรรยาย (Algorithm) เปนการเขียนเคาโครงดวยกาบรรยาย

เปนภาษาที่มนุษยใชสื่อสารกัน เพื่อใหทราบถึงขั้นตอนการทํางานของการแกปญหาแตละตอน ในบางครั้ง

อาจใชคําสั่งของภาษาที่ใชเขียนโปรแกรมก็ได

ตัวอยาง ขั้นตอนการตมบะหมี่

1. เริ่มตน ตมน้ําใหเดือด ใสบะหมี่ลงในน้ําเดือด

2. ตมประมาณ 1 นาที

3. ใสเครื่องปรุงแลวยกลงจากเตา รับประทาน

4. จบ

2. การจําลองความคิดเปนสัญลักษณหรือผังงาน (Flowchart)

สัญลักษณ คือ เคร่ืองหมายรูปแบบตางๆ ซึ่งใชสําหรับสื่อสารความหมายใหเขาใจตรงกัน

สถาบันมาตรฐานแหงชาติอเมริกา (The American National Standard Institute, ANSI) ไดกําหนดสัญลักษณ

ไวเปนมาตรฐานแลว สามารถนําไปใชไดตามความเหมาะสมตอไป

การเขียนรหัสจําลอง

ความหมาย ของ รหัสจําลอง

มีผูใหความหมายไวตาง ๆ กัน เชน

1. หมายถึง การเขียนโปรแกรมโดยไมตองคํานึงถึงไวยากรณ แตเปนภาษาที่นักเขียนโปรแกรมเขาใจกันได

มีลักษณะเปนภาษาอังกฤษธรรมดาสวนหนึ่ง กับภาษาทําโปรแกรม (programming language) อีกสวนหนึ่ง

2. หมายถึง การทํางานของโปรแกรมที่นําเสนอเปนภาษาอังกฤษที่ขาดๆ หายๆ ซึ่งเปนสวนผสมระหวาง

ภาษาอังกฤษธรรมดากับภาษาโปรแกรม รหัสลําลองนี้มีไวใหโปรแกรมเมอรเห็นภาพคราวๆ โดยไมตองลง

ไปในรายละเอียด

3. เปนทั้งวิธีการออกแบบและการแสดงแบบโปรแกรมสําหรับใชในการเขียนคําสั่ง ความหมายของคําวา

คําสั่งลําลอง ก็คือ คําสั่งที่ไมใชคําสั่งในภาษาคอมพิวเตอรอยางแทจริง แตเปนคําสั่งที่เขียนเลียนแบบคําสั่ง

จริงอยางยอ และใชแนวทางของคําสั่งควบคุมในภาษานั้น นั่น คือ เราอาจจะใชคําสั่งควบคุม เชน Do While,

If, Else แทนลอจิกของโปรแกรมเพื่อใหเห็นแนวทางการทํางานในโปรแกรม แตวิธีการทํางานนั้นเรา

สามารถใชภาษาอังกฤษระบุอยางยอ ได

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 11: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

4. ใชขอความที่เปนภาษาไทยหรืออังกฤษก็ได ในการแสดงขั้นตอนการแกปญหา แตจะมีคําเฉพาะที่เปน

ภาษาในโครงสรางของโปรแกรมมาชวยในการเขียน โครงสรางของรหัสลําลองจะมีสวนคลายกับการเขียน

โปรแกรมมาก

5. ซูโดโคดหรือรหัสเทียม เปนเครื่องมือที่นิยมใชกันมากในการออกแบบโปรแกรม ชวยใหโปรแกรมเมอร

สามารถเขียนโปรแกรมไดงายขึ้น ภาษาหรือคําที่ใชเขียนซูโดโคด เปนการผสมผสานระหวางคําใน

ภาษาอังกฤษทั่วไป กับภาษาคอมพิวเตอร โครงสรางของรหัสเทียม จึงมีสวนที่คลายคลึงกันกับการเขียน

โปรแกรมมาก

สรุป

รหัสลําลองหรือ pseudocode เปนคําบรรยายที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี(algorithm) ของการเขียน

โปรแกรม โดยใชภาษาที่กระทัดรัด สื่อสารกับโปรแกรมเมอรผูเขียนโปรแกรม โดยอาจใชภาษาที่ใชทั่วไป

และอาจมีภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมประกอบ แตไมมีมาตรฐานแนนอนในการเขียน pseudocode และ

ไมสามารถนําไปทํางานบนคอมพิวเตอรโดยตรง(เพราะไมใชคําสั่งในภาษาคอมพิวเตอร) และไมขึ้นกับ

ภาษาคอมพิวเตอรภาษาใดภาษาหนึ่ง นิยมใช pseudocode แสดง algorithm มากกวาใชผังงาน เพราะผังงาน

อาจไมแสดงรายละเอียดมากนักและใชสัญลักษณซึ่งทําใหไมสะดวกในการเขียน เชนโปรแกรมใหญ ๆ

หลักเกณฑการเขียนรหัสลําลอง

มีการสรุปหลักเกณฑ ในการเขียนรหัสลําลอง ไวหลายแบบ ในที่นี้ขอเสนอ 2 ราย

หลักเกณฑทั่วไปของการเขียนรหัสลําลอง (แบบที่1)

1. สัญลักษณที่ใชในการดําเนินการทางคณิตศาสตรตาง ๆ จะถูกใชงานตามปกติ คือ + สําหรับการบวก –

สําหรับการลบ * สําหรับการคูณ และ/ สําหรับการหาร

2. ช่ือขอมูลใชแทนจํานวนท่ีจะถูกดําเนินการตามข้ันตอนวิธี

3. การใชคําอธิบายกํากับขั้นตอนวิธี อาจทําโดยใชสัญลักษณ * หรือ ** กํากับหัวทายขอความคําอธิบาย

เพ่ือแยกออกมาจากข้ันตอนการทํางาน

4. คําสงวนบางคําที่ใชในภาษาระดับสูงทั่วไปอาจนํามาใช เชน Read หรือ Enter สําหรับการรับขอมูล

เขา และWrite หรือ Print สําหรับการแสดงขอมูลออก

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 12: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

5. การเพิ่มหรือลดระยะเยื้องอยางเหมาะสม เพื่อแสดงระดับของขั้นตอนการทํางานในโครงสรางควบคุม

การทํางานในกลุมเดียวกัน

หลักเกณฑการเขียนซูโดโคด (แบบท่ี2)

1. ถอยคําหรือประโยคคําสั่ง(statement) ใหเขียนอยูในรูปแบบของภาษาอังกฤษอยางงาย

2.ในหนึ่งบรรทัด ใหเขียนประโยคคําสั่งเพียงคําสั่งเดียว

3.ควรใชยอหนาใหเปนประโยชนเพ่ือแยกคําเฉพาะ(Keywords) ไดอยางชัดเจน รวมถึงจัดโครงสรางการ

ควบคุมใหเปนสัดสวน ซึ่งการกระทําดังกลาวจะทําใหอานงาย

4. แตละประโยคคําสั่งใหเขียนลําดับจากบนลงลางโดยมีเพียงทางเขาทางเดียวและมีทางออกทางเดียว

เทาน้ัน

5.กลุมของประโยคคําสั่งตาง ๆ อาจจัดรวมกลุมเขาดวยกันในรูปแบบของโมดูล แตตองกําหนดชื่อ

โมดูลเหลานั้นดวย เพื่อใหสามารถเรียกใชโมดูลเหลานั้นได

ตัวอยาง การคํานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม นํามาเขียนซูโดโคดไดดังนี้

Area of triangle

Read width and height

Compute Area = 0.5 * width * height

Display Area

End

ตัวอยาง pseudocode ของโปรแกรมที่กําหนดใหรับคาตัวเลขจํานวนเต็ม 3 คา แลวเรียงลําดับคาจากมากไป

นอยและแสดงผลลัพธ อาจเปนดังนี้

input nbr1, nbr2, nbr3

if nbr1 is greater than nbr2 but less than nbr3

output nbr3 nbr1 nbr2

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 13: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

else if nbr2 is greater than nbr1 but less than nbr3

output nbr3 nbr2 nbr1

else if nbr1 is greater than nbr3 but less than nbr2

output nbr2 nbr1 nbr3

else if nbr2 is greater than nbr3 but less than nbr1

output nbr1 nbr2 nbr3

else if nbr3 is greater than nbr2 but less than nbr1

output nbr1 nbr3 nbr2

ตัวอยาง รหัสลําลอง ของการรับขอมูล อาจเปนดังนี้

Read StudentName

Get SystemDate

Read number1,number2

Get taxcode

ตัวอยาง รหัสลําลอง จากสวนของโปรแกรมตอไปนี้(ขอสอบโอลิมปก วิชาคอมพิวเตอรป2551 รอบท่ี1)

sum 0 ;

for ( i 1 ; i <= n ; i++)

for ( j 1 ; j <= i ; j++ )

if ( j mod i == 0 )

for ( k 0 ; k < j ; k++ )

sum sum + 1 ;

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 14: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

end for

end if

end for

end for

ถา n มีคาเทากับ 10 หลังจากจบการทํางานแลว sum มีคาเปนเทาใด

ก. 55 ข. 87 ค. 65 ง. ไมมีขอใดถูก (ตอบ55)

การเขียนผังงาน

ผังงาน (flowchart) คือ แผนภาพซ่ึงแสดงลําดับข้ันตอนของการทํางาน โดยแตละข้ันตอนจะถูกแสดงโดยใชสัญลักษณซ่ึงมี

ความหมายบงบอกวา ขั้นตอนนั้น ๆ มีลักษณะการทํางาน ทําใหงายตอความเขาใจ วาในการทํางานนั้นมีขั้นตอน

อะไรบาง และมีลําดับอยางไร

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 15: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประโยชนของผังงาน

1. ชวยใหสามารถทําความเขาใจลําดับขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมหรือระบบใด ๆไดอยาง

รวดเร็ว

2. ชวยแสดงลําดับขั้นตอนการทํางาน ทําใหสามารถเขียนโปรแกรมไดอยางเปนระบบไมสับสน

นอกจากนี้ผังงานยังเปนอิสระตอภาษาที่ใชในการ เขียนโปรแกรม กลาวคือจากผังงานเดียวกันสามารถนําไป

เขียนโปรแกรมดวยภาษาใดก็ได

3. ชวยในการตรวจสอบ และแกไขโปรแกรมไดงาย เมื่อเกิดขอผิดพลาด ชวยใหการดัดแปลง

แกไข ทําไดอยางสะดวกและรวดเร็ว

4. ชวยใหผูอื่นสามารถศึกษาการทํางานของโปรแกรมไดอยางงาย และรวดเร็วมากขึ้น

ประเภทของผังงาน

1. ผังงานระบบ (system flowchart)

เปนผังซึ่งแสดงขอบเขต และลําดับขั้นตอนการทํางานของระบบหนึ่ง ๆ รวมทั้งแสดงรูปแบบ

ของขอมูลเขา (Input) และขอมูลออก (Output) วาถูกรับเขาหรือแสดงผลโดยผานสื่อประเภทใด

เนื่องจากผังงานระบบเปนแผนภาพที่แสดงถึงระบบโดยรวม ดังนั้นกระบวนการหรือโปรแกรมหนึ่ง ๆ

อาจถูกแสดงเปนเพียงขั้นตอนหนึ่งในผังงานระบบเทานั้น

2. ผังงานโปรแกรม (Program flowchart)

เปนผังงานซ่ึงแสดงลําดับข้ันตอนการทํางานของโปรแกรมหน่ึง ๆ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 16: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

จากตัวอยางผังงานระบบมีความหมายดังนี้

1. นําขอมูลเขาจากฐานขอมูลพนักงาน ซึ่งอยูในดิสก (disk) จึงเขียนแทนดวยสัญลักษณ

2. คํานวณเงินเดือน เปนการประมวลผล จึงเขียนแทนดวยสัญลักษณสี่เหลี่ยมผืนผา

3. พิมพเช็ค เปนการแสดงผลทางเครื่องพิมพ จึงเขียนแทนดวยสัญลักษณ

ตัวอยางผังงานโปรแกรม

ผังงานโปรแกรมน้ีแสดงการคํานวณเงินเดือนของพนักงาน โดยถาช่ัวโมงการทํางานในเดือนน้ัน ๆ ไมเกิน 160 ช่ัวโมง

เงินเดือนจะถูกคํานวณโดยใชอัตราคาแรงตามปกติ แตถาช่ัวโมงการทํางานเกิน 160 ช่ัวโมง 160 ช่ัวโมงแรกจะใชอัตรา

คาแรงตามปกติ และจํานวนช่ัวโมงท่ีเกินจะคิดคาแรงโดยใชอัตราของคาลวงเวลา (overtime หรือ OT ) ซึ่งเทากับ 1.5 เทา

ของอัตราคาแรงปกติ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 17: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

จากผังงานสามารถแสดงขั้นตอนการทํางานไดดั้งนี้

1.เริ่มตนโปรแกรม ใชสัญลักษณเทอรมินัล

2.รับขอมูลเขา หรืออานคาของขอมูล ใชสัญลักษณการรับคาหรือแสดงผล

โดยขอมูลที่รับประกอบดวย

- ชื่อพนักงาน

- จํานวนชั่วโมงการทํางาน

- อัตราคาแรง

3.พิจารณาเงื่อนไขวาจํานวนชั่วโมงการทํางานมากวา 160 ชั้วโมงหรือไม โดยใชสัญลักษณการ

ตัดสินใจ

3.1 ถาใช ใหใชสมการตอไปนี้ในการคํานวณคาจาง

คาจาง = ((ชั่วโมงการทํางาน - 160) *1.5 * อัตราคาแรง)+(160 *อัตราคาแรง)

3.2 ถาไมใช ใหใชสมการตอไปนี้ในการคํานวณคาจาง

คาจาง = (ชั่วโมงการทํางาน * อัตราคาแรง)

การคํานวณคาจางในขั้นตอนที่ 3.1 และ 3.2 ใชสัญลักษณการประมวลผล

4. แสดงชื่อพนักงาน และคาจางทีไ่ดจากการคํานวณ ใชสัญลักษณการรับเขาหรือแสดงผล

5. จบโปรแกรมโดยใชสัญลักษณเทอรมินัล

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 18: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

สัญลักษณท่ีใชในการเขียนผังงาน (FLOWCHATING SYMBOLS)

การเขียนผังงาน เปนการเขียนแผนภาพเพื่อแสดงขั้นตอนการทํางาน โดยนําภาพสัญลักษณตาง ๆ มา

เรียนตอกัน สัญลักษณที่นิยมใชในการเขียนผังงานนั้นหนวยงานที่ชื่อวา American National Standards

Institute (ANSI) และ International Standard Organization (ISO) ไดรวมกันกําหนดสัญลักษณมาตรฐาน

เพื่อใชในการเขียนผังงานดังนี้

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 19: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 20: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักเกณฑในการเขียนผังงาน

1. สัญลักษณที่ใชอาจมีขนาดตางๆ กันได แตจะตองมีรูปรางเปนสัดสวนตามมาตรฐาน

2. ทิศทางของลูกศรในผังงาน ควรมีทิศทางจากบนลงลาง หรืออาจจากซายไปขวาเสมอ

3. ผังงานคสรมีความเรียบรอย สะอาด พยายามหลีกเลี่ยงกากรเขียนลูกศรที่ทําใหเกิดจุดตัด เพราะ

จะทําใหผังงานอานและทําความเขาใจไดยาก และถาในผังงานมีการเขียนขอความอธิบายใด ๆ ควรทําใหสั้น

กะทัดรัดและไดใจความ

1.โครงสรางแบบเปนลําดับ (Sequence Structure)

โครงสรางลักษณะนี้เปนโครงสรางพื้นฐานของผังงาน และเปนลักษณะขั้นตอนการทํางานที่พบ

มากที่สุด คือทํางานทีละขั้นตอนลําดับ

ตัวอยางผังงานที่มีโครงสรางแบบเปนลําดับ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 21: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

จากตัวอยางผังงานการคํานวณดอกเบี้ย สามารถอธิบายเปนขั้นตอนไดดังนี้

1. เริ่มตนการทํางาน

2. รับคาเงินตน และอัตราดอกเบี้ยเพื่อใชในการคํานวณหาดอกเบี้ย

3. คํานวณหาดอกเบี้ยโดยใชสมการตอไปนี้ ดอกเบี้ย = เงินตน * อัตราดอกเบี้ย

4. แสดงคาของดอกเบี้ยซึ่งคํานวณได

5. จบการทํางาน

2.โครงสรางแบบมีตัวเลือก (Selection Structure)

โครงสรางการทํางานแบบมีการเลือกมีรูปแบบที่ซับซอนกวาโครงสรางแบบเปนลําดับรูปแบบที่งายที่สุด

ของโครงสรางแบบน้ีคือ การเลือกแบบมีทางออก 2 ทาง ในการเลือกแบบมีทางออก 2 ทาง น้ีจะมี

ทางออกจากสัญลักษณการตัดสินใจเพียง 2 ทาง คือ ใชหรือไมใช เทาน้ัน (แตระบบการเขียนผังงาน

ระบบ อนุญาตใหมีทางออกจากการตัดสินใจไดมากกวา 2 ทาง)

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 22: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวอยางผังงานที่มีโครงสรางแบบมีการเลือก

ผังงานการคํานวณดอกเบี้ยซึ่งมีอัตราดอกเบี้ย 2 อัตรา คือถาเงินตนนอยกวา 1 ลานบาท จะคิด

ดอกเบ้ียดวยอัตรารอยละ 4 แตถามีเงินตนมากกวา 1 ลานบาท จะคิดดอกเบี้ยดวยอัตรารอยละ 5

จากผังงานสามารถอธิบายเปนขั้นตอนไดดังนี้

1. เร่ิมตนการทํางาน

2. รับคาเงินตน

3. พิจารณาเงินตนที่รับคาเขามามากกวา 1 ลานบาทหรือไม

- ถาใช ใหคํานวณดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 5 ดังน้ัน ดอกเบ้ีย = เงินตน * 0.05

- ถาไมใช ใหคํานวณดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 5 ดังน้ัน ดอกเบ้ีย = เงินตน * 0.04

4. แสดงคาดอกเบี้ยที่คํานวณได

5. จบการทํางาน

3.โครงสรางแบบทําซํ้า (Iteration Structure)

โครงสรางการทํางานแบบทําซ้ํา จะทํางานแบบเดียวกันซ้ําไปเรื่อย ๆ ในขณะที่ยังเปนไปตามเงื่อนไข

หรือเงื่อนไขเปนจริง จนกระทั้งเงื่อนไขเปนเท็จจึงทํางานอื่นตอไป

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 23: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวอยางผังงานที่มีโครงสรางแบบทําซ้ํา ผังงานการคํานวณยอดบัญชี ( เงินตนทบดอกเบ้ีย )

จากตัวอยางผังงานสามารถอธิบายเปนขั้นตอนไดดังนี้

1. เริ่มตนการทํางาน

2. รับคาเงินตน อัตราดอกเบี้ย และจํานวนปที่ฝากเงิน ซึ่งเปนขอมูลที่จําเปนในการคํานวณยอด

บัญชี(เงินตนทบดอกเบ้ียตามจํานวนป ท่ีฝากเงิน)

3. กําหนดให n มีคาเทากับ 0 ในผังงานนี้ n คือจํานวนรอบของการคิดดอกเบ้ีย

4. กําหนดยอดบัญชีเร่ิมตนใหเทากับเงินตนท่ีรับคาเขามา

5. เปรียบเทียบวา n นอยกวาจํานวนปท่ีฝากเงินหรือไม

5.1 ถาใชใหทําตามขั้นตอนตอไปนี้

- คํานวณยอดบัญชีใหมโดยทบดอกเบี้ยเพิ่มเขาไปจากยอดบัญชีเดิมโดยใชสมการ

ตอไปน้ียอดบัญชี = ยอดบัญชี + (ยอดบัญชี * อัตราดอกเบ้ีย)

- เพิ่มคา n ไปอีก 1

- กลับไปเปรียบเทียบเงื่อนไขในขอ 5

5.2 ถาไมใช แสดงวาคิดดอกเบี้ยทบตนครบตามจํานวนปที่ฝากเงินซึ่งรับคาเขามาแลวใหทํา

ตามข้ันตอนตอไปน้ี

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 24: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

- แสดงคายอดบัญชีสุดทายที่คํานวณได

- จบการทํางาน

การเขียนโปรแกรม

ผังงานโปรแกรมสามารถนํามาใชเขียนโปรแกรม โดยในการเขียนโปรแกรมสามารถเลือกใชภาษาได

หลายภาษา ไมวาจะเปนภาษาแอสเซมบลี ภาษาเบสิก ภาษาซี ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล ภาษาฟอร

แทรน หรือภาษาอ่ืน ๆ ซี่งแตละภาษาก็มีรูปแบบไวยากรณของภาษาที่ใชแตกตางกันออกไป แต

โดยทั่วไปแลวจะมีรูปแบบหรือโครงสรางของคําสั่งที่คลายกัน โดยทั่วไปทุกคําสั่งจะมีคําสั่งพื้นฐาน

ตอไปน้ี

1. คําสั่งการรับขอมูลเขา และการแสดงผล

2. คําสั่งการกําหนดคา

3. คําสั่งการเปรียบเทียบเงื่อนไข

4. คําสั่งการทําซ้ําหรือการวนลูป

ซึ่งคาสั่งพื้นฐานเหลานี้ก็สามารถรองรับขั้นตอนการทํางานแตละขั้นตอนในผังงานโปรแกรมได

เปนอยางดี ดังนั้นหลังการออกแบบขั้นตอนการทํางานในโปรแกรมโดยใชผังงานแลวสามารถนําผังงานนั้น

มาใชในการเขียนโปรแกรมได โดยเขียนโปรแกรมเปนลําดับตามข้ันตอนตาง ๆ ตามท่ีระบุไวในผังงาน

หลังจากเขียนโปรแกรมที่ตองการเสร็จแลว ยังตองมีการทดสอบความผิดพลาดในโปรแกรม และ

แกไขขอผิดพลาดนั้นๆ กอน จึงจะสามารถนะโปรแกรมเหลานั้นไปใชงานไดจริง

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 25: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

การถายทอดความคิดในการ

แกไขปญหาดวยอัลกอริทึม

วิธีการแกไขปญหา

วางแผนในการ

แกปญหา

วิเคราะหปญหา

และกําหนด

รายละเอียดของ

ดําเนินการ

แกปญหา

การเขียนผังงาน

การเขียนรหัสจําลอง

การตรวจสอบและ

ปรับปรุง

หลักเกณฑในการ

เขียนผังงาน

ประเภทของผังงาน

สัญลักษณที่ใชในการ

เขียนผังงาน

ประโยชนของผังงาน

โครงสรางแบบ

ทําซ้ํา

โครงสรางแบบ

เปนลําดับ

โครงสรางแบบ

มีตัวเลือก

การเขียนโปรแกรม

กระบวนการเทคโนโลยี

สารสนเทศ

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 26: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

คําถาม

1.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร

ก.การทํางานตามขั้นตอนที่กําหนด

ข.ขั้นตอนการแกปญหาหรือตอบสนองตอความตองการ

ค.กระบวนการจัดการกับขอมูลขาวสาร

ง.การจัดการแบบล้ํายุค

2.การแกปญหาดวยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีกี่ขัน้ตอน

ก.3 ข.4 ค.5 ง.6

3.การวิเคราะหปญหาและกําหนดรายละเอียดของปญหามีองคประกอบดังตอไปนี้ ยกเวนขอใด

ก.การกําหนดวิธีประมวลผล ข.การระบุขอมูลออก

ค.การระบุขอมูลเขา ง.การวิเคราะหขอมูล

4.การพิจารณาขอมูลและเงื่อนไขที่กําหนดมาในปญหา อยูในองคประกอบใดของการวิเคราะหขอมูล

ก.การระบุขอมูลเขา ข.การระบุขอมูลออก

ค.การกําหนดวิธีประมวลผล ง.กและข ถูกตอง

5. ขอใดไมใชโครงสรางการเขียนผังงาน

ก.โครงสรางแบบลําดับ ข.โครงสรางแบบทางเลือก

ค.โครงสรางแบบซ้ําซอน ง.โครงสรางแบบทําซ้ํา

6.อัลกอริทึมที่ดีตองมีผลลัพธที่ดีควรมีคุณสมบัติยกเวนขอใด

ก.ความแมนยําถูกตอง

ข.มีขั้นตอนหลักและขั้นตอนยอย

ค.เขาใจงายและชัดเจน

ง.มีขั้นตอนที่ผลลัพธออกมาหลายคําตอบไมใชคําตอบเหมือนเดิมทุกครั้ง

7.สัญลักษณที่ใชในการเขียนผังงาน มีไวเพื่ออะไร

ก.แสดงขั้นตอนการทํางาน ข.ความสวยงาม

ค.การจัดการขอมูล ง.ลําดับขอมูล

8.การเขียนโปรแกรม โครงสรางของคําสั่งที่คลายกัน โดยทั่วไปทุกคําสั่งจะมีคําสั่งพื้นฐานตอไปนี้ยกเวน

ขอใด

ก.คําสั่งการรับขอมูลเขา และการแสดงผล

ข.คําสั่งการทําซ้ําหรือการวนลูป

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 27: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ค.คําสั่งการเปรียบเทียบเงื่อนไข

ง.คําสั่งการประเมินผลขอมูล

9.การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผูออกแบบควรดําเนินงานเวลาใด

ก.หลังการดําเนินงานเสร็จสิ้นแลว

ข.ควรกระทําระหวางการดําเนินงานและภายหลังการดําเนินงานเสร็จสิ้นแลว

ค.ระหวางการดําเนินงาน

ง.ไมมีขอใดถูกตอง

10.การเขียนโครงสรางแบบลําดับควรมีวิธีการเขียนอยางไร

ก.เขียนเปนลําดับขั้นจากบนลงลาง หรือ ซายไปขวาเทานั้น

ข.เขียนเปนลําดับขั้นตอน จากขวาไปซายเทานั้น

ค.เขียนแบบแสดงเงื่อนไข มีสองทางเลือก

ง.เขียนเปนลําดับ ไลลงมาแลวแยกออกเปนสองทาง แบบสองตัวเลือก

เฉลย

1. ข

2. ข

3. ง

4. ก

5. ค

6. ง

7. ก

8. ง

9. ข

10.ก

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 28: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

บรรณานุกรม

หลักการแกปญหา.สืบคนเมื่อ 17 มิถุนายน 2555 จาก http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson7/pg7_1.htm

โรงเรียนเชียงคําวิทยาคม อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา. การจําลองความคิดเปนสัญลักษณหรือผังงาน

(Flowchart). สืบคนเม่ือ 17 มิถุนายน 2555 จากhttp://www.krunee.com/E_learning/content422.html

หลักการและวิธีการแกปญหาดวยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ . สืบคนเมื่อ 17 มิถุนายน 2555

จาก http://www.smartdrae.com/resourcers/centers/flowcharts/index.htm

การเขียนผังงาน. สืบคนเมื่อ 17 มิถุนายน 2555 จาก http://www.bcoms.net/system_lesson63.asp

รหัสจําลอง. สืบคนเมื่อ 17 มิถุนายน 2555 จาก www.pkc.ac.th/.../12%20content9%20%20Pseudocode.doc

ครูเดช.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ. สืบคนเมื่อ 17 มิถุนายน 2555 จาก

http://kroodechathon.wordpress.com

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/