เทคโนโลยีอวกาศ

64
เทคโนโลยีอวกาศ (space technology) ครู สุขุมาล

Upload: sukumal-ekayodhin

Post on 17-Jul-2015

170 views

Category:

Science


6 download

TRANSCRIPT

เทคโนโลยีอวกาศ (space technology)

ครูสุขุมาล

เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศspace technologyspace technology

อวกาศ space หมายถึง อาณาบริเวณ อันกว ้างใหญ่ เลยชั้นบรรยากาศของ

โลกออกไป ไม่สามารถระบถุ ึงขอบเขตได้ช ัดเจน

เทคโนโลยอีวกาศ หมายถึง ระเบยีบ ว ิธ ีการนำาความร ู้ เคร ื่องม ือและว ิธ ีการ

ต ่างๆทางว ิทยาศาสตร ์มาปร ับใช้ให ้เหมาะสมกับการศ ึกษาทางด้าน

ดาราศาสตร ์ และอวกาศ

เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยอีวกาศ

คอื การสำารวจสิง่ต่าง ๆ ที่อยูน่อกโลกรวมทั้งโลกของเรา

ปจัจุบันเทคโนโลยอีวกาศได้มีการพฒันาไปเปน็อยา่งมาก ทำาให้ได้ความรู้ใหม่ๆ มากขึ้น หน่วยงานที่มบีทบาทมากในการพัฒนาทางด้านนี้ คือ องคก์ารนาซ่าของสหรัฐอเมริกา

การศึกษาสิ่งต่าง ๆ ในเอกภพโดยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยอีวกาศนั้นมีทั้งด้านการสื่อสาร การสำารวจทรัพยากรโลก และการพยากรณ์อากาศ เปน็ต้น

กล้องโทรทรรศน์กล ้องโทรทรรศน์((telescopetelescope))

ชนิดของกล้องโทรทรรศน์1. กล้องโทรทรรศน์ แบบหักเหแสง(Refractor)

2. กล้องโทรทรรศน์ แบบสะท้อนแสง(Reflector)

3. กล้องโทรทรรศน์ชนิดผสม(Catadioptic)

กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ที่ใหญ่ท ี่ส ุด กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ที่ใหญ่ท ี่ส ุดในโลกในโลก

เป ็นแบบหักเหแสง อยู่ท ี่หอด ูดาวเยอร ์เกส เป ็นแบบหักเหแสง อยู่ท ี่หอด ูดาวเยอร ์เกสสหร ัฐอเมร ิกาสหร ัฐอเมร ิกา

เลนส ์ ม ีเสน้ผา่นศ ูนยก์ลาง1 เมตร

กล้องโทรทรรศน์ ท ี่หอดูดาวส ิร ินธร จ กล้องโทรทรรศน์ ท ี่หอดูดาวส ิร ินธร จ ..เช ียงใหม่เช ียงใหม่ เร ิ่มด ำาเน ินการมาตั้งแต ่ป ี พ เร ิ่มด ำาเน ินการมาตั้งแต ่ป ี พ ..ศศ ..25392539 เสร ็จสมบูรณ์ในเสร ็จสมบูรณ์ใน

เด ือน ธ เด ือน ธ .. ค ค 25432543 เป ็นกล ้องแบบสะท้อนแสง ชนิดร ิชชี เป ็นกล ้องแบบสะท้อนแสง ชนิดร ิชชี-- เครเท ียน ขนาดเส ้นผา่นศนูย ์กลาง เครเท ียน ขนาดเส ้นผา่นศนูย ์กลาง 0.50.5 เมตร เมตร ((2020 นิ้วน ิ้ว ) )

การเด ินทางส ู่อวกาศการเด ินทางส ู่อวกาศ

การจะเด ินทางออกจากโลกจึงต ้องตอบ คำาถามต่างๆ

ทีท่ ้าทาย คอื• จะใช้ยานพาหนะอะไรจ ึงจะเด ินทางไปได้

• จะออกแบบยาน อยา่งไร• จะใช้พล ังงานจากแหล่งใด เปน็เช ื้อ

เพล ิง• ทำาอย ่างไร ยานพาหนะ จะเอาชนะแรง

โน้มถ ่วงของโลกได้• ถ้ามนุษยอ์อกไปในอวกาศ จะเก ิดอะไร

ขึน้ก ับร ่างกายต้องเตร ียมต ัวอย ่างไร

ในการส ่งดาวเท ียมหร ือยาน อวกาศขึน้ส ูอ่วกาศ จะต ้องอาศ ัย

จรวดที่มแีรงข ับด ันและความเร ็ว สูง สามารถ เอาชนะแรงโน้มถ ่วง

ของโลกที่พยายามดึงด ูดมวลทุก อยา่งเขา้ส ูพ่ ื้นโลก ความเร ็วของ

จรวดหรือยานอวกาศที่สามารถเอาชนะแรงโน้มถ ่วงของโลกได้

เร ียกว ่า ความเรว็จากผิวโลกที่จะ ขึ้นถ ึงวงโคจร (characteristic

velocity) ยิ่งสงูค ่าความเร ็วจากผิวโลกที่จะข ึ้นถ ึงวงโคจรมีคา่มาก

ขึ้น

การใช้ประโยชน์จากจรวดในการใช้ประโยชน์จากจรวดในอดีตอดีต

บนัทึกของชาวจ ีนที่ต ่อส ูก้ ับชาวมองโกล ในปี พ.ศ.1775 กล่าวถ ึงการใช้

ประโยชน์จากจรวดไว ้ว ่า ใช้จรวดขับด ันล ูกธนูพ ุ่งเข ้าหาฝ่ายตรงข้าม

บัง้ไฟของไทยก็ม ีหล ักการเด ียวก ับจรวด คอื แรงก ิร ิยาจากไอเสยีกระทำาต ่อบ ัง้ไฟ

ให้พ ุง่ออกไปข้างหน้า เท ่าก ับแรง ปฏิก ิร ิยาจากบัง้ไฟ กระทำาต ่อ ไอเสยีให้

พ ุง่ไปข้างหล ัง

ในปีพ.ศ.2446 ไชออลคอฟสกี( Tsiolkovski )

ชาวร ัสเซ ีย คน้คว ้าเก ี่ยวก ับเช ื้อเพล ิงแข็งจะไมม่ ีแรงขบัด ันสงูพอที่จะน ำายาน

อวกาศไปสูอ่วกาศได้ ควรใชเ้ช ือ้เพล ิง เหลว

ซึ่งแยกเช ื้อเพล ิง และสารที่ช ่วยในการ เผาไหม้ออกจากกัน

การนำาจรวดมาต่อเป ็นชั้นๆ จะช่วยลด มวลของจรวดลง

เพราะเม ื่อจรวดชัน้แรก ใช้เช ื้อเพล ิง หมดก็ปลดทิ้งไป และให้จรวดชั้นต ่อไปนี้

ทำาหน้าท ี่ต ่อ จนถึงจรวดชั้นสดุท ้ายที่ต ิด กับดาวเท ียมหร ือยานอวกาศ จะม ี

ความเร ็วสงูพอที่จะเอาชนะแรงดึงด ูดของโลกขึ้นส ู่อวกาศได้

หลักการส ่งยานอวกาศของไชออลคอฟสกีถ ือเปน็หล ักการส ำาคญัในการเดนิทางส ูอ่วกาศ

ในปี พ.ศ.2469 โรเบริ ์ต กอดดาร ์ ด ( Robert Goddard ) ชาว

อเมร ิก ัน ประสบความสำาเร ็จใน การสร ้างจรวดเช ื้อเพล ิงเหลว

โดยใช้ออกซเิจนเหลวเปน็สารที่ ช่วยในการเผาไหม้อย ูใ่นถ ังหนึ่ง

และไฮโดรเจนเหลวเป ็นเช ื้อเพล ิงอย ูใ่นถ ังอ ีกถ ังหนึ่ง

ได้ม ีการพฒันา จรวดเชื้อเพล ิงเหลว มาเปน็ล ำาด ับ กระทั่งสหภาพโซเว ียต

ประสบความสำาเร ็จในการใช้จรวด สามท่อนสำาหร ับส ่งยานอวกาศ หรือ

ดาวเท ียมที่ม ีน ำ้าหนักมากขึ้นส ูอ่วกาศ จากนั้นการศ ึกษาคน้คว ้า ด ้านอวกาศ

ก็ม ีการพัฒนาอยา่งรวดเร ็ว เน ื่องจากมีการแข่งข ันก ันระหว ่างประเทศ

มหาอำานาจ ระหว ่างรสัเซ ียและอเมร ิกา

ยคุส ำารวจอวกาศเร ิ่มอยา่งจร ิงจ ัง เม ื่อป ี พ.ศ. 2500 เม ื่อสหภาพ

โซเว ียตสง่ ดาวเท ียมสปุตน ิก 1 ขึ้น ไปในอวกาศ หลังจากนั้นในปี

เด ียวก ัน สหภาพโซเว ียตก็สง่ ดาวเท ียม สปตุน ิก 2 โดยมีสนุ ัข

ต ัวเม ียช ื่อไลก้า ขึ้นไปในอวกาศ ดว้ย

ต่อมาสหรัฐอเมร ิกาจ ึงส ่งดาวเท ียมเอกซพ์ลอเรอร ์1เข ้าส ูว่งโคจร

ของโลกในปี พ.ศ. 2501ผู้หญิงคนแรกที่เด ินทางไปใน

อวกาศเป ็นชาวร ัสเซ ีย ช ื่อ วาเล ็น ตินา เทอเรซโกวา ในปี ค .ศ. 1963

ดาวเท ียมสปุตน ิคดาวเท ียมสปุตน ิค

ยาน สปตุน ิค ยาน สปตุน ิค -2-2 ได้ส ่งหมาที่ช ื่อได ้ส ่งหมาที่ช ื่อไลก ้าไลก้า ((LaikaLaika))ไปด้วยแมว้ ่าม ันจะไม ่ไดก้ล ับมาไปด้วยแมว้ ่าม ันจะไม ่ไดก้ล ับมา

โลกก็ตาม โลกก็ตาม

ต่อมาสหรัฐอเมร ิกาจ ึงสง่ดาวเท ียมเอกซพ์ลอเรอร ์1เข ้าส ูว่งโคจรของ

โลกในปี พ.ศ. 2501ผู้หญิงคนแรกที่เด ินทางไปใน

อวกาศเป ็นชาวร ัสเซ ีย ช ื่อ วาเล ็น ตินา เทอเรซโกวา ในปี ค .ศ. 1963

ดาวเทยีมเอกซ์พลอเรอร ์ดาวเทยีมเอกซ์พลอเรอร ์11

วาเล ็นต ินา เทอเรซโกวา วาเล ็นต ินา เทอเรซโกวา

12    เมษายน 1961    ยรู ิ กาการ ิน ชาว    ร ัสเซยี เปน็มนุษยค์นแรกที่ข ึ้นส ู่อวกาศ

  กาการ ินข ึ้นไปสงู 200    ไมล ์ โคจรรอบ โลก 2      รอบ ต่อมาเพยีง 5  สปัดาห์หล ัง   จาก กาการ ิน ข ึ้นส ูอ่วกาศ อเมร ิก ันก ็ส ่ง

น ักบนิอวกาศขึ้นส ูอ่วกาศสำาเร ็จ     

  ว ันท ี่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) นักบนิอวกาศ อลัน บ ี. เชฟเพริ ์ด จ ู

เน ียร ์ กลายเปน็ชาวอเมร ิก ันคนแรกใน อวกาศ

จอห์น เกล ็นน ์ กลายเปน็ชาวอเมรกิ ันคน แรก ที่โคจรรอบโลก เม ื่อว ันท ี่ 20

กุมภาพนัธ ์ พ.ศ. 2505 ยานอพอลโล 11 (16-24 กรกฎาคม1969)พามนุษยไ์ปลงบนดวงจ ันทร ์คร ั้ง

แรก มลี ูกเร ือสามคน คอื น ีล อาร ์มสตรอง, เอดว ิน อ ัลดร ิน และ ไมเค ิล้ คอ

ลลินส ์

นักบ ินอวกาศก้าวเด ินบนพืน้ผ ิวน ักบ ินอวกาศก้าวเด ินบนพืน้ผ ิว ดวงจ ันทร ์ดวงจ ันทร ์

ในการเดนิทางไปกับ ยานอะ ในการเดนิทางไปกับ ยานอะ พอลโล พอลโล 1111

ระบบการขนสง่อวกาศระบบการขนสง่อวกาศระบบการขนสง่อวกาศ เป ็นโครงการที่ถ ูก

ออกแบบให้สามารถนำาช ิ้นสว่นบางสว่นที่ใช ้ ไปแลว้กลบัมาใช้ใหมอ่ ีก เพ ื่อเปน็การ

ประหยัด และม ีประส ิทธ ิภาพมากที่สดุ ระบบการขนส่งอวกาศ ประกอบด้วย 3 สว่นหลกั คอื

1. จรวดเช ื้อเพลงิแขง็2. ถังเช ื้อเพลงิภายนอก (สำารองไฮโดรเจน

เหลวและออกซเิจนเหลว)3. ยานขนสง่อวกาศ(กระสวยอวกาศ)( space

shuttle)

กระสวยอวกาศลำาแรกที่ปล ่อยใช้กระสวยอวกาศลำาแรกที่ปล ่อยใช้งานสูอ่วกาศคอืงานสูอ่วกาศคอื

กระสวยอวกาศโคลัมเบยี ในว ันที่ กระสวยอวกาศโคลัมเบยี ในว ันที่1212 เมษายน พ เมษายน พ ..ศศ . . 25242524

ดาวเท ียม(satellite) คือส ิง่ประด ิษฐ ์ ท ี่ มนุษยส์ร ้างข ึน้ แล ้ว ส ่งไปโคจรรอบ

โลก ( หรือโคจร ไปในอวกาศ ซึ่งจะ เร ียกอ ีกอย ่างหนึ่งว ่า ยานอวกาศ )

ดาวเท ียม ค ือ ห ้องทดลองที่บรรจ ุ อุปกรณ์เอาไว ้ สง่ข ึ้นไปโคจรรอบ

โลก มรี ูปทรงต ่างๆ ดาวเท ียมมรีะยะเวลาโคจรรอบโลกแตกต่างก ันข ึ้นอย ู่

กับขนาดและระยะห่างของวงโคจรการสง่ดาวเท ียมขึน้ไปโคจรรอบโลก

ทำาได ้2 ว ิธ ี คอื ส่งโดยใช้จรวด และ สง่โดยใช้ยานขนส่งอวกาศ

การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยอีวกาศ

ดาวเทยีม ดาวเทยีม ((satellitesatellite))

สามารถแบง่ประเภทของดาวเท ียม ตามหน้าท ี่ต ่างๆ ไดด้ ังน ี้ (1) ดาวเท ียม

อุต ุน ิยมว ิทยา (2) ดาวเท ียมส ำารวจทร ัพยากร (3) ดาวเท ียมส ือ่สาร (4) ดาวเท ียมสงัเกตการณ์ทาง

ดาราศาสตร ์ (5) ดาวเท ียมทางทหาร

ดาวเท ียมอ ุต ุน ิยมว ิทยาดาวเท ียมอ ุต ุน ิยมว ิทยา

ดาวเทยีมอ ุต ุน ิยมว ิทยาได้ถ ูกสง่ข ึ้นส ู่วงโคจรในอวกาศเป ็นคร ั้ง

แรกเม ื่อ ว ันท ี่ 1 เมษายน พ.ศ. 2503 มีช ื่อว ่าTIROS-1 (Television and Infrared Observational Satellite) ของ

ประเทศสหรัฐอเมร ิกา หากเรา แบ่งดาวเท ียมอ ุต ุน ิยม ว ิทยาตาม

ลักษณะการโคจรรอบโลกของ ดาวเท ียมสามารถแบง่ออกเปน็ 2

ชนิดคอื

1. ดาวเท ียมอ ุต ุน ิยมว ิทยาชนิดวงโคจรค้างฟา้ (Geostationary Meteorological Satellite) ดาวเท ียม

ชนิดน ี้จะโคจรรอบโลกใช้เวลา 24 ชั่วโมง ซึ่งเท ่าก ับเวลาที่โลกหมุนรอบ ตัวเอง โดยวงโคจรจะอย ูใ่นต ำาแหน่ง

เส ้นศ ูนยส์ตูรของโลก และจะโคจรไปไปในทางเด ียวก ับการโคจรรอบตัว

เองของโลกด้วยความเร ็วท ี่เท ่าก ันด ังน ั้นต ำาแหน่งของดาวเท ียมจะส ัมพันธ ์ก ับต ำาแหน่งบนพื้นโลกใน

บริเวณเด ิม เสมอ    

 

2. ดาวเท ียมอ ุต ุนยิมว ิทยาชนิดโคจรรอบโลก (Near Polar Orbit Meteorological Satellite) ดาวเท ียมชนดินีจ้ะโคจรผ่าน

ใกล้ข ั้วโลกเหนอื และ ขั้วโลกใต้มคีวาม สูงจากพื้นโลกประมาณ 850 กิโลเมตร

โดยจะโคจรรอบโลก ประมาณ 102 นาที ต่อ 1 รอบ ในหนึง่ว ันจะโคจรรอบโลก

ประมาณ 14 รอบ และ จะเคล ื่อนที่ผ ่าน เส ้นศ ูนยส์ ูตรในเวลาเด ิม (ตามเวลาท้อง

ถ ิ่น) ผ่านแนวเด ิม 2 ครั้ง โดยจะโคจร เคล ื่อนที่จากขั้วโลกเหนอืไปยังข ั้วโลกใต้

1 ครั้ง และโคจรเคล ื่อนที่จาก ขั้วโลกใต้ ไปยังข ั้วโลกเหนอือ ีก 1 ครั้ง

การถ่ายภาพของดาวเท ียมชนิดน ี้จะ ถ่ายภาพ และสง่ส ัญญาณข้อม ูลส ูภ่าค

พื้นด ินในเวลาจร ิง (Real Time) ใน ขณะที่ดาวเท ียม โคจรผา่นพื้นท ี่น ั้นๆ

โดยจะครอบคลุมความกว ้างประมาณ2,700 กิโลเมตร ตัวอยา่งดาวเท ียม

ประเภทนี้ไดแ้ก ่ ได ้แก ่ ดาวเท ียมNOAA ดาวเท ียม FY-1 ดาวเท ียมMETEOR-2 เป ็นต ้น

ดาวเท ียมอ ุต ุน ิยมว ิทยา เป ็น ดาวเทยีมที่ท ำาหน้าท ี่ ตรวจความ

แปรปรวนของลมฟา้อากาศ เพื่อการ พยากรณ์อากาศ ไดแ้ก ่ ดาวเท ียมไท

รอส ทรานสิต น ิมบสั และคอสมอส GMS, NOAA

ดาวเท ียมอ ุต ุน ิยมว ิทยาดวงแรก เพื่อ พยากรณ์อากาศ คอื ดาวเท ียมไท

รอส 1 ส่งเข ้าส ูว่งโคจรรอบโลก เม ื่อ ว ันท ี่ 1 เมษายน พ.ศ. 2503 และม ี

ดาวเทยีมไทรอสติดตามขึ้นไปอ ีกถ ึง10 ดวง

ดาวเท ียมอ ุต ุน ิยมว ิทยา ดาวเท ียมอ ุต ุน ิยมว ิทยา GMSGMS

ดาวเท ียมส ำารวจทร ัพยากรดาวเท ียมส ำารวจทร ัพยากรโลกโลกเปน็ดาวเท ียมที่ม ีอ ุปกรณ์ส ำารวจ

แหล่งทร ัพยากรที่ส ำาคญั นอกจากนี้ยงัเฝ ้าสงัเกตสภาวะแวดล้อมที่

เก ิดบนโลก ช่วยเต ือนเร ื่อง อุทกภัย และความแห้งแล ้งท ี่เก ิด

ขึ้น การต ัดไมท้ ำาลายปา่ การ ทับถมของตะกอนปากแม่น ำ้า รวม

ไปถึงแหล่งท ี่ม ีปลาชกุชุม และ อื่นๆ อ ีกมาก

ดาวเทยีมธ ีออส  (THEOS :Thailand Earth Observation System)  ดาวเท ียมส ำารวจ

ทรัพยากรดวงแรกของไทย

ดาวเทยีมส ำารวจ ทรัพยากรธรรมชาติ ได ้แก ่

- ดาวเท ียมแลนด์แสต ( Landsat ) ของสหรัฐอเมร ิกา

- ดาวเท ียม SPOT ของฝร ั่งเศส และกลุ่มประเทศในยโุรป - ดาวเท ียม MOS-1 ของประเทศ

ญี่ป ุ่นเป ็นต ้น

ดาวเท ียม ดาวเท ียม SPOTSPOT

ดาวเท ียม ดาวเท ียม LANDSATLANDSAT

ดาวเท ียม ดาวเท ียม NOAANOAA

ดาวเท ียม ดาวเท ียม ERSERS

ดาวเท ียมสงัเกตการณ์ดาวเท ียมสงัเกตการณ์ดาราศาสตร ์ดาราศาสตร ์

เปน็ดาวเท ียมที่ม ีกล ้องโทรทรรศน์และ อุปกรณ์ดาราศาสตร ์ ส ำาหร ับศ ึกษาว ัตถ ุ

ท้องฟ้าดาวเท ียมส ังเกตการณ์ดาราศาสตร ์ท ี

ท ั้งประเภทที่โคจรอยูร่อบโลกและ ประเภทที่โคจรผา่นไปใกล้ดาวเคราะห์

หรือลงส ำารวจดาวเคราะห์ ซ ึ่งเร ียกอ ีก อยา่งหนึ่งว ่ายานอวกาศ

เชน่ ยานอวกาศวอยเอเจอร ์ท ี่เด ินทาง ผ่านเฉ ียดดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ์ ดาว

ยเูรน ัส และดาวเนปจูน เป ็นต ้น

ยานอวกาศวอยเอเจอร ์ยานอวกาศวอยเอเจอร ์

ยานอวกาศ ยานอวกาศ CassiniCassini

ดาวเท ียมส ื่อสารดาวเท ียมส ื่อสาร เปน็ดาวเท ียมที่มอี ุปกรณส์ ือ่สารตดิต ัง้อย ู่

เช ่น ดาวเท ียมอ ินเทลแซท ดาวเท ียมชุดน ี้อย ู่ในวงโคจรรอบโลก 3

แห่ง คอื เหนือมหาสมทุรอ ินเด ียเพ ื่อการตดิตอ่ระหว ่างทว ีปเอเซยีก ับทว ีป

ยุโรปเหนอืมหาสมุทรแปซฟิ ิกเพ ื่อการตดิตอ่ระหว ่างทว ีปเอเซยีก ับทว ีป

อเมร ิกา และเหนือมหาสมทุรแอตแลนตกิ เพ ื่อการตดิระหว ่างทว ีปอเมร ิกาก ับทว ีป

ยุโรป เม ื่อรวมทั้งระบบจงึสามารถตดิตอ่ก ันไดท้ ั่วโลก

ดาวเท ียมส ือ่สารของไทย ชื่อไทยคม สร ้าง โดยบร ิษทั ฮวิจ ์ แอร ์คราฟท์ ประเทศ

สหร ัฐอเมร ิกา สง่ข ึน้ส ูอ่วกาศโดยบร ิษทัแอ เร ียน สเปซ ประเทศฝร ั่งเศส จากฐานสง่ท ี่

เม ืองครู ู ดนิแดนเฟรนช์เก ียนาดาวเท ียมไทยคมช่วยการตดิตอ่ส ือ่สารได ้

ท ั่วประเทศไทยและประเทศในแถบอินโด จนีไปจนถึงเกาหลแีละญี่ป ุน่ รวมทั้งชายฝัง่

ทะเลดา้นตะว ันออกของจนีเปน็ดาวเท ียมส ื่อสารที่ประเทศไทยให้

บร ิการส ือ่สารโทรคมนาคมดา้นตา่งๆ เช ่น การถ่ายทอดโทรทัศน ์ ว ิทย ุ โทรศ ัพท์ การ

ประชุมทางไกล และระบบถ่ายทอดสญัญาณโทรทัศน ์ส ูเ่สาอากาศของผูร้ ับใน

บา้นได้ โดยตรง

ดาวเท ียมปาลาปา ( PALAPA ) เปน็ดาวเท ียมส ือ่สารของประเทศ

อินโดนีเซ ียดาวเท ียมไทยคม         บริษ ัท ชนิแซทเทลไลท์ จ ำาก ัด(มหาชน) ปี 2534 บริษ ัท ชินว ัตร

คอมพิวเตอร ์ แอนด์ คอมมิวน ิเคชั่นส ์ จำาก ัด (มหาชน) ไดร้ ับสมัปทาน

โครงการดาวเท ียมส ือ่สารแห่งชาต ิ ของกระทรวงคมนาคมเปน็เวลา 30 ปี

ปัจจ ุบนับร ิษ ัทฯ ประสบความสำาเร ็จใน การจ ัดสง่ดาวเทยีม ไทยคม 1A, 2 และ

3 เข ้าส ูว่งโคจรในปี 2536, 2537, และ2540 ตามลำาด ับ

โดยดาวเท ียมไทยคม 1A และ2 ซึ่งเป ็นดาวเท ียมร ุ่นHS-376 สามารถให้บร ิการของ

ช่องส ัญญาณจำานวน 28 ทรานสพอนเดอร ์แบ ่งเป ็นย ่าน

ความถี่ C-Band 22 ทรานส พอนเดอร ์และ Ku-Band 6

ทรานสพอนเดอร ์ ดาวเท ียม ไทยคม 3 ถูกส ่งข ึ้นส ู่วงโคจร

อวกาศเม ื่อว ันท ี่ 16 เมษายน2540

ดาวเทยีมไทยคม 4 หรือ ไอพี สตาร ์ (IPSTAR) ของบริษัท ชินแซท

เทลไลท์ จำากัด (มหาชน) เป็นดาวเทียมสือ่สารที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีนำ้าหนักถึง 6,486.48 กิโลกรัม สร้างโดยบริษัทสเปซ ซิสเต็มส ์ลอเรล (Space System / Loral - SS/L) ถูกปล่อยขึ้นสูว่งโคจรเมือ่วันที ่11 ส.ค. 2548 จากฐานปล่อยจรวดในประเทศฝรั่งเศส และโคจรอยูเ่หนือเส้นศูนยส์ูตรที่ระดับความสูง 35,880.7 กิโลเมตร

การขายหุ้น "ชนิคอร ์ป" หรือห ุ้น บริษ ัท ชิน คอร ์ปอเรชั่น จ ำาก ัด

(มหาชน) ให้ก ับกองทุนเทมาเสก็ บร ิษ ัท

สัญชาติส ิงคโปร ์ ท ำาให ้"ดาวเท ียม"

ที่ใช ้ช ื่อ "ไทยคม" ทุกดวง ต ิดอย ู่ในกล ุ่มถ ูกขายให้บร ิษ ัทสงิคโปร ์ไปดว้ย

ดาวเท ียมไทยคม ดาวเท ียมไทยคม 44 หรอื ไอพี หรอื ไอพีสตาร ์สตาร ์

ดาวเท ียม ดาวเท ียม GPSGPS

ระบบ แจง้ต ำาบลที่อย ู่ พ ิก ัด ต ำาแหนง่บนพื้น โลกด้วยดาวเท ียมนัน้

เปน็โครงการของกระทรวงกลาโหม สหร ัฐอเมร ิกา ที่ได ้ด ำาเน ิน

โครงการ Global Positioning System หรือ"GPS" ขึ้น

ระบบ GPS จะใช้ดาวเท ียมจ ำานวนทั้งหมด24 ดวง โคจรอย ู่ใน

ระด ับสงูท ี่พ ้นจากคล ืน่ว ิทย ุรบกวนของโลกว ิธกีารที่สามารถให้ความถูกตอ้งเพ ียงพอที่

จะใช้ช ี้บอกต ำาแหนง่ได ้ ทุกแห่งบนโลกตลอดเวลา 24 ชั่วโมง

ดาวเท ียม ดาวเท ียม GPSGPS

จากการนำามาใช้งานจร ิง จะให้ความถูก ต้องส ูง

โดยที่ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของ ตำาแหน่งทางราบตำ่ากว ่า 50 เมตร และถ้า

ร ังว ัดแบบวิธ ี "อนุพ ันธ ์" (Differential) จะให้ความถูกต ้องถ ึงระด ับเซนติเมตร

จากการพัฒนาทางด้านอุปกรณ์ คอมพิวเตอร ์ท ำาให้สามารถผลิตเคร ื่องร ับ

GPS

ดาวเท ียม ดาวเท ียม GPSGPS

ยานขนส่งอวกาศดิสค ัฟเวอร ีน ำา กล้องโทรทรรศน์ มลูค ่า 1,500 ล้าน

เหร ียญสหรัฐ ข ึ้นส ู่อวกาศในวันที่ 25 เม. ยพ.ศ. 2533

เพ ื่อเป ็นเก ียรตแิก ่ เอ ็ดว ิน ฮ ับเบ ิล นกั ดาราศาสตร ์ชาวอเมร ิกา

ผ ู้ศ ึกษาค้นคว ้าเร ื่องราวของกาแล็กซี ต่างๆ กล้องโทรทรรศน์

กล้องน ีจ้ ึงได ้ช ื่อว ่า กล ้องโทรทรรศน์ อวกาศฮับเบ ิล หร ือเร ียกส ั้นๆว ่ากล ้อง

ฮ ับ- เบ ิล

กลอ้งโทรทรรศน์อวกาศฮับเบ ิล

กล้องบนพื้นโลกสอ่งส ังเกตว ัตถ ุ ท้องฟา้ได ้ไกลราว 2 พนัล ้านปแีสง

กล้องฮบัเบลิสอ่งเห ็นไปได้ไกลถึง14,000 ล้านปแีสง

ขอ้มลูท ีไ่ด ้จากกล้องอ ับเบลิให้เห ็น รายละเอ ียดต ่างๆ ของ

- ว ัตถ ุท ้องฟ้า- ส่วนประกอบในระบบสรุ ิยะ- การกำาเน ิดของดาวฤกษ์- โครงสร ้างและการเปล ี่ยนแปลงของกาแล ็กซี- ว ิว ัฒนาการของเอกภพนักดาราศาสตร ์เฝ ้าสงัเกตมานาน

หลายร ้อยป ี ซ ึ่งไม ่เคยเห ็นมาก่อนเปน็การมองออกไปในเอกภพอยา่งกว ้างไกล

กลอ้งโทรทรรศน์อวกาศฮบัเบ ิลกลอ้งโทรทรรศน์อวกาศฮบัเบ ิล

ภาพมุมล ึกจากกลอ้ภาพมุมล ึกจากกลอ้งฮ ับเบ ิลงฮ ับเบ ิล

ในเดอืนธ ันวาคมปี 1995 กล้องโทรทัศน ์อวกาศฮับเบ ิลได ้ช ีไ้ปยงัอาณา

บริเวณอันว ่างเปล ่าบนท้องฟา้ ใน Ursa Major

เปน็เวลา 10 ว ันได้เป ็นส ิง่ท ี่ม ีช ื่อเส ียงมากทาง

ดาราศาสตร ์ เป ็นภาพมมุล ึก เปน็สว่น เล ็กๆมนัไดถ้ ูกแสดงที่น ี่ ว ัตถ ุท ุกๆอยา่ง

ในภาพเปน็แกเล ็กซี ท ี่อย ูห่ ่างจากเรา 5 ถึง 10 พนัล ้านปแีสง แกเล ็กซีท ี่ถ ูกเปดิ

เผยที่น ี่ท ั้งหมดมีความคมชดัทั้งส ี บางส ิง่บางอยา่งอายยุงัน ้อยและเปน็ส ีฟา้

ขณะที่อ ื่นๆท ี่ม ีอาย ุมาก จะเป ็นสเีหล ือง

ภาพมุมล ึกจากกล้องฮ ับเบ ิลภาพมุมล ึกจากกล้องฮ ับเบ ิล ในเด ือนธ ันวาคมป ีในเด ือนธ ันวาคมปี 19951995

นอกจากนั้นยงัสามารถแบ่งประเภทนอกจากนั้นยงัสามารถแบ่งประเภทของดาวเท ียมตามความสงูในการของดาวเท ียมตามความสงูในการโคจรเท ียบกับพื้นโลกไดด้ ังน ี้คอืโคจรเท ียบกับพื้นโลกไดด้ ังน ี้คอื

     1. สงูจากพื้นโลกประมาณ 41,157 กิโลเมตร เป ็นดาวเท ียมที่โคจรหยดุน ิ่ง

ก ับท ี่เท ียบกับพืน้โลก(Geostationary Satellites) จะลอยอยู่หยดุน ิ่งค ้างฟา้เม ื่อเท ียบกับต ำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่งบน

โลก โดยส่วนมากจะเป ็นดาวเท ียม ประเภทดาวเท ียมส ือ่สาร

ตัวอย ่างเช ่นดาวเท ียมไทยคมดาวเท ียมเหล ่าน ี้อย ูเ่หน ือเส ้นศ ูนย ์สตูร

โลกประมาณ จะวางต ัวอย ูใ่นแนว เสน้ศ ูนยส์ ูตรโลก และสงูจากพืน้โลก

ประมาณ 41,157 กิโลเมตร หร ือ ประมาณ 1/10 เท ่าของระยะทางจาก

โลกถึงดวงจ ันทร ์ มคีาบการโคจรประมาณ 24 ชั่วโมง

2. 2. สงูจากพืน้โลกประมาณ สงูจากพืน้โลกประมาณ 9,700-9,700-19,400 19,400 กิโลเมตรกิโลเมตร

- เป ็นดาวเท ียมที่ไมไ่ด ้หย ุดน ิ่งเท ียบกับพื้นโลก(Asynchronous Satellite) ซึ่งโดยส่วน

มากจะเป ็นดาวเท ียมนำาทางแบบจีพ ีเอส(GPS: Global Positioning System)

- ซึ่งน ำาไปประย ุกต ์ใช ้ในระบบการติดตาม บอกตำาแหน่ง หร ือน ำาร ่องบนโลก ไมว่ ่าจะ

เป ็น เคร ื่องบ ิน เร ือเด ินสม ุทร รถยนต์- ระบบดาวเท ียมจ ีพ ีเอสจะประกอบด้วย

ดาวเท ียม 24 ดวง ใน 6 วงโคจร ที่มวีง โคจรเอ ียงท ำามมุ 55 องศาในลักษณะสาน

กันคล้ายล ูกตระกร ้อ

3. 3. สูงจากพื้นโลกประมาณ สูงจากพื้นโลกประมาณ 4,800-9,700 4,800-9,700 กิโลเมตร กิโลเมตร

    - เปน็ดาวเท ียมทีไ่ม ่ได ้หย ุดน ิ่งเท ียบกับ พื้นโลก (Asynchronous Satellite)

- ใช้ส ำาหร ับการส ำารวจ และสงัเกตการณ์ ทางว ิทยาศาสตร ์

เช ่น การว ิจ ัยเก ี่ยวก ับพืช- สตัว ์ การ ติดตามร ่องรอยของสตัว ์ปา่ เปน็ต ้น

-ดาวเท ียมที่ระด ับด ังกล ่าวม ีคาบการโคจรประมาณ 100 นาที

4. 4. สูงจากพื้นโลกประมาณ สูงจากพื้นโลกประมาณ 130-130-11,,940940กิโลเมตรกิโลเมตร

เปน็ดาวเท ียมที่ไม ่ได ้หย ุดน ิ่งเท ียบกับ พื้นโลก (Asynchronous Satellite)

ใช้ในการส ำารวจทรพัยากรบนโลกรวมไปถึงดาวเทยีมด้านอ ุต ุน ิยมว ิทยา