ระบบคอมพิวเตอร์

13
ระบบคอมพิวเตอร์

Upload: thanthai-sangwong

Post on 27-Jan-2017

367 views

Category:

Internet


0 download

TRANSCRIPT

ระบบคอมพิวเตอร์

ระบบคอมพิวเตอร์ ( Computer System)ในการใช้คอมพิวเตอร์ท างานแล้วให้ไดผ้ลลัพธ์ออกมาตามความต้องการ

ของผู้ใช้งานนั้น ย่อมต้องมีองค์ประกอบที่เรียกว่า ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสห์ลายประเภทท างานร่วมกัน โดยมีค าสั่งหรือที่เรียกว่าโปรแกรมเปน็ตัวสั่งการให้อุปกรณ์เหล่านั้นท างานได้ตามที่มนุษย์ต้องการ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงระบบคอมพิวเตอร์สิ่งส าคัญของระบบจึงได้แก่ ฮาร์ดแวร์(hardware) ซอฟต์แวร์(software) และบุคลากร(Peopleware) นั่นคือ เครื่องคอมพิวเตอร์จะท างานได้ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ

• ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนประกอบ โครงสร้าง รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงที่สนับสนุนการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้มนุษย์สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ หน้าที่ของฮาร์ดแวร์ก็คือ ท างานตามค าสั่งควบคุมการท างานต่างๆ ที่มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ แบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้

1. หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ท าหน้าที่รบัโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กนัเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone), ทัชสกรนี (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์ เทเบิ้ล แอนด์ ครอสแชร์ (Digiter tablet and crosshair)

2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีส่วนประกอบที่ส าคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยค านวณ - หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ท าหน้าที่ควบคุมล าดับขั้นตอนการท างานของหน่วยรบัข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยค านวณและหน่วยตรรก หน่วยความจ าและแปลค าสั่ง - หน่วยค านวณและตรรก (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ท าหน้าที่ในการค านวณหาตัวเลข เช่น การบวก ลบ การเปรียบเทียบ - หน่วยความจ า เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล

3. หน่วยความจ าภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็นหน่วยความจ าที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง มี 2 ประเภท 3.1 หน่วยความจ าภายใน - หน่วยความจ าแบบแรม (Random Access Memory หรือ Ram) เป็นหน่วยความจ าชั่วคราว ที่ใช้ส าหรับเก็บโปรแกรมที่ก าลังใช้งานอยู่ขณะนั้น มีความจุของหน่วยเก็บขอ้มูลไม่เกิน 640 KB คือผู้ใช้สามารถเขียนหรือลบไปได้ตลอดเวลา ถ้าหากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับ จะมีผลท าให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บไว้สูญหายไปหมด และไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้ - หน่วยความจ าแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจ าถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่เก็บไว้จะยังคงอยู่

3.2 หน่วยความจ าส ารอง ไดแ้ก่ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก แผ่นดิสก์ (Diskett) CD-ROMแผ่นดิสก์หรือสเกต เป็นจานแม่เหล็กขนาดเล็ก ชนิดอ่อน จัดเก็บข้อมูลโดยใช้อ านาจแม่เหล็ก การใช้งานจะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ในการขับเคลื่อนแผ่นดิสก์ โดยแบ่งต าแหน่งพื้นผิวออกเป็น แทร็คและเซ็คเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ - แผ่นดิสก์ขนาด 8 นิ้ว ปัจจบุันไม่นิยมใช้ - แผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามรถบันทึกข้อมูลได้ประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.2 MB

- แผ่นดิสกข์นาด 3.5 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามารถบันทึกข้อมูลได้ประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.44 MB นิยมใช้กันมากในปัจจุบนั

4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ท าหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อน าไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกมากที่สุด เครื่องพิมพ์ (Printer)

ซอฟแวร์ (Software) คือ ค าสั่ง หรือชุดค าสั่ง ท าหน้าที่ควบคุมการท างานของระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นส่วนที่ท าให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดแวร์) สามารถสื่อสารกันได้ ทั้งนี้อาจแบ่งซอฟต์แวร์ตามหน้าที่ของการท างานได้ดังนี้

1. โปรแกรมจัดระบบ (System Software) คือ ชุดค าสั่งหรือโปรแกรมที่ควบคุมการท างานของคอมพิวเตอร์ เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการจัดการทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปรแกรมควบคุมเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เช่น DOS, Windows, Os/2, Unix

2. โปรแกรม์ประยุกต ์(Application Software) คือ ชุดค าสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพ่ือให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท างานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ได้แก่ โปรแกรมส าเร็จรูปต่าง ๆ - โปรแกรมจัดระบบฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access Oracle

- โปรแกรมพิมพ์เอกสาร เช่น Microsoft Word- โปรแกรสร้าง Presentation เช่น Microsoft Power Point- โปรแกรมช่วยสอน (CAI - Computer Aids Intrruction )- โปรแกรมค านวณ เช่น Microsoft Excel

3. โปรแกรมอรรถประโยชน ์ (Utility Software) เป็นโปรแกรมท่ีใช้เครื่องมใืนการช่วยให้การใช้งานคอมพิวเตอร์มีความคล่องตัวขึ้น และสามารถแก้ปัญหาอันเกิดจากการใช้งานได้ เช่น - โปรแกรมก าจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ เช่น Mcafee, Scan, Norton Anitivirus

- โปรแกรมท่ีใช้บีบอัดข้อมูลใหม้ีขนาดเลก็ลง เพื่อให้สามารถคัดลอกไปใช้ได้สะดวก เช่นWinzip เป็นต้น 4. โปรแกรมแปลงภาษา (Language Translater) ใช้ในการสร้างโปรแกรมประยกุต์เพื่อน าไปใช้งานด้านต่างๆ โดยการเขยีนชุดค าสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ท างาน และใช้โปรแกรมแปลงภาษาดังกล่าวท าหน้าท่ีแปลงชุดค าสัง่ท่ีสร้างขึ้น (High Level Language) ให้ไปเป็นค าสั่งท่ีเครื่องคอมพวิเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ (Low Level Language)

โปรแกรมแปลงภาษาโดยท่ัวไปม ี2 ประเภท คือ 4.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมประเภทน้ีจะท าหน้าท่ีแปลงชุดค าสั่งท่ีสร้างขึ้นท้ังหมด (ต้ังแต่ค าสัง่แรกจนถึงค าสัง่สุดท้าย) ในคราวเดียวกัน เช่น ภาษา Pascal, C, C++

4.2 อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) โปรแกรมประเภทน้ีจะท าหน้าท่ีแปลงชุดค าสั่ง แล้วแสดงผลลัพธ์ออกมา ท าให้ง่ายต่อการแก้ไขค าสัง่ที่ผิดพลาดได้ทันที เช่น ภาษา Basic

พีเพิลแวร ์ (People Ware) หรือผู้ใช้ระบบ ในระบบคอมพิวเตอร์ผู้ใช้ส่วนใหญ่เป็นส่วนหนึ่งที่จะก่อใ้เกิดผลลัพธ์จากการให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท างาน ด้วยเหตุที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างชุดค าสั่งหรือโปรแกรมขึ้นมาเพื่อควบคุมการท างานของเครื่องนั่นเอง ในที่นี้จะขอกล่าวถึงผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในระดับต่างๆ ดังนี้

1. ผูบ้ริหาร (Manager) ท าหน้าที่ก ากับดูแลวางแนวนโยบายในส่วนที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้องค์กรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสทิธิภาพ 2. นักวิเคราะห์และนักออกแบบระบบ

(System Analysis & Deign) ท าหน้าที่วางแผนและออกแบบระบบงาน เพื่อน าเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน 3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) ท าหน้าทีเ่ขียน/สร้างชุดค าสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ท างาน 4. ผูป้ฏิบัติการ (Operator) ท าหน้าที่ควบคุมเครือ่ง เตรียมข้อมูล และป้อนข้อมูลเข้าสูร่ะบบคอมพิวเตอร์