9378161 staad pro

482
Download at www.tumcivil.com STAAD.Pro 2005 Training

Upload: atul-engineer

Post on 20-Jan-2015

5.455 views

Category:

Design


1.453 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: 9378161 staad pro

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 2: 9378161 staad pro

คํานํา

การใชโปรแกรมเฉพาะดานทางวิศวกรรมชวยในงานออกแบบ โดยวัตถุประสงคแลวเปนส่ิงที่ดีมีประโยชนชวยลดการสูญเสียในเรื่องของเวลา และนาจะไดเปรียบคูแขงในเรื่องของความรวดเร็วและนาเชื่อถือ แตถึงอยางไรก็ตามการที่จะกาวขามไปตอสูกับคูแขงเชนนั้นได จําเปนที่จะตองใชทักษะความรูควบคูกับความชํานาญ การแขงขันนั้นจึงจะเปนตอไม (ควาน้ําเหลว) สอแววลมเหลว ทักษะความรูพื้นฐานดานการจําลองโครงสราง ถือไดวาเปนองคความรูที่สําคัญในเบื้องตน การไดรับรูและทําความเขาใจในหลักการพื้นฐานเบื้องตนตางๆทางทฤษฎีของโครงสราง เสมือนหนึ่งเปนการเตรียมความพรอมในสวนตัวของผูที่จะใชโปรแกรมเอง ซ่ึงทายที่สุดการตัดสินใจใดๆขึ้นอยูกับตัวผูใชเองเปนเบื้องตนเสมอ ความชํานาญดานการใชโปรแกรมจะเกิดขึ้นได ตองมีองคประกอบหลักอยางนอย 2 สวนเปนเบื้องตนเสมอกลาวคือ ประการแรกคือการพยายามทําความเขาใจในตัวตนของโปรแกรม ซ่ึงจะทําใหเราไดรูถึงกรอบและขั้นตอนหลักของการนําไปใชงาน ประการที่สองคือการพยายามทําความคุนเคยกับโปรแกรม รวมความหมายคือตองหาเวลาศึกษาคูมือและหมั่นฝกการใชงาน ดังนั้นหากเรามีทั้งสองสวนดังที่ไดกลาวพรอมแลว ประโยคที่วา “เมื่อ Input ที่ใสเปนขยะ Output ที่ไดก็คือขยะ” ก็จะคอยๆทําตัวหางเหินจากเราไปเองในไมชา จึงเปนที่มาของการเปดอบรมในครั้งนี้โดยมีจุดมุงหมายหลักอยูที่หลักการพื้นฐาน (เบื้องตน) ของการจําลองโครงสราง และหลักการใชงานเบื้องตน เพื่อ (อาจ) เปนรากฐานการนําไปสูการใชงานในระดับที่สูงขึ้นสําหรับการเปดอบรมในครั้งตอๆไป อนึ่งองคความรูใดที่ใชในการอบรมครั้งนี้หากมิไดกลาวอางอิงถึงในสวนบรรณานุกรมก็ขอกลาวขอบคุณในทุกสวนไว ณ ที่นี้ ตลอดจนการขาดตกบกพรองใดๆในการบรรยายอบรม ผมขอนอมรับไวเพื่อปรับปรุงแกไขและจะศึกษาคนควาเพิ่มเติมเพื่อนําเสนอตอทุกทานในโอกาสขางหนาตอไป ในทายที่สุดตองขอขอบคุณคุณตั้มเจาของ website Tumcivil.com และทีมงานที่เปนแมงานทั้งหมดในครั้งนี้. .................................................. เสริมพันธ เอี่ยมจะบก

วศ.ม.(โยธา), มข.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 3: 9378161 staad pro

สารบัญ

หนา บทที่ 1 หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง 1. หลักประจําใจในการจําลองโครงสราง 5 2. ปรัชญาการใชโปรแกรมชวยงานวิเคราะหและออกแบบ 5 3. หลักการโดยทั่วไปของการใชโปรแกรมในการวิเคราะหและออกแบบ 6 4. การเตรียมขอมูล (Pre-Processing) และการแสดงผล (Post-Processing) 7 5. ระบบแกนอางอิง (Coordinate System) และทิศทาง (Sing Conventions) 9 6. การพิจารณาทิศทาง 18 7. ประเภทของโครงสราง 22 8. โครงสรางในอุดมคติ (Idealized Models) และ Type of Member & Element 33 9. โครงสราง 2D / 3D Structure 40 10. จุดตอ (Joint) 42 11. จุดรองรับ (Support) 44 12. การปลดแรงในชิ้นสวน (Member Releases) 47 13. Rigid Member Offset or Rigid End Zone or Rigid Arm or Rigid Link 48 14. Member with non-uniform section or Taper member 55 15. Master - Slave Node or Master – Slave Constraints or Joint Constraint 55 16. Shear Deformation 60 17. ผนัง (Wall) 61 18. Rigid Floor Diaphragm 64 19. แผนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 67 20. Tension-only Members and Compression-only Members 71 21. Soil-structure interaction (interaction load) 73 22. ILL-Conditioning & Instabilities 79 23. Mechanism Instability 86 บทที่ 2 หลักการพื้นฐานการใชงาน STAAD Pro 1. รางวัลที่ไดรับ 88

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 4: 9378161 staad pro

ii

สารบัญ (ตอ)

หนา 2. ความตองการดานคุณสมบัติของคอมพิวเตอร 90 3. ขอจํากัดของการใชงาน 90 4. วิธีการที่ใชในการวิเคราะหระบบปญหา 91 5. ความรูเสริมและแหลงขอมูลเพิ่มเติม 92 6. หลักการใชโปรแกรม 93 7. การเขาใชโปรแกรม 98 8. สวนประกอบหลัก 100 9. Mode หรือหนาตางการทาํงานของโปรแกรม 101 10. ชุดเครื่องมือสําหรับหนาตางการทํางานของ Modeling Mode 106 11. ชุดเครื่องมือสําหรับหนาตางการทํางานของ Post Processing Mode 114 12. การจัดการกับ Toolbars 117 13. รายการคําส่ังของ Menu ใน Modeling Mode 118 14. จุดเริ่มตนกับการเขาใชโปรแกรม 127 บทที่ 3 ตัวอยางการวิเคราะหโครงขอแข็ง 2 มิติ 1. การเขาใชโปรแกรม 135 2. การกําหนดสภาพแวดลอมทํางาน 137 3. การจําลองโครงสราง 138 4. การกําหนดจุดรองรับ 146 5. การกําหนดคุณสมบัติและหนาตัด 151 6. การกําหนดน้ําหนกับรรทุก 162 7. การวิเคราะหและออกแบบ 172 8. สรุปขอมูลทั้ง Input และ Output 188 บทที่ 4 ตัวอยางการวิเคราะหโครงสราง 3 มิติ 1. การเขาใชโปรแกรม 214 2. การกําหนดสภาพแวดลอมทํางาน 216 3. การจําลองโครงสราง 218

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 5: 9378161 staad pro

iii

สารบัญ (ตอ)

หนา 4. การกําหนดจุดรองรับ 230 5. การกําหนดคุณสมบัติและหนาตัด 234 6. การกําหนดน้ําหนกับรรทุก 244 7. การวิเคราะหและออกแบบ 259 8. การแสดงผลการวิเคราะหและออกแบบ 272 9. สรุปขอมูลทั้ง Input และ Output 286 บทที่ 5 ฐานความรูเสริมของSTAAD Pro 364บทที่ 6 ตัวอยางที่ใชในงานจริง 396 บรรณานุกรม 476

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 6: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111]]]

บทที่

1

สารบัญประจําบท หัวขอ หนาที ่ 1. หลักประจําใจในการจําลองโครงสราง 5 2. ปรัชญาการใชโปรแกรมชวยงานวิเคราะห 5 และออกแบบ 3. หลักการโดยทั่วไปของการใชโปรแกรมในการ 6 วิเคราะหและออกแบบ 4. การเตรียมขอมูล (Pre-Processing) และ 7 การแสดงผล (Post-Processing) 5. ระบบแกนอางอิง (Coordinate System) และ 9 ทิศทาง (Sing Conventions) 6. การพิจารณาทิศทาง 18 7. ประเภทของโครงสราง 22 8. โครงสรางในอุดมคติ (Idealized Models) และ 33 Type of Member & Element 9. โครงสราง 2D / 3D Structure 40 10. จุดตอ (Joint) 42 11. จุดรองรับ (Support) 44 12. การปลดแรงในชิ้นสวน (Member Releases) 47 13. Rigid Member Offset or Rigid End Zone or 48 Rigid Arm or Rigid Link 14. Member with non-uniform section or 55 Taper member 15. Master - Slave Node or Master – Slave 55 Constraints or Joint Constraint 16. Shear Deformation 60 17. ผนัง (Wall) 61 18. Rigid Floor Diaphragm 64 19. แผนพื้นคอนกรีตเสรมิเหล็ก 67

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 7: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222]]]

บทที่

1

สารบัญประจําบท (ตอ) หัวขอ หนาที ่ 20. Tension-only Members and 71 Compression-only Members 21. Soil-structure interaction (interaction load) 73 22. ILL-Conditioning & Instabilities 79 23. Mechanism Instability 86

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 8: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333]]]

โดยทั่วไปแลวในการวิเคราะหและออกแบบโครงสรางนั้น กอนที่เราจะสามารถออกแบบในสวนของความแข็งแรง (Strength) ของโครงสรางไดนั้น จะตองมีการวิเคราะหโครงสรางมากอนหนานั้นแลว ซ่ึงในขั้นตอนของการวิเคราะหดังกลาวจะพิจารณาตั้งแตในสวนของความมีเสถียรภาพและความสมดุลยของโครงสราง ลักษณะหรือรูปแบบของการแสดงออกของโครงสรางที่มีตอปจจัยรุมเราหรือส่ิงกระตุนทั้งจากภายในและภายนอก รวมถึงเทคนิควิธีการหรือขั้นตอนในการกอสราง (ทั้งปจจัยที่มีผลในระยะสั้น และระยะยาวอันนํามาซึ่งระบบแรงรองคือ Secondary Forces) รวมไปถึงรูปแบบของการวิบัติของโครงสราง

1

ซ่ึงจากที่กลาวมาขางตนหากสังเกตใหดีจะเห็นวา ในขั้นตอนของการวิเคราะหโครงสรางนั้น เปนไปไมไดเลยที่เราจะทําการวิเคราะหโครงสรางเพื่อหาคาที่ตองการทราบตางๆจากโครงสรางของจริงได (โดยเฉพาะในโครงสรางขนาดใหญๆ...แตในขณะเดียวกันเราสามารถที่จะทําการ Load Test ในโครงสรางจริงได) ดีที่สุดที่ทําไดก็เพียงแตวิเคราะหจากแบบจําลองยอสวนหรือแบบจําลองทางคณิตศาสตรของโครงสรางจริงเหลานั้นเทานั้น นั้นยอมหมายความวาการโมเดลหรือการจําลองโครงสรางเพื่อการวิเคราะหโครงสรางมีความสําคัญและมีความจําเปนเปนอยางยิ่ง ที่จะตองศึกษาและทําความเขาใจในกระบวนการของการจําลองโครงสรางเพื่อการวิเคราะหใหละเอียดและรอบครอบ ทั้งนี้เพื่อใหไดมาซึ่งการแสดงพฤติกรรมที่แทจริงของโครงสราง (หรือใกลเคียง) ซ่ึงผลจากการแสดงพฤติกรรมดังกลาวจะสงผลกระทบโดยตรงตอกระบวนการหรือข้ันตอนของการออกแบบโครงสราง ทายที่สุดแลวตองนํามาซึ่งความแข็งแรงและปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของผูใชอาคารนั้นๆ ดังนั้นหากเราตองการที่จะใหพฤติกรรมโครงสรางที่แสดงออกของแบบจําลอง มีความละเอียดถูกตองและใกลเคียกับสภาพความเปนจริงใหมากที่สุดในทุกพฤติกรรมที่ควรจะเปนนั้น แบบจําลองดังกลาวจะตองถูกจําลองขึ้นดวยสภาพเงื่อนไขตางๆใหใกลเคียงกับโครงสรางจริงใหมากที่สุดเทาที่จะทําได แตตองไมยุงยากซับซอนจนกอใหเกิดความไมเหมาะสมกับทั้งระยะเวลา คาใชจายและการแปลผลที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 9: 9378161 staad pro

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444]]]

Code

Code

โครงสราง (เจาของ) แบบแปลน

น้ําหนักบรรทุก

วิเคราะหโครงสราง

ออกแบบโครงสราง

ออกแบบจุดตอ

ประมาณราคา

Detail

Code

ประกาศ+ประมูล

Download at www.tumcivil.com

S

กระบวนการในการออกแบบโครงสรา

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

TAAD.Pro 2005 Training

Page 10: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555]]] 1. หลักประจําใจในการจําลองโครงสราง (Model Structure)

ไมจําลองโครงสรางสลับซับซอน (Complex) จนเกินความจําเปน ตองจําลองใหคลายหรือใกลเคียงกับของจริงที่จะสราง...อยาเขาขางตนเอง ผลลัพธ (Result) จากการจําลองและวิเคราะห ยังถือวามีความไมถูกตองจนกวาจะไดมีการพินิจพิเคราะหอยางอะเอียดถ่ีถวน

2. ปรัชญาการใชโปรแกรมชวยงานวิเคราะหและออกแบบ

ทําความเขาใจ (หลักการ ทฤษฎีและ ขอจํากัดตางๆ) เบื้องตนของโปรแกรมกอนการใชงาน คอมพิวเตอรเกง...แตโง! ทําตามคําสั่งอยางเดียวไมเกี่ยวกับการตัดสินใจดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของมนุษย ขอมูลที่ปอน (Input Datas) เปนขยะผลลัพธที่ไดก็จะมีขยะที่ไมพึงประสงคเชนกัน (Output Datas) นั้นอาจทําใหสับสนจนมั่วไมรูวาขอมูลใดถูกขอมูลใดผิด การตัดสินใจใชผลที่ไดจากการวิเคราะหและออกแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ตองเปนหนาที่ของวิศวกรผูใชโปรแกรมนั้นๆโดยอาศัยหลักของ Sense Engineer ในทายที่สุดเราผู ใใใชโปรแกรมตองรับผิดชอบ (จําเลยหมายเลข 1) ตอผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการใชโปรแกรมนั้นๆ มิใชความรับผิดชอบของทีมผูพัฒนาโปรแกรม ซ่ึงวิถีชีวิตของขุนพลวิศวกรอาจถูกแทรกแทรงดวยกฎหมยอาญามาตรา 227 และ 238 (จําคุก 5ป+ปรับ และ 20ป+ปรับ ตามลําดับ ขึ้นอยูกับความรุนแรงของปญหาที่อาจเกิดขึ้น...ซ่ึงไมมีอายุความ)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 11: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666]]]

3. หลักการโดยทั่วไปของการใชโปรแกรมในการวิเคราะหและออกแบบ หลักการโดยทั่วไป (รวมถึง STAAD Pro ดวย)

ลําดับหรือขั้นตอนหลัก รายละเอียดของขั้นตอน เขียนหรือสรางรูปทรงทาง

เ ร ข า คณิ ต ( Geometry) ข อ งโครงสราง

อาจทําดวยการลาก Mouse แลว Click หรือปอนคาในตาราง หรือใชตัวชวยสราง (WizardTool)

กํ า ห น ด คุ ณ ส ม บั ติ (Properties) ของวัสดุที่ใช

1.ประเภทของวัสดุที่ใช เชน คอนกรีต, เหล็ก, ไม, และอะลูมิเนี่ยม ลฯ 2.คาคงที่ตางๆเกี่ยวกับวัสดุที่ใช เชน Es, Ec, G, ν, และ ω 3.ขนาดหนาตัดของวัสดุ

กําหนดประเภทหรือชนิดของจุดตอ (Joint) และจุดรองรับ (Support)

1.ประเภทของจุดตอ เชน จุดหมุน (Pin), แข็งเกร็ง Rigid), และกึ่งแข็งเกร็ง (Semi-Rigid) 2.ประเภทของจุดรองรับ เชน ลอหมุน (Roller), บานพับ (Hinge), ยึดแนน (Fix), และอื่นๆ เชน สปริง (อาจจะเปน Rotational หรือ Translation Spring)

กําหนดน้ําหนักบรรทุกออกแบบ (Design Load)

1.แยกเปน Load Case ตามขอกําหนดหรือกฎหมาย (ของแตละทฤษฎีออกแบบ) และควร 2.รวมเปน Combine Load ตามขอกําหนดหรือกฎหมาย (ของแตละทฤษฎีออกแบบ) อาจดวยวิธีรวมแบบธรรมดาทางคณิตสาตร, วิธี SRSS., วิธี ABS., หรือวิธี CQC. แลวแตการเตรียมใหของโปรแกรมนั้นๆ

กําหนดวิธีของการวิเคราะหและออกแบบโครงสราง

1.อาจวิเคราะหในลักษณะของ First Order Analysis หรือแบบ Second Order Analysis (ขึ้นอยูกับรูปแบบของน้ําหนักบรรทุกที่กระทํา, มุมมอง และประสบการณของวิศวกรแตละคน) ซ่ึงอยูมีหลายวิธีการ เชน วิธีการวิเคราะห Static Linear, Static Non-Linear, Dynamic และอื่นๆ 2.วิธีการออกแบบ เชน WSD., USD.(LRFD.), Limit Design

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 12: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777]]] ขั้นตอนหลักของการใช STAAD Pro ในการจําลอง-วิเคราะห-ออกแบบ

จากภาพขางบนเปนรูปแบบของคําสั่ง (text command) ที่ดูไดดวย STAAD Editor (หลังจากเราไดทําการจําลองและกําหนดคาตางๆครบแลว STAAD ก็จะสรางชุดคําสั่งดังกลาวขึ้นมาแลวเก็บไวในไฟลนามสกุล .std ที่มีความยาวของตัวอักษรไมเกิน 79 ตัวตอบันทัด) ซ่ึงแสดงถึงลําดับหรือขั้นตอนในการจําลอง-วิเคราะห-ออกแบบโครงสราง

4. การเตรียมขอมูล (Pre-Processing) และการแสดงผล (Post-Processing) Pre Processor หมายถึง กระบวนการหรือข้ันตอนของการเตรียมและปอนขอมูล (Input Datas) ซ่ึงการปอนขอมูลดังกลาวอาจอยูในรูปแบบของกราฟริก ซ่ึงอาจเปนรูปแบบของการใช Mouse ในการวาดเสนสายเพื่อข้ึนรูปแบบจําลองโครงสรางจะคอนขางไดเปรียบ (แตก็ขึ้นอยูกับความถนัดของกลุมผูใช) หรืออยูในรูปแบบของการเตรียมตารางรับขอมูลก็ได แตก็มีอยูหลายคาย

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 13: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[888]]] ที่มีการปอนขอมูลแบบกึ่งหรือผสมระหวางกราฟริกบวกตาราง ซ่ึงบางครั้งนิยมเรียกวาชุดเครื่องมือ (ตัว) ชวยสราง (Wizard Tool) แตก็มีอยูบางคายยังมีลูกผสมที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อใหไดเปรียบคายอื่น โดยเฉพาะในสวนของการปอนขอมูลดวยวิธีกราฟริก กลาวคือขณะมีการลง Mouse ขีดเขียนตัวโปรแกรมก็จะใสขนาดของชิ้นสวน (Member) นั้นๆใหไปดวย

Pre Processor : ท่ีเสริม (ปรับปรุง) มาใน STAAD Pro 2005 Several new features have been added and existing features have been modified in the pre-processor section of the program. They are explained in the following pages

Generation of Wind Pressure profile per ASCE - 7- 02 Generation of Snow Load As Per ASCE - 7- 02 Wall-slab interface considerations in finite element meshing Enhancements to renumbering of entities Property calculator for User Table General Sections Stretch Members

Post Processor หมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนของการแสดงผล OutputDatas) หลังการวิเคราะหและออกแบบ ซ่ึงการแสดงผลดังกลาวอาจแสดงในรูปแบบของ Graphic หรืออยูในรูปแบบของ ตารางขอมูลก็ได แตปกติโดยทั่วไปแลวจะสังเกตเห็นวาโปรแกรมดานการวิเคราะหและออกแบบทางดานนี้ แทบทุกคายมักนิยมใชทั้ง 2 วิธีในการแสดงผล แตจะตางกันตรงการตอบโตกันระหวางตัวโปรแกรมเองกับตัวผูใชงาน (Graphic User Interface, GUI.) มีความเปนมิตร (สะดวกตอการเลือกเครื่องมือมาใชงาน) มากนอยแคใหน แตที่เปนไมเด็ด (เสริมทัพ) ที่กําลังตีโตกันในหลายๆคายวาใครจะทําไดเนียนกวากันคือ การแสดงผลเปนภาพ Render 3D ที่สามารถตอบสนองกับผูใชได (บาง) และภาพเคลื่อนไหว 3D แสดงการเสียรูปของโครงสราง (รวมทั้งเฉดสีที่มีเสริมวาดวยเรื่องของการแสดง Stress Contour) รวมถึงการสงออกขอมูลในรูปแบบของภาพเสมือนจริง (VRML) ซ่ึงเปนภาพ Render 3D สําหรับดูหรือแสดงใน Internet Web Browser และไฟลภาพเคลื่อนไหว (.AVI) ซ่ึงจะเกี่ยวเนื่องกับการนําเสนองาน สุดทายที่หนีไมพนคือการสงออกรายงานตางๆ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 14: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[999]]]

Post Processor : ท่ีเสริมมาใน STAAD Pro 2005

เปนการสั่นไหวของแผนพืน้ซึ่งจะเกีย่วเนื่องกับพฤติกรรม (กิจกรรม) การใชอาคารของผูใชอาคาร เชน การเดิน การจดักิจกรรมตางๆ การรันเครื่องจักรกล ลฯ

Floor Vibration Analysis per the AISC Steel Design Guide Series No.11

The adequacy of a floor system from the standpoint of its vibration serviceability due to human activity, specifically walking excitation, can now be assessed using STAAD Pro. The procedures of Chapters 3 and 4 of the AISC Steel Design Guide Series No. 11 - Floor Vibrations due to Human Activity - have been implemented

งอิง (Coordinate System) และทิศทาง (Sing Conventions)

ระเภทของระบบแกนอางอิง โดยทั่วไปมักกลาวถึงกัน (มาก) มีเพียงใน 2 ระบบแกนอางอิงเท

5. ระบบแกนอา ปานั้น แตก็มีในบางครั้งไดมีการกลาวถึงใน 3 ระบบแกนอางอิงเชนเดียวกัน ซ่ึงในที่นี้

ระบบแกนอางอิงที่จะกลาวถึงมี 3 ระบบแกนอางเรียงจากระบบแกนอางอิงสเกลเล็กไปสเกลใหญ (ส

ี่ระนาบของหนาตัดของชิ้นสวนเทานั้น) แตสําคัญ

วนใน STAAD Pro ใชเพียง 2 ระบบแกนอางอิงในการระบุหรือกําหนดเกี่ยวกับโครงรางทางเรขาคณิต (Structure Geometry) และรูปแบบการกระทําของน้ําหนักบรรทุก (Loading Patterns) โดยระบบแกนอางอิ รวม (GLOBAL) ใชเปนระบบแกนหลักใน 3 มิติ (Space) ที่ถูกใชในการกําหนดองครวมทั้งหมดของระบบโครงรางทางเรขาคณิต (Structure Geometry) และรูปแบบการกระทําของน้ําหนักบรรทุก (Loading Patterns) สวนระบบแกนอางอิงเฉพาะที่ (LOCAL) ถูกนํามาใชเปนสวนรวม (Associate) หรือเสริมซึ่งมีประโยชนในสวนของการชวยแสดงผลระบบแรงภายในของแตละชิ้นสวน (MEMBER END FORCE) เพื่อใชในการออกแบบ และในสวนของการกําหนดน้ําหนักบรรทุกที่มีการกระทําเฉพาะสวน (Local Load)) พอสังเขปดังนี้คือ

ระบบแกนอางองิของหนาตดั (Section Axis) เปนระบบแกนอางอิงสเกลเล็กสุด (พิจารณาผานทใหญหลวงนักตอความแข็งแรงของชิ้นสวน (ทั้ง Member และ Element) ซ่ึงทายที่สุด

นําไปสูความมีเสถียรภาพ (ความสมดุลยนั้นเอง) ของโครงสรางองครวม ระบบแกนอางอิงดังกลาว

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 15: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111000]]]

ดังกลาวของโปรแกร

สงผลโดยตรงตอหรือใชเปนจุดอางอิงหรือจุดเทียบเพื่อ การหาคาคุณสมบัติของหนาตัด (เปนคุณสมบัติทางเรขาคณิต) เชน พื้นที่หนาตัด (A), น้ําหนักตัวมันเอง (w), รัศมีไจเรชั่น (r), โมเมนตที่สองของพื้นที่ (I;หรือที่นิยมเรียกกันวา Moment of Inertia) และ การบงชี้แนวแกนที่แข็งแรง(แกนหลัก) หรือออนแอ (แกนรอง) ตอการตานทานแรงของหนาตัดนั้นๆดวย ซ่ึงโดยทั่วไปนิยมระบุใหแนวแกน X เปนแกนหลักและแนวแกน Y เปนแกนรอง นั้นหมายความวาคา I รอบแนวแกน X จะมีคามากที่สุดและแข็งแรงที่สุด (จึงใชเปนตัวหลักในการออกแบบ) หรือใ เปนตัวกําหนดทิศทางในการวางตัวขององคอาคารในการตานทานแรงตางๆ (ทั้งนี้เพื่อความมั่นคงแข็งแรง) เชน ทิศทางในการวางตัวของฐานแผ, ทิศทางการวางตัวของหนาตัดเสา ลฯ

สวนการกําหนดและใหสัญลักษณและทิศทางการวางตัวของระบบแกนมแตละคายอาจแตกตางกันไป (บาง) ในสวนของโปรแกรม STAAD Pro ไดใหสัญลักษณ

ของระบบแนวแกนดังกลาวไวดังตารางขางลางนี้ ระบบแกนอางอิงของหนาตดั (Section or Member Axis) ใน STAAD Pro 2005

X Z

Y

X Z

Y

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 16: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111111]]] ระบบแกนอางองิเฉพาะสวน (Local Axis or Member Axis)

านตลอดความยาวของช้ินสวน

เปนระบบแกนอางอิงสเกลปานกลาง (พิจารณาใหแนวแกน X วิ่งผโดยผานจุด cg. ของหนาตัด) มีความสําคัญตอทิศทางการวางตัวของชิ้นสวน, การกระทํา

ของแรงหรือน้ําหนักบรรทุกที่กระทําเฉพาะสวนหรือตามทิศทางการวางตัวของชิ้นสวน (Member Load), และการแสดงผลของแรงภายในรวมถึงการเสียรูปที่ไดจากการวิเคราะหของชิ้นสวน

(Member Forces And Displacements)

แสดงการวางตัวของแกนอางอิงเฉพาะสวน

โดยทิศทางที่เปนบวกของแกน X หาไดโดยดูที่ลําดับของการสรางจุดตอ (Node) ในครงสร

โ าง เชน จุดตอที่ ===== จุดตอที่ ดังนั้นทิศทางที่เปนบวกคือแกน X จะตองวิ่งจาก

ไป หรือดูไดจากภาพขางลางนี้

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 17: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111222]]]

สวนทิ องคงแนวแกน X ใหวิ่งผ

ศทางของการวางชิ้นสวนนั้นจะวางอยางไรก็ได เชน กรณีของ คาน, เสา แตจะตานตามความยาวของชิ้นสวนเสมอดังภาพขางลางนี้

แสดงทิศทางการวางตัวของชิ้นสวนท่ีสัมพันธกับแกนอางอิงเฉพาะที่

Node ที่ 1

Node ที่ 2

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 18: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111333]]] สวนการกําหนดและใหสัญลักษณและทิศทางการวางตัวของระบบแกนดังกลาวของ

โปรแกรมแตละคายอาจแตกตางกันไป (บาง) ในสวนของโปรแกรม STAAD Pro ไดใหสัญลักษณของระบบแนวแกนดังกล

าวไวดังตารางขางลางนี้

แสดงระบบแกนอางองิเฉพาะที่ (Local Axis) ใน STAAD Pro 2005

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 19: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111444]]]

ระบบแกนอางองิรวม (Global Axis) หรือแกนโลก ผมมองวาเปนระบบแกนเสาหลัก กลาวคือมันจะเปนระบบแกนที่หยุดนิ่งไมเคลื่อนไหว

(จะวางตัวอยางไรก็ไดในรอบ 360 องศา แตโดยทั่วไปแลวมักกําหนดใหแนวแกน Y มีทิศทางพุงเขาสูแกนกลางของโลก แนวแกน X มีทิศทางขนานกับผิวโลก และแนวแกน Z มีทิศทางพุงเขาหา

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 20: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111555]]] เรา ใชเปนแกนอางอิงหลักสําหรับระบุหรือกําหนดในการจําลองรูปทรงของโครงสราง (Geometry Of The Structure) และการกระทําของน้ําหนักบรรทุก การเสียรูปและระบบของแรงที่กระทําตอจุดตอ (Node) มักระบุหรือกําหนดโดยอิงตามระบบของแกนนี้

Global Axis X

Y

Z พื้นผิวโลก

xy

zSection Axis

y x

Local Axis

ภาพแสดงความสัมพันธกันระหวาง 3 ระบบแกนอางอิง (ดาน Geometry)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 21: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111666]]]

ภาพแสดงความสัมพันธกันระหวาง 3 ระบบแกนอางอิง (ดาน Load Pattern)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 22: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111777]]] ระบบแกนอางอิงรวม (Global Axis) ใน STAAD Pro 2005

Cartesian (Rectangular) Coordinate System (เปนระบบแกนหลักที่ใชกันโดยปกกติทัว่ไป)

This coordinate system may be used to define the joint locations and loading directions. The translational degrees of freedom are denoted by u1, u2, u3 and the rotational degrees of freedom are denoted by u4, u5 & u6.

Cylindrical Coordinate System

the X and Y coordinates of the conventional cartesian system are replaced by R (radius) and Ø (angle in degrees). The Z coordinate is identical to the Z coordinate of the cartesian system and its positive direction is determined by the right hand rule.

Reverse Cylindrical

Coordinate System

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 23: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111888]]]

the R- Ø plane corresponds to the X-Z plane of the cartesian system. The right hand rule is followed to determine the positive direction of the Y axis.

6. การพิจารณาทิศทาง (Sing Conventions) ที่มักนิยมใชคอืกฎมือขวาหรือบางคนอาจถนัดใชการเทีย่บเคียงกับการหมุนของนอตหรือ

สกรู

หลักการพิจารณาทิศทางที่เปนบวกของระบบแรง

เมื่อใชกฎมือขวา

หัวแมมือแสดงถึงทิศทางของแนวแกน (+ ของแรงตามแนวแกน) นิว้ทั้ง 4 แสดงถงึทิศทางที่เปนบวก (+ ของ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 24: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[111999]]] โมเมนต) การใชงาน (ทแีนวแกนใดๆ) ทําไดโดยการวางนิ้วกอยไวที่จดุ origin สวนหัวแมมือใหช้ีไปตามแนวแกนนั้นๆตามทิศทางของลูกศรเสมอ

เมื่อใชหลักการหมุนของนอตหรือสกรู

หลักการเชนเดีนวกับกฎมือขวา โดยหัวนอตใชแทนนิ้วกอย สวนตัวนอตใชแทนหัวแมมือ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 25: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222000]]] แสดงทิศทางที่เปนบวกของระบบแรงในชิน้สวน (Member End Force)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 26: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222111]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 27: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222222]]]

7. ประเภทของโครงสราง (Type of Structure)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 28: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222333]]] 2D Structure : มักเปนโครงสรางที่มีแบบฟอรมที่คอนขางงายไมสลับซับซอน มีความ uniform ทั้งในสวนของรูปทรงอาคารและรูปแบบของน้ําหนักบรรทุกที่กระทํา หรืออาจมองในแงของการวางตัวของโครงสรางอยูในระนาบเดียวกันกับน้ําหนักบรรทุกที่กระทํา (อาจมองวากระทําผานจุด Shear Center ดวยก็ได...ไมงั้นอาจบิดแบบคอพับคอเหวี่ยงได) โดยทั่วไปจะมีอยู 2 กลุมคือ แบบรับน้ําหนักบรรทุก In Plane เชน คาน, โครงขอหมุน กลุมนี้แรง (ภายในรวมถึงแรงปฏิกิริยา) ที่เกิดขึ้นจะเปนที่คุนเคยโดยทั่วไป คือ แรงตามแนวแกน (Axial Force, N) อาจจะอัดหรือดึงก็ได, แรงเฉือน (Shear Force, V), และโมเมนตตัด (Bending Moment, Mz) แบบน้ําหนักบรรทุก Out of Plane เชน โครงกริด กลุมนี้แรงที่เกิดขึ้นจะคลายๆกับกลุมแรก แตตางตรงที่จะเกิดโมเมนตบิดในบางชิ้นสวน (Torsion Moment, Mx) ดังนั้นในการใชโปรแกรมที่วิเคราะหและออกแบบโครงสรางปนชั้นๆ จึงไมควรที่จะมองขามพฤติกรรมตรงจุดนี้ดวย

คาน-เสา (Beam-Column)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 29: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222444]]]

โครงขอหมุน (Plane Truss)

โครงกริด (Grillage)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 30: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222555]]]

โครงขอแข็งหรือโครงเฟรม (Plane Frame)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 31: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222666]]] ผนังรับแรงเฉือน (Plane Shear Wall)

3D Structure : มักเปนโครงสรางที่มีแบบฟอรมที่คอนขางยากสลับซับซอนขึ้น อาจมีความ Uniform ในสวนของรูปทรงอาคารหรือไมมีก็ได แตรูปแบบของน้ําหนักบรรทุกที่กระทําอาจไมมีความ Uniform หรืออาจมองในแงของการกระทําของน้ําหนักบรรทุกที่กระทําตอโครงสราง ซ่ึงอาจมีทั้งอยูในระนาบเดียวกันกับโครงสรางและนอกระนาบการวางตัวของโครงสราง

โครงขอหมุน (Space Truss)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 32: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222777]]]

โครงขอแข็งหรือโครงเฟรม (Space Frame)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 33: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222888]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 34: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[222999]]]

ผนังรับแรงเฉือน (Space Shear Wall) และ Shear Core

โครงสรางเปลือกบาง เชน Shell, Dome

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 35: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333000]]]

โครงสรางตาขาย (Cable Net and Membrane Structure)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 36: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333111]]]

โครงสราง Stayed (Stayed Structure)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 37: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333222]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 38: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333333]]]

8. โครงสรางในอุดมคติ (Idealized Models) และ Type of Member & Element

เมื่อพิจารณาจากลักษณะของรูปทรงทางเรขาคณิต (Geometry) สามารถแบงออกได 3 กลุม คือ Skeletal Structures หรืออาจเรียกในอีกชื่อคือ โครงกระดูก เปนระบบโครงสรางที่มีรูปแบบเปนเสน (Line-Forming Element) ซ่ึงอาจจะเปนเสนตรง (Straight) หรือเสนโคง (Curved) ก็ไดซ่ึงมีมิติทางความยาว (Length) มากกวาความกวาง (Breadth) และความลึก (Depth) เชน ทอน (Bar), คาน (Beam), เสา (Column) โดยโครงสรางประเภทนี้ประกอบขึ้นจาก Line Element มาเชื่อมตอกันดวยจุดตอประเภท จุดตอบานพับ (Hinge), จุดตอแข็งเกร็ง (Rigid) หรือจุดตอแบบกึ่งแข็ง (Semi-Rigid) ที่นาสังเกตคือการวางตัวของ Line Element อาจจะวางตัวอยูในระนาบ (Plane) เดียวกันหรือตางระนาบกัน ทําใหในบางครั้งเราเรียกโครงสรางประเภทนี้วา Plane Structure หรือ Spatial Structure Plated Structures เปนระบบโครงสรางที่มีรูปแบบเปนพื้นผิว (Surface-Forming Element) โดย Element เหลานี้จะมีมิติทางความยาว (Length) และความกวาง (Breadth) ใกลเคียงกันแตมากกวามิติทางความหนา (Thickness) คอนขางมาก โดยอาจจะเปนแบบผิวเรียบในระนาบ (Plane) ซ่ึงเรามักนิยมเรียกวา Plate หรืออาจจะเปนแบบผิวระนาบโคง (Curve In Plane) จะโคงเดี่ยวหรือโคงคูก็ได ซ่ึงเรามักนิยมเรียกวา Shell โดยทั่วไปแลว Element เหลานี้มักถูกใชรวมกันกับ คานและทอน เชน แผนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กวางบนคาน, คานสะพาน Box-Girder, แทงคน้ํา (Water Tank), ลฯ

Three-Dimensional Solid Structures เปนระบบโครงสรางที่มีมิติทางความยาว (Length), ความกวาง (Breadth) และความลึก (Depth) ใกลเคียงกัน เชน โดมโคงวงกลมผนังหนา

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 39: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333444]]] (Thick-Walled Hollow Spheres), ฐานรากแพขนาดใหญ (Massive Raft Foundation), เขื่อน(Dams) ลฯ เมื่อพิจารณาจากความแข็งเกร็ง (Stiffness) สามารถแบงออกได 2 กลุม คือ โครงสรางที่ไมมีการเสียรูปหรือเปลี่ยนรูปราง (Rigid Element) เมื่อมีน้ําหนักบรทุกมากระทํา (แตถึงอยางไรก็ตามอาจมีการแอนตัวหรือดัดงอไดบางเล็กนอย แตตองไมเปล่ียนไปตามการเปลี่ยนแปลงของน้ําหนักที่มากระทํา) เชน คานคอนกรีตเสริมเหล็ก และ

Rigid Structure โครงสรางที่ยอมใหมีการเสียรูปหรือดัดงอได (Flexible Element) เมื่อมีน้ําหนักบรทุกมากระทํา เชน เคเบิล

Nonrigid or Flexible Structure หมายเหตุ : อาจมีความสับสนระหวางคําสองคํานี้คือ Strength และ Stiffness ซ่ึงทั้งสองคํานี้มีความหมายคลายๆกันกลาวคือ Strength หมายถึงคุณสมบัติของโครงสราง (Structure System) ในการตานทานแรงภายนอกที่มากระทําโดยไมเกิดการวิบัติหรือพังทะลาย Stiffness หมายถึงคุณสมบัติของโครงสราง (Structure System) ในการตานทานแรงภายนอกที่มากระทําโดยไมเกิดการแอนตัวหรือเสียรูปจนเกินกรอบที่กําหนด

เมื่อพิจารณาทางดานการสราง Mesh Refinement ช้ินสวน (Element) ที่ไมตองมีการทําใหเปนรางแห (Mesh Refinement) เชน ทอน (Bar), คาน (Beam), เสา (Column) ซ่ึงมีขนาดที่ออกไปทางสม่ําเสมอ (Uniform) และมักนิยมใชคอนขางกวางขวาง (Widely) กวาในการจําลองโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 40: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333555]]] ช้ินสวน (Element) ที่ตองมีการทําใหเปนรางแห (Mesh Refinement) ทั้งนี้เพื่อใหไดคาที่ลู (Converge) เขาคาที่ถูกตองหรือเมนตรง (Exact) มากขึ้น ดังนั้นในกรณีนี้จึ่งมีหลักการหรือมาตรการบางอยางในการสรางรางแห เชน

รูปทรงที่เหมาะสมของรางแหซึ่งอาจจะเปน ทรง 3 เหลี่ยม หรือทรง 4 เหล่ียม ซ่ึงหากเปนไปไดใหใชรางแหเปนรูปทรง 4 เหล่ียมจะดีที่สุด ทั้งนี้เพราะจะทําใหการลูเขาสูคําตอบที่เมนตรงไมสวิงออกกวาง

a b

c

a b

c

c

b a

Strain ที่หนาตดั a-c

มุมที่เหมาะสมของรางแห เชน ทรง 4 เหล่ียม ใหพยายามรักษามุมภายในใกลเคียง 90 องศา, ทรง 3 เหล่ียม ใหพยายามรักษามุมภายในใกลเคียง 60 องศา (หรือมีโปรแกรมบางคาอาจระบุเปนอัตราสวนของดานมา เชน 1:1 – 1:4)

จํานวณของรางแห (ความละเอียดและหยาบ) เชน ควรเพิ่มความละเอียดในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงแรงหรือหนวยแรงคอนขางมากเทานั้น ไมควรทําใหละเอียดมากตลอดทั้งแบบจําลอง (ซ่ึงจะเปนการเพิ่มตัวแปรอิสระ D.O.F. มากขึ้นโดยใชเหตุทําใหเสียทั้งหนวยควาจําจองคอมพิวเตอรและเวลาในการแกสมการ)

จากโครงสรางจริง (Real Structure) ที่มีองคประกอบที่สลับซับซอน ซ่ึงในการจําลองโครงสรางทางดานไฟไนตอิลิเมนท (Finite Element) เพื่อการวิเคราะหและออกแบบ เราสามารถสรางตัวแทนหรือแบบจําลองของโครงสรางจริงไดดวยองคประกอบอยางงาย (Simple Components) ที่เรียกวา Member หรือ Element โดย Member มักหมายถึงหรือใชเรียกชื่อแทนโครงสรางที่มีรูปแบบเปนเสน เชน ทอน (Bar), คาน (Beam), เสา (Column), โครงสรางกริด (Grid), โครงขอหมุนหรือโครงถัก (Truss), โครงขอแข็ง(Frame) และโครงโคง (Arch) สวน Element มักหมายถึงหรือใชเรียกชื่อแทนโครงสรางที่มีรูปแบบเปนพื้นผิว เชน แผนพื้น (Plate), ผนังรับแรงเฉือน (Shear Wall), โครงสรางเปลือกบาง (Shell), โครงสรางโดม (Dome) และโครงสราง (Solid) ดังนั้นในการเลือกใชองคประกอบทั้ง (Member และ Element) เปนแบบจําลองของโครงสรางจริงขึ้นอยูกับดุลยพินิจและการตัดสินใจของวิศวกร (Engineering Judgment) นั้นๆ ทั้งนี้เพื่อใหไดแบบจําลองที่แสดงพฤติกรรมไดใกลเคียงกับพฤติกรรมของโครงสรางจริงใหมากที่สุด

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 41: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333666]]] องคประกอบ (Components) ท่ีใชจําลองโครงสรางจริง (Real Structure) ใน STAAD Pro

เคร่ืองมือใน STAAD Pro ใชจําลอง (model) แทน

Line Member เชน ทอน (Bar), คาน (Beam), เสา (Column), โครงสรางกริด (Grid), โครงขอหมุนหรือโครงถัก (Truss), โครงขอแข็ง(Frame) และโครงโคง (Arch)

Plate/Shell Element ซ่ึ ง ป ร ะ ก อ บ ด ว ย 3-Noded (Triangular) และ 4-Noded (Quadrilateral)

เชน แผนพื้น (Slab), บันได (Stair), ฐานรากแผ (Spread Footing)

Surface Element เชน ผนังรับแรงเฉือน (Shear Wall), แผนพื้น (Slab), ผนัง(Wall), แผนพื้นสะพาน (Bridge Deck)

Solid Element

เชน การกระจายหนวยแรงในเขื่อนคอนกรีต (Stress Distribution In Concrete Dams), ในชั้นดิน (Stress Distribution In Soil Strata) และในชั้นหิน (Stress Distribution In Rock Strata)

หมายเหตุ : ใน STAAD Pro MEMBER มักใชในกรณีหมายถึงชิ้นสวนที่เปน Frame Element สวน ELEMENT มักใชในกรณีหมายถึงชิ้นสวนที่เปน Plate/Shell And Solid Elements โดยสวนของ Plate/Shell Element ถือวาเปน Subset ของ Surface Element กลาวคือ Surface Element ประกอบขึ้นจากหลายๆ Plate/Shell Element

1. ดังนั้นโครงสรางใดที่ถูกจําลองโดยใช Surface Element โปรแกรมจะทําการแบง Surface Element ออกเปน Plate/Shell Element โดยอัติโนมัติ แตถาโครงสรางดังกลาวถูกจําลองโดยใช Plate/Shell Element แทน Surface Element ผูใชเองจะตองเพิ่มงานขึ้นมาอีก 1 ขั้นตอนคือจะตองไปทําการ generate mesh ใหกับโครงสรางสวนนั้นดวยเสมอ 2. โครงสรางทุกอยางที่สามารถจําลองไดโดย Plate/Shell Element ก็สามารถจําลองโดยใช Surface Element ไดเชนเดียวกัน ความตางอยูที่เมื่อใช Surface Element เราไมตองไปกําหนด Generate Mesh และ Surface Element มักใชจําลองโครงสรางคอนขางใหญและซับซอน

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 42: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333777]]] ประเภทของโครงสรางจริง (Real Structure) และองคประกอบ (Components) ท่ีใชจําลอง

ประเภทของโครงสราง แบบจําลอง (Model) แทน

คาน (Beam)

โครงขอหมุน (Truss)

โครงขอแข็ง (Frame)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 43: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333888]]]

โครงสรางกริด (Qrid)

โครงสรางแผนพื้นระนาบ (Plate)

โครงสรางผนัง (Wall)

โครงสรางเปลือกบาง (Shell)

หมายเหตุ : ใน STAAD Pro ในการจําลองโครงสรางจะตองมีความระมัดระวังในการเลือกประเภทของ (แบบจําลอง) โครงสราง ซ่ึงในการที่จะเลือกประเภทของโครงสรางตามที่ทางโปรแกรมเตรียมมาใหเปนแบบใดนั้น ขึ้นอยูกับ D.O.F. ที่เราตองการพิจารณา ซ่ึงประเภทของ (แบบจําลอง) โครงสรางแตละแบบจะมีคาดังกลาวตางกัน ดังแสดงในตารางขางลาง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 44: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[333999]]] ประเภทของแบบจําลองโครงสรางใน STAAD Pro

PLANE

SPACE

TRUSS (2D & 3D) FLOOR

PLANE แสดงในระนาบ XY Plane (+Y Up) หรือในระนาบ XZ Plane ( +Z Up) มี DOF. = 3 คาตอจุดตอ (Node)

SPACE แสดงในระนาบ XYZ (+Y Up) มี DOF. = 6 คาตอจุดตอ (Node) TRUSS (2D & 3D) ใน 2D มักแสดงในระนาบ XY Plane (+Y Up) มี DOF. = 1 คาตอจุดตอ

(Node) FLOOR แสดงในระนาบ XZ Floor (+Y up) หรือในระนาบ XY Floor ( +Z Up) มี DOF. = 2

คาตอจุดตอ (Node)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 45: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444000]]] 9. โครงสราง 2D / 3D Structure

โครงสรางจริง 3 มิต ิ รูปแบบการจําลองโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 46: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444111]]] 2D Structure : โดยแทจริงแลวโครงสรางจริงจะเปนโครงสราง 3 มิติเสมอ แตในบางกรณีเพื่อใหงายและสะดวกตอการวิเคราะห อาจแยกออกมาเปนโครงสราง 2 มิติไดซ่ึงมักเปนโครงสรางที่มีแบบฟอรมที่คอนขางงายไมสลับซับซอน มีความ Uniform ทั้งในสวนของรูปทรงอาคารและรูปแบบของน้ําหนักบรรทุกที่กระทํา หรืออาจมองในแงของการวางตัวของโครงสรางอยูในระนาบเดียวกันกับน้ําหนักบรรทุกที่กระทํา (อาจมองวากระทําผานจุด Shear Center ดวยก็ได...ไมงั้นอาจบิดแบบคอพับคอเหวี่ยงได ซ่ึงทําใหเรามองวาเปน Plane Structure ได) ทําใหสามารถตัดแยกโครงสรางที่เปน 3 มิติ มาวิเคราะหใน 2 มิติได โดยทั่วไปจะมีอยู 2 กลุมคือ แบบรับน้ําหนักบรรทุก In Plane เชน คาน, โครงขอหมุน กลุมนี้แรง (ภายในรวมถึงแรงปฏิกิริยา) ที่เกิดขึ้นจะเปนที่คุนเคยโดยทั่วไป คือ แรงตามแนวแกน (Axial Force, N) อาจจะอัดหรือดึงก็ได, แรงเฉือน (Shear Force, V), และโมเมนตตัด (Bending Moment, Mz) แบบน้ําหนักบรรทุก Out Of Plane เชน โครงกริด กลุมนี้แรงที่เกิดขึ้นจะคลายๆกับกลุมแรก แตตางตรงที่จะเกิดโมเมนตบิดในบางชิ้นสวน (Torsion Moment, Mx) ดังนั้นในการใชโปรแกรมที่วิเคราะหและออกแบบโครงสรางปนชั้นๆ จึงไมควรที่จะมองขามพฤติกรรมตรงจุดนี้ดวย

3D

2D

3D Structure : มักเปนโครงสรางที่มีแบบฟอรมที่คอนขางยากสลับซับซอนขึ้น อาจมีความ Uniform ในสวนของรูปทรงอาคารหรือไมมีก็ได แตรูปแบบของน้ําหนักบรรทุกที่กระทํา

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 47: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444222]]] อาจไมมีความ Uniform หรืออาจมองในแงของการกระทําของน้ําหนักบรรทุกที่กระทําตอโครงสราง ซ่ึงอาจมีทั้งอยูในระนาบเดียวกันกับโครงสรางและนอกระนาบการวางตัวของโครงสราง หมายเหตุ : โครงสรางใน 2 มิติ มักใชในชื่อ Planar or Plane Structure สวนโครงสราง 3 มิติ มักใชในชื่อ Space or Spatial Structure และที่สําคัญคือคําวา 2 มิติ และ 3 มิติ หมายความถึงรูปแบบ (Mode) ของการวิเคราะหแรงในโครงสราง ซ่ึงมิไดหมายถึงรูปทรงทางเรขาคณิต (Geometry Structure) ของโครงสรางตามที่เขามักเขาใจกัน

10. จุดตอ (Joint)

จุดตอในทางทฤษฎีหรือในเชิงอุดมคติ (Idealization Joint) กําหนดขึ้นเพื่อผลในการ

วิเคราะหแรงของโครงสราง ประกอบดวย

จุดตอแบบหมุน (Hinge or Pin Joint) แสดงความสมัพันธระหวางโครงสรางจรงิกับแบบจําลอง

โครงสรางจริง แบบจําลอง (Line Diagram)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 48: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444333]]] จุดตอแบบแข็งเกร็ง (Rigid Joint)

แสดงความสมัพันธระหวางโครงสรางจรงิกับแบบจําลอง โครงสรางจริง แบบจําลอง (Line Diagram)

หมายเหตุ : ในทางปฎิบัติจริงจุดตอของโครงสรางจะมีลักษณะเปนจุดตอแบบกึ่งแข็ง

(Semi-Rigid Joint) ทั้งนี้เนื่องจากไมสามารถสรางหรือทําโครงสรางจริงใหมีจุดตอระหวางชิ้นสวนเปนไปตามทฤษฎีได (คือไมสามารถทําใหเปนจุดตอแบบหมุนหรือจุดตอแบบแข็งเกร็งไดอยางสมบูรณ) ดังนั้นในโปรแกรมแตละคายจึงมีชุดคําสั่งมาชวยในการชวยสรางแบบจําลองของจุดตอดังกลาว แตถึงอยางไรก็ตามการที่จะใชหรือกําหนดคาก็ยังคอนขางยาก ทั้งนี้เกี่ยวเนื่องกับคาคงที่ของสปริง (Spring Constant) ตามทิศทางของตัวแปรอิสระ D.O.F. ทั้ง 3 คาตอจุดตอ (ตามแนวแกน X, Y, และ Z) ซ่ึงเราจะตองทราบคามากอนถึงจะระบุได แตในโปรแกรม STAAD Pro แกไขใหใชงานงายขึ้นโดยการใช Member Release ที่เปนแบบ กลาวคือ ใหระบุคาแฟคเตอร (หรือเปอรเซ็นต) ของโมเมนตที่จะปลดหรือไมใหสงถายไปยังชิ้นสวนอื่น ซ่ึงคอนขางงายและสะดวกตอผูใช

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 49: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444444]]] เปรียบเทียบความยาก-งายในการกําหนดจุดตอแบบกึ่งแข็ง (Semi-Rigid Joint)

โปรแกรมอื่น

โปรแกรม STAAD Pro

11. จุดรองรับ (Support)

จุดรองรับในทางทฤษฎีหรือในเชิงอุดมคติ (Idealization Support) หรือที่เรียกกันในอีกชื่อ

คือสภาพเงื่อนไขขอบ (Boundary Condition) ของโครงสราง ซ่ึงเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับทั้งความมั่นคงและความแข็งแรงของโครงสราง โดยทั่วไปแลวมักรูจักกันแตเฉพาะในสวนของ จุดรองรับแบบลอหมุน (Roller Support), จุดรองรับแบบบานพับ (Hinge or Pin Support), และจุดรองรับแบบ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 50: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444555]]] ยึดแนน (Fixed Support) ซ่ึงทั้ง 3 เปนเพียงจุดรองรับในทางอุดมคติหรือที่คุนเคยคือจุดรองรับในทางทฤษฎีนั้นเอง แตจุดรองรับที่เปนจริงหรือใกลเคียงของจริงคือจุดรองรับที่พิจารณาจาก Soil-Structure Interaction แสดง Line Diagram ของจุดรองรับในทางทฤษฎีและจํานวน Degree of Freedom

จํานวนลูกศรแสดงถึงจํานวนของ D.O.F.

แสดงของจุดรองรับในทางทฤษฎีและในทางปฎิบัติ

จุดรองรับแบบลอหมุน (Roller Support)

จุดรองรับแบบบานพับ (Hinge or Pin Support) บางครั้งนิยมเรยีกวา

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 51: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444666]]] Simple Support

จุ ด ร อ ง รั บ แ บ บยึดแนน (Fixed Support)

จุดรองรับแบบสปริง (Torsional Spring Support)

โดยแทจริงแลวจุดรองรับแบบลอหมุนไมอาจสามารถเคลื่อนที่ไดโดยอิสระ (มแีรงเสียดทาน) ขณะเดียวกนัจดุรองรับแบบยึดแนนก็อาจเกิดการหมุนไดบางจึงทาํใหเกิดจดุรองรับแบบกล้ํากึง่ (ของจริง)

ถาหากคา k = 0 จะเปนจุดรองรับแบบบานพับ ถาหากคา k = α จะเปนจุดรองรับแบบยึดแนน

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 52: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444777]]]

12. การปลดระบบแรงในชิ้นสวน (Member Releases) ทั้งนี้เนื่องจากจุดตอ (Joint) ในทางทฤษฎีมีอยู 2 ประเภทหลักคือ จุดตอหมุน (Pin Joint) และจุดตอแข็งเกร็ง (Rigid Joint) แตเนื่องจากในทางปฎิบัติจริงไมสามารถทําใหจุดตอระหวางช้ินสวนมีพฤติกรรมเปนไปตามหลักทฤษฎีไดอยางสมบูร นั้นหมายความวาแตละชิ้นสวนจะมีการสงถายแรงของแตละจุดตอ (แตละชิ้นสวนมีสวนประกอบของแรงอยู 6 คาคือ แรงตามแนวแกน (Axial), แรงเฉือน (y-y & z-z Shear), แรงบิด (Torque), และโมเมนต (y-y & z-z Bending)) แตกตางกันไป ดังนั้นจึงตองมีการปลดหรือปลอยแรง (Release) ในบางสวน (บางทิศทาง) เพื่อใหจุดตอมีพฤติกรรมใกลเคียงกับความเปนจริงใหมากที่สุด (Semi-Rigid Joint) หมายเหตุ : การสรางจุดหมุนภายใน (Internal Hinge) ของชิ้นสวน ก็ใชโดยวิธีของการปลดหรือปลอยแรงเชนเดียวกัน การกําหนดคุณสมบัติของจุดตอ (Member Release) ของชิ้นสวนในโปรแกรม STAAD Pro ที่พิเศษขึ้นมาชวยทําใหมีความสะดวกและงายขึ้น

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 53: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444888]]]

13. Rigid Member Offset or Rigid End Zone or Rigid Arm or Rigid Link

เปนผลที่เกิดจากความแข็งเกร็งของโครสรางในสวนที่ซอนทับกัน (Finite Size Of Member) ของโครงสรางที่มาตอเชื่อมกัน ที่เห็นชัดเจนก็คือกรณีของโครงสรางคอนกรีตเสริมเหลก็ (ที่หลอในคราเดียวกัน) เชน ตรงรอยตอของคาน-เสา, รอยตอของคาน-ผนังรับแรงเฉือน (หรือปลองลิฟท), เสาตอมอ-ฐานรากแผ หรือตรงจุดตอระหวางคาน-เสาในโครงสรางเหล็กรูปพรรณ แสดงบางตัวอยางกับกรณขีองการเกิดระยะเยื้อง (Offset) ในโครงสราง

โครงสรางจริง แบบจําลอง

ในโครงสรางจริงไมวาจะเปนโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กหรือโครงสรางเหล็กรูปพรรณ

การตอเชื่อมกันของชิ้นสวนตางๆจะตอเนื่องกันดวยหนาสัมผัส (หรือผิวสัมผัส) ระหวางชิ้นสวนไมใชตอเนื่องกันดวยแนว Centerline ของแตละชิ้นสวน แตในการจําลองโครงสรางเพื่อการวิเคราะหและออกแบบ จะแทนโครงสรางดวยเสน (Line Diagram) ที่ลากผานจุด Centerline ของ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 54: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[444999]]] แตละชิ้นสวน อยางเชนในกรณีของ คาน-เสา จะเห็นวาความยาวของเสน Line Diagram ซ่ึงเปนชวงความยาวของคานจะเปนระยะที่วัดจากกึ่งกลางเสาถึงกึ่งกลางเสา แตในความเปนจริงจะเห็นวาระยะของคานในสวนที่วัดจากหนาสัมผัสของเสาถึงกึ่งกลางเสา (ของแตละดานเทากับครึ่งหนึ่งของความกวางของเสา) ซ่ึงความยาวของคานในสวนดังกลาวจะมีความลึกของหนาตัดเทากับความสูงของเสา นั้นหมายควาความยาวของคานในสวนดังกลาวมีคาความแข็งแกรงหรือความแข็งแรงมากกวาความยาวจริงมหาศาล (อาจมองวาเปนสวนของจุดรองรับไปโดยปริยาย) นั้นคือความยาวจริง (Clear Length = L-2(b/2)) ที่จะใชเพื่อการวิเคราะหก็ควรจะเปนระยะเทากับความยาวคานทั้งหมด (Total Length) ที่วัดจากแนว Centerline ของเสาอีกดาน (จุดตอหัวคาน) ของคานชนแนว Centerline ของเสาในอีกดานของคาน (จุดตอทายคาน) ดังนั้นเพื่อใหการแสดงพฤติกรรมของโครงสรางในบริเวณดังกลาวใกลเคียงกับความเปนจริงดังที่ไดกลาวมาแลว ในการจําลองโครงสรางจึงตองมีการระบุหรือกําหนดระยะเยื้อง (Offset) ดังกลาว

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 55: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555000]]]

L1

L2

N1 M1 N2 L1

N2 N1 M1 L2

แบบจําลอง A

แบบจําลอง B

Rigid Arm

จากภาพจะเห็นหากคิดผลจากการซอนทับกันขององคอาคาร (ทําใหระยะที่ใชในการวิเคราะหตางกันคือ L1 > L2) จะเห็นวาคานที่ทําการจําลองโครงสรางแบบ B จะมีความแข็งแรงมากกวาคานที่ทําการจําลองโครงสรางแบบ A กลาวคือจะมีการแอนตัวนอยกวาและรับโมเมนตและแรงไดมากกวา

นอกจากนี้ระยะเยื้อง (Offset) ดังกลาวยังใชไดกับในกรณีของ

การตอเชื่อมที่บางชิ้นสวนวางในแนวเอียง (หนาสัมผัสไมตั้งฉากกัน) ซ่ึงแนว Centerline ของชิ้นสวนไมตั้งฉากกัน ดังเชนในกรณีของชิ้นสวนค้ํายัน (ซ่ึงกรณีนี้ผมมองวาการตอเชื่อมจะตองมีความแข็งแรงพอ) ซ่ึงในกรณีดังกลาวในการวิเคราะหโครงสรางโปรแกรมตางๆที่ใชจะใหเราเปนผูระบุหรือปอนคาระยะเยื้องดังกลาวเอง (โดยใชระยะเยื้องในแนวแกน GLOBAL)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 56: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555111]]] ในกรณีของ Incline Member Offset

เสนแสดงโครงสรางจริง

เสน line diagram แสดงแนว centerline

แนว centerline ของช้ินสวนไมตั้งฉากกัน (2 กับ 7)

การตอเชื่อมที่บางชิ้นสวนวางอยูบนอีกชิ้นสวน (Member Top Offset) กรณีดังกลาวแมวาแนว Centerline ของชิ้นสวนจะตั้งฉากกันแตวางตัวอยูกันคนละระนาบ ดังเชนในกรณีของคานรอง (Beam) วางอยูบนคานหลัก (Girder) ของระบบรางเครนในโรงงานอุตสาหกรรม หรือในกรณีของระบบแผนพื้นประกอบซึ่งมีแผนคอนกรีตวางตัวอยูบนคานเหล็ก ซ่ึงในกรณีดังกลาวในการวิเคราะหโครงสรางโปรแกรมตางๆที่ใชจะใหเราเปนผูระบุหรือปอนคาระยะเยื้องดังกลาวเอง (โดยใชระยะเยื้องในแนวแกน GLOBAL)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 57: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555222]]] ในกรณีของ Member Top Offset

การวางตวัของคานระบบรางเครน

ระบบแผนพืน้ประกอบ

หมายเหตุ : 1. ในบางอาจเรียกระยะเยื้องดังกลาววา Rigid Link 2. การตอเชื่อมจะตองมีความแข็งแรงพอที่จะสงถายระบบแรงได เชน โมเมนตดัด 3. เมื่อมีการใชเงื่อนไขดังกลาวในการจําลองโครงสราง พื้นที่บริเวณดังกลาวจะมีคา คุณสมบัติเปน Infinity Rigid Link คือมีคา k = α สามารถรับโมเมนตดัดไดมาก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 58: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555333]]] ขอควรระวังบางประการ

จําลองถูก

ในกรณี ขอ ง คาน -เ ส า (โดย เฉพาะโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก)

แบบแรกจําลองถูก ความลึกของคานในบริเวณดังกลาวจะประมาณวาเทากับความสูงของเสาได

แบบที่สองจําลองผิด เหตุเพราะไปคิดระยะเยื้องของเสาบริเวณเหนือคาน (ดังเชนกรณีของคานทั่วๆไปที่ไมใชคานลึก) ทําใหความยาวของเสาลดลงจากเดิม จึงเกิด Axial Rigid เหนือบริเวณสวนที่เปนคานสงผลใหคา Axial Stiffness ของเสามีคามากกวาความเปนจริง (Overestimate) เนื่องจากจะเกิด Axial Rigid เหนือบริเวณสวนที่เปนคาน ทั้งนี้เพราะ Axial Stiffness ของเสาหาไดจาก EcAc/h ดังนั้นเมื่อ h นอยลงคาของ Axial Stiffness ก็จะสูงขึ้น

จําลองผิด

ในกรณีของแปเหล็กที่วางบนจันทันเหล็ก หรือจันทันเหล็กวางบนอะเสเหล็กหรืออกไกเหล็ก (รวมถึงระบบของคานฝากขคานซอยของโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กดวย) ไมนาที่จะจําลองโครงสรางโดยการใช Member Offset ควรใชวิธีการของการปลดหรือปลอยแรงแทน (Member Release) ทั้งนี้เพราะหากใชหลักการของ Member Offset จะทําใหเกิดโมเมนตขึ้นในชิ้นสวนที่วางอยูขางบน (แป, จันทัน)

.

h H

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 59: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555444]]] ใหสังเกตวาในการจําลองโครงสรางทั้งหลังหรือหลายๆชั้น การที่เราจะมานั่งตั้งหนาตั้งตา

ระบุระยะเยื้องดังกลาวทั้งหมดเองคงไมตองทําอะไร ดังนั้นในการจําลองโครงสรางหากเรากําหนดขนาดหนาตัดใหกับโครงสราง โปรแกรม (รวมถึง STAAD Pro ดวย) มักจะคํานวณระยะดังกลาวเองโดยอัตโนมัติ (ถาเชนนั้นการหมุนของชิ้นสวนที่ตอเชื่อมกันหรือ Member Angle or Beta Angle ก็มีผลตอระยะดังกลาวดวย) และการแสดงผลการวิเคราะห (เชนการพลอตเสนแสดงโมเมนตดัด) ก็จะแสดงเฉพาะในสวนของความยาวจริง (ไมรวมระยะเยื้องดังกลาว) ดังนั้นโปรแกรมตางๆ (รวมถึง STAAD Pro ดวย) จึงไดเตรียมชุดของคําสั่งของ Member Offset ขึ้นมาเพื่อใหเราสามารถจําลองคาความแข็ง (Stiff) ของโครงสรางในบริเวณจุดตอระหวางองคอาคารและในสวนขององคอาคารเองไดถูกตองมากยิ่งขึ้น ดังเชนในกรณีของคานลึก (Deep Beam), คาน-เสา (Beam-Column), และผนังรับแรงเฉือน (Shear Wall) ภาพแสดงคุณสมบัติเก่ียวกับ Member Offset ในสวนของโปรแกรม STAAD Pro

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 60: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555555]]] 14. Member with non-uniform section or Taper member

ในกรณีที่มีองคอาคารบางสวนมีขนาดหนาตัดไมเทากัน (Non-Uniform Section) เชนคานที่มีหนาตัดแบบเรียวหรือตอบเขา (Tapered Beam) สามารถทําการจําลองโครงสรางไดดังนี้ โดยการจําลองหนาตัดในสวนที่เรียวหรือตอบเขาใหมีหนาตัดแบบเดียว (Uniform Section) โดยความลึกใหใชขนาดโดยเฉลี่ยที่ไดจากการแบงหนาตัดในสวนดังกลาวออกเปนสวนยอย ซ่ึงอาจจะแบงเปน 2 สวน (สวนหัว-สวนทาย) หรือ 3 สวน (สวนหัว-สวนกลาง-สวนทาย) แลวทําการหาคาเฉลี่ย

L1 L2 L2

h1 h2 h3 −

h = [h1+h2+h3]/3 b

M1 M2 N4 N3 N2

M1 N1

h

15. Master - Slave Node or Master – Slave Constraints or Joint Constraint Master - Slave Node ไมใชวิธีการของการออกแบบ แตเปนเพียงวิธีการของการจําลอง

โครงสรางเพื่อดูพฤติกรรมของโครงสรางเทานั้น (ไดทั้งในกรณี Static และ Dynamic Loads) มีผลดีคือ ประการแรก ทําใหเราสามารถสรางแบบจําลองเพื่อแสดงพฤติกรรมแบบแข็งเกร็ง (Rigid) ไดโดยงาย เชน ในกรณีของระบบแผนพื้น (Floor Slab) ที่มีความแข็งเกร็ง (Rigid) ในระนาบ (In-Plane) ประการที่สอง การกระทําดังกลาวชวยลดคา D.O.F. ของทั้งชั้นลดลงเหลือเพียง 3 คา (เคลื่อนที่ในแนวแกน X, แกนY, หมุนรอบแกน Z) ทําใหขนาดของ Stiffness Matrix ลดลง ผลดีคือคอมพิวเตอรใชหนวยความจําลดลงและประมวลผลไดเร็วขึ้น

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 61: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555666]]] Master Node หมายถึงจุดตอ (Node) ซ่ึงถูกยึดหรือเกี่ยว (Link) จากจุดตอ (Node) อ่ืนๆ ซ่ึง

ถาจะเปรียบใหเห็นชัดสวนนี้ก็ทําหนาที่เหมือนหรือคลายกับคานหลัก (Girder) ขอควรจําคือ Master Node สามารถมีไดหลาย Slave Node ขณะเดียวกัน Master Node จะไมสามารถเปน Slave Node ของ Master Node อ่ืนๆ

Slave Node หมายถึงจุดตอ (Node) ซ่ึงไปยึดหรือเกี่ยว (Link) กับจุดตอ (Node) อ่ืน ซ่ึงถาจะเปรียบใหเห็นชัดสวนนี้ก็ทําหนาที่เหมือนหรือคลายกับคานฝากหรือคานรอง (Beam) ขอควรจําคือ Slave Node สามารถมีไดเพียง 1 Master Node เทานั้น (D.O.F. ของ Slave Node จะเปนสวนที่ถูกยึดร้ังหรือบังคับเพื่อใหเปนไปตาม D.O.F. ของ Master Node) ดังนั้นในกรณีของระบบแผนพื้น (Floor Slab) ที่มีความแข็งเกร็ง (Rigid) ในระนาบ (In-Plane) คาการเสียรูปทั้ง 3 (เคลื่อนที่ในแนวแกน X, แกนY, หมุนรอบแกน Z) ของ Slave Node จึงหาไดโดยตรงจาก Master Node

การยึดร้ัง D.O.F. ของจุดตอ (Node) โดยวิธีนายกับคนสนิท (Master-Slave Constrain) ทําใหเราสามารถจําลองโครงสรางโดยการเชื่อม (Connect) จุดตอ (Node) ตางๆเขาดวยกันไดดวย Rigid Links (หรือ Imaginary Links) ผลคือทําใหจุดตอ (Node) ทั้งกลุมมีการเคลื่อที่ (เสียรูป) ไปดวยกัน (มีความสัมพันธกัน) ทั้งในแนวเชิงเสน (Translation) และเชิงมุม (Rotation) โดย D.O.F. ของแตละจุดตอ (Node) ที่จะทําการยึดรั้งซึ่งกันและกันอาจจะเปนเพียงบางสวนหรือทั้งหมด (6 D.O.F.) ก็ได

ภาพเปรียบเทียบแสดงผลของการใชหลักการของ Master-Slave Node

เปนภาพ Top View แสดงการเสียรูปของแผนพื้นที่ไมใชหลักการ Master - Slave Node (Non Rigid Floor Diaphragm)

เปนภาพ Top View แสดงการเสียรูปของแผนพื้นที่ใชหลักการ Master – Slave Node (Rigid Floor

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 62: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555777]]] Diaphragm)

ขอสังเกตุ : มักชีจุดตอที่มกีารเสียรูปนอยสุดเปน Master Node สวนจุดตอทีเ่หลือ (ตามเสนขอบรอบรูปแผนพื้นจะเปน

Slave) หมายเหตุ : ในการวิเคราะหโครงสรางใน 3 มิติที่เปนอาคารสูง มักนิยมใชหลักการของ Rigid Floor Diaphragm

บางกรณีกับการใชหลักการของ Master-Slave Node

กรณีของการใช wind bracing ประเภท X bracing

ในการชวยคํ้ายัน และ scissor lift

ภาพที่ 1 : scissor lift

ที่จุดซอนทับกันของจุดตออาจมีการตอดวย bolt or pin ก็ได ในกรณีจุดตอจะสงถายแรงเฉือนใหซ่ึงกันและกันแตไมมีโมเมนต ดังนั้นช้ินสวนทั้ง 2 จึงสามารถหมุนไดโดยอิสระรอบจุดตอดังกลาว

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 63: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555888]]]

ภาพที่ 2 : X- Bracing

จากภาพที่ 2 กรณีของ X -Bracing จะเห็นวาชิ้นสวนของค้ํายันกลุมแรก (ซ่ึงในการจําลองจะลากเสนจาก 1ไป 3 เลย) คือ 1-5 และ 5-3 ช้ินสวนของค้ํายันกลุมสอง (ซ่ึงในการจําลองจะลากเสนจาก 2ไป 4 เลย) คือ 2-6 และ 6-4 ซ่ึงจะเห็นวาชิ้นสวน 1-3 และ 2-4 ซ่ึงจะเห็นเกิดการซอนทับกัน (อยูในตําแหนงเดียวกัน) ของจุดตอ 5, 6 ซ่ึงจะถือวาบริเวณดังกลาวมีลักษณะของจุดตอเปน Pin โดยอัติโนมัติ ดังนั้นเมื่อมีการรับแรงเกิดขึ้นที่จุดดังลาว (5 และ6) จะมีการแอนตัวหรือเสียรูป (เชิงเสน) ไปดวยกัน (ดังภาพแรก) แตจะไมมีการหมุนหรือเสียรูป ในเชิงมุม ซ่ึงกรณีดังกลาวเราสามารถนําหลักการของ Master-Slave Node มาใชไดโดย

มีอีกบางกรณีซ่ึงคอนขางยากหากไมทําการจําลองโครงสรางโดยการใช Master-Slave Node ซ่ึงจะเกิดขึ้นในกรณีของ 2 ช้ินสวนที่มีความลึกตางกันมากมาเชื่อมตอกันที่ปลาย (End-To-

End) ดังนั้นแนวเสน Centerline ของทั้งสองชิ้นสวนไมตรงหรือไมอยูในแนวเดียวกัน (Centerlines

Do Not Line Up) ซ่ึงในกรณีดังกลาวจุดตอ (Node) ที่ปลายของแตละชิ้นสวน จะตองทําการจําลองใหเชื่อมตอกันดวย Rigid Link โดยอาศัยหลัการของ Master-Slave Node ดังแสดงในภาพขางลางนี้

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 64: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[555999]]]

Rigid Link Slave Node

Master Node

ช้ินสวนที่ 1

ช้ินสวนที่ 2

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 65: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666000]]] ภาพแสดงคุณสมบัติเก่ียวกับ Master-Slave ในสวนของโปรแกรม STAAD Pro

16. Shear Deformation เปนการเสียรูปของชิ้นสวน (Member) เนื่องจากพฤติกรรมการกระทําของแรงเฉือน ซ่ึงช้ินสวนใดมีพื้นที่รับแรงเฉือน (Shear Area) มากก็มักจะไมคิดผลของการเสียรูปเนื่องจากแรงเฉือน แมวาโดยปกติทั่วไปแลวการเสียรูปเนื่องจากแรงเฉือนจะมีผลตอโครงสราง แตจะไมมีผลกระทบตอแรงภายในของชิ้นสวนมากนัก ดังนั้นในการวิเคราะหโครงสรางจึงมักไมคิดผลเนื่องจาก Shear Deformation แตในกรณีของผนังรับแรงเฉือนที่มีอัตราสวนดานกวางที่ฐานตอความสูงของผนัง การเสียรูปของผนังจะเปนการเสียรูปเนื่องจาก Shear Deformation ไมใชเนื่องจากการดัด

Shear Deformation Bending Deformation

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 66: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666111]]] 17. ผนัง (Wall) สามารถสรางแบบจําลองไดหลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพเงื่อนไขของความถูกตองของขอมูลที่ตองการ ซ่ึงมีวิธีการดังนี้ ผนังที่ไมมีชองเปด (Wall Without Opening) อาจจําลองโครงสรางโดยโดยการสมมติใหผนังเปนเสมือนชิ้นสวนคาน (Beam Element) แตไมควรทําในลักษณะดังกลาวหากอัตราสวนของดานสูงตอดานกวาง (H/B) มีคาต่ํา ซ่ึงในกรณีดังกลาวควรจําลองดวย Plate Element

จําลองเปนคาน B

H

จําลองดวย Plate

เมื่อ H/B นอย เมื่อ H/B

ผนังรับแรงเฉือนที่มีชองเปด (Shear Wall With Opening) จําลองโครงสรางโดยทําใหเปนโครงขอแข็งคาน-เสา (Frame) โดยคานและเสาตอถึงกันดวย Rigid Arm

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 67: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666222]]] B

H

เสา

Rigid Arm คาน

แบบจําลอง ผนังรับแรงเฉือน

ผนังรับแรงเฉือนที่มีชองเปด (Shear Wall With Opening) จําลองโครงสรางโดยใช Plate Element จากนั้นทําการซอยยอยดวยการสรางเปนรางแห ซ่ึงวิธีการดังกลาวจะแสดงพฤติกรรมของผนังรับแรงเฉือนไดดีกวา แตตองใชเวลาในการประมวลผลที่มากขึ้น

รางแห

แบบจําลอง ผนังรับแรงเฉือน

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 68: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666333]]] เคร่ืองมือชวยสรางแบบจําลองของผนังใน STAAD Pro

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 69: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666444]]] เคร่ืองมือใน STAAD Pro ใชจําลอง (model) แทน

Plate Element ใชสําหรับสรางผนังดวย Plate Element จากนั้นจึงสรางรางแหใหกับแผนพื้นที่จําลองดวย คําสั่ง

Surface Element ใชสําหรับสรางผนังดวย Surface Element

18. Rigid Floor Diaphragm คําวา Plate และ Diaphragm มีความคลายคลึงกันกลวคือทั้ง 2 สวนตางก็ใชในการจําลองโครงสรางในสวนของแผนพื้น (เปนหลัก) แตตางกันตรงที่เมื่อพิจารณาที่พื้นชั้นเดียวกันหากจําลองโครงสรางแผนพื้นดวย plate ก็จะประกอบไปดวยหลาย Plate ตอช้ัน แตถาจําลองโครงสรางแผนพื้นดังกลาวดวย Diaphragm ก็จะประกอบไปดวยหลายหนึ่ง Diaphragm ตอช้ัน หรือในอีกนัยหนึ่งก็คือ Diaphragm ประกอบขึ้นจากหลายๆ Plate ที่หลอหลอมรวมเปนชิ้นเดียวกันทั้งชั้น การจําลองโครงสรางแผนพื้นโดยมองวาเปน Rigid Floor Diaphragm เปนวิธีการแกปญหาที่มีประสิทธิภาพสูงเปนที่รูจักมากวา 40 ป และเปนที่นิยมใชอยางกวางขวางโดยเฉพาะการวิเคราะหและออกแบบอาคารสูง การใชวิธีการดังกลาวชวยทําใหจํานวนสมการของระบบโครงสรางลดนอยลง ทําใหส้ินเปลืองหนวยความจําของคอมพิวเตอรนอยลง และใชเวลาประมวลผลไดรวดเร็วขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากมีตัวไมทราบคาหรือตัวแปรอิสระ (D.O.F.) ในแนวระนาบเพียง 3 คาตอช้ัน คือ ตามแนวแกน X = 1, ตามแนวแกน Y = 1 และ หมุนรอบแกน Z = 1 การจําลองโครงสรางของแผนพื้นในแตละชั้นใหเปน Rigid Floor Diaphragm นั้น ตั้งอยูบนสมมติฐานที่วา

แผนพื้นมีการเคลือนที่ไดในแนวราบ (เชิงเสน) ในแนวระนาบของแผนพื้น แผนพื้นมีการหมุน (เชิงมุม) ไดรอบแนวแกนที่ตั้งฉาก (แนวดิ่ง) กับระนาบของแผนพืน้ เสมือนวาเปนวัสดุแข็งเกร็ง (Rigid Body) ซ่ึงจากขอสมมติฐานทั้งสองดังกลาว แผนพื้นจะไมมีการเสียรูป (Deformation) ตามแนวแกนทั้งสองและในแนวระนาบของมันเอง แมวาการจําลองแผนพื้นโดยวิธีการดังกลาวจะมีประสิทธิภาพ แตก็มีจุดดอยในบางสวนอันเนื่อวมาจากผลของของสมมติฐานดังกลาวคือ จะไมเกิดหนวยแรงเฉือน (Shear Stress) และแรงในแนวแกน (Axial Force) ตามแนวราบหรือระนาบของแผนพื้น จึงทําใหไมสามารถใชไดกับ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 70: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666555]]] อาคารในบางกรณี เชน อาคารที่มีผนังรับแรงเฉือนสั้น (เตี้ย) หรือในกรณีของโครงสรางที่ในสวนของโครงหลังคามุงดวยวัสดุมุง ผลจากการตั้งสมมติฐานของ Rigid Floor Diaphragm

ไมมีการเสีนรูปในแนวแกน X

Z

Y

X

ไมมีการเสีนรูปในแนวแกน Y

ไมมีการเสีนรูปในแนวระนาบ X-Y

Z

Y

X

Z

Y

X

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 71: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666666]]] แสดงตัวแปรอิสระที่เกิดขึ้นใน Rigid Floor Diaphragm

ทิศทางที่เกิด D.O.F./ช้ัน จํานวณของ D.O.F./ช้ัน Degree Of Freedom ในแนวแกน X 1 คา Degree Of Freedom ในแนวแกน Y 1 คา Degree Of Freedom หมุนรอบแกน Z 1 คา หมายเหตุ : การใชหลักการของ Rigid Floor Diaphragm เปนเพียงวิธีการที่ถูกใชเพื่อชวยในการวิเคราะหโครงสรางเทานั้นไมใชวีธีการออกแบบ

ในการใชโปรแกรมชวยในงานวิเคราะหโครงสราง การจําลองโครงสรางของแผนพื้นโดย

อาศัยหลักการของ Rigid Floor Diaphragm สามารถทําไดโดยอาศัยหลักการของ Master-Slave Node

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 72: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666777]]] Rigid Floor Diaphragm ใน STAAD Pro

เคร่ืองมือใน STAAD Pro ใชจําลอง (Model) แทน

Master/Slave ใชสําหรับบังคับ D.O.F. (บางทิศทางหรือทั้งหมด) ของ Slave Node ทีมีทิศทางเดี่ยวกันกับ Master Node ใหขึ้นตรงตอ Master Node

หมายเหตุ : “The master/slave option is provided to enable the user to model rigid links in the structural system. This facility can be used to model special structural elements like a rigid floor diaphragm.”

19. แผนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก การจําลองโครงสรางของระบบแผนพื้น เชน ระบบแผนพื้น 2 ทาง ระบบแผนพื้นไรคาน การสรางแบบจําลองโดยใหที่มีการดัดในทั้ง 2 ทิศทาง จะทําใหไดโมเมนตดัดที่ไดจากการวิเคราะหใกลเคียงกับความเปนจริง ซ่ึงหากทําการจําลองแผนพื้นในลักษณะดังกลาวโมเมนตที่ไดจากการวิเคราะหจะประกอบดวย Mx, My, และ Mxy สามารถจําลองโครงสรางไดโดย

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 73: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666888]]] วิธี Equivalent Frame วิธีดังกลาวจะแบงแผนพื้นออกเปนแถบกวาง (ระหวางกึ่งกลางเสาถึงเสา) แลวถือเสมือนวาเปนคานเทียบเทา การจําลองแผนพื้นโดยวิธี Equivalent Frame

โครงสรางจริง แบบจําลอง

หมายเหตุ : ขนาดหนาตัดของ Frame ในสวนที่เปนคาน จะมีความลึกเทากับความหนาของแผนพื้น และความกวางเทากับผลรวมของครึ่งหนึ่งของชวงเสาทั้ง 2 ดาน [(1/2)x (L1+L2)]

L2 L1

วิธี Grillage Model วิธีดังกลาวจะแบงแผนพื้นออกเปนแถบกวาง (ตารางกริด เชน 4x4) แลวถือเสมือนวาเปนระบบคานกริด

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 74: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[666999]]] การจําลองแผนพื้นโดยวิธี Grillage

โครงสรางจริง แบบจําลอง

หมายเหตุ : 1. ขนาดหนาตัดของคานจะมีความลึกเทากับความหนาของแผนพื้น (t) และความกวาง (b) เทากับผลรวมของครึ่งหนึ่งของชวงเสนกริดทั้ง 2 ดาน [(1/2)x (b1+b2)] 2. ในกรณีของ Ribbed Slab ใหใชความลึกเทากับ [(12I)/b]3

Grid Line

Grid Line

t b

วิธี Plate Bending And Flat Shell Element วิธีดังกลาวจะแบงแผนพื้นออกเปนระบบรางแห (Mesh) ซ่ึงถือวาเปนวิธีการที่ดีที่สุดแตจะมีผลตอการเพิ่มขึ้นของสมการ (มีจํานวนจุดตอมากขึ้น ตัวแปรอิสระก็จะเพิ่มขึ้น) การประมวลผลอาจใชเวลามากขึ้น (หากสรางรางแหที่ละเอียดมาก) ซ่ึงโปรแกรมดานการวิเคราะหโครงสรางจะมีชุดเครื่องมือสนับสนุนการจําลองแผนพื้นดวยวิธีนี้

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 75: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777000]]] การจําลองแผนพื้นโดยวิธี Plate Bending And Flat Shell Element

โครงสรางจริง แบบจําลอง

หมายเหตุ : ความละเอียดของรางแหมาก การแสดงพฤติกรรมก็จะถูกตองมากยิ่งขึ้น แตอาจตองส้ินเปลืองทั้งหนวยความจําของคอมพิวเตอรและเวลาในการประมวลผลมากขึ้น

ชุดเครื่องมือจําลอง Plate Bending And Flat Shell Element ใน STAAD Pro

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 76: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777111]]]

เคร่ืองมือใน STAAD Pro ใชจําลอง (Model) แทน

ใชสําหรับสรางรางแหใหกับแผนพื้นที่จําลองดวย Plate Element

ใชสําหรับสรางรางแหใหกับแผนพื้นที่จําลองดวย Surface Element

20. Tension-only Members and Compression-only Members

กระบวนการของการวิเคราะหช้ินสวนรับแรงดึงอยางเดยีว (Tension-only Member) หรือช้ินสวนรับแรงอัดอยางเดยีว (Compression-only Member) จะเปนการวิเคราะหแบบซ้ําๆในแตละ Load Case ดังนั้นหากกระบวนการวิเคราะหเพื่อใหไดคําตอบโดยการระบุคุณสมบัตดิังกลาวใหกับช้ินสวนใชเวลานานเกนิควร ก็อาจใชคณุสมบัติแบบใหมแทนคือกําหนดใหอยูเฉยๆไมตองทําอะไร (Inactive) ใชในการระบุหรือกําหนดคุณสมบัติเฉพาะใหกับชิ้นสวน ซ่ึงทั้งสองสวนนี้ตางจากกรณีของ Truss Member เพราะในกรณีของ Truss จะสามารถรับแรงตามแนวแกนได โดยอาจจะเปนไดทั้งแรงดึงหรือแรงอัดก็ได (ในชิ้นสวนเดียวกัน)

1.แตในกรณีของชิ้นสวนรับแรงดึงอยางเดียว (Tension-only Member) จะรับไดเฉพาะแตแรงดึงอยางเดียวไมยุงกับแรงอัด ดังนั้นทุกครั้งที่มีการยอนกลับมาวิเคราะหใหม (Iteration) สําหรับแตละ Load Case หากมีการตรวจพบวาชิ้นสวนดังกลาวเกิดแรงอัดขึ้น คา Stiffness ของช้ินสวนดังกลาวก็จะถูกกําหนด (หรือ Set) ใหเปนศูนยสําหรับการวิเคราะหในครั้งถัดไป

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 77: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777222]]] 2.และในกรณีของช้ินสวนรับแรงอัดอยางเดียว (Compression-only Member) จะรับได

เฉพาะแตแรงอัดอยางเดียวไมยุงกับแรงดึง ดังนั้นทุกครั้งที่มีการยอนกลับมาวิเคราะหใหม (Iteration) สําหรับแตละLoad Case หากมีการตรวจพบวาชิ้นสวนดังกลาวเกิดแรงดึงขึ้น คา stiffness ของชิ้นสวนดังกลาวก็จะถูกกําหนด (หรือ Set) ใหเปนศูนยสําหรับการวิเคราะหในครั้งถัดไป

การกําหนดคุณสมบัติดังกลาวมีขึ้น (ไว) เพื่อใหเราสามารถจําลองโครงสรางในสวนของระบบค้ํายัน (Slender Strut) เชนในกรณีของ X-Bracing ขอควรระวังคือหามใช Member Release กับระบบแรงใดๆในชิ้นสวนที่มีการระบุคุณสมบัติดังกลาว

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 78: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777333]]] ชุดเครื่องมือท่ีใชกําหนดคุณสมบัติดังกลาวใน STAAD Pro

เคร่ืองมือใน STAAD Pro ใชจําลอง (model) แทน ที่ Main Menu ไปที่คําสั่งดังกลาว

จากนั้นเลือกทีแ่ถบ

21. Soil-structure interaction (หรือ interaction load) โดยทั่วไปแลวในการวิเคาระหและออกแบบโครงสรางวิศวกรมักไมนํามาคิด (Neglected)

เมื่อมีการจําลองโครงสรางในรูปแบบทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ มักมีการกําหนดรูปแบบของจุดรองรับ (ฐานราก) ในลักษณะของการบังคับ (Constrain) ไมใหจุดรองรับ (ฐานราก) มีการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง (Vertical Movement) ซ่ึงวิธีการดังกลาวอาจทําไดกับกรณีของฐานราก (ฐานแผ) ที่วางตัวอยู

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 79: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777444]]] บนชั้นของดินแข็ง (Stiff Soil), บนชั้นของทรายหรือกรวดที่มีการบดอัดแนน หรือช้ันของหิน (Rock) แตในกรณีของฐานราก (ฐานแผ) ที่วางตัวอยูบนชั้นของดินออน (Soft Soil) จะทําดังในกรณีที่กลาวมาแลวไมได ควร (จะตอง) มีการคํานึงถึงผลหรืออิทธิพลของการทรุดตัวที่ตางกัน (Different Settlement) ของฐานรากดวย ดังนั้นในการวิเคราะหและออกแบบโครงสรางควรรวมผลเนื่องจาก Soil-Structure Interaction หรือ Interaction Load อันเนื่องมาจากการทรุดตัวของฐานรากดวย

ซ่ึงปรากฎการณ (Phenomenon) ดังกลาวมีผลหรืออิทธิพลโดยตรงตอการศึกษาพฤติกรรมของโครงสราง การกระจายน้ําหนักบรรทุก (Load) และแรงภายในที่ไดจากการวิเคราะห จะแตกตางกันเมื่อรวมหรือไมรวมผลของ Soil-Structure Interaction ตัวอยางอยางงายที่เห็นเชนในกรณีที่ฐานรากมีการทรุดตัวที่ตางกัน (อันเนื่องมาจากความแตกตางกันของดิน) ซ่ึงผลดังกลาวอาจมีผลเล็กนอยตอโครงสราง (กรณีทรุดตัวไมมากหรืออยูในกรอบของมาตรฐานที่กําหนด) เชน การปรากฎแตกราว (Crack) ในโครงสรางที่ออนแอที่สุดหรือแสดงผลที่วัสดุตกแตง (รวมถึงปูนฉาบ) แตถาปรากฎการณดังกลาวเกิดขึ้นมากอาจนําไปสูการวิบัติได โดยเฉพาะในกรณีของโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กคอนขางที่จะตอบสนองคอนขางไว (Sensitive) ตอปรากฎการณดังกลาว ภาพขางลางนี้แสดงใหความแตกตางของการกระจายโมเมนตดัดในคาน ซ่ึงในกรณีที่ฐานรากเกิดการทรุดตัวเนื่องจากดินออน (ฐานรากตัวกลาง) จะเห็นวาโมเมนตดัด (ลบ) ที่เสาตัวกลางจะลดลง แตโมเมนตดัด (ลบ) ที่เสาตัวริมทั้ง 2 และโมเมนตดัด (บวก) ที่เสาตัวกลางจะเพิ่มขึ้น

Stiff Soil

Flexible Soil

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 80: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777555]]] ภาพในตารางขางลางนี้แสดงเปรียบเทียบใหถึงความแตกตางของการกระจายโมเมนตดดัใน

คานและเสาของโครงขอแข็ง 3 ช้ันเมื่อฐานรากเกิดการทรุดตัว ผลของ Interaction Load เนื่องจากฐานรากเกิดการทรุดตัว

ลักษณะของการกระจายโมเมนตดัดในคานเมื่อไมคิดผลของ Soil-Structure Interaction

ลักษณะของการกระจายโมเมนตดัดในคานเมื่อคิดผลของ Soil-Structure Interaction

ลักษณะของการกระจายโมเมนตดัดในเสาเมื่อไมคิดผลของ Soil-Structure Interaction

ลักษณะของการกระจายโมเมนตดัดในเสาเมื่อคิดผลของ Soil-Structure Interaction

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 81: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777666]]] หมายเหตุ : มีผูรูบางทานแนะนําวาหากการทรุดตัวของฐานรากไมเกินที่ 25 mm. และฐานรากที่อยูใกลกันทรุดตัวตางกันไมเกิน 20 mm. อาจไมคิดผลของ Soil-Structure Interaction ได

โดยทั่วไปการสรางแบบจําลองของดิน (Soil Model) มีอยู 2 วิธีหลักคือ Winkler Model อาศัยหลักการเสียรูปของดิน (Moil Deformation) ซ่ึงวิธีการนี้ใชไดดีกับในกรณีของดินที่ไมมีความเชื่อมแนน (Cohesionless Soil) มีอยู 2 รูปแบบคือ Winkler Spring (เปนวิธี Spring Support Equivalent) โดยคา Stiffness ของ Spring หาไดจาก

ksp = ks x B x S เมื่อ ksp = คา Stiffness ของ Spring (kN/m.) ks = Modules Of Subgrade Reaction (ดูจากตาราง) B = ดานกวางที่ตัดมาคิดพื้นที่ (m.) S = ระยะหางระหวาง Spring (m.) Beam And Plate On Winkler Supports หรือก็คือ Beam On Elastic Foundation หาไดโดยการแกสมการ Governing Diffential Equation

0Bsk4dx

4dEI =υ+υ

เมื่อ

B S

ksp

EI = คา Bending Stiffness ของคาน ks = Modules Of Subgrade Reaction (ดูจากตาราง) B = ดานกวางของคาน υ = การแอนตวัดานขาง (Lateral Deflection ในที่นี้คือแนวดิ่ง)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 82: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777777]]]

B

E, I Elastic Half Space Element เปนแนวความคิด Soil Model ที่ดีที่สุดโดยกําหนดใหดินเปน Linear Elastic คาการแอนตวัที่ตองการทราบในแตละจุด (Node) ซ่ึงมีความสัมพันธกับจุดใกลเคียงโดยรอบ หาไดโดยการ Integrate หาคา Strains จากสมการของ Boussinesq Stress Distribution คามาตรฐาน (Typical Value) ของ Modules Of Subgrade Reaction

ประเภทของดนิ Modules Of Subgrade Reaction (kN/m.3) Loose sand 4,800-16,000 Medium dense sand 9,600-80,000 Dense sand 64,000-128,000 Clayey medium dense sand 32,000-80,000 Silty medium dense sand 24,000-48,000 Clayey soil : qa ≤ 200 N/mm.2

200 < qa ≥ 400 N/mm.2

qa > 800 N/mm.2

qa = คา Bearing Capacity (Bowles, 1982)

12,000-24,000 24,000-48,000

> 48,000

หมายเหตุ : 1 kN. = 101.964381 kg. , 1 N./mm.2 = 10.196438 ksc.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 83: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777888]]] Foundation Supports (Spring Supports) ใน STAAD Pro

Winkler Spring Method

เคร่ืองมือใน STAAD Pro ใชจําลอง (Model) แทน

ใชสําหรับฐานแผเดี่ยว (Isolated Footing) ซ่ึงในกรณีนี้ผูใชจะตองปอนพื้นที่เพื่อหาคา Stiffness ของ Spring เอง (ซ่ึงก็คือขนาดของฐานรากนั้นเอง)

ใชสําหรับฐานแพ (Mat Foundation) เมื่อทําการจําลองโดยการใชระบบจุดตอ (Node) ซ่ึงการหาพื้นที่รอบ Node เพื่อหาคา Stiffness ของ Spring ใชหลักการของ Delaunay Triangle Principle ซ่ึงหลัการดังกลาวจะมีปญหาไดหากฐานรากที่จําลองไมเปนรูปทรง 4 เหล่ียม

ใชสําหรับฐานแพ (Mat Foundation) เมื่อทําการจําลองโดยการใช ระบบ Plate Element ซ่ึงการหาพื้นที่รอบ Node เพื่อหาคา Stiffness ของ Spring ใชหลักการของ Tributary Area (ซ่ึงการจําลองโดยวิธีนี้ดีกวาวิธี Elastic Mat)

หมายเหตุ : ใน STAAD Pro การคํานวณพื้นที่รอบจุดตอ (Node) และการคํานวณหาคา

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 84: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[777999]]] Stiffness ของ Spring ในกรณของ และ โปรแกรมจะคํานวณใหโดยอัติโนมัติ

22. ILL-Conditioning & Instabilities ในการจําลองโครงสรางเมื่อมีการรันโปรแกรมใหทําการวิเคราะหปญหาที่มักจะพบ เปนสาเหตุมาจาก 2 เงื่อนไขหลักๆ คือ สภาพเงื่อนไขของโครงสรางไมถูกตอง (หรือไมสมบูรณ) โครงสรางไมมีเสถียรภาพ ซ่ึงจากทั้ง 2 สาเหตุเปนสภาพปญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากตัวของโครงสรางที่จําลอง ไมใชเงื่อนไขที่เกิดจากสภาพของแรงหรือน้ําหนักบรรทุกที่มากระทํา ILL-Conditioning สวนมากมักเกิดในกรณีที่โครงสรางมีขนาดที่แตกตางกันคอนขางมาก (เชน ช้ินสวนที่ใหญมากหรือมีคา Stiffness มากตอเนื่องกับชิ้นสวนที่เล็กหรือมี Flexible มาก) มาตอเชื่อมกัน ซ่ึงสงผลใหแบบจําลองมีคาความแข็งเกร็งเปลี่ยนเปลงตางกันมาก (Widely Varying Stiffness) ทําใหคาตัวเลขของสัมประสิทธิ์ใน Stiffness Matrices ของแตละชิ้นสวนมีคาตางกันมาก (มากสุดๆ) ผลก็คือในขั้นตอนของการรวม Stiffness Matrices เขาเปนเมทริกรวม (เพื่อแกสมการหาคาการเสียรูป, หนวยแรงภายใน, ระบบแรงตางๆ ลฯ) จะทําใหคาสัมประสิทธิ์บางตัว (ที่มีคานอยๆ โดยเฉพาะของชิ้นสวนที่มีขนาดเล็กกวา) หายไปอันเนื่องจากความสําคัญทางนัยเชิงตัวเลข (เชน 1,000,000 กับ 0.001 ตองหายหนาไปแนๆสําหรับตัวเลข 0.001) ทําใหช้ินสวนที่เล็กกวาหรือมี flexible มากขาดความสมบูรณในตัวเองจึงเกิดการปวยขึ้นคือ Ill-Condition ซึงเมื่อเกิดกรณีดังกลาวแมวาโปรแกรมจะสามารถรันไดตามปกติ (เหมือนไมมีอะไรเกิดขึ้น) แตผลลัพธที่ไดอาจจะไมมีความหมายหรือมีนัยอะไรเลย (Meaningless) และที่หนาสังเกตคือโครงสรางที่เกิดกรณีเงื่อนไขดังกลาวมักแสดงรูปรางการเสียรูปทางกราฟริกที่คอนขางมากจนผิดปกติ (Gross Displacements) ขณะเดียวกันการตรวจสอบดวยการทํา Equilibrium Check หรือ Static Load Check ไมสามารถใชไดกับกรณีนี้ เชน ในกรณีที่เสาใหญมากๆ (I มาก) ตอเชื่อมดวยคานที่เล็ก (I นอยกวามาก) เมื่อมีการจําลองโครงสรางจะเกิดปญหาในกรณีดังกลาว แตสามารถแกไขไดโดนการใช Rigid Arm (Rigid End Zone หรือ Member Offsets) ดังเชนภาพขางลางนี้

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 85: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[888000]]]

Rigid Arm

เสาใหญ

คานเล็ก

Instabilities ความไรเสถียรภาพของโครงสรางสามารถเกิดขึ้นไดถาโครงสรางหรือบางสวของโครงสรางที่เราจําลองขึ้นมาสามารถเคลื่อนที่ได (Move) โดยปราศจากการยึดร้ัง (Restrain) แตโดยทั่วไอาจกลาวไดวาการกระทําใดๆ (กําหนดคุณลักษณะตางๆ) ตอบรรดาจุดตอและขอหมุนตางๆที่ช้ินสวนมาตอเชื่อมกันเปนโครงสราง เปนสาเหตุหลักของการเกิดกรณีดังกลาว ซ่ึงสามารถเกดิขึน้ไดเสมอเมื่อจุดตอ (Joint) สามารถแอนตัว (Deflect) หรือหมุน (Rotate) ไดโดยอิสระ (Without Limit) โดยไมมีการบังคับหรือยึดร้ังที่เหมาะสม ดังนั้นในกระบวนการใชเครื่องมือตางๆ (ที่แตละ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 86: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[888111]]] โปรแกรมเตรียมมาให) ในการจําลองโครงสราง หากไมมีการศึกษาใหรอบครอบถึงผลของการใชเครื่องมือและผลตอการแสดงออกของพฤติกรรมของโครงสราง จะเปนที่มาของการขาดเสถียรภาพของโครงสรางได ดังกรณีตอไปนี้ การกําหนด Member Releases มักเกิดจากการกําหนด Member Releases มากจนเกินเหตุ (Too Member Releases) ซ่ึงโดยแทจริงแลวจะทําใหเกิด Zero Stiffness at Node ดังเชนในกรณีของชิ้นสวนที่มาตอเชื่อมกับจุดตอหมุน (Pin Joint)

Zero Stiffness at Node เกิดขึ้นเนื่องจากมีระบบแรงหรือโมเมนตมากระทําที่จุดตอ (Node) ตามทิศทางของ D.O.F. (ที่มีของโครงสรางแตลประเภท) แตที่จุดตอดังกลาวกลับไมมีการยึดร้ัง (ดวยการปลดระบบแรงหรือ Member Release) ในทิศทางของ D.O.F. ที่มีระบบของแรงหรือโมเมนตมากระทํา ดังนั้นเมื่อทําการวิเคราะหโครงสรางก็จะมีการคํานวณหาคาการเสียรูปตามทิศทางของ D.O.F. นั้นๆ แตเนื่องจากไมมีการยึดร้ังคา Stiffness ที่จุดตอดังกลาวจึงเปนศูนยทําใหเคลื่อนไหวไดโดยอิสระ โครงสรางจึงขาดความมีเสถียรภาพ ดังเชนในกรณีของคานยื่นดังภาพ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 87: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[888222]]]

เคลื่อนไหวไดโดยอิสระ

โมเมนตกระทาํ

การกําหนดสภาพของเงื่อนไขขอบ (Boundary Condition) หรือสภาพจุดรองรับ (Support) ไมเพียงพอ

ช้ินสวนไมตอถึงกันหรือตอไมตรงจุดตอ (Unconnected Element) ทําใหเกิดการหมุนไดคอนขางอิสระ จึงทําใหโครงสรางที่จําลองขาดเสถียรภาพ ไมสามารถจะวิเคราะหไดอีกตอไป ดังเชนในกรณีตอไปนี้

Portal Frame

จุดรองรับของ Portal Frame สามารถหมุนได

Plate Element

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 88: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[888333]]]

ช้ินสวนเสา 3 - 6 สามารถหมุนลมได

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 89: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[888444]]] เสาไมมีการยึดร้ังกันการหมุน (Columns Without Rotational Restraint) ซ่ึงมักเกิดขึ้นในกรณีของการจําลองโครงสรางใน 3 มิติ ดังเชนกรณีในภาพขางลางนี้ สมมติวาคานทุกตัว (ทุกชั้น) ที่ไปฝากยังเสามีการกําหนดคุณสมบัติที่แตละปลาย (Node) โดยการปลดระบบแรง (Member Release) โดยเฉพาะการปลดโมเมนตของคานที่หมุนรอบแกนมนแนวดิ่ง (My) และถาบังเอิญเสาตนนั้นมีการกําหนดจุดรองรับเปนแบบบานพับ (Hinge) ส่ิงที่เกิดคือเสาตนดังกลาวจะหมุน (Torsional) ไดโดยรอบโดยไมมีการยึดร้ังใดๆ

โครงขอหมุนไมเปนสามเหลี่ยม (Four-Node Truss Panels)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 90: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[888555]]] ปญหาดานการไมมีเสถียรภาพ (Instability problems) ใน STAAD Pro ก็พอมีการอธิบายไวบางพอสังเขปดังนี้ ท่ีของปญหาใน STAAD Pro สาเหตุของปญหา

ปญหาที่เกิดจากการจําลองโครงสราง (modeling problem)

Local Instability

เปนปญหาที่เกิดจากการยึดหรือล็อคที่ปลายของชิ้นสวน ซ่ึงอาจเกิดจาก 1. การกําหนด Member Release ทั้ง 2 ดานของชิ้นสวน 2. กรณีแบบจําลองเปนโครงขอแข็งคาน-เสา ซ่ึงมีการระบุหรือ Define ใหเสาเปน Truss Member ซ่ึงทําใหเสาไมส า ม า รถส ง ถ า ย ร ะบบแร ง จ า ก โค ร งสร า ง ส ว นบน (Superstructure) ไปยังฐานรากได

Global Instability

ปนปญหาที่เกิดจากจุดรองรับของแบบจําลองไมสามารถตานทานการไถล (Slide) หรือการพลิกคว่ํา (Overturning) ไดในบางทิศทาง

ป ญ ห า ที่ เ กิ ด จ า ก ค ว า มเที่ยงตรงเชิงตัวเลข (Math Precision)

1. เปนความผิดพลาด (Error) ที่ เกิดขึ้น เมื่ อความไมมีเสถียรภาพของตัวเลข (Numerical Instabilities) ในขั้นตอนของการแก เมตทริก อยางเชนหากสมการสมดุลยอยูในรูปแบบ 1/(1-A), เมื่อ A= k1/(k2+k3) โดย k1 = Stiffness Coefficients ของชิ้นสวนที่แข็งกวา (Stiff) และ k2 = Stiffness Coefficients ของชิ้นสวนที่แข็งนอยกวา (Flexible), ดังนั้นถาหากวา k1>>k2 หรือ k1+k2 ≅ k1 จะทําให A=1 ซ่ึงผลก็คือ 1/(1-A) =1/0…ดังนนจึงไมควรให 2 ช้ินมีขนาดที่แตกตางกันมาก

2. อาจเกิดไดอีกในกรณีของการไมไดระบุหรือ Define หนวยของความยาวและหนวยของแรง

หมายเหตุ : ใน STAAD Pro อืกหนึ่งของปญหาคือจะตองมั่นใจวาโครงสรางที่จําลองขณะนั้นมีเพียงหนึ่งเดียวไมเปนสอง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 91: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสรางหลักการพื้นฐานในการจําลองโครงสราง [[[888666]]] 23. Mechanism Instability ถาหากวาโครงสรางที่เราจําลองขึ้นมีสวนหนึ่งสวนใดที่สามารถเคลื่อนที่ไดคอนขางอิสระ (Move Freely) ซ่ึงการเกิดกรณีดังกลาวมักเปนผลเนื่องมาจากการปลดระบบแรง (Member Release) และมีสภาพของจุดรองรับไมเหมาะสม และการกําหนดคาคุณสมบัติของหนาตัดที่ไมเหมาะสม (Inappropriate Value) เปนตนวาปอนบางคาเปนศูนยโดยเฉพาะการปอนคุณสมบัติหนาตัดเองแทนที่จะใชจากตารางของโปรแกรมทําใหคา Stiffness เปนศูนย อาจรวมถึงการระบุประเภทของโครงสรางที่ตองการจําลองไมเหมาะสมกับระบบแกนอางอิง (ทําใหเกิดการหมุนของโครงสรางได)

เปนกรณีของการปลดแรงและกําหนดสภาพจุดรองรับทีไ่มเหมาะสม

กรณีของคานตอเนื่องที่จําลองในระบบแกน 3 มิต ิ

กรณีของ Portal Frame ที่จําลองในระบบแกน 3 มิต ิ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 92: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[888777]]] หัวขอ หนาที ่ 1. รางวัลที่ไดรับ 88 2. ความตองการดานคุณสมบัติของคอมพิวเตอร 90 3. ขอจํากัดของการใชงาน 90 4. วิธีการที่ใชในการวิเคราะหระบบปญหา 91 5. ความรูเสริมและแหลงขอมูลเพิ่มเติม 92 6. หลักการใชโปรแกรม 93 7. การเขาใชโปรแกรม 98 8. สวนประกอบหลัก 100 9. Mode หรือหนาตางการทาํงานของโปรแกรม 101 10. ชุดเครื่องมือสําหรับหนาตางการทํางานของ 106 Modeling Mode 11. ชุดเครื่องมือสําหรับหนาตางการทํางานของ 114 Post Processing Mode 12. การจัดการกับ Toolbars 117

บทที่

2

สารบัญประจําบท

13. รายการคําสั่งของ Menu ใน Modeling Mode 118 14. จุดเริ่มตนกับการเขาใชโปรแกรม 127

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 93: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[888888]]]

Modern Steel Magazine People's Choice Hot Products Awards

Research Engineers International's Tekla Structures with STAAD.Pro received the "Scorching" award from Modern Steel Magazine as voted by the attendees of NASCC 2004 (North American Steel Construction Conference). The Annual Conference was held on April 24-26, 2004 at the Long Beach Convention Center in California and over 2,300 attendees from around the world had the opportunity to view and rate various products. Tekla Structures with STAAD.Pro received the highest rating from the attendees of the conference and the standalone version of STAAD.Pro 2004 and STAAD.foundation also received the "Hot" awards. These recognitions continue to reinforce the status, preference and popularity of the software as being the leader in the industry.

2004 AISC I.D.E.A.S. Award Winning Projects Use STAAD and LARSA

Making Waves

By Louis R Pounders, FAIA, Adam T. Brown and

21. รางวัลท่ีไดรับ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 94: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[888999]]] Beth S. Pollak

2003 NSBA Prize Bridge Competition Projects Use STAAD.Pro or LARSA National Winner — Medium Span (Houston) U.S. 59 Houston Gateway

National Winner — Reconstructed New York City (New York) Marine Parkway Gil Hodgees Memorial Bridge

National Winner — Special Purpose Allegheny County (Pennsylvania) Mon-Fayette Toll Plaza

Merit Award Winners Major Span: William H. Natcher Bridge (Between Owensboro, KY and Rockport, IN) Reconstructed: Strawberry Mansion Bridge (Philadelphia)

2001 NSBA - National Steel Bridge Alliance Six (6) Bridges designed using STAAD were awarded prizes at the 2001 NSBA Prize Bridge Competition:

Paper Mill Road Bridge Baltimore County, MD Award: Long Span

Industriplex Interchange Flyovers (I-93) Woburn, MA Award: Medium Spa

Speer Bridge over the South Platte River Denver, CO Award: Medium Long Span

Boynton Beach Bascule Bridge Palm Beach County, FL Award: Movable Span

Bricktown Canal South Pedestrian Bridge Oklahoma City, OK Award: Special Purpose

East Boise River Footbridge

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 95: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999000]]] Boise, ID Award: Special Purpose

.

ตารางที่ 2.1 ความตองการ (Hardware Requirements) ของระบบคอมพิวเตอร

ระบบปฎิบัติการ Windows NT 4.0, Windows 2000 and XP (ไมแนะนํา Windows 95 & Windows 98...REI.)

ความตองการที่วางฮารดดิสค (ในการลงโปรแกรม) อยางต่ํา 500 ถึง 530 เมกกะไบท

ความตองการแรม อยางต่ํา 128 เมกกะไบท

ความตองการหนาจอแสดงผล มีการดจอแสดงผลได 1024x768 pixels, 256 สี (16 บิทหรือสูงกวา)

หมายเหตุ : The “TEMP” parameter as in the “SET TEMP” environment variable in Windows NT and 2000 systems. While performing calculations, depending on the structure size, the program may create gigantic scratch files which are placed in the folder location associated with the “TEMP” parameter. Users may wish to point the “SET TEMP” variable to a folder on a drive that has disk space sufficiently large to accommodate the requirements for large size structures.

ตารางที่ 2.2 ขีดจํากัดของ (Limit) ของโปรแกรม

หมายเลขของจุดตอ (joint numbers) 1 to 999999 จํานวนของจุดตอ (number of joints) 100000*

หมายเลขของชิ้นสวน (member/element numbers) 1 to 999999 จํานวนของชิ้นสวน (number of members & elements) 100000*

หมายเลขของน้ําหนักบรรทุก (load case numbers) 1 to 99999 จํานวนของน้ําหนักบรรทุก (number of primary & 2000

3. ขอจํากัดของการใชงาน

2. ความตองการคุณสมบติัของคอมพิวเตอร

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 96: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999111]]] combination cases) หมายเหตุ : *Some STAAD copies are available with much smaller limits, please check what limits you have purchased

4. วิธีการวิเคราะหระบบปญหา ตารางที่ 2.3 วิธีการวิเคราะหระบบปญหาของ STAAD Pro

วิเคราะหแบบจําลองโครงสรางโดยวิธี

การ Numerical method (วิธีเชิงตัวเลข) ดวยวิธี Finite Element Method (FEM.)…ซ่ึงคําตอบที่ไดจะเปนคาโดยประมาณ (Approximate)

วิเคราะหระบบปญหาของแบบจําลองโครงสราง โดย Stiffness Method หรือ Displacement Method

แกระบบปญหา (ดานเมทริกซ) ของแบบจําลองโครงสรางเพื่อหาตัวไมทราบคาตางๆ (Displacements)

โดย Modified Cholesky’s Method

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 97: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999222]]]

ตารางที่ 2.4 ภาพแสดงหนาจอ (Screenshot) : แหลงขอมูลขาวสารเพิม่เติม

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function)

Menu Bar HELP

STAAD. Pro Info on Web

เลือกแถบขอความ (มีความหมาย

5. ความรูเสริม และแหลงขอมูลเพิ่มเติม

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 98: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999333]]] ตามนั้น)...ซ่ึงจะตองมีการตอเชื่อมกับอินเตอรเนทกอน

ในการใชงานใชโปรแกรม STAAD Pro มีขั้นตอนการใชงาน (ทํางาน) อยู 2 ขั้นตอนหลัก หรือ 2 Mode หลัก (2 รูปแบบการทํางาน) คือ Modeling Mode (Pre Processing Mode) และ Post Processing Mode โดย Modeling Mode จะเปน Mode นํา สวน Post Processing Mode จะเปน Mode ตามเสมอ กลาวคือ Modeling Mode จะ Mode ที่ ขั้นตอนที่ หรือ Mode ที่ 1 เปนขั้นตอนของการปอนขอมูล เรียกวา Modeling Mode หรือ Pre Processing Mode เปน Default Mode ของโปรแกรม ใชในการจําลองโครงสราง ส่ังใหวิเคราะหและออกแบบ มีอยูดวยกัน 5-6 ขั้นตอนสําคัญหลัก (ซ่ึงถาชํานาญแลวจะทําขั้นตอนใดกอนหลังก็ได แตตองมีครบทั้ง 6 ขั้นตอนนี้) ตารางที่ 2.5 แสดงขัน้ตอนของการปอนขอมูล เรียกวา Modeling Mode (Pre Processing Mode) ขั้นตอนการทาํงานใน Modeling Mode ใชเครื่องมือหลัก (ที่ใชบอยๆ)

สร า งห รื อ ขึ้ น รู ปขอ ง โค ร งสร า ง (Geometry)

และ

กํ าหนดคุณสมบั ติ ใ ห กั บชิ้ นส วน (Member) 2.1 ทางดานวัสดุ เชน ประเภทวัสดุ, ขนาดหนาตัด ลฯ 2.2 ทางดานโครงสราง เชน Member

และ

6. หลกัการใชโปรแกรม

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 99: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999444]]] Release, Member Offset ลฯ

กํ าหนดจุดรองรับของโครงสร า ง (Support)

และ

กําหนดน้ําหนัก (Load) ที่กระทํา 4.1 กําหนดรูปแบบของน้ําหนัก (Load Case) 4.2 กําหนดคาของแรงใหกับ Load Case 4.3 กําหนดแรงในแตละ Load Case ใหกับชิ้นสวน

และ

เ ลือกชิ้นสวนบางสวนหรือเลือกทั้งหมดแลวกําหนดรูปแบบของการวิเคราะหและออกแบบ (หากจะมีการกําหนดใหโปรแกรมออกแบบดวย จะตองมีการกําหนดคาตางๆที่เกี่ยวของกับการอกแบบช้ินสวนนั้น)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 100: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999555]]]

ส่ัง RUN โปรแกรม กําหนด Engine ในการรัน Default อยูที่ STAAD Analysis

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 101: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999666]]] ขั้นตอนที่ หรือ Mode ที่ 2 เปนขั้นตอนของการแสดงผลขอมูล เรียกวา Post Processing Mode ใชในการแสดงผลหลังจากที่ไดทําการวิเคราะหและออกแบบแลวเสร็จ ตารางที่ 2.6 แสดงขัน้ตอนของการแสดงผลขอมูล เรียกวา Post Processing Mode ขั้นตอนการทาํงานใน Post Processing

Mode ใชเครื่องมือหลัก (ที่ใชบอยๆ)

เลือก Mode

และ

เลือกแถบ Page Control ตามประเภทของชิ้นสวน (Member) ที่จําลอง

Main Page Control

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 102: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999777]]]

Sub Page Control

การเขาใชโปรแกรมทุกครั้งไมวาจะเปนการสรางไฟลขอมูลงานใหมหรือเปดไฟลขอมูลของงานเกาก็ตาม ตัวโปรแกรมจะวิ่งไปเริ่มตนที่ Modeling Mode (Mode ที่ 1) นี้โดยอัตโนมัติเสมอ (ซ่ึงตัวโปรแกรมเองไดตั้งคา default ไวที่ Mode นี้) สวน Post Processing Mode หรือ Mode ที่ 2 จะยังไมสามารถใชงานไดจนกวาจะมีการสั่งรันโปรแกรมใหวิเคราะหและออกแบบโครงสรางที่สรางขึ้นจากขั้นตอนของ Modeling Mode เสร็จสิ้นกอนเสมอ ซ่ึงทั้ง 2 Mode ทํางานสัมพันธกันดังนี้ กรณีของการสรางไฟลงานใหม : ชุดคําสั่งสําหรับการทํางานใน Post Processing Mode จะยังไมสามารถใชงานได จนกวาจะมีการสั่งรันโปรแกรมวิเคราะหและออกแบบแลวเสร็จ ชุดคําสั่งการทํางานใน Post Processing Mode จึงจะสามารถใชงานได ดังแสดงในภาพดานลาง

คือ Modeling Mode คือ Modeling Mod

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 103: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999888]]] กรณีของการเปดไฟลงานขอมูลเกา : ทั้งชุดคําสั่งสําหรับการทํางานใน Modeling Mode และ Post Processing Mode จะสามารถใชงานไดทั้งคู ดังแสดงในภาพดานลาง

7. การเขาใชโปรแกรม

รูปแบบที่ : เขาใชโดยตรงจาก Icon ใน Program Group ของ Windows ตารางที่ 2.7 ภาพแสดงหนาจอ (Screenshot)

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) Start All Programs Staad Pro 2005 STAAD.Pro

เขาใชโดยตรงจาก Icon ใน Program Group ของ Windows

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 104: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[999999]]] รูปแบบที่ : เขาใชโดยตรงจาก Icon หนาจอ ตารางที่ 2.8 ภาพแสดงหนาจอ (Screenshot)

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) ไปที่ Screen Double Click STAAD.Pro 2005 Icon

เขาใชโดยตรงจาก Icon หนาจอ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 105: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000000]]] ตารางที่ 2.9 ภาพแสดงหนาจอ : หนาตาโดยรวมที่ถูกกําหนดไวเปน Default

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) Main Menu

(เขาใชโดยการไป Click ไดโดยตรง)

เปนสวนของกลุมคําสั่งหลักทั้งหมดของโปรแกรม ถือไดวาเปนกลุมคําสั่งควบคุมทั้งหมดและเปนคําสั่งในสวนลึก

Page Control

เปนสวนที่ออกแบบมา (หากสังเกต) เพื่อบังคับลําดับการทํางานหรือการใช โปรแกรม ( ซ่ึ ง เ รี ย ง ลํ าดับจากบนลงล า ง ) ประกอบดวย Main Page Control (มี 5 แถบเรียงจากบนลงลาง) โดยแตละแถบ (ที่ click เลือก) ก็จะมี Sub Page Control (ในสวนนี้ก็จะมีอีกหลายแถบเรียงจากบนลงลาง)

Data Area เปนสวนที่แสดงรายละเอียดของ Page Control อาจจะเปนไดทั้งตารางและกราฟริก ซ่ึงเปนสวนที่ทั้งใชสําหรับกําหนดคา

Toolbar

Data Area Main Window

Main Menu หรือ Menu Bar

Page Control

Mode การทํางาน

Toolbar

8. สวนประกอบหลัก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 106: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000111]]] ตางๆ, แกไขเปลี่ยนแปลง, และแสดงผลตางๆ

Toolbar เปนสวนของกลุมคําสั่งที่จําเปนและถูกใชงานคอนขางบอย (เปนการใชงานโดยทางลัด)

Main Window เปนสวนหลักของการสรางงานตางๆ รวมถึงการแสดงผลตางๆ (ทั้ง Pre & Post Processing)

ในโปรแกรม STAAD จะมีหนาตางการทํางานอยู 2 ระบบ (ดังที่ไดกลาวมาแลว) คือ

ระบบหนาตางสําหรับการจําลองโครงสรางทั้งหมด (Modeling Mode หรือ Pre Processing Mode) กอนทําการวิเคราะหและออกแบบ ระบบหนาตางสําหรับการแสดงผลของโครงสรางหลังจากวิเคราะหและออกแบบ (Post Processing Mode) ดังนั้นสภาพแวดลอมของเครื่องมือที่จะใชก็จะแตกตางกันอยูบาง ซ่ึงโดยปกติแลวโปรแกรมจะตั้งคาเริ่มแรกที่เปดโปรแกรมขึ้นมาเปน Modeling Mode หรือ Pre Processing Mode ใหกอนเสมอ หลังจากทําการรันโปรแกรมใหทําการวิเคราะหและออกแบบแลว Post Processing Mode จึงจะทํางาน (จะปรากฎกรอบหนาตางใหเลือกอีกครั้ง โดยหลังจากทําการรันโปรแกรมแลวเสร็จตัวโปรแกรมจะถามเองวาจะกลับไปยัง Modeling Mode หรือใหแสดงผลใน Post Processing Mode) ตารางที่ 2.10 ภาพแสดงหนาจอ : ประเภทของหนาตางการทํางาน (Mode of Operation)

ในการใชโปรแกรม STAAD Pro กอนที่จะเริ่มลงมือทําการใดๆจะตองเลือก mode ใหเหมาะสม โดยการเลือกที่ Menu Bar ซ่ึงในแตละ Mode ที่เลือกจะมีองคประกอบของ PageControl ที่

9. Mode หรอืหนาตางการทํางานของโปรแกรม

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 107: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000222]]] ตางกัน

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function)

Mode Modeling (Pre-processing)

จะเปน Default ของโปรแกรมซึ่งในโมดนี้ใชสําหรับสรางแบบจําลอง, กําหนดน้ําหนักบรรทุก , กําหนดคุณสมบัติของชิ้นสวน, กําหนดจุดรองรับ ลฯ

Mode Post Processing ในโมดนี้ใชสําหรับแสดงและตรวจสอบผลของการวิเคราะหและออกแบบ และรายงานตางๆ

Mode Interactive Design

ในโมดนี้ เปนการใชองคประกอบดานการออกแบบโครงสราง (Structural Component Design) ที่มีมากับ STAAD Pro เชน Connections, Footings, Base Plates, อ่ืนๆ

Mode Bridge Deck Preprocessor ในโมดนี้เปนสวนสําคัญสําหรับการสรางระบบน้ํ านักบรรทุกจรบนสะพานเนื่ องจากการเคล่ือนที่ของยวดยาน

Mode Piping ในโมดนี้เปนสวนที่ใชสําหรับสรางแบบจําลองเกี่ยวกับงานระบบทอตางๆ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 108: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000333]]] ตารางที่ 2.11 ภาพแสดงหนาจอ (Screenshot) : หนาตางการทํางานของ Modeling Mode

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) ไปที่ Menu Bar เลือก Mode (ไมตองเลือก

ก็ไดเพราะเปน Default Mode โปรแกรม) เลือกหนาตางที่อยูในสภาพแวดลอม (เครื่องมือตางๆ) ของการจําลองโครงสราง

click เลือก Modeling (ไมตองเลือกกไ็ดเพราะเปน Default ของโปรแกรม...จะเปดขึ้นมาเมื่อเราเขาโปรแกรมใหเอง)

เมื่อตองการจําลองโครงสราง-กําหนดคุณสมบัติต างๆ-กําหนดระบบแรงกระทํา-กําหนดจุดรอง รับ -กํ าหนดรูปแบบการวิ เคราะหและออกแบบ ซ้ึงตองสัมพันธกับ

Page Control Modeling ตองการทําอะไรก็ใหเลือกที่ Page Control ที่เกี่ยวของ (ใหทําการจําลองโครงสรางตามลําดับของ Page Control ที่เรียงไวใหจากบนลงลาง)

เปนสวนของพื้นที่สําหรับทํางานในการขึ้นรุ)ของโครงสราง

เปนสวนพื้นที่ของตารางขอมูลที่เกิดขึ้นเนื่องจาก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 109: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000444]]] การจําลองโครงสราง (สรางโดยโปรแกรม)…ซ่ึงเราสามารถแกไขไดรวมถึงเปนสวนที่สามารถนําขอมูลจากตารางของ Excel มาแปะลงได

ตารางที่ 2.12 ภาพแสดงหนาจอ (Screenshot) : ใหระบุโมดหลังการวิเคราะหและออกแบบ

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) Analyze Run Analysis… ส่ังใหโปรแกรมรันเพื่อวิเคราะหและออกแบบ Click ตัวเลือกที่ตองการ เลือกโมดที่จะใหโปรแกรมแสดงหลังจากรนัแลวเสร็จ Click Done ตอบตกลง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 110: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000555]]] ตารางที่ 2.13 ภาพแสดงหนาจอ (Screenshot) : หนาตางการทํางานของ Post Processing Mode

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function)

ไปที่ Menu Bar เลือก Mode เลือกหนาตางที่อยูในสภาพแวดลอม (เครื่องมือตางๆ ) ของการแสดงผลการวิ เคราะหและออกแบบ

Click เลือก Post Processing หรือ เมื่อตองการดูหรือแสดงผลของการวิเคราะหและออกแบบทั้งในรูปแบบกราฟริกและตารางขอมูล ซ้ึงตองสัมพันธกับ เสมอ

Click เลือก Page Control PostProcessing ตองการใหโปรแกรมแสดงอะไรก็ใหเลือกที่ Page Control ที่เกี่ยวของ

เปนสวนของพื้นที่สําหรับการแสดงผลของการวิเคราะหและออกแบบทั้งในรูปแบบกราฟริก

เปนสวนของพื้นที่สําหรับการแสดงผลของการวิเคราะหและออกแบบทั้งในรูปแบบตารางขอมูล

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 111: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000666]]]

ในสวนนี้การกระทําตางๆตั้งแตเร่ิมแรกจนถึงกอนการรันการวิเคราะหและออกแบบ สามารถทําไดใน 2 วิธีการคือ

โดยวิธีการใชไฟลคําสั่ง (Command File) ดวย STAAD Editor ตารางที่ 2.14 ภาพแสดงหนาจอ : คําสั่งหรือ Command Line ( ใน STAAD Editor) Click ที่ ในหนาตางปกติไดโดยตรง

10. ชุดเครื่องมือสําหรับหนาตางการทํางานของ Modeling Mode

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 112: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000777]]]

ซ่ึงสามารถแกไขเพิ่มเติมไดโดยตรง

โดยการใชวิธีการทางกราฟริก (graphic) ดวยการใชระบบเครื่องไมเครื่องมือที่โปรแกรมเตรียมมาใหในลักษณะของการโตตอบโดยตรงระหวางผูใชและโปรแกรม (Graphical User Interface (GUI)) มีอยู 3 สวนหลักเชนกันคือ Page Control, Toolbar และ Dialog Box ในบริเวณ Data Area ซ่ึงทั้ง 3 สวนจะทํางานรวมกันโดยอัตโนมัติ (หากมีความเกี่ยวของกัน) เมื่อผูใชเลือกใชงานที่สวนใดสวนหนึ่งของคําสั่งใน Page Control หรือ Toolbar

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 113: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000888]]] ตารางที่ 2.15 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของแถบหรือ Page Control ในสวนของ Modeling Mode

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) ซ่ึงใน Page Control มีอยู 2 สวน คือ Main Page Control (ประกอบดวย Setup, Geometry, General, Analysis/Print, Design) และ Sub Page Control (ประกอบดวย 21 สวน)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 114: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111000999]]] ตารางที่ 2.16 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

File Toolbar

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการจัดการดานไฟลขอมูล

ตารางที่ 2.17 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

Structure Toolbar

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับกําหนดการแสดงตารางขอมูล-หนวยวัด-การวัดระยะ-การ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 115: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111000]]] กําหนดตางๆดานตัวอักษรที่เกี่ยวกับแบบจําลอง

ตารางที่ 2.18 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

Mode Toolbar

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับกําหนดหนาตางการทํางาน

ตารางที่ 2.19 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

Rotate Toolbar

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดมุมมองของแบบจําลองในดานตางๆดวยการหมุนรวมถึงการกําหนดจุดหมุนของการหมุน

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 116: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111111]]]

ตารางที่ 2.20 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

View Toolbar

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดมุมมองในสวนของการยอ-ขยาย หรือเปนภาพ 3D

ตารางที่ 2.21 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

Geometry Toolbar

หนาท่ี (Function)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 117: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111222]]] เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการขีดเขียนหรือแบงซอย เพื่อข้ึนรูปของแบบจําลองโครงสราง

ตารางที่ 2.22 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

Generate Toolbar

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการกอปปเพื่อขึ้นรูปของแบบจําลองโครงสราง

ตารางที่ 2.23 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

Structure Toolbar

หนาท่ี (Function)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 118: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111333]]] เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดคุณสมบัติทุกอยางแบบจําลองโครงสรางหลังจากมีการขึ้นรูปแลวเสร็จ

ตารางที่ 2.24 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

Selection Toolbar

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการจัดการเกี่ยวกับการเลือกชิ้นสวน (Member, Plate, Surface) รวมถึงการแกไขทั้งทางดานแรงที่กระทํา-จุดรองรับ-การปลดแรงตางๆ

ตารางที่ 2.25 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Modeling Mode

Labels Toolbar

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 119: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111444]]]

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการจัดการเกี่ยวกับสัญลักษณหรือตัวอักษรของชิ้นสวนเปนสวนๆไป

ตารางที่ 2.26 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชในทั้ง 2 Mode

Print Tool Bare

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการจัดการเกี่ยวกับการสงออกของขอมูลของแบบจําลองโครงสราง ทั้งสวนที่เปนเชิงตัวเลขและกราฟริก

11. ชุดเครื่องมือสําหรับหนาตางการทํางานของ Post Processing Mode การใชระบบเครื่องไมเครื่องมือที่โปรแกรมเตรียมมาให ก็มีลักษณะของการโตตอบโดยตรงระหวางผูใชและโปรแกรม (Graphical User Interface (GUI)) เชนเดียวกับกรณีของ Modeling Mode มีอยูดวยกัน 3 สวนหลักเชนกันคือ Page Control, Toolbar และ Dialog Box ในบริเวณ Data Area ซ่ึงทั้ง 3 สวนจะทํางานรวมกันโดยอัตโนมัติเมื่อผูใชเลือกใชงานที่สวนใดสวนหนึ่งของคําสั่งใน Page Control หรือ Toolbar

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 120: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111555]]] ตารางที่ 2.27 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของแถบหรือ Page Control ในสวนของ Post Processing Mode

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) ซ่ึงใน Page Control มีอยู 2 สวน คือ Main Page Control (ประกอบดวย Node, Beam, Animation, Reports) และ Sub Page Control (ประกอบดวย 8 สวน)

ตารางที่ 2.28 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือหลัก (Toolbar) ท่ีใชใน Post Processing Mode

Result Toolbar

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 121: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111666]]]

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่คอนขางสําคัญมากใชสําหรับการแสดงผลการวิเคราะหและการเสียรูปของแบบจําลองโครงสราง

ตารางที่ 2.29 ภาพแสดงหนาจอ : เปนกลุมเคร่ืองมือใชสําหรับออกแบบ

Steel Design Toolbar

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการออกแบบโครงสรางเหล็ก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 122: 9378161 staad pro

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111777]]]

12. การจัดการกับ Toolbars

ตารางที่ 2.30 ภาพแสดงหนาจอ (Screenshot) : การกําหนดหรือเลือกใช Toolbar

คําสั่ง (Command) Menu Bar View Toolbars

Click Click OK เลือโดย

Download at www.tumcivil.com

STAA

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หนาท่ี (Function)

กกลุมของเครื่องที่ตองการใชหรือไมใชใหแสดงที่หนาจอ การ หนาสวนที่ตองการ

D.Pro 2005 Training

Page 123: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111888]]]

ตารางที่ 2.31 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu File

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับจัดการกับไฟลขอมูลทั้งหมด (ทั้งใหมและเกา)

13. รายการคําสั่งของ Menu ใน Modeling Mode

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 124: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111111999]]]

ตารางที่ 2.32 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Edit

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการปรับแตงและแกไขตางๆ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 125: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222000]]] ตารางที่ 2.33 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu View

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการปรับแตงเกี่ยวกับมุมมองตางๆ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 126: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222111]]]

ตารางที่ 2.34 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Tools

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่คอนขางพิเศษที่ใชสําหรับการตรวจสอบแบบจําลอง ปรับปรุง-แกไข-เพิ่มเติมหนาตัด การจัดการเกี่ยวกับฐานขอมูล และอื่นๆ เปนสวนเสริม

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 127: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222222]]]

ตารางที่ 2.35 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Select

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการเลือกทั้งหมด ซ่ึงมีลูกเลนในการเลือกดวยรูปแบตางๆ โดยบางคําสั่งใชในการแกไขหรือตรวจสอบแบบจําลองไดไปในตัว

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 128: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222333]]] ตารางที่ 2.36 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Geometry

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการสราง-ซอม-เสริม-แกไขทั้งหมดที่เกี่ยวกับแบบจําลองทางเรขาคณิตของโครงสรางทั้งหมด

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 129: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222444]]] ตารางที่ 2.37 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Commands

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่คอนขางสําคัญมากใชสําหรับการกําหนดคุณลักษณะตางๆใหกับแบบจําลองโครงสรางทั้งหมด (ตั้งแตเร่ิมจําลองจนถึงการออกแบบ) รวมถึงคําสั่งที่เกี่ยวของกับหลักการของการจําลองโครงสรางทางดาน Finite Element

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 130: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222555]]]

ตารางที่ 2.38 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Analyze

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดรูปแบบหรือวิธีในการประมวลผลขอมูลที่เราปอนทั้งหมด

ตารางที่ 2.39 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Mode

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชสลับไปมาระหวางการกระทําใดๆในสวนของการปอนขอมูล (input datas) และการแสดงผลขอมูล (output datas)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 131: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222666]]]

ตารางที่ 2.40 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Window

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่เกี่ยวกับจัดวางหรือจัดระเบียบของหนาตางทํางาน

ตารางที่ 2.41 ภาพแสดงหนาจอ : รายละเอียดของคําสั่งหรือ Menu ใน Modeling Mode ในสวนของ Menu Help

หนาท่ี (Function) เปนสวนของกลุมคําสั่งที่ใชในการสรางความเขาใจการใชโปรแกรม และการแสวงหาความรูเพิ่มเติม

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 132: 9378161 staad pro

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222777]]]

14. จุดเริ่มตนกับการใชโปรแกรม

การปรับแตงเบื้องตนกอนการใชงานตารางที่ 2.42 ภาพแสดงหนาจอ (S

คําสั่ง (Command) Start Program Click Close

Download at www.tumcivil.com

STA

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

creenshot) : การปรบัแตงเบื้องตนกอนการใชงาน

หนาท่ี (Function) เปดโปรแกรมขึ้นมา (ตามตารางที่ 2.7, 2.8) ปด Dialog Box New

AD.Pro 2005 Training

Page 133: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222888]]] ตารางที่ 2.43 ภาพแสดงหนาจอ : การปรบัแตงเบื้องตนกอนการใชงาน

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) File ไปเลือกคําสั่งในกลุมของ Menu File Configure… เพื่อเขาสูกลุมคําสั่งสําหรับปรับแตง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 134: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111222999]]] ตารางที่ 2.44 ภาพแสดงหนาจอ : การปรบัแตงเบื้องตนกอนการใชงาน

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function)

Base Unit กําหนดระบบเปน

Background Color กําหนดเปน

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 135: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111333000]]] Section Profile Table กําหนดเลือก Analysis Engine กําหนดเลือก

(ตอ) ตารางที่ 2.44 ภาพแสดงหนาจอ : การปรับแตงเบื้องตนกอนการใชงาน

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function) Input File Format ใชตาม Default

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 136: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

หลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงานหลักการพื้นฐานการใชงาน [[[111333111]]] Error File Format ใชตาม Default

File Option เลือก หรือใหใชตาม Default

STAAD Default Design Code เลือกตามภาพที่แสดง

ตารางที่ 2.45 ภาพแสดงหนาจอ : การออกจาก Dialog Box Configure…

คําสั่ง (Command) หนาท่ี (Function)

Close Configure Program Click ที่ ที่ Title bar ของ

File New ทําการเปดหรือสรางไฟลขอมูลใหม

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 137: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพัน

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111333222]]] ี่

3

สารบัญประจําบท

หัวขอ หนาที่ ตัวอยางที่ 1 การวิเคราะหโครงขอแขง็ 2 มิต ิ1. การเขาใชโปรแกรม 135 2. การกําหนดสภาพแวดลอมทํางาน 137 3. การจําลองโครงสราง 138 4. การกําหนดจุดรองรับ 146 5. การกําหนดคุณสมบัติและหนาตัด 151 6. การกําหนดน้ําหนกับรรทุก 162 7. การวิเคราะหและออกแบบ 172 8. สรุปขอมูลทั้ง Input และ Output 188

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

บทท

ธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

Page 138: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111333333]]]

3ตัวอยางการใชโปรแกรม

ตัวอยางที่ วิเคราะหและออกแบบโครงขอแขง็ 2 มิต ิ ใน การฝกความคุนเคยกับโปรแกรมสําหรับตัวอยางนี้ส่ิงทีจ่ะไดจากการเรยีนรูคือ

เบื้องตนกับการเขาใชโปรแกรม STAAD เบื้องตนกับการใชเครื่องไมเครื่องมือ การจําลองโครงสราง (การขึ้นรูปโครงสรางอยางงาย) การกําหนดคณุสมบัติและจดุรองรับของโครงสราง การกําหนดน้ําหนักบรรทุก การกําหนดการวิเคราะหและการกําหนดการออกแบบ รายละเอียด : เปนโครงขอแข็ง 2 มิติโดยคานทุกตัวเปนเหล็กรูปพรรณ สวนเสาเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก จุดรองรับทั้งหมดกําหนดเปนจุดรองรับบานพับ ขนาดของชิ้นสวน คานเหล็กรูปพรรณ I-125x75x5.5 mm. (Fy = 2,400 ksc.) เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 0.20x0.40 m. น้ําหนักบรรทุก Load Case 1 : DL ประกอบดวย 1.น้ําหนักของตัวโครงสรางเอง (Self Weight) 2.น้ําหนักแผกระจายเต็มชวง 1,000 kg./m. 3.น้ําหนักกดแบบจุด 2,000 kg. ที่ระยะ 2 m. (จากจุดเริ่มตน) Load Case 2 : LL 1.น้ําหนักแผกระจายเต็มชวง (ส่ีเหล่ียมคางหมู) เร่ิมที่ 300 และสิ้นสุดที่ 700 kg./m. Load Case 3 : DL+LL Load Case 4 : 0.75(DL+LL)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 139: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111333444]]]

1.00m

3.16m 3.16m

1.00m

1.00m

5.10m 5.10m

1.00m

5.00m 6.00m 5.00m

5.00m

2.00m

6.00m

2.00m

6.00m

2.00m

5.00m

2.00m

2.00m 2.00m

Load 1

2 m5 m

-1000 kg/m

-2000 kg5 m

2 m

1 m

-1000 kg/m

6 m

-1000 kg/m

6 m

5.1 m

-1000 kg/m

2 m

2 m

5 m

-1000 kg/m

-2000 kg

1 m

-1000 kg/m

6 m

2 m

3.16 m

-1000 kg/m

5 m

2 m

3.16 m

-1000 kg/m

5.1 m-1000 kg/m

1 m

-1000 kg/m

1 m

-1000 kg/m

X

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 140: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111333555]]] ขั้นตอนที่ 1 การเขาใชโปรแกรม กําหนดประเภทโครงสรางที่จะจําลอง กําหนดชือ่งาน กําหนดตําแหนงบนัทกึขอมูล กําหนดหนวยของระยะและแรงกระทํา ตารางที่ 3.1 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame)

เมื่อทําการเปดโปรแกรมเขามาครั้งแรกจะปรากฎหนาจอดังภาพทีแ่สดง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

click เลือกที่ กําหนดประเภทโครงสราง ตั้งชื่อ file เปล่ือนจาก Structure1 (default) เปน Plane Frame

click เลือกที่ กําหนดที่บันทึก File (เลือกกําหนดเองตามความเหมาะสม) ใ น ที่ นี้ ส ม ม ติ ว า กํ า ห น ด ไ ว ที่D:\STRUCTURE\SPro2005\Workshop1\

เลือกที่ กําหนดหนวยความยาวเปนเมตร click เลือกที่ กําหนดหนวยแรงเปนกิโลกรัม

click เลือกที่ เพื่อทํางานตอ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 141: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111333666]]]

หมายเหตุ : หากตองการรูในรายละเอียด (พอประมาณ) ในแตละสวนให click ที่

ตารางที่ 3.2 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame)

จากภาพในตารางที่ 3.1 เมื่อ click next จะปรากฎภาพดงัแสดง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

click เลือกที่ เลือกเครื่องมื่อที่จะใชในการจําลอง (ขีดเขียน) โครงสราง(ควรเลือกใหเหมาะสมกับประเภทของโครงสราง)

ไมตองทําอะไร (แคดูก็พอ) เปนการแสดงภาพอธิบายประเภทของเครื่องมือที่เลือกใช ไมตองทําอะไร (อานบาง) เปนการอธิบายรูปแบบการใชงานของเครื่องมือที่เลือกใช

click ที่ ทํางานตอ

หมายเหตุ : หากตองการรูในรายละเอียด (พอประมาณ) ในแตละสวนให click ที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 142: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111333777]]] ขั้นตอนที่ 2 กาํหนดสภาพแวดลอมการทํางานของโปรแกรม (แนะนําวาควรปรับเทาที่จําเปน) ตารางที่ 3.3 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : กําหนดสภาพแวดลอมเบื้องตนกอนการทํางาน

จากภาพในตารางที่ 3.2 เมื่อ click finish จะปรากฎภาพดงัแสดง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

click เลือกที่ เพื่อกําหนดพื้นที่ทํางาน (main window) ของ ซ่ึงในโครงสราง 2 มิติแกน +Z จะพุงออกจากหนาจอ

click เลือกที่

เพื่อกําหนดระนาบของพื้นที่ทํางาน (main window) ซ่ึงในโครงสราง 2 มิติ (ที่นิยมใชในประเทศเรา) คือแกน X-Y

click เ ลื อ ก ที่

กําหนดเสนกริดเพื่อชวยในการจําลองโครงสราง (default คือ 10 เสนมีระยะหาง 1 เมตร ) เปน 20 เสนมีระยะหาง 1 เมตร

ทั้งแกน X และแกน Y กําหนดจํานวนโดย click ที่

และระยะหางโดยการปอนคาที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 143: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111333888]]]

กํ าหนดสัญ ลักษณ ( label) กํากับเสนกริดที่กําหนดใน ในที่นี้ใชตาม default ของโปรแกรม

ขั้นตอนที่ 3 ทําการจําลองโครงสราง (เขียนหรือขึ้นรูปของโครงสราง) ตารางที่ 3.4 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : การใชปุม Snap Node/Beam ชวยในการสราง

จากภาพในตารางที่ 3.3 เมื่อทําการปรับแตงแลวเสร็จจะปรากฎภาพดงัแสดง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

click เลือกที่

จะปรากฎเครื่องหมาย กระพริบใน (main window) ซ่ึงเมื่อเราลาก mouse ไปที่ใดเครื่องหมายดังกลาวก็จะวิ่งตามและมีระยะลงตามจุดตัดของเสนกริดเสมอ (ซ่ึงชวยใหเราลากเสนไดอยางตอเนื่อง หากตองการยกเลิกก็ใหกดปุม Esc บน keyboard หรือ click ที ่ )

เร่ิมจําลองโครงสราง โดยการ click ที่ปุมดานซายของ mouse เพื่อลงจุด (node)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 144: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111333999]]] ตามจุดตัดของเสนกริด จากนั้นลากเสนเพื่อขึ้นรูปไปตามตองการโดยการลาก click (ขณะลากไมตองกดปุม mouse ใดๆ) เมื่อไดขนาดตามตองการแลวก็ให click ที่ปุมดานซายของ mouse เพื่อทําการลงจุด

หมายเหตุ : ขณะลาก mouse ระยะหรือขนาดตางๆรูไดจากระยะหางระหวางเสนกริดที่เราตั้งคาไวหรืออาจดูไดจาก status bare

(ตอ) ตารางที่ 3.5 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การสรางจุดและชิ้นสวนตางๆ

ตอจากภาพในตารางที่ 3.4 ทําการจําลองโครงสราง (รูปทรงตามเสนทึบมี 9 nodes, 8 members) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

สรางจุดตอที่ 1 (node 1) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=0, Y=0 แลวลากไปที่ สรางจุดตอที่ 2 (node 2) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=0, Y=7 แลวลากไปที่

สรางจุดตอที่ 3 (node 3) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=5, Y=8 แลวลากไปที่

สรางจุดตอที่ 4 (node 4) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=5, Y=10 แลวลากไปที่

สรางจุดตอที่ 5 (node 5) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=8, Y=11 แลวลากไปที่

สรางจุดตอที่ 6 (node 6) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=11, Y=10 แลวลากไปที่

สรางจุดตอที่ 7 (node 7) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=11, Y=8 แลวลากไปที่

แสดงทิศทางของการลากเสนและลงจุดดวย mouse

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 145: 9378161 staad pro

เรียบเร

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444000]]] สรางจุดตอที่ 8 (node 8) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=16, Y=7 แลวลากไปที่

สรางจุดตอที่ 9 (node 9) โดยการ click mouse ลงที่จุด X=16, Y=0 จากนั้นกดปุม Esc หมายเหตุ : ขณะลากไมตองกดปุม mouse ใดๆ สวนในขั้นตอนที่ หากตองการจําลองโครงสรางตอเนื่องโดยไมตองกดปุม Esc (เพราะถากดปุม Esc แลวปุม จะไมทํางานเมื่อตองการจะจําลองโครงสรางเพิ่มเติมจะตองมา click ที่ปุม ใหม) สามารถทําไดโดยการกดที่ปุม Ctrl คางไวแลวลาก mouse ไป click จุดใหม (node) จากนั้นใหปลอยปุม Ctrl แลวจึงลาก mouse ไป click ลงจุดตอๆไปไดตามปกติ

(ตอ) ตารางที่ 3.6 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Fram

ตอจากภาพในตารางที่ 3.5 ทําการจําลองโครงสราลําดับการทํางานตามหมายเลข

สรางจุดที่ 10 (node 10) โดยการกดที่ปุม

คือ X=5, Yไป Click ที่

สรางจุดที่ 11 (node 11) โดยการกดที่ปุม

คือ X=11, mouse ไป Click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005

ลง

ียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

e) : เพิ่ม Member สวนท่ีเปนเสากลาง

งเพิ่มเติม (เสากลาง) อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

Ctrl คางไวแลวลาก mouse ไป Click ลงที่จุด=0 จากนั้นใหปลอยปุม Ctrl แลวจึงลาก Mouse Ctrl คางไวแลวลาก mouse ไป Click ลงที่จุดY=0 จากนั้นใหปลอยปุม Ctrl แลวจึงลาก ที่

Training

Page 146: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444111]]] หมายเหตุ : หากตองการทราบหรือใหปรากฎหมายเลขหรือสัญลักษณ (label) กํากับจุด (node) แตละจุดและสัญลักษณ (label) กํากับชิ้นสวน (member) ดังภาพแสดงในตารางที่ 3.7 ทําไดโดย click ปุมขวาของ mouse ก็จะปรากฎกรอบ dialog box เปน pop up โผลขึ้นมาใหเลือก click ที่

คําสั่งดังนี้ Labels… Labels Nodes และ Beams click

(ตอ) ตารางที่ 3.7 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : แสดงสัญลักษณกํากับ Node และ Member

จากภาพในตารางที่ 3.6 เมื่อทําการจําลองโครงสรางเพิ่มเติมแลวเสร็จ และเมื่อใชกลุมคําสั่งใหแสดงสัญลักษณ (label) กํากับจุดตอ (node) และกํากับชิ้นสวน (member) ก็จะปรากฎภาพดังแสดงขางบน

หมายเลขกํากับช้ินสวน

หมายเลขกํากับจุดตอ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 147: 9378161 staad pro

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444222]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.8 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : สรางสวนยืน่ของชายคา

Download at www.tumcivil.com

STAA

ศม.)

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.

D.Pro 2005 Training

Page 148: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444333]]]

ตอจากภาพในตารางที่ 3.7 ทําการจําลองโครงสรางเพิ่มเติม (สวนยื่นของหลังคา) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

เลือกชิ้นสวนที่จะยืดหรือสรางสวนยื่นไดโดยการเลือก

ใชเครื่องมือสําหรับเลือกชิ้นสวนคือ beams cursor โดยการ click เลือกที่ จากชุดเครื่องมือ Selection

ซ่ึง mouse pointer จะเปล่ียนเปนรูป จากนั้นจึงไป click เลือกยังชิ้นสวนที่ตองการ

สรางสวนยื่นของชิ้นสวนโดย click เลือกที่ ช้ินสวนที่ 2 (beam2)

ไปที่ menu bar แลว click ที่ Geometry Stretch Selected Member(s) จากนั้นก็จะปรากฎกรอบ dialog box เปน pop up โผลขึ้นมาใหเลือก click ที่คําสั่งดังนี้ Through a distance Start node กรอกระยะที่จะใหยืด 1 เมตร

click click เพื่อปดกรอบ dialog box

สรางสวนยื่นของชิ้นสวนโดย click เลือกที่ ช้ินสวนที่ 7 (beam7)

ไปที่ menu bar แลว click ที่ Geometry Stretch Selected Member(s) จากนั้นก็จะปรากฎกรอบ dialog box เปน pop up โผลขึ้นมาใหเลือก click ที่คําสั่งดังนี้ Through a distance End node กรอกระยะที่จะใหยืด 1 เมตร

click click เพื่อปดกรอบ dialog box

สรางสวนยื่นของชิ้นสวนโดย click เลือกที่ ช้ินสวนที่ 4 (beam4)

ไปที่ menu bar แลว click ที่ Geometry Stretch Selected Member(s) จากนั้นก็จะปรากฎกรอบ dialog box เปน pop up โผลขึ้นมาใหเลือก click ที่คําสั่งดังนี้ Through a distance Start node กรอกระยะที่จะใหยืด 1 เมตร

click click เพื่อปดกรอบ dialog box

สรางสวนยื่นของชิ้นสวนโดย click เลือกที่ ช้ินสวนที่ 5 (beam5)

ไปที่ menu bar แลว click ที่ Geometry Stretch Selected Member(s) จากนั้นก็จะปรากฎกรอบ dialog box เปน pop up โผลขึ้นมาใหเลือก click ที่คําสั่งดังนี้ Through a distance End node กรอกระยะที่จะใหยืด 1 เมตร

click click เพื่อปดกรอบ dialog box หมายเหตุ : 1. ระยะยืดหรือยื่นดังกลาวเปนระยะยืดตามแนวแกนของชิ้นสวน (member) สวน Start node และ End node ดูไดจากตัวเลขกํากับจุดตอของแตละชิ้นสวน (member) ตัวเลขนอยจะ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 149: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444444]]] เปน Start node สวนตัวเลขมากจะเปน End node 2. เมื่อสรางสวนยื่นแลวเสร็จจะปรากฎภาพดังตารางที่ 3.9

(ตอ) ตารางที่ 3.9 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : แสดงสัญลักษณกํากับ Node และ Member

ตอจากภาพดังกลาวใหทําการจําลองโครงสรางเพิ่มในสวนของคานเชือ่มระหวางเสาทั้งสี่ดังนี้

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 150: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444555]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.10 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : เพิ่ม Member สวนท่ีเปนคานยึดเสา

ตอจากภาพในตารางที่ 3.9 ทําการจําลองโครงสรางเพิ่มเติม (คานยดึเสาทั้งสี่) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

สรางชิ้นสวนที่ 17, 19, 21 (beam 17,18, 19)

โดยการ click ที่ปุม จากนั้นลาก mouse ไปclick ลงที่จุด X=0, Y=2, ลากไป click ลงที่จุด X=5, Y=2 , ลากไป click ลงที่จุด X=11, Y=2 , ลากไป click ลงที่จุด X=16, Y=2 จากนั้นสิ้นสุดการทํางานโดยการกดปุม Esc เพื่อยกเลิกการทํางานของปุม

หมายเหตุ : อยา..งง!..กับตัวเลขกํากับของชิ้นสวนวาทําไมไมเรียงเปน 17-18-19 แตกลับเรียงเปน 17-19-21...คําตอบคือในเบื้องตนโปรแกรมจะเปนตัวจัดการใหเอง (ซ่ึงในภายหลังเราสามารถจัดใหมได)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 151: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444666]]] ขั้นตอนที่ 4 กาํหนดจุดรองรับ ตารางที่ 3.11 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : ใสจุดรองรับ (Support)

ตอจากภาพในตารางที่ 3.10 ทําการกําหนดจุดรองรับที่ node1, node16, node18 และ node20 ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

เ ลือกจุดต อ ( node) ที่ จะกําหนดประเภทของจุดรองรับ (support) ไดโดยการเลือก

ใชเครื่องมือสําหรับเลือกชิ้นสวนคือ nodes cursor โดยการ click เ ลือกที่ จากชุด เครื่องมือ Selection

ซ่ึง mouse pointer จะเปลี่ยนเปนรูป จากนั้นจึงไป click เลือกยังจุดตอที่ตองการ โดยการไป click ที่ แลวกดปุม mouse ซายคางไวจากนั้นลาก mouse มาที่ แลวปลอยปุม mouse ซาย node ที่ถูกเลือกจะปรากฎเปนจุดสีแดงดัง (การเลือกใน

node ที่ถูกเลือกจะปรากฎเปนสีแดง

ลักษณะนี้เปนการเลือกที่เรียกวา drag box ซ่ึงเปนคา default)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 152: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444777]]] หมายเหตุ : อาจทําการเลือกเปนรายจุดตอ (node) ไดโดยการ click ที่จุดตอ (node) นั้นๆแตมีขอแมวาจะตองกดปุม Ctrl คางไวเสมอเมื่อเลือก node 2-3-..เมื่อเลือกจนครบจึงปลอยปุมดังกลาว

(ตอ) ตารางที่ 3.12 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : ใสจุดรองรับ (Support)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 153: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444888]]]

ตอจากภาพในตารางที่ 3.10 ทําการกําหนดจุดรองรับที่ node1, node16, node18 และ node20 ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ไปที่ page control เพื่อกําหนดประเภทของจุดร งรับ (support)

อ ไป click เลือกที่ General Support

กํ าหนดประ เภทของจุดไป click เลือกที่ Create จะปรากฎกรอบ dialog box

รองรับ (support) Create Support ใหไป click เลือกที่ Pinned

จะปรากฎจุดรองร ดัง ับหมายเหตุ : หากตองการทราบความยาวของแต ดยไปที่ tool bar ละชิ้นสวน (member) ทําไดโ

แลว click เลือกที่ จะปรากฎกรอบ dialog

box ไป click เลือกที่ ไป click ลือกที่ เ และ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 154: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111444999]]]

ความรูเสริม : หลังจากทําการจําลองโครงสรางแลวเสร็จควรมีการตรวจสอบดวยเสมอวา

าพ A ซ่ึงกลุมคําสั่งดังกลาวจะใชใน

ที่เราใชเครื่องมือตางๆในการขึ้นรูปแบบจําลองมานั้นมีความถูกตองหรือไม เปนไปตามขอกําหนดหรือขอจํากัดของโปรแกรมที่ระบุหรือไม ซ่ึงจะชวยทําใหในขั้นตอนของการวิเคราะหและออกแบบไมมีปญหา ซ่ึงอาจทําไดโดยหลายลักษณะดังนี้คือ โดยการใชกลุมคําสั่ง Tools ที่ Menu Bar ดังแสดงในภการชวยตราวจสอบแบบจําลองโครงสรางทางดานเรขาคณิต (geometry)

A

โดยการใชกลุมคําสั่ง Select ที่ Menu Bar ดังแสดงในภาพ B ซ่ึงกลุมคําสั่งดังกลาวจะใชใน

(node) จํานวนของิ้นส

Main Window

การชวยตราวจสอบแบบจําลองโครงสรางทางดานการกําหนดคุณสมบัติ (Attributes) วามีสวนใดของโครงสรางบางยังไมไดกําหนดคุณสมบัติ หรือกําหนดแลวแตยังไมครล โดยทางออม (หากไมเสียเวลา) โดยการตรวจนับจํานวนของจุดตอช วน (element) ดวยตาที่เรามองเห็นเทียบกับคําสั่งของโปรแกรมคือ Model View Details ดังแสดงในภาพ C ซ่ึงการแสดงคําสั่งดังกลาวทําไดโดยการ click mouse ปุมขวาบนพื้นที่วางของ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 155: 9378161 staad pro

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555000]]]

Download at www.tumcivil.com

STAA

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

B

C

D.Pro 2005 Training

Page 156: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555111]]] ขั้นตอนที่ 5 กาํหนดวัสดุและขนาดของชิน้สวน (member) ตารางที่ 3.13 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : กําหนดขนาดของชิน้สวน (Member)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 157: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555222]]]

ตอจากภาพในตารางที่ 3.12 ทําการกําหนดขนาดของชิ้นสวนคาน (เหล็ก) ช้ันลาง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ไปที่ page control เพื่อกําหนดคุณสมบัติของหนาตัดไดโดยการ

ไป click เลือกที่ General Property จากนั้นไปทําการ click เลือกชิ้นสวนที่ตองการกําหนดคุณสมบัติโดยการ click

เลือกที่ช้ินสวน (member) แรก (ช้ินสวนใดก็ได) จากนั้นใหกดปุม Ctrl คางไวแลวจึงเคลื่อน mouse ไป click เลือกที่ช้ินสวน (member) ที่เหลือ จากนั้นจึงปลอยปุม Ctrl ซ่ึงจะไดดัง

กําหนดคุณสมบัติของหนาตัดไดโดยการ

ไป click เลือกที่ Section Databases จะปรากฎกรอบ dialog box Section Profile Tables ใหไป click เลือกที่

Steel Japanese เลือกที่ I Shape ที่ Select Beam เลือก I150x75x6 ที่ Type Specification เลือก

เลือกที่ click จะปรากฎดังภาพถัดมา

หมายเหตุ : อาจทําการเลือกเปนกลุมโดยวิธีการเชนเดียวกันกับลําดับที่ ในตารางที่ 3.11

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 158: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555333]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.14 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : กําหนดขนาดของชิน้สวน (Member)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 159: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555444]]]

ตอจากภาพในตารางที่ 3.13 ทําการกําหนดขนาดของชิ้นสวนคาน (เหล็ก) หลังคา ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

เลือกที่ช้ิน (member) คานหลังคาไดโดยการ

click เลือกที่ช้ินสวน (member) แรก (ช้ินสวนใดก็ได) จากนั้นใหกดปุม Ctrl คางไวแลวจึงเคล่ือน mouse ไป click เลือกที่ช้ินสวน (member) ที่เหลือทั้งหมด จากนั้นจึงปลอยปุม Ctrl ซ่ึงจะไดดัง

กําหนดคุณสมบัติของหนาตัดไดโดยการ

ไป click เลือกที่ Section Databases จะปรากฎกรอบ dialog box Section Profile Tables ใหไป click เลือกที่

Steel Japanese เลือกที่ I Shape ที่ Select Beam เลือก I125x75x5.5 ที่ Type Specification เลือก

เลือกที่ click จะปรากฎดังภาพถัด

มา

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 160: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555555]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.15 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : กําหนดขนาดของชิน้สวน (Member)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 161: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555666]]]

ตอจากภาพในตารางที่ 3.14 ทําการเลือกเสาที่จะกําหนดคุณสมบัติ ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

เลือกใชเครื่องมือสําหรับเลือกชิ้นสวน (member) แบบ Drag Line โดยการ

click ปุมขวาของ mouse ที่ (บริเวณพื้นที่วาง) จะปรากฎกรอบ menu pop up ขึ้นมาใหไป click เลือกที่ Selection

Mode click เลือกที่

เลือกที่ช้ินสวน (member) เสาไดโดยการ

ไป click เลือกที่ (จุดเริ่มตน) กดปุม mouse ซายคางไวแลวลาก mouse ไปที่ (จุดสุดทาย) แลวปลอยปุม mouse ซาย เสากลุมแรกก็จะถูกเลือก (จะปรากฎเปนสีแดง) จาก นั้นเมื่อตองการที่จะเลือกเสากลุมตอไปจะตองกดปุม Ctrl

คางไวเสมอกอนทําการเลือก จะปรากฎภาพดัง หมายเหตุ : อาจทําการเลือกเปนรายชิ้นสวน (member) ไดโดยการ click ช้ินสวน (member) นั้นๆแตมีขอแมวาจะตองกดปุม Ctrl คางไวเสมอเมื่อเลือก member 2-3-..เมื่อเลือกจนครบจึงปลอยปุมดังกลาว

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 162: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555777]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.16 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : กําหนดขนาดของชิน้สวน (Member)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 163: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555888]]]

ตอจากภาพในตารางที่ 3.15 ทําการกําหนดขนาดของเสา (คอนกรีต) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดคุณสมบัติใหกับเสา (คอนกรีต)

ไป click เลือกที่ จะปรากฎกรอบ dialog

box Property ให click เลือกที่ กรอกขนาดของหนาตัดเปน 0.20x0.40 เมตรในชอง

click เลือกที่ click click เลือก จะปรากฎภาพ

ดัง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 164: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยา

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111555999]]] ความรูเสริม : ในเบื้องตนเราสามารถตรวจสอบวาโครงสรางที่เราจําลองขึ้นมาไดมีการกําหนดคุณสมบัติ (ขนาดหนาตัด) ครบทุกชิ้นสวน (member) แลวหรือยัง โดยการใชวิธิกําหนดใหโปรแกรมแสดงมุมมองเปนภาพ 3 มิติ โดยช้ินสวน (member) ใดหากมีการกําหนดคุณสมบัติแลวจะถูกแสดงเปนรูปทรง 3 มิติ (ซ่ึงโดยไปแลวจะมีรูปรางหนาตัดเปนไปตามที่เลือกกําหนด) ตารางที่ 3.17 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : การดูภาพแบบ 3D Render

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

ยโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

Page 165: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666000]]] ตอจากภาพในตารางที่ 3.16 ทําการมองภาพโครงสรางในรูปแบบ 3 มติิ ไดโดย ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

มองภาพโครงสร า ง ในรูปแบบ 3D Render

ไป click เลือกที่ จะปรากฎหนาตาง Rendered

view ซ่ึงเราสามารถหมุนรูปโครงสรางไปมาไดตามตองการ ก็โดยการ click mouse ปุมซายที่รูปโครงสรางคางไวแลวเคลื่อน mouse ไป-มา ในขณะเดียวกันหากตองการตก-แตง (สี-เงา-ผิว-ถายภาพ) ของรูปโครงสรางดังกลาว ทําไดโดยการ click mouse ปุมขวา (บริเวณที่วาง ) จะปรากฎ menu pop up ดัง …จากนั้นก็ปรับแตงไดตามอัธยาศัยครับ

ตารางที่ 3.18 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : การดูภาพ แบบ Full Section

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 166: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666111]]]

ตอจากภาพในตารางที่ 3.16 ทําการมองภาพโครงสรางในรูปแบบ 3 มติิ ไดโดย ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

มองภาพโครงสร า ง ในรูปแบบ Full Section ไดโดย

click mouse ปุมขวา (บริเวณที่วาง ) จะปรากฎกรอบ dialog

box ให click เลือกที่ Labels… click เลือกที่Structure click เลือกที่ click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 167: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666222]]] เลือกที่ click เลือกที่ จะปรากฎภาพดัง

ขั้นตอนที่ 6 กาํหนดน้ําหนกับรรทุกหรือแรงกระทําตอโครงสราง ตารางที่ 3.19 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดกรณีของน้ําหนักบรรทุก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 168: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666333]]]

H G

F

E

D

C B A

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 169: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666444]]]

ตอจากนัน้ทําการแจกแจงน้าํหนักบรรทุกที่กระทําตอโครงสราง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดรูปแบบของน้ําหนักบรรทุกโดยแบงเปน 4 กรณีคือ 1.Load Case 1 : DL 2.Load Case 2 : LL 3.Load Case 3 : DL+LL 4.Load Case 4 : 0.75(DL+LL)

ไป click เลือกที่ General Load click เลือกที่

click เลือกที่ [1.Load Case 1 : DL]

ที่ Number (หรือ Load Cases) ใหปอน 1 ที่ Title (หรือช่ือของ Load Cases) ใหปอน LOAD CASE 1 : DL ที่ Loading Type ให click ที่ แลวเลือก Dead click ที่

[2.Load Case 2 : LL]

ที่ Number (หรือ Load Cases) ใหปอน 2 ที่ Title (หรือช่ือของ Load Cases) ใหปอน LOAD CASE 2 : LL ที่ Loading Type ให click ที่ แลวเลือก Live click ที่

[3.Load Case 3 : DL+LL]

I

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 170: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666555]]] ที่ A เลือก ที่ B Load No : (หรือ

Load Cases) ใหปอน 3 ที่ C Name (หรือช่ือของ Load Cases) ใหปอน COMBINATION LOAD CASE 3 : DL+LL

ที่ D Type ให click ที่ ที่ E ใหปอน 1

ที่ F click ที่ ที่ G click ที่ [4.Load Case 4 : 0.75(DL+LL)]

ที่ B Load No : (หรือ Load Cases) ใหปอน 4 ที่ C

Name (หรือช่ือของ Load Cases) ใหปอน COMBINATION LOAD CASE 4 : 0.75(DL+LL) ที่ D Type ให click ที่

ที่ E ใหปอน 0.75 ที่ F click ที่

ที่ G click ที่ ที่ H click ที่ ซ่ึงจะไดรายละเอียดของน้ําหนักบรรทุกที่เราจะระบุขนาดของแรงที่กระทําดังรูป I

(ตอ) ตารางที่ 3.20 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดคาใหกับน้ําหนักบรรทุก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 171: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666666]]]

การปอนคาน้ําหนักบรรทุกตายตัวในสวนของน้ําหนักแผกระจายเต็มชวง

การปอนคาน้ําหนักบรรทุกตายตัวในสวนของน้ําหนักตัวโครงสรางเอง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 172: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666777]]]

การปอนคาน้ําหนักบรรทุกจรใน(สมมติวาเปน )

การปอนคาน้ําหนักบรรทุกตายตัวในสวนของน้ําหนักกดแบบจุด

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 173: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666888]]]

จากภาพในตารางที่ 3.19 ทําการกําหนดคาของน้ําหนักบรรทุกที่กระทําตอโครงสราง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กํ า ห น ด ค า ข อ ง น้ํ า ห นั ก

บรรทุกโดย 1.Load Case 1 : DL 1.1 นน. ตัวเอง 1.2 นน. แผกระจาย 1,000 kg./m. 1.3นน. กดแบบจุด 2,000 kg. 2.Load Case 2 : LL 2.1นน. แผกระจายแบบสี่เหล่ียมคางหมู W1 = 300 kg./m. (ที่หัว), W2 = 700 kg./m. (ที่ทาย)

[1.Load Case 1 : DL] 1.1 ในสวนของน้ําหนักของตัวโครงสรางเอง ไป click เลือกที่ click

จะปรากฎกรอบ dialog box Add New : Load Items click เลือกที่

ที่ชอง Factor ปอน -1 ที่ Direction ให click ที่ Y click

1.2 ในสวนของน้ําหนักแผกระจาย (เต็มชวง)

ที่ dialog box Add New : Load Items click เลือกที่ ที่ชอง Force ปอน

-1,000 kg./m. ที่ Direction ให click ที่ GY click

เมื่อกําหนดแลวเสร็จจะปรากฎดังภาพนี้

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 174: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111666999]]]

1.3 ในสวนของน้ําหนักกดแบบจุด

ที่ dialog box Add New : Load Items click เลือกที่ ที่ชอง

Force ปอน -2,000 kg. ที่ระยะ d1 = 2 m. (วัดตามแนวแกนจาก node แรก) ที่ Direction ให click ที่ GY

click [2.Load Case 2 : LL] 2.1น้ําหนักแผกระจายแบบสี่เหลี่ยมคางหมู (เต็มชวง) ไป click เลือกที่ click

จะปรากฎกรอบ dialog box Add New : Load Items click เลือกที่

ที่ชอง Force ปอน W1 = -300 kg./m. (ที่ node แรก), W2 = -700 kg./m. (ที่ node สุดทาย) ที่ Direction ให click ที่ click

การใส ความรูเสริม : การใสหรือใหคาน้ําหนกับรทุก (แรงทีก่ระทํา) ตอช้ินสวนใดๆสามารถทําไดใน 4 วิธีการ ซ่ึงเปนการชวยอํานวยความสะดวกตอผูใช คือ

: ใสใหช้ินสวนที่ถูกเลือกไวกอนแลว : ใสใหช้ินสวนโดยการใช mouse ไป click เลือกทีละชิ้นสวน : ใสใหช้ินสวนโดยการใชระบุช่ือช้ินสวน

: ใสใหช้ินสวนที่เหน็ทั้งหมด โดยทั้ง 4 วิธีการจะตองทํางานรวมกับปุม เสมอ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 175: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777000]]] (ตอ) ตารางที่ 3.21 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดคาใหกับน้ําหนักบรรทุก

จากภาพในตารางที่ 3.20 ทําการกําหนดคาของน้ําหนักบรรทุกกระทําทีช้ิ่นสวนตางๆ ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กํ า ห น ด ค า โ ด ย ก า ร ใ ช

ไป click เลือกที่ช้ินสวน 2, 4, 5, 7, 11, 12, 13, 14, 17, 19, 21 ไป click เลือกที่ ไป click เลือกที่ ไป click เลือกที่ จะปรากฎกรอบ dialog box ก็ให click เลือกที่ (อาจ click เลือกที่ กอนแลวจึงไป click เลือกที่ ก็ไดเชนกัน)

กํ า ห น ด ค า โ ด ย ก า ร ใ ช

ไป click เลือกที่ ไป เลือกที่ ไป click เลือกที่

ไป click เลือกที่ช้ินสวน 17 และ 21

กํ า ห น ด ค า โ ด ย ก า ร ใ ช ไป click เลือกที่ ไป click เลือกที่ แลวกรอกชื้อของชิ้นสวนที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 176: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777111]]]

ตองการลงใน ไป click เลือกที่

ความรูเสริม : ในการกําหนดน้ําหนักบรรทุก (แรงกระทํา) ใหกับชิ้นสวน จะตองมีกลุมของเสนลูกศรแสดงทิศทางการกระทําและขนาดของแรง หากไมเห็นสามารถทําใหแสดงเสนดังกลาวไดดังนี ้ click mouse ที่ปุมขวา (บริเวณที่วางใน Main Window) แลวไปเลือกที่ Labels… จะปรากฎกรอบ dialog box Diagrams ขึ้นมาก็ใหไป click เลือกที่แถบของ Loads and Results ไปที่ Loads แลวเลือกดังภาพ แลว click ที่ จากนั้นไป click เลือกที่แถบของ Labels ไปที่ Loading Display Options แลวเลือกดังภาพ แลว click ที่

click ที่ เพื่อปดกรอบของ dialog box Diagrams

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 177: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777222]]] ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะหและออกแบบ ตารางที่ 3.22 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดวิธีการวเิคราะหและออกแบบ

ตอจากภาพในตารางที่ 3.21 กําหนดวิธีการวิเคราะหโครงสราง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดรูปแบบของการวิเคราะหโครงสราง (ในที่นี้เลือกการวิเคราะหแบบปกติทั่วไปคือ Linear Static Analysis)

ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ Perform Analysis ที่ Print Option click เลือกที่

หรือ (แนะนํากรณีหลัง) ไปที่ click ไปที่ click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 178: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777333]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.22 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดวิธีการวิเคราะหและออกแบบ

จากภาพในตารางที่ 3.21 กําหนดรูปแบบของการพิมพ (input datas) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดรูปแบบของการพิมพขอมูลตางๆของโครงสรางที่จําลองขึ้น (กอนการวิเคราะหและออกแบบ)

ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่แถบ

ไปที่ click ไปที่ click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 179: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777444]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.22 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดวิธีการวิเคราะหและออกแบบ

จากภาพในตารางที่ 3.21 กําหนดรูปแบบการพิมพผลการวิเคราะหและออกแบบ (output datas) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดรูปแบบของการพิมพขอมูลตางๆของโครงสรางที่ไดจากการวิเคราะหและออกแบบ

ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่แถบ

ไปที่ click (เพื่อเลือก load case ทั้งหมด) ไปที่ click ไปที่ click เลือกที่แถบ click ไปที่ click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 180: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777555]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.22 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดวิธีการวิเคราะหและออกแบบ

จากภาพในตารางที่ 3.21 กําหนดการออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก (ใชคา default) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่ กํ า ห น ด รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ไปที่ click เลือกที่เสาที่จะออกแบบ ไปที่ click

เปนสวนของการกําหนดการออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก

B A

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 181: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777666]]] ออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก (ในที่นี้เลือกออกแบบเสา) โดยคา parameter ตางๆใชตามม าตรฐ านก า รออกแบบต าม default ของโปรแกรมคือ ACI-318 (2002)

เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ A click จะปรากฎกรอบ

dialog box Design Commands ขึ้นมา ไปที่ click ไปที่ click เลือกที่แถบ

ไปที่ click ไปที่ B click จะปรากฎกรอบ dialog box Designs Parameters ขึ้นมาให click ที่ ให click ที่

ไป click ที่ แลว

(ตอ) ตารางที่ 3.22 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดวิธีการวิเคราะหและออกแบบ

C B

เปนสวนของการกําหนดการออกแบบโครงสรางเหล็กรูปพรรณ

A

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 182: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777777]]]

จากภาพในตารางที่ 3.21 กําหนดการออกแบบโครงสรางเหล็กรูปพรรณ (ใชคา default) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่ กํ า ห น ด รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ไปที่ click เลือกที่เสาที่จะออกแบบ ไปที่ click

A

B

C

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 183: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777888]]] อ อ ก แ บ บ โ ค ร ง ส ร า ง เ ห ล็ กรูปพรรณโดยคา parameter ตางๆ(ที่ไมไดกําหนด) ใชตามมาตรฐานการออกแบบตาม default ของโปรแกรมคือ AISC-ASD (9th

1989)

เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่แถบ

ไปที่ click เลือก design code ที่ ไปที่ A click จะปรากฎ

กรอบ dialog box Parameter Selection ขึ้นมา ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือก parameter ที่จํ า เปนตองใชในการออกแบบคือ , , จากนั้น click ที่ เพื่อเลือกคาดังกลาว (ซ่ึงจะถูกยายขามตารางมาทางดานขวา) ไปที่

click ไปที่ B click จะปรากฎกรอบ dialog box Designs Parameters ขึ้นมา ไปที่ A click เลือกที่ (เลือกที่ และเลือกที่ ) ไปที่ B

ปอนคา 2,400 kg./cm.2 (แลวปอนคา 0.99 และ click เลือกที่ ) ไปที่

C click และเมื่อกําหนดครบแลว ไป click ที่ ไป click ที่ C จะปรากฎกรอบ dialog box Designs Commands ขึ้นมา click

ไป click เลือกที่ ไป click ที่ แลว click ที่

หมายเหตุ : กอนทําขั้นตอนที่ ใหไปทําการเปลี่ยนหนวยของ length units กอน (เดิมตั้งไวที่ ) โดยไป click ที่ click เลือกที่ ทั้งนี้เพราะหนวยของกําลังรับ

แรงดึง (ที่จุดคลาก) ของเหล็กรูปพรรณที่เราถนัดใชคือ kg./cm.2 ( คือกําลังรับแรงดึง (ที่จุดคลาก, คืออัตราสวนของหนวยแรงที่เกิดขึ้นจริงตอหนวยแรงที่ยอมใหตามมาตรฐาน, คือกําหนดใหพิมพผลการออกแบบอยางละเอียด)...ที่สําคัญคือเมือทําการออกแบบในสวนของโครงสรางเหล็ก จะตองไมลืมกําหนดในสวนของ ดวยเสมอไมเชนนั้นโปรแกรมจะไมทําการออกแบบให สวนคําสั่ง เปนทางลัดในการ

ตรวจสอบสมดุลยของโครงสราง (แนะนําวาควรใชคําสั่งนี้ดวยเสมอ)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 184: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111777999]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.22 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การกําหนดวิธีการวิเคราะหและออกแบบ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 185: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888000]]]

B

หากการจําลองโครงสรางตลอดจนการกําหนดคาตางๆไมมีปญหาเมื่อโปรแกรมทําการประมวลผลแลวเสร็จก็จะปรากฎกรอบ dialog box ดังภาพนี ้

A

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 186: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888111]]]

จากภาพในตารางที่ 3.21 ส่ังใหโปรแกรมรนั ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ส่ังใหโปรแกรมรัน

ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่ (จากนั้นจะปรากฎหนาตางแสดงการรันของโปรแกรม...เมื่อหยุดรัน) ไปที่ click เลือกที่

(เพื่อตองการดูผลของการวิเคราะหและออกแบบ) ไปที่ click ไปที่ A (เพื่อเลือก load case ที่จะใหแสดงผล ซ่ึงปกติโปรแกรมจะเลือกใหทั้งหมดอยูแลว ก็ไมตองทําอะไร) ไปที่ B click ที่ ก็จะปรากฎหนาตางการแสดงผลดังภาพ

ซ่ึงตาม default จะแสดงเสนการเสียรูปใหเสมอ หมายเหตุ : หากตองการใหแสดงผลเปนแรง (แรงภายใน) ก็ให click เลือกที่ปุมใน tool bar ดัง

ขางลางนี้ โดย Fx = axial force, Fy

เมื่อโปรแกรมทําการประมวลผลแลวเสร็จก็จะปรากฎดังภาพนี้

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 187: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888222]]] & Fz = shear force, Mx & My = torsional moment, Mz = bending moment

ตารางที่ 3.23 โครงขอแขง็ 2 มิติ (Plane Frame) : การแสดงผลทาง graphic ท้ังโครงสราง

การแสดงผลการวิเคราะหและออกแบบ สามารถใหโปรแกรมแสดงไดทั้งในรูปแบบของ graphic และในรูปแบบของตารางขอมูล ซ่ึงในที่นี้จะใหแสดงผลการวิเคราะหทาง graphic ของทั้งโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 188: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888333]]] ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

การแสดงผลการวิ เคราะหทาง graphic ของทั้งโครงสราง

ไปที่ Menu Bar click เลือกที่ Results ไปที่ click เลือกที่แถบ View Value… ไปที่ click เลือกที่แถบ Ranges เลือกที่ All ไปที่ click เลือกที่แถบ Beam

Results click เลือกที่ ไปที่ click ที่

หมายเหตุ : การแสดงผลการวิเคราะหในสวนของโมเมนตดัด (Mz) เครื่องหมายกํากับหนาตัวเลขแสดงคาของโปรแกรมจะตางจากที่เราเคยชิน นั้นคือโมเมนตดัดลบในโปรแกรมจะหมายถึงโมเมนตดัดบวกที่เราเลาเรียนมา (คุนเคย)

(ตอ) ตารางที่ 3.23 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การแสดงผลทาง graphic เฉพาะสวน

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 189: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888444]]]

การแสดงผลการวิเคราะหและออกแบบ สามารถใหโปรแกรมแสดงไดทั้งในรูปแบบของ graphic และในรูปแบบของตารางขอมูล ซ่ึงในที่นี้จะใหแสดงผลการวิเคราะหทาง graphic ของแตละชิ้นสวน (member) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่ การแสดงผลการวิ เคราะห ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 190: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888555]]] ทาง graphic ของแตละชิ้นสวน (member) ในสวนของคานโครงสรางเหล็กรูปพรรณ

ที่แถบ ไป click เลือกชิ้นสวนที่ ที่ตองการใหแสดงผล (จากนั้นจะปรากฎหนาตางแสดงผลดานขวามือ)

ไปที่ click เลือกที่ load case ที่ตองการใหแสดงผล ที่ จะเปนหนาตางแสดงผลของโมเมนตดัด (Mz) ที่ จะเปนหนาตางแสดงผลของแรงเฉือน (Fy) ที่ จะเปนหนาตางแสดงผลของแรงตามแนวแกน (Fx)…(สวนชิ้นสวนอ่ืนๆทําไดเชนเดียวกัน) แตถาหากตองการทราบรายละเอียดที่มากขึ้นของชิ้นสวนนั้นๆ ไป click เลือกชิ้นสวนที่ โดยการ double click จากนั้นจะปรากฎหนาตางแสดงผลดัง

การแสดงผลการวิ เคราะหทาง graphic ของแตละชิ้นสวน ( member) ใ น ส ว น ข อ งโครงสรางเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก

ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่แถบ ป click เลือกชิ้นสวนที่ ที่ตองการใหแสดงผล (จากนั้นจะปรากฎหนาตางแสดงผลดานขวามือ) ไปที่ click เลือกที่ load case ที่ตองการใหแสดงผล ที่

จะเปนหนาตางแสดงผลของโมเมนตดัด (Mz) ที่ จะเปนหนาตางแสดงผลของแรงเฉือน (Fy) ที่ จะเปนหนาตางแสดงผลของแรงตามแนวแกน (Fx)…(สวนชิ้นสวนอ่ืนๆทําไดเชนเดียวกัน) แตถาหากตองการทราบรายละเอียดที่มากขึ้นของชิ้นสวนนั้นๆ ไป click เลือกชิ้นสวนที่ โดยการ double click จากนั้นจะปรากฎหนาตางแสดงผลดัง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 191: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888666]]]

(ตอ) ตารางที่ 3.23 โครงขอแข็ง 2 มิติ (Plane Frame) : การแสดงผลการออกแบบโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 192: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888777]]]

การแสดงผลการออกแบบของแตละชิ้นสวนที่เลือก ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 193: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888888]]]

ดูผลการออกแบบโครงสรางคานเหล็กรูปพรรณ

ไป double click เลือกชิ้นสวนที่ ไป click เลือกที่ แถบ Steel Design (ผลการออกแบบจะผานหรือไมใหดทูี่ชอง Result วา FAIL หรือ PASS)…แตถาหากตองการตรวจสอบวามีช้ินสวนใดบางที่มีผลการออกแบบไมผานบางใหทําดังนี้ ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่แถบ จะปรากฎตารางแสดงผลการออกแบบทางดานขวามอื ใหไปที่ click ที่แถบ Failed Members

ดูผลการออกแบบโครงสรางเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก

ไป double click เลือกชิ้นสวนที่ ไป click เลือกที่ แถบ Concrete Design ซ่ึงจะปรากฎรายละเอียดผลการออกแบบรวมถึงการแสดงหนาตัดใหเห็นดวย

สรุปขอมูลท้ัง Input และ Output Input แสดงคําสั่ง Command File ท่ีสรางโดย STAAD Editor ขณะจําลองโครงสราง Output แสดงผลขอมูลผลการวิเคราะหและออกแบบ

แสดงคาํสั่ง Command File ท่ีสรางโดย STAAD Editor ขณะจําลองโครงสราง

STAAD PLANE START JOB INFORMATION ENGINEER DATE 19-Jan-07 END JOB INFORMATION INPUT WIDTH 79 UNIT METER KG JOINT COORDINATES 1 0 0 0; 2 0 7 0; 3 5 8 0; 4 5 10 0; 5 8 11 0; 6 11 10 0; 7 11 8 0; 8 16 7 0; 9 16 0 0; 10 5 0 0; 11 11 0 0; 12 -0.980581 6.80388 0; 13 16.9806 6.80388 0; 14 4.05132 9.68377 0; 15 11.9487 9.68377 0; 16 0 2 0; 17 5 2 0; 18 11 2 0; 19 16 2 0; MEMBER INCIDENCES

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 194: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111888999]]] 1 1 16; 2 2 3; 3 3 4; 4 4 5; 5 5 6; 6 6 7; 7 7 8; 8 8 19; 9 3 17; 10 7 18; 11 2 12; 12 8 13; 13 4 14; 14 6 15; 15 16 2; 16 17 10; 17 16 17; 18 18 11; 19 17 18; 20 19 9; 21 18 19; DEFINE MATERIAL START ISOTROPIC STEEL E 2.09042e+010 POISSON 0.3 DENSITY 7833.41 ALPHA 1.2e-005 DAMP 0.03 ISOTROPIC CONCRETE E 2.21467e+009 POISSON 0.17 DENSITY 2402.62 ALPHA 1e-005 DAMP 0.05 END DEFINE MATERIAL MEMBER PROPERTY JAPANESE 17 19 21 TABLE ST I150X75X6 2 4 5 7 11 TO 14 TABLE ST I125X75X5.5 MEMBER PROPERTY JAPANESE 1 3 6 8 TO 10 15 16 18 20 PRIS YD 0.4 ZD 0.2 CONSTANTS MATERIAL STEEL MEMB 2 4 5 7 11 TO 14 17 19 21 MATERIAL CONCRETE MEMB 1 3 6 8 TO 10 15 16 18 20 SUPPORTS 1 9 TO 11 PINNED LOAD 1 LOADTYPE Dead TITLE LOAD CASE 1 : DL SELFWEIGHT Y -1 MEMBER LOAD 2 4 5 7 11 TO 14 17 19 21 UNI GY -1000

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 195: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999000]]] 17 21 CON GY -2000 2 LOAD 2 LOADTYPE Live TITLE LOAD CASE 2 : LL MEMBER LOAD 17 19 21 LIN Y -300 -700 LOAD COMB 3 COMBINATION LOAD CASE 3 : DL+LL 1 1.0 2 1.0 LOAD COMB 4 COMBINATION LOAD CASE 4 : 0.75(DL+LL) 1 0.75 2 0.75 PERFORM ANALYSIS PRINT PROBLEM STATISTICS LOAD LIST ALL PRINT ANALYSIS RESULTS START CONCRETE DESIGN CODE ACI DESIGN COLUMN 9 16 UNIT CM KG TRACK 2 MEMB 9 16 END CONCRETE DESIGN PARAMETER CODE AISC FYLD 2400 MEMB 2 14 17 RATIO 0.99 MEMB 2 14 17 CHECK CODE MEMB 2 14 17 PARAMETER CODE AISC TRACK 2 MEMB 2 14 17 PERFORM ANALYSIS PRINT STATICS CHECK FINISH

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 196: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999111]]]

แสดงขอมูลผลการวิเคราะหและออกแบบ **************************************************** * * STAAD.Pro * Version 2005 Bld 1001.US * Proprietary Program of * Research Engineers, Intl. * Date= JAN 29, 2007 * Time= 10:53:51 *

* USER ID: ****************************************************

1. STAAD PLANE INPUT FILE: Plane Frame.STD 2. START JOB INFORMATION 3. ENGINEER DATE 19-JAN-07 4. END JOB INFORMATION 5. INPUT WIDTH 79 6. UNIT METER KG 7. JOINT COORDINATES 8. 1 0 0 0; 2 0 7 0; 3 5 8 0; 4 5 10 0; 5 8 11 0; 6 11 10 0; 7 11 8 0; 8 16 7 0 9. 9 16 0 0; 10 5 0 0; 11 11 0 0; 12 -0.980581 6.80388 0; 13 16.9806 6.80388 0 10. 14 4.05132 9.68377 0; 15 11.9487 9.68377 0; 16 0 2 0; 17 5 2 0; 18 11 2 0 11. 19 16 2 0 12. MEMBER INCIDENCES 13. 1 1 16; 2 2 3; 3 3 4; 4 4 5; 5 5 6; 6 6 7; 7 7 8; 8 8 19; 9 3 17; 10 7 18 14. 11 2 12; 12 8 13; 13 4 14; 14 6 15; 15 16 2; 16 17 10; 17 16 17; 18 18 11

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 197: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999222]]] 15. 19 17 18; 20 19 9; 21 18 19 16. DEFINE MATERIAL START 17. ISOTROPIC STEEL 18. E 2.09042E+010 19. POISSON 0.3 20. DENSITY 7833.41 21. ALPHA 1.2E-005 22. DAMP 0.03 23. ISOTROPIC CONCRETE 24. E 2.21467E+009 25. POISSON 0.17 26. DENSITY 2402.62 27. ALPHA 1E-005 28. DAMP 0.05 29. END DEFINE MATERIAL 30. MEMBER PROPERTY JAPANESE 31. 17 19 21 TABLE ST I150X75X6 32. 2 4 5 7 11 TO 14 TABLE ST I125X75X5.5 33. MEMBER PROPERTY JAPANESE 34. 1 3 6 8 TO 10 15 16 18 20 PRIS YD 0.4 ZD 0.2 35. CONSTANTS 36. MATERIAL STEEL MEMB 2 4 5 7 11 TO 14 17 19 21 37. MATERIAL CONCRETE MEMB 1 3 6 8 TO 10 15 16 18 20 38. SUPPORTS 39. 1 9 TO 11 PINNED 40. LOAD 1 LOADTYPE DEAD TITLE LOAD CASE 1 : DL 41. SELFWEIGHT Y -1 42. MEMBER LOAD 43. 2 4 5 7 11 TO 14 17 19 21 UNI GY -1000 44. 17 21 CON GY -2000 2 45. LOAD 2 LOADTYPE LIVE TITLE LOAD CASE 2 : LL

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 198: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999333]]] 46. MEMBER LOAD 47. 17 19 21 LIN Y -300 -700 48. LOAD COMB 3 COMBINATION LOAD CASE 3 : DL+LL 49. 1 1.0 2 1.0 50. LOAD COMB 4 COMBINATION LOAD CASE 4 : 0.75(DL+LL) 51. 1 0.75 2 0.75 52. PERFORM ANALYSIS P R O B L E M S T A T I S T I C S ----------------------------------- NUMBER OF JOINTS/MEMBER+ELEMENTS/SUPPORTS = 19/ 21/ 4 ORIGINAL/FINAL BAND-WIDTH= 15/ 5/ 15 DOF TOTAL PRIMARY LOAD CASES = 2, TOTAL DEGREES OF FREEDOM = 49 SIZE OF STIFFNESS MATRIX = 1 DOUBLE KILO-WORDS REQRD/AVAIL. DISK SPACE = 12.0/ 21277.9 MB 53. PRINT PROBLEM STATISTICS 54. LOAD LIST ALL 55. PRINT ANALYSIS RESULTS JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = PLANE ------------------ JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN

1 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0004 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0004 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 4 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 2 1 -0.2060 -0.0221 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 199: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999444]]] 2 -0.1961 -0.0013 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 3 -0.4021 -0.0234 0.0000 0.0000 0.0000 0.0007 4 -0.3016 -0.0176 0.0000 0.0000 0.0000 0.0005 3 1 -0.2135 -0.0420 0.0000 0.0000 0.0000 0.0018 2 -0.1966 -0.0030 0.0000 0.0000 0.0000 0.0002 3 -0.4100 -0.0450 0.0000 0.0000 0.0000 0.0020 4 -0.3075 -0.0337 0.0000 0.0000 0.0000 0.0015 4 1 -0.4618 -0.0470 0.0000 0.0000 0.0000 0.0005 2 -0.2517 -0.0030 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 3 -0.7134 -0.0499 0.0000 0.0000 0.0000 0.0008 4 -0.5351 -0.0375 0.0000 0.0000 0.0000 0.0006 5 1 0.4591 -2.8387 0.0000 0.0000 0.0000 0.0002 2 -0.2681 0.0452 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 3 0.1910 -2.7936 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 4 0.1433 -2.0952 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 6 1 1.3797 -0.0475 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0011 2 -0.2845 -0.0031 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 3 1.0952 -0.0507 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0010 4 0.8214 -0.0380 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0008 7 1 0.9980 -0.0425 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0025 2 -0.2640 -0.0031 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 3 0.7340 -0.0457 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0023 4 0.5505 -0.0343 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0017 8 1 0.9906 -0.0218 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0013 2 -0.2643 -0.0016 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 3 0.7263 -0.0233 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0011 4 0.5447 -0.0175 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0008 9 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0007 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0004 4 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0003

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 200: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999555]]] 10 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0007 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0004 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0003 4 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0002 11 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0005 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0002 4 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0002 12 1 -0.1761 -0.1728 0.0000 0.0000 0.0000 0.0018 2 -0.1897 -0.0334 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 3 -0.3658 -0.2063 0.0000 0.0000 0.0000 0.0021 4 -0.2744 -0.1547 0.0000 0.0000 0.0000 0.0016 JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = PLANE ------------------ JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN 13 1 0.9415 -0.2682 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0028 2 -0.2593 0.0235 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 3 0.6823 -0.2448 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0025 4 0.5117 -0.1836 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0019 14 1 -0.4109 -0.2009 0.0000 0.0000 0.0000 0.0019 2 -0.2426 -0.0302 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 3 -0.6534 -0.2312 0.0000 0.0000 0.0000 0.0022 4 -0.4901 -0.1734 0.0000 0.0000 0.0000 0.0016 15 1 1.3086 -0.2621 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0025 2 -0.2821 0.0039 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 3 1.0264 -0.2581 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0025 4 0.7698 -0.1936 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0018

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 201: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999666]]] 16 1 0.1060 -0.0099 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0007 2 -0.0626 -0.0012 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 3 0.0434 -0.0112 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0006 4 0.0326 -0.0084 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0005 17 1 0.1124 -0.0165 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0004 2 -0.0660 -0.0030 0.0000 0.0000 0.0000 0.0002 3 0.0464 -0.0195 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 4 0.0348 -0.0146 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 18 1 0.1228 -0.0171 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0008 2 -0.0727 -0.0032 0.0000 0.0000 0.0000 0.0005 3 0.0501 -0.0203 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0003 4 0.0375 -0.0152 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0002 19 1 0.1298 -0.0094 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0005 2 -0.0761 -0.0016 0.0000 0.0000 0.0000 0.0006 3 0.0537 -0.0110 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 4 0.0403 -0.0083 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 SUPPORT REACTIONS -UNIT KG METE STRUCTURE TYPE = PLANE ----------------- JOINT LOAD FORCE-X FORCE-Y FORCE-Z MOM-X MOM-Y MOM Z 1 1 331.95 8986.61 0.00 0.00 0.00 0.00 2 366.57 1090.43 0.00 0.00 0.00 0.00 3 698.52 10077.04 0.00 0.00 0.00 0.00 4 523.89 7557.78 0.00 0.00 0.00 0.00 9 1 -268.16 8534.55 0.00 0.00 0.00 0.00 2 -362.47 1407.09 0.00 0.00 0.00 0.00 3 -630.63 9941.64 0.00 0.00 0.00 0.00 4 -472.97 7456.23 0.00 0.00 0.00 0.00 10 1 -337.48 14800.03 0.00 0.00 0.00 0.00

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 202: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999777]]] 2 187.51 2695.67 0.00 0.00 0.00 0.00 3 -149.96 17495.70 0.00 0.00 0.00 0.00 4 -112.47 13121.78 0.00 0.00 0.00 0.00 11 1 273.69 15338.94 0.00 0.00 0.00 0.00 2 -191.61 2806.81 0.00 0.00 0.00 0.00 3 82.08 18145.74 0.00 0.00 0.00 0.00 4 61.56 13609.31 0.00 0.00 0.00 0.00 MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = PLANE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 1 1 1 8986.61 -331.95 0.00 0.00 0.00 0.00 16 -8602.19 331.95 0.00 0.00 0.00 -663.89 2 1 1090.43 -366.57 0.00 0.00 0.00 0.00 16 -1090.43 366.57 0.00 0.00 0.00 -733.14 3 1 10077.04 -698.52 0.00 0.00 0.00 0.00 16 -9692.62 698.52 0.00 0.00 0.00 -1397.03 4 1 7557.78 -523.89 0.00 0.00 0.00 0.00 16 -7269.46 523.89 0.00 0.00 0.00 -1047.77 2 1 2 1446.65 2596.20 0.00 0.00 0.00 2270.12 3 -430.63 2483.90 0.00 0.00 0.00 -1983.80 2 2 63.05 15.00 0.00 0.00 0.00 39.96 3 -63.05 -15.00 0.00 0.00 0.00 36.52 3 2 1509.70 2611.20 0.00 0.00 0.00 2310.08 3 -493.68 2468.90 0.00 0.00 0.00 -1947.28

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 203: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999888]]] 4 2 1132.28 1958.40 0.00 0.00 0.00 1732.56 3 -370.26 1851.67 0.00 0.00 0.00 -1460.46 3 1 3 4602.12 -784.06 0.00 0.00 0.00 764.93 4 -4217.70 784.06 0.00 0.00 0.00 -2333.05 2 3 6.40 -44.96 0.00 0.00 0.00 -89.42 4 -6.40 44.96 0.00 0.00 0.00 -0.51 3 3 4608.53 -829.02 0.00 0.00 0.00 675.51 4 -4224.11 829.02 0.00 0.00 0.00 -2333.55 4 3 3456.39 -621.77 0.00 0.00 0.00 506.63 4 -3168.08 621.77 0.00 0.00 0.00 -1750.17 4 1 4 1756.28 2789.45 0.00 0.00 0.00 2814.98 5 -740.27 258.61 0.00 0.00 0.00 1186.62 2 4 44.68 -8.15 0.00 0.00 0.00 0.51 5 -44.68 8.15 0.00 0.00 0.00 -26.27 3 4 1800.97 2781.30 0.00 0.00 0.00 2815.49 5 -784.95 266.76 0.00 0.00 0.00 1160.35 4 4 1350.72 2085.98 0.00 0.00 0.00 2111.62 5 -588.71 200.07 0.00 0.00 0.00 870.26 5 1 5 747.38 237.27 0.00 0.00 0.00 -1186.62 6 -1763.40 2810.79 0.00 0.00 0.00 -2882.47 2 5 40.63 20.29 0.00 0.00 0.00 26.27 6 -40.63 -20.29 0.00 0.00 0.00 37.91 3 5 788.01 257.56 0.00 0.00 0.00 -1160.35 6 -1804.03 2790.50 0.00 0.00 0.00 -2844.57 4 5 591.01 193.17 0.00 0.00 0.00 -870.26 6 -1353.02 2092.87 0.00 0.00 0.00 -2133.43 MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = PLANE

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 204: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[111999999]]] ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 6 1 6 4240.22 784.06 0.00 0.00 0.00 2400.51 7 -4624.64 -784.06 0.00 0.00 0.00 -832.40 2 6 -6.40 44.96 0.00 0.00 0.00 -37.91 7 6.40 -44.96 0.00 0.00 0.00 127.83 3 6 4233.82 829.02 0.00 0.00 0.00 2362.61 7 -4618.24 -829.02 0.00 0.00 0.00 -704.56 4 6 3175.36 621.77 0.00 0.00 0.00 1771.96 7 -3463.68 -621.77 0.00 0.00 0.00 -528.42 7 1 7 440.40 2440.81 0.00 0.00 0.00 1880.15 8 -1456.42 2639.29 0.00 0.00 0.00 -2386.17 2 7 51.07 10.14 0.00 0.00 0.00 23.40 8 -51.07 -10.14 0.00 0.00 0.00 28.29 3 7 491.47 2450.95 0.00 0.00 0.00 1903.56 8 -1507.49 2629.15 0.00 0.00 0.00 -2357.88 4 7 368.60 1838.21 0.00 0.00 0.00 1427.67 8 -1130.62 1971.86 0.00 0.00 0.00 -1768.41 8 1 8 3889.70 910.53 0.00 0.00 0.00 1888.00 19 -4850.75 -910.53 0.00 0.00 0.00 2664.66 2 8 0.07 52.06 0.00 0.00 0.00 -28.29 19 -0.07 -52.06 0.00 0.00 0.00 288.61 3 8 3889.78 962.60 0.00 0.00 0.00 1859.71 19 -4850.82 -962.60 0.00 0.00 0.00 2953.27 4 8 2917.33 721.95 0.00 0.00 0.00 1394.79 19 -3638.12 -721.95 0.00 0.00 0.00 2214.95

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 205: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000000]]] 9 1 3 6953.33 125.34 0.00 0.00 0.00 1218.87 17 -8106.59 -125.34 0.00 0.00 0.00 -466.81 2 3 -20.67 13.92 0.00 0.00 0.00 52.90 17 20.67 -13.92 0.00 0.00 0.00 30.62 3 3 6932.66 139.26 0.00 0.00 0.00 1271.77 17 -8085.92 -139.26 0.00 0.00 0.00 -436.19 4 3 5199.49 104.45 0.00 0.00 0.00 953.83 17 -6064.44 -104.45 0.00 0.00 0.00 -327.14 10 1 7 6931.68 -126.47 0.00 0.00 0.00 -1047.75 18 -8084.94 126.47 0.00 0.00 0.00 288.91 2 7 -6.48 -7.10 0.00 0.00 0.00 -151.24 18 6.48 7.10 0.00 0.00 0.00 108.63 3 7 6925.20 -133.58 0.00 0.00 0.00 -1198.99 18 -8078.46 133.58 0.00 0.00 0.00 397.54 4 7 5193.90 -100.18 0.00 0.00 0.00 -899.24 18 -6058.85 100.18 0.00 0.00 0.00 298.16 11 1 2 -199.26 996.29 0.00 0.00 0.00 498.15 12 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = PLANE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 2 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 12 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 206: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000111]]] 3 2 -199.26 996.29 0.00 0.00 0.00 498.15 12 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4 2 -149.45 747.22 0.00 0.00 0.00 373.61 12 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 12 1 8 -199.26 996.31 0.00 0.00 0.00 498.16 13 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2 8 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 13 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3 8 -199.26 996.31 0.00 0.00 0.00 498.16 13 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4 8 -149.45 747.23 0.00 0.00 0.00 373.62 13 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 13 1 4 -321.30 963.88 0.00 0.00 0.00 481.94 14 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2 4 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 14 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3 4 -321.30 963.88 0.00 0.00 0.00 481.94 14 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4 4 -240.97 722.91 0.00 0.00 0.00 361.45 14 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 14 1 6 -321.30 963.90 0.00 0.00 0.00 481.96 15 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2 6 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 15 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3 6 -321.30 963.90 0.00 0.00 0.00 481.96 15 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4 6 -240.97 722.92 0.00 0.00 0.00 361.47 15 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 207: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000222]]] 15 1 16 4806.57 -909.40 0.00 0.00 0.00 -2775.03 2 -3845.52 909.40 0.00 0.00 0.00 -1771.98 2 16 27.07 -58.88 0.00 0.00 0.00 -254.46 2 -27.07 58.88 0.00 0.00 0.00 -39.96 3 16 4833.64 -968.29 0.00 0.00 0.00 -3029.49 2 -3872.59 968.29 0.00 0.00 0.00 -1811.93 4 16 3625.23 -726.21 0.00 0.00 0.00 -2272.12 2 -2904.44 726.21 0.00 0.00 0.00 -1358.95 16 1 17 14415.61 337.48 0.00 0.00 0.00 674.95 10 -14800.03 -337.48 0.00 0.00 0.00 0.00 2 17 2695.67 -187.51 0.00 0.00 0.00 -375.02 10 -2695.67 187.51 0.00 0.00 0.00 0.00 MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = PLANE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 3 17 17111.28 149.96 0.00 0.00 0.00 299.93 10 -17495.70 -149.96 0.00 0.00 0.00 0.00 4 17 12833.46 112.47 0.00 0.00 0.00 224.95 10 -13121.78 -112.47 0.00 0.00 0.00 0.00 17 1 16 -577.45 3795.62 0.00 0.00 0.00 3438.92 17 577.45 3289.88 0.00 0.00 0.00 -3174.57 2 16 307.69 1063.36 0.00 0.00 0.00 987.60 17 -307.69 1436.64 0.00 0.00 0.00 -1087.47 3 16 -269.77 4858.98 0.00 0.00 0.00 4426.52

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 208: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000333]]] 17 269.77 4726.52 0.00 0.00 0.00 -4262.04 4 16 -202.33 3644.24 0.00 0.00 0.00 3319.89 17 202.33 3544.89 0.00 0.00 0.00 -3196.53 18 1 18 14954.52 -273.69 0.00 0.00 0.00 -547.38 11 -15338.94 273.69 0.00 0.00 0.00 0.00 2 18 2806.81 191.61 0.00 0.00 0.00 383.21 11 -2806.81 -191.61 0.00 0.00 0.00 0.00 3 18 17761.32 -82.08 0.00 0.00 0.00 -164.16 11 -18145.74 82.08 0.00 0.00 0.00 0.00 4 18 13320.99 -61.56 0.00 0.00 0.00 -123.12 11 -13609.31 61.56 0.00 0.00 0.00 0.00 19 1 17 -789.59 3019.14 0.00 0.00 0.00 2966.43 18 789.59 3083.46 0.00 0.00 0.00 -3159.37 2 17 509.12 1279.70 0.00 0.00 0.00 1431.88 18 -509.12 1720.30 0.00 0.00 0.00 -1553.67 3 17 -280.47 4298.85 0.00 0.00 0.00 4398.30 18 280.47 4803.76 0.00 0.00 0.00 -4713.03 4 17 -210.35 3224.13 0.00 0.00 0.00 3298.73 18 210.35 3602.82 0.00 0.00 0.00 -3534.77 20 1 19 8150.13 268.16 0.00 0.00 0.00 536.32 9 -8534.55 -268.16 0.00 0.00 0.00 0.00 2 19 1407.09 362.47 0.00 0.00 0.00 724.95 9 -1407.09 -362.47 0.00 0.00 0.00 0.00 3 19 9557.22 630.63 0.00 0.00 0.00 1261.27 9 -9941.64 -630.63 0.00 0.00 0.00 0.00 4 19 7167.91 472.97 0.00 0.00 0.00 945.95 9 -7456.23 -472.97 0.00 0.00 0.00 0.00

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 209: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000444]]] 21 1 18 -642.37 3786.12 0.00 0.00 0.00 3417.83 19 642.37 3299.38 0.00 0.00 0.00 -3200.97 2 18 310.41 1092.98 0.00 0.00 0.00 1061.82 19 -310.41 1407.02 0.00 0.00 0.00 -1013.56 3 18 -331.96 4879.11 0.00 0.00 0.00 4479.65 19 331.96 4706.39 0.00 0.00 0.00 -4214.54 MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = PLANE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 4 18 -248.97 3659.33 0.00 0.00 0.00 3359.74 19 248.97 3529.80 0.00 0.00 0.00 -3160.90 ************** END OF LATEST ANALYSIS RESULT ************** 56. START CONCRETE DESIGN 57. CODE ACI 58. DESIGN COLUMN 9 16 ==================================================================== COLUMN NO. 9 DESIGN PER ACI 318-02 - AXIAL + BENDING FY - 413.7 FC - 27.6 MPA, RECT SIZE - 200.0 X 400.0 MMS, TIED ONLY MINIMUM STEEL IS REQUIRED. AREA OF STEEL REQUIRED = 800.0 SQ. MM BAR CONFIGURATION REINF PCT. LOAD LOCATION PHI ----------------------------------------------------------

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 210: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000555]]] 4 - 16 MM 1.005 1 END 0.650 (PROVIDE EQUAL NUMBER OF BARS ON EACH FACE) TIE BAR NUMBER 8 SPACING 200.00 MM ==================== ===================== ===========================แสดงขอมูลผลการออกแบบเสา คสล. COLUMN NO. 16 DESIGN PER ACI 318-02 - AXIAL + BENDING FY - 413.7 FC - 27.6 MPA, RECT SIZE - 200.0 X 400.0 MMS, TIED ONLY MINIMUM STEEL IS REQUIRED. AREA OF STEEL REQUIRED = 800.0 SQ. MM BAR CONFIGURATION REINF PCT. LOAD LOCATION PHI ---------------------------------------------------------- 4 - 16 MM 1.005 1 END 0.650 (PROVIDE EQUAL NUMBER OF BARS ON EACH FACE) TIE BAR NUMBER 8 SPACING 200.00 MM ********************END OF COLUMN DESIGN RESULTS******************** 59. UNIT CM KG 60. TRACK 2 MEMB 9 16 61. END CONCRETE DESIGN 62. PARAMETER 63. CODE AISC 64. FYLD 2400 MEMB 2 14 17 65. RATIO 0.99 MEMB 2 14 17 66. CHECK CODE MEMB 2 14 17

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 211: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000666]]] STAAD PLANE STAAD.PRO CODE CHECKING - (AISC 9TH EDITION) ******************************************** ALL UNITS ARE - KG CM (UNLESS OTHERWISE NOTED) MEMBER TABLE RESULT/ CRITICAL COND/ RATIO/ LOADING/ FX MY MZ LOCATION ====================================================================== * 2 ST I125X75X5.5 (JAPANESE SECTIONS) FAIL L/R-EXCEEDS 1.520 COMPRESS. 14 ST I125X75X5.5 (JAPANESE SECTIONS) PASS AISC- H2-1 0.400 1 321.30 T 0.00 48195.70 0.00 * 17 ST I150X75X6 (JAPANESE SECTIONS) FAIL L/R-EXCEEDS 1.027 TENSION 67. PARAMETER 68. CODE AISC 69. TRACK 2 MEMB 2 14 17 70. PERFORM ANALYSIS PRINT STATICS CHECK STAAD PLANE -- PAGE NO. 13 STATIC LOAD/REACTION/EQUILIBRIUM SUMMARY FOR CASE NO. 1 LOADTYPE DEAD TITLE LOAD CASE 1 : DL ***TOTAL APPLIED LOAD ( KG METE ) SUMMARY (LOADING 1 )

แสดงขอมูลผลการออกแบบคานเหล็ก (สรุป)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 212: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000777]]] SUMMATION FORCE-X = 0.00 SUMMATION FORCE-Y = -47660.12 SUMMATION FORCE-Z = 0.00 SUMMATION OF MOMENTS AROUND THE ORIGIN- MX= 0.00 MY= 0.00 MZ= -379281.20 ***TOTAL REACTION LOAD( KG METE ) SUMMARY (LOADING 1 ) SUMMATION FORCE-X = 0.00 SUMMATION FORCE-Y = 47660.12 SUMMATION FORCE-Z = 0.00 SUMMATION OF MOMENTS AROUND THE ORIGIN- MX= 0.00 MY= 0.00 MZ= 379281.20 MAXIMUM DISPLACEMENTS ( CM /RADIANS) (LOADING 1) MAXIMUMS AT NODE X = 1.37967E+00 6 Y = -2.83873E+00 5 Z = 0.00000E+00 0 RX= 0.00000E+00 0 RY= 0.00000E+00 0 RZ= -2.79192E-03 13 STATIC LOAD/REACTION/EQUILIBRIUM SUMMARY FOR CASE NO. 2 LOADTYPE LIVE TITLE LOAD CASE 2 : LL ***TOTAL APPLIED LOAD ( KG METE ) SUMMARY (LOADING 2 ) SUMMATION FORCE-X = 0.00 SUMMATION FORCE-Y = -8000.00

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 213: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000888]]] SUMMATION FORCE-Z = 0.00 SUMMATION OF MOMENTS AROUND THE ORIGIN- MX= 0.00 MY= 0.00 MZ= -66866.66 ***TOTAL REACTION LOAD( KG METE ) SUMMARY (LOADING 2 ) SUMMATION FORCE-X = 0.00 SUMMATION FORCE-Y = 8000.00 SUMMATION FORCE-Z = 0.00 SUMMATION OF MOMENTS AROUND THE ORIGIN- MX= 0.00 MY= 0.00 MZ= 66866.66 MAXIMUM DISPLACEMENTS ( CM /RADIANS) (LOADING 2) MAXIMUMS AT NODE X = -2.84476E-01 6 Y = 4.51778E-02 5 Z = 0.00000E+00 0 RX= 0.00000E+00 0 RY= 0.00000E+00 0 RZ= 5.90759E-04 19 ************ END OF DATA FROM INTERNAL STORAGE ************ 71. FINISH *********** END OF THE STAAD.Pro RUN *********** **** DATE= JAN 29,2007 TIME= 10:53:55 **** Information about the key files in the current distribution

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 214: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222000999]]] Modfication Date CRC Size (Bytes) File Name ----------------------------------------------------------------------------------------- 07/12/2005 0xaf01 11636736 SProStaad.exe 12/16/2004 0xca81 04558848 SProStaadStl.exe 09/19/2003 0x2fc0 00081970 CMesh.dll 07/11/2005 0xc7c0 02396160 dbsectioninterface.dll 01/23/2001 0x9b40 00073728 LoadGen.dll 09/25/2003 0x6340 00704512 MeshEngine.dll 09/22/2003 0xce00 00069632 QuadPlateEngine.dll 04/16/2004 0x91c1 00139264 SurfMesh.dll 06/23/2005 0x4c01 00493568 aiscsections.mdb 01/05/2005 0x79c1 00319488 aiscsections_all_editions.mdb 01/05/2005 0x4b81 01810432 aiscsteeljoists.mdb 01/05/2005 0xcac1 03651584 aitctimbersections.mdb 01/27/2005 0xeb01 00552960 aluminumsections.mdb 01/05/2005 0xcd01 00163840 australiansections.mdb 01/05/2005 0x6a41 00229376 britishsections.mdb 07/08/2005 0x9d41 00434176 bscoldformedsections.mdb 06/28/2005 0x8201 00327680 butlercoldformedsections.mdb 01/05/2005 0xabc0 00262144 canadiansections.mdb 05/31/2005 0x9e81 00450560 canadiantimbersections.mdb 05/05/2005 0x7f80 00409600 chinesesections.mdb 01/05/2005 0xd6c0 00600064 dutchsections.mdb 01/05/2005 0x1a00 00354304 europeansections.mdb 01/05/2005 0xd301 00202752 frenchsections.mdb 01/05/2005 0x11c1 00233472 germansections.mdb 01/05/2005 0x3c40 00264192 indiansections.mdb 01/05/2005 0xd540 00180224 iscoldformedsections.mdb 02/03/2005 0x9c01 00202752 japanesesections.mdb 01/05/2005 0xb740 00174080 koreansections.mdb

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 215: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงขอแข็งโครงขอแข็งโครงขอแข็ง 2มิติมิติมิติ[[[222111000]]] 02/03/2005 0xda00 00096256 lysaghtcoldformedsections.mdb 02/07/2005 0x9a00 00243712 mexicansteeltables.mdb 02/03/2005 0x9b40 00307200 russiansections.mdb 01/05/2005 0x9081 00206848 southafricansections.mdb 01/06/2005 0x9341 00194560 spanishsections.mdb 06/23/2005 0x2800 00204800 uscoldformedsections.mdb 01/05/2005 0xbac0 00149504 usersectionstemplate.mdb 01/05/2005 0x9d41 00141312 venezuelansections.mdb -----------------------------------------------------------------------------------------

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 216: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพัน

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111111]]] ที่

4

สารบัญประจําบท

หัวขอ หนาที่ ตัวอยางที่ 2 การวิเคราะหโครงสราง 3 มิต ิ1. การเขาใชโปรแกรม 214 2. การกําหนดสภาพแวดลอมทํางาน 216 3. การจําลองโครงสราง 218 4. การกําหนดจุดรองรับ 230 5. การกําหนดคุณสมบัติและหนาตัด 234 6. การกําหนดน้ําหนกับรรทุก 244 7. การวิเคราะหและออกแบบ 259 8. การแสดงผลการวิเคราะหและออกแบบ 272 9. สรุปขอมูลทั้ง Input และ Output 286

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

บท

ธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

Page 217: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111222]]]

4ตัวอยางการใชโปรแกรม

ตัวอยางที่ วิเคราะหและออกแบบโครงขอแขง็ 3 มิต ิ ใน การฝกความคุนเคยกับโปรแกรมสําหรับตัวอยางนี้ส่ิงทีจ่ะไดจากการเรยีนรูคือ

เบื้องตนกับการเขาใชโปรแกรม STAAD เบื้องตนกับการใชเครื่องไมเครื่องมือ การจําลองโครงสราง (การขึ้นรูปโครงสรางที่ซับซอนขึ้น) การกําหนดคณุสมบัติและจดุรองรับของโครงสราง การกําหนดน้ําหนักบรรทุก การกําหนดการวิเคราะหและการกําหนดการออกแบบ รายละเอียด : เปนโครงขอแข็ง 3 มิติโดยคานทุกตัวและเสาเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก จุดรองรับทั้งหมดกําหนดเปนจุดรองรับบานพับ ขนาดของชิ้นสวน คานเคอนกรีตเสริมเหล็ก 0.15x0.35 m. เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 0.20 m. ผนังรับแรงเฉือนหนา 0.20 m. แผนพื้นหนา 0.15 m. น้ําหนักบรรทุก Load Case 1 : LL 1.น้ําหนักแผกระจายเต็มชวง 1,000 kg./m.2 2.แรงกระทําที่จุดตอ 1,500 kg. Load Case 2 : DL ประกอบดวย 1.น้ําหนักของตัวโครงสรางเอง (Self Weight) 2.น้ําหนักแผกระจายเต็มชวง 500 kg./m. Load Case 3 : 0.75(DL+LL)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 218: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111333]]]

4.00m

4.00m

1.00m

4.00m

4.00m

1.41m

1.00m

4.00m

4.00m

1.00m

1.00m2.00m

2.00m

4.00m1.00m

2.00m2.00m 2.00m

2.00m 2.00m2.00m

1.00m

4.00m

4.00m 1.00m Load 2

Load 2 (SELF Y)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 219: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111444]]] ขั้นตอนที่ 1 การเขาใชโปรแกรม กําหนดประเภทโครงสรางที่จะจําลอง กําหนดชือ่งาน กําหนด

ตําแหนงบนัทกึขอมูล กําหนดหนวยของระยะและแรงกระทํา ตารางที่ 4.1 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : เลือกประเภทของโครงสราง

เมื่อทําการเปดโปรแกรมเขามาครั้งแรกจะปรากฎหนาจอดังภาพทีแ่สดง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดประเภทโครงสราง ไปที่ click เลือกที่ Space

ตั้งชื่อ file ไปที่ เปลื่อนชื่อจาก Structure1 (default) เปน Space Frame

กําหนดที่บันทึก file ไปที่ click เลือกที่ (เลือกกําหนดเองตามความ

เ ห ม า ะ ส ม ) ใ น ที่ นี้ ส ม ม ติ ว า กํ า ห น ด ไ ว ที่D:\STRUCTURE\SPro2005\Workshop1\

กําหนดหนวยความยาว ไปที่ click เลือกที่ กําหนดหนวยแรง ไปที่ click เลือกที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 220: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111555]]] ทํางานตอ ไปที่ click เลือกที่

หมายเหตุ : หากตองการรูในรายละเอียด (พอประมาณ) ในแตละสวนให click ที่ ตารางที่ 4.2 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : เลือกอุปกรณ (เบื่องตน) ท่ีจะใชในการจําลอง

เมื่อทําการเปดโปรแกรมเขามาครั้งแรกจะปรากฎหนาจอดังภาพทีแ่สดง (ตอ) ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดเครื่องมือชวยจําลองโครงสราง ไปที่ click เลือกที่ Add Beam

ตกลงเลือกใช ไปที่ click เลือกที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 221: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111666]]] ขั้นตอนที่ 2 กาํหนดสภาพแวดลอมการทํางานของโปรแกรม (แนะนําวาควรปรับเทาที่จําเปน) ตารางที่ 4.3 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดสภาพแวดลอมเบื้องตนกอนการทํางาน

จากภาพในตารางที่ 4.2 เมื่อ click finish จะปรากฎภาพดงัแสดง ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดมุมมองของพื้นที่ทํางาน (main window)

ไปที่ click เ ลื อ กที่ เ พื่ อกําหนดพื้นที่ทํางาน (main window) ของ (เหมือนเปนการมองจากดานบน)

กํ าหนดระนาบของพื้นที่ทํางาน (main window) ไปที่ click เลือกที่ เพื่อกําหนดระนาบ

ของพื้นที่ทํางาน (main window) ทั้งนี้เพื่อเปนการงายตอการขึ้นรูปเปนชั้นๆ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 222: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111777]]]

กําหนดเสนกริดเพื่อชวยในการจําลองโครงสราง

ไปที่ click เลือกที่ (default คือ 10 เสนมีระยะหาง 1 เมตร ) เปน 20 เสนมีระยะหาง 1 เมตร ทั้งแกน X และแกน Y กําหนดจํานวนโดย click ที่

และระยะหางโดยการปอนคาที่

กําหนดสัญลักษณ ( label) กํากับเสนกริดที่กําหนดใน ไปที่ click เ ลือกที่ ในที่นี้ ใช

ตาม default ของโปรแกรม

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 223: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111888]]] ขั้นตอนที่ 3 การขึ้นรูป (สรางแบบจําลองโครงสราง) ตารางที่ 4.4 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : สรางแบบจําลองของคาน + และลงจุดสําหรับ Shear Wall (ของโครงสรางชั้นท่ีหนึ่ง)

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ขึ้นรูปเสนคานและ

ไป click เลือกที่ จากนั้นเคลื่อน mouse ไปที่จุด (node) ที่ตองการแลว click mouse ที่ปุมซาย (เพื่อลงจุดแรก) ปลอย mouse ปุมซายแลวเคลื่อน mouse ไปที่จุดตออ่ืนๆ (จุดที่ 2...3...4...) แลว click mouse ที่ปุมซายอีก (click

ปลอย ลาก click)...เมื่อครบแลวจะปรากฎดังภาพ ลงกําหนดจุด (สําหรับสราง

ผนังรับแรงเฉือน) ทําการเพิ่มจุดตอ (node) ที่ โดยการไป click เลือกที่

จากนั้นกดปุม Ctrl คางไวแลวเคลื่อน mouse

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 224: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222111999]]] ไป click ที่จุดที่ตองการเพิ่มดวยการ click mouse ที่ปุมซาย แลวปลอย (ปุม Ctrl ตองกดคางไวเสมอจนกวาจะลงจุดครบทุกจุด)

หมายเหตุ : 1. เมื่อตองการยกเลิกการทํางานของปุม ใหกดที่ปุม Esc 2. การทํางานรวมกันระหวางปุม และการกดปุม Ctrl คางไว เมื่อ click mouse แลวปลอยจะเปนการลงจุด (node) เทานั้น 3. ในขั้นตอนนี้จะกําหนดคุณสมบัติหนาตัดของ คาน-เสา-ผนัง-แผนพื้น ดวยก็ได (ควรจะกําหนดใหเลย) หรืออาจกําหนดในภายหลังก็ได

ตารางที่ 4.5 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : สรางแบบจําลองของคานชั้นท่ีสอง

A

A A A

A

A

A

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 225: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222000]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ทําการ copy คานทั้งชั้นดวย ก า ร ก อ ป ป เ ชิ ง เ ส น (Translational Repeat)

ไปที่ A click เลือกที่ (Isometric View) จะปรากกฎดัง A จากนั้นกดปุม mouse ดานซายคางไวแลวลาก

กรอบเลือกคานทั้งหมด ไปที่ A click เลือกที ่ ไปที่ A click เลือกที่

(เลือกทิศทางการวางตวัของกลุมคานที่

กอปป) ไปที่ A click เลือกที่

ไปที่ A click เลือกที่ ไปที่ A click เลือกที่

ทําการ copy จุดตอสําหรับสรางผนังรับแรงเฉือนดวย (Translational Repeat)

ไปที่ B click เลือกที่ (Nodes Cursor) ที่ B กดปุม mouse ดานซายคางไวแลวลากกรอบเลือกจุดตอ

ไปที่ B click เลือกที่ ไปที่

B

B B

B B B

B

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 226: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222111]]]

B click เลือกที่ (เลือกทิศทางการวางตัวของจุดตอที่กอปป) ไปที่ B click เลือกที่

ไปที่ B click เ ลือกที ่

ไปที่ B click เลือกที ่

ตารางที่ 4.6 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : สรางผนังรับแรงเฉือน (Shear Wall)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 227: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222222]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 228: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222333]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

สรางผนังรับแรงเฉือนดวย (Add Surface)

ไปที่ click เลือก None ทั้งแกน X และแกน Z (เพื่อเคลียรสัญลักษณประจําเสนกริดออกมุมมองจะไดไมรกรุงรัง)

ไปที่ click เลือกที่

ใสผนังรับแรงเฉือน (ในที่นี้ใส 3 ดาน)

ไปที่ click mouse ที่ปุมซายที่จุดตอแรกแลวปลอย mouse เคลื่อน mouse ไปที่ click ที่จุดตอๆไปจนครบดังรูป (ผนังหนึ่งตัวจะ click เลือกทั้งหมด 4 จุดตอ)

ทําการ copy จุดตอสําหรับสรางผนังรับแรงเฉือน (ในสวนข อ ง ฐ า น ร า ก ) ด ว ย (Translational Repeat)

ไปที่ click เลือกที่ (Nodes Cursor) ที click

mouse เลือกจุดตอทั้ง 4 ไปที่

click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่ (เลือกทิศทางการวางตัวของจุดตอที่กอปป) ไปที่ click

เ ลื อ ก ที่ แ ล ะ ที่

ไปที่ click เลือกที่ หมายเหตุ : ในการจําลองโครงสรางดวย Add Plate (ทั้ง 3 และ 4 node) & Add Surface ในแตละ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 229: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222444]]] element ทิศทางของการ click เลือกจุดตอจะตองมีทิศทางไปในแนวเดียวกันคือ อาจจะวนตามเข็มนาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได

ตารางที่ 4.7 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : สรางแผนพื้นชั้นท่ีหนึ่ง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 230: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222555]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

สรางแผนพื้นรูปทรงสามเหลี่ยมใช รูปทรงส่ีเหล่ียมใช

ที่ เพื่อการทํางานที่สะดวกขึ้น ใหยอ-ขยายมุมมองดังกลาวดวยการหมุนปุมกลางของ mouse หรือ click เลือกที่

ที่

click เลือกที่ ที่ และ เคลื่อน mouse ไปที่จุดตอที่จะสรางแผนพื้นโดยการ click mouse ปุมดานซายแลวปลอย จากนั้นเคล่ือน mouse ไปที่จุดตออ่ืนๆ (ทั้งแผนพื้นที่เปนรูปทรงสี่เหล่ียมและทรงสามเหลี่ยม)

ดูผลการจําลองโครงสรางดวยภาพ Render 3D

ไปที่ ที่ tool bar click เลือกที่ (3D Rendered View) จะปรากฎภาพดัง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 231: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222666]]] ตารางที่ 4.8 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : สรางแผนพื้นชั้นท่ีสอง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 232: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222777]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

สรางแผนพื้นชั้นที่สองดวย (Translational Repeat)

ไปที่ click เลือกที่ (Plates Cursor) ไปที่ เลือกแผนพื้นทั้งหมดดวยการ

กดปุม mouse ดานซายคางไวแลวลากกรอบเลือกทั้งหมดดัง

แสดง ไปที่ click เลือกที่

ไปที่ click เลือกที่ (เลือกทิศทางการวางตัวของกลุมแผนพื้นที่กอปป) ไปที่ click เลือกที่

ไ ป ที่ click เ ลื อ ก ที ่

ไปที่ click เลือกที่ จะปรากฎภาพดัง

ดูผลการจําลองดวยภาพ Full Sections 3D

ไปที่ click mouse ปุมดานขวา (บนที่วาง) จากนั้น click เลือกที่ Labels… ที่ click เลือกที่แถบ Structure click เลือก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 233: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222888]]] ตารางที่ 4.9 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : สรางเสาระหวางชั้นหนึ่ง-สองและตอมอ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 234: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222222999]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

สรางเสาระหวางชั้นที่หนึ่งและสองดวย (Add Beams)

ที่ toolbar

click เลือกที่ (Add Beams) ไปที่ click mouse ปุมดานซายที่จุดตอแรกแลวปลอย จากนั้นเคลื่อน mouse ไปที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 235: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333000]]] จุดตอสุดทาย click mouse ปุมดานซายแลวปลอย (เปนการสรางหรือเพิ่มเสาหนึ่งตน)…สรางจนครบทั้ง 7 ตน

ส ร า ง เ ส า ต อ ม อ ด ว ย

ไปที่ click เลือกเสาทั้ง 7 ตน ไป ที่ menu bar click เลือกที่ Geometry ไปที่ click เลือกที่

ไปที่ click เลือกที่

ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ปอนความยาวที่จะยืด ไปที่ click

จะปรากฎเสาตอมอดังภาพ ขั้นตอนที่ 4 กาํหนดจุดรองรับใหกับแบบจาํลองโครงสราง ตารางที่ 4.10 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : ใสจุดรองรับ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 236: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333111]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

เลือกจุดตอ (node) ที่จะใสจุดรองรับ (support)

ที่ tool bar

click เลือกที่ (View From -X) ที่ tool bar

เ ลื อ ก ที่ ไ ป ที่click mouse ปุมดานซายคางไวแลวลากกรอบเลือกจุดตอ

ที่ตองการแลวปลอย

ใสจุดรองรับ (support)

ที่ tool bar click เลือกที่ (Support Page) click เลือกที่ click เลือกที่แถบ Pinned click เลือกที่ จะปรากฎจุดรองรับดังภาพ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 237: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333222]]] ตารางที่ 4.11 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : สรางโครงสรางชั้นสอง...สาม...

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 238: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333333]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

เลือกโครงสรางสวนที่ตองการ (พรอมกันในครั้งเดียว) ดวย (Geometry Cursor)

ไปที่ click เลือกที่มุมมองที่เหมาะสม ไปที่ ที่ tool

bar click เลือกที่ (Geometry Cursor) ไปที่ click mouse ปุมดานซาย

คางไวแลวลากกรอบเลือกดังภาพ

ทําการกอปปดวย

ไปที่ click เลือกที่ ไปที่

click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่

ไ ป ที่ click เ ลื อ ก ที ่

ไปที่ click เลือกที่ จะปรากฎภาพดัง

หมายเหตุ : ในขั้นตอนที่ หากตองการจําลองโครงสรางเปน 4 ช้ัน ใหปอนที่ No of Steps : 3 แตทั้งนี้ทั้งนั้นการกอปปโดยวิธีดังกลาวจะเห็นแตละชุดของการกอปปจะมีระยะหางที่เทากันเสมอ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 239: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333444]]] ขั้นตอนที่ 5 กาํหนดคณุสมบัติหนาตัดของโครงสราง ตารางที่ 4.12 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดขนาดหนาตัดใหกับโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 240: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333555]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

A

B

C

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 241: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333666]]] กําหนดหนาตัดใหกับคาน

โ ด ย วิ ธี ก า ร เ ลื อ ก ที่ Select

(แทนวิธีเดิมที่ใช mouse click เลือกพรอมๆกับกดปุม Ctrl คางไว)

ไปที่ Menu bar เลือกที่ Select ไปที่ - click

เลือกที่ (จะไดกลุมคานที่ขนานแกน X)…เลือกคานกลุมที่ขนานแกน Z โดย กดปุม Ctrl คางไวแลวไปที่ , - click เลือกที่

จะปรากฎภาพดัง

กําหนดขนาดหนาตัดเปน คสล. 0.15x0.35 m.

ไปที่ ที่ tool bar click เลือกที่

(Property Page) ไปที่ click เลือกที่ Define… ไปที่click เลือกที่ ไปที่ เลือกที่

และปอนคา ไปที่ click เลือกที่

การไมใหแสดงชื่อหรือสัญลักษณแสดงขนาดหนาตัด

ที่ Aที่ toolbar

click เลือกที่ (Symbols and Labels) ไปที่ B click เลือกที่ None ไปที่ C click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 242: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333777]]] ตารางที่ 4.13 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดขนาดหนาตัดใหกับโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 243: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333888]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดหนาตัดใหกับเสา โ ด ย วิ ธี ก า ร เ ลื อ ก ที่ Select

ไปที่ Menu bar เลือกที่ Select ไปที่ - click

เลือกที่ (จะไดกลุมเสาที่ขนานแกน Y) จะปรากฎเสาดังภาพ

กําหนดขนาดหนาตัดเปนเสากลม คสล. เสนผาศูนยกลาง 0.20 m.

ไปที่ ที่ tool bar click เลือกที่

(Property Page) ไปที่ click เลือกที่ Define… ไปที่

click เลือกที่ ไปที่ เลือกที่ และปอนคา ไปที่ click เลือกที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 244: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222333999]]] ตารางที่ 4.14 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดขนาดหนาตัดใหกับโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 245: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444000]]] ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดหนาตัดใหกับแผนพื้น คสล. หนา 0.15 m.

ไปที่ ที่ tool bar

click เลือกที่ (Plates Cursor) ไปที่ click mouse ปุมดานซายคางไวแลวลากกรอบเลือกดังภาพ ไปที่ ที่

tool bar click เลือกที่ (Property Page) ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click

เลือกที่ ไปที่ เลือกที่

และปอนคาที่ ไปที่click เลือกที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 246: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444111]]] ตารางที่ 4.15 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดขนาดหนาตัดใหกับโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 247: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444222]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข

อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดหนาตัดใหกับผนังรับแรงเฉือน คสล. หนา 0.20 m.

ไปที่ ที่ tool bar click เลือกที่ (Surface Cursor) ไปที่ click mouse ปุมดานซายคางไวแลวลากกรอบเลือกดังภาพ ไปที่ ที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 248: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444333]]]

tool bar click เลือกที่ (Property Page) ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click

เลือกที่ ไปที่ เลือกที่ และปอนคาที่ ไปที่ click เลือกที่

ความรูเสริม : ในการกําหนดน้ําหนักบรรทุก (แรงกระทํา) ใหกับชิ้นสวนที่เราจําลอง โดยเฉพาะชิ้นสวนที่เราจําลองดวย plate และ surface จะตองระวังคอนขางมากในเรื่องของทิศทาง ซ่ึงจะตองสัมพันธกันระหวางทิศทางชิ้นสวนทั้งสอง (ซ่ึงก็คือการวางตัวของแกนอางอิงของชิ้นสวนหรือก็คือ Local Axis) และทิศทางของแรงที่กระทํา (ซ่ึงก็คือจะกําหนดใหเปนบวกหรือลบนั้นเอง รวมถึงระบบแกนอางอิงดวย) ซ่ึงหากไมระมัดระวังก็อาจจะเกิดปญหาบาง (แตก็แกไขไดซ่ึงอาจเสียเวลาเล็กนอย...ดังในตัวอยางนี้) วิธีปองกันและแกไขทําไดดังนี้ ในการขึ้นรูปใหเลือกจุดตอ (node) ในลักษณะวนทวนเข็มนาฬิกาเสมอ (ทิศทางของทุกชิ้นสวนจะไดเปนไปในแนวเดียวกัน) ผลก็คือแกนอางอิงของชิ้นสวนนั้นๆจะมีทิศทางพุงออกจากหนาระนาบตามกฎมือขวาไมวาระนาบจะมีการหมุนเอียงอยางไรก็ตาม (ขอสังเกตในสวนของ plate แกนอางอิงจะอยูบริเวณกลางระนาบ สวน surface แกนอางอิงจะอยูที่จุดตอแรก )

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 249: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444444]]]

การกําหนดทิศทางของแรงที่กระทํา หากแรงที่กระทํากดลงบนชิ้นสวน (ซ่ึงมีทิศทางตรงขามกับทิศทางของแกน Z) จะตองใสเครื่องหมายลบใหกับคาที่ระบุ นอกจากนี้ตองไมลืมวาแรงที่กระทําตองอิงตามระบบแกนดวยซ่ึงตองระบุใหชัดเจน อยางเชนในกรณีของ

ช้ินสวนที่จําลองวางตัวอยูในแนวเอียง แรงที่กระทําหากทําตั้งฉากกับระนาบเอียงนั้นตองระบุวาการกระทําดังกลาวเปนไปตามแกน Local Axis แตถาหากไมตั้งฉากตองระบุวาการกระทําดังกลาวเปนไปตามแกน Local Axis

แตถาชิ้นสวนที่จําลองวางในแนวราบก็ไมตองพิจารณาอะไรเปนพิเศษ ขั้นตอนที่ 6 กาํหนดน้ําหนกับรรทุกที่มากระทํา ตารางที่ 4.16 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดกรณีของน้ําหนักท่ีมากระทํา

กําหนดกรณีของน้ําหนักบรรทุกในสวนของหนักบรรทุกจร

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 250: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444555]]]

F

E

C B A

D

H G

กําหนดกรณีของน้ําหนักบรรทุกในสวนของ Combine Load

กําหนดกรณีของน้ําหนักบรรทุกในสวนของหนักบรรทุกตายตัว

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 251: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444666]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดรูปแบบของน้ําหนักบรรทุกโดยแบงเปน 3 กรณีคือ 1.Load Case 1 : DL 2.Load Case 2 : LL 3.Load Case 3 : 0.75(DL+LL)

ไป click เลือกที่ General Load click เลือกที่ click เลือกที่

[1.Load Case 1 : LL] ที่ Number (หรือ Load Cases) ใหปอน 1 ที่ Title

(หรือช่ือของ Load Cases) ใหปอน LL ที่ Loading Type ให click ที่ แลวเลือก Live click ที่ [2.Load Case 2 : DL]

ที่ Number (หรือ Load Cases) ใหปอน 2 ที่ Title (หรือช่ือของ Load Cases) ใหปอน DL ที่ Loading Type ให click ที่ แลวเลือก Dead click ที่ [3.Load Case 3 : 0.75(DL+LL)]

ที่ A เลือก ที่ B Load No : (หรือ Load Cases) ใหปอน 3 ที่ C Name (หรือช่ือของ Load Cases) ใหปอน 0.75(DL+LL) ที่ D Type ให click ที่ ที่ E ใหปอน 0.75 ที่ F click ที่

ที่ G click ที่ ที่ H click ที่

หมายเหตุ : น้ําหนักบรรทุกที่กระทําในที่นี้เปนเพียงคาสมมติเทานั้น ในทางปฎิบัติจริงการแบงกรณีของน้ําหนักบรรทุกที่กระทําตอโครงสรางควร (จะตอง) แบงตามมาตรฐาน (หรือขอกําหนด) ที่ใชอางอิงในการออกแบบ สวนคาของน้ําหนักบรรทุกที่กระทําในแตละกรณีจะตองใชเวลา (อยูบาง) ในการอานแบบหรือกดเครื่องคิดเลขขางนอกกอนการปอนคา เชน น้ําของหนักผนัง, วัสดุตก-แตง, งานระบบฝาเพดาน, งานระบบไฟฟา-พัดลม-ประปา-แอร-ดับเพลิง-ถังน้ํา-จานรับสัญญาณดาวเทียม-ระบบเสาสงสัญญาณ ลฯ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 252: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444777]]] ตารางที่ 4.17 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดคาในแตละกรณีของน้ําหนักท่ีมากระทํา

การปอนคาน้ําหนักบรรทุกจรในสวนของแผนพื้นที่จะรับ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 253: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444888]]]

การปอนคาน้ําหนักบรรทุกจรในสวนของแรงกระทําดานขางตอจุดตอ

การปอนคาน้ําหนักบรรทุกตายตัวในสวนของน้ําหนักตายตัวโครงสรางเอง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 254: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222444999]]]

การปอนคาน้ําหนักบรรทุกตายตัวในสวนของคานที่จะรับ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 255: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555000]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กํ า หนดค า ข อ งน้ํ า หนั ก

บรรทุกโดย 1. Load Case 1 : LL 1.1 นน. แผกระจายเต็มพื้นที่ 1,000 kg./m.2

1.2 นน. ที่จุดตอ 1,500 kg. 2. Load Case 2 : DL 2.1 นน. ตัวเอง 2.2 นน. แผกระจายเต็มชวง 500 kg./m.

[1.Load Case 1 : LL] 1.1 ในสวนของน้ําหนักแผกระจายเต็มพื้นท่ี (1,000 kg./m.2)

ไป click เลือกที่ click จะปรากฎกรอบ dialog box Add New : Load

Items ที่ dialog box Add New : Load Items click เลือกที่ ที่ชอง Force ปอน -1,000 kg./m. ที่ Direction ให click ที่ Local Z click click

1.2 ในสวนของน้ําหนักท่ีจุดตอ (1,500 kg.) ที่ dialog box Add New : Load Items click เลือกที่

เมื่อกําหนดแลวเสร็จจะปรากฎดังภาพนี้

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 256: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555111]]] - ปอน FX = 1,500

kg. ที่ click ที่ click [2.Load Case 2 : DL] 2.1 ในสวนของน้ําหนักของตัวโครงสรางเอง

ไป click เลือกที่ click จะปรากฎกรอบ dialog box Add New : Load

Items click เลือกที่ ที่ชอง Factor ปอน -1 ที่ Direction ให click ที่ Y ที่ click ที่ click

2.2 ในสวนของน้ําหนักแผกระจายเต็มชวง (500 kg./m.) ที่ dialog box Add New : Load Items click เลือกที่

ที่ชอง Force ปอน -500 kg./m. ที่ Direction ให click ที่ GY click

ที่ click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 257: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555222]]] ตารางที่ 4.18 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดคาในแตละกรณีของน้ําหนักท่ีกระทํา ในสวนของ plate กอนกําหนดคาตองจัดทิศทางของแนวแกนใหสัพันธกับทิศทางของแรงกอน

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 258: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555333]]]

B A

A

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 259: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555444]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

จัดทิศทางของแผนพื้น (ทั้งนี้เนื่องจากทิศทางของแรงในสวนของ Plate Loads ที่เรากําหนดไวคือ -1,000 นั้นหมายความวาทิศทางของแรงตองกระทําในทิศทางตรงกันขามกับแกน Z ของแกนอางอิงของแผนพื้นซึ่งเปนแกน Local Axis)

ไปที่ click mouse ปุมขวาบนพื้นที่วางๆ ไปที่click เลือกที่ Labels… ไปที่ click เลือกที่

ไปที่ click จะปรากฎแกนอางอิงดังภาพ ที่ click เลือก Commands ไปที่ click เลือก ไปที่ click เลือก ไปที่ A click เลือก

ไปที่ A click เลือก

ไปที่ B click เลือก ไปที่ B click

เลือก ซ่ึงจะปรากฎภาพดัง C

C

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 260: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555555]]] ตารางที่ 4.19 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดคาในแตละกรณีของน้ําหนักท่ีกระทํา

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดคาใหกับแผนพื้นโดย

การใช

ไ ป ที click เลือกที่ (Plates Cursor) ไปที่ click mouse ปุมดานซายคางไวแลวลากกรอบเลือกทั้งโครงสราง ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่

ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ จะปรากฎกรอบ dialog box ก็ให click

เลือกที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 261: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555666]]] ตารางที่ 4.20 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดคาในแตละกรณีของน้ําหนักท่ีกระทํา

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดคาที่กระทําตอจุดตอ

(node) โดยการใช

ไ ป ที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกจุดตอที่ตองการ (อยาลืมกดปุม Ctrl คางไวดวย) ไปที่ click เลือกที่

ไปที่ click เลือกที่ ไปที่

ที่ จะปรากฎกรอบ dialog box ก็ให click เลือกที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 262: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555777]]] ตารางที่ 4.21 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : กําหนดคาในแตละกรณีของน้ําหนักท่ีกระทํา

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดคาที่กระทําตอคาน

โดยการใช

ไ ป ที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกคานที่ตองการ (หาก click mouse เลือกก็อยาลืมกดปุม Ctrl คางไวดวย หรืออาจเลือกดวยคําสั่งจาก Menu bare คือ Select Beams Parallel To…)

ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่ ไปที่

ที่ จะปรากฎกรอบ dialog box ก็ให click เลือกที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 263: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555888]]] ความรูเสริม : ในการกําหนดน้ําหนักบรรทุก (แรงกระทํา) หากตองการใหแสดงตัวเลขของแรงที่กระทํา (นอกเหนือจากรูปลูกศร) ทําไดดังนี้ ให click mouse ปุมขวาบริเวณที่วางของ Main Window จะปรากฎ หนาตาง pop up ขึ้นมาก็ให click เลือกที่ Labels…จากนั้นจะปรากฏ dialog box ของ Diagrams ไปที่แถบของ Labels ในสวนของ Loading Display Option ให click ที่ Load Values (V) click Apply

หรือโดยวิธีลัดคือที่ Toolbar

ให click เลือกที่ จะปรากฏ dialog box ของ Diagrams ไปที่แถบของ Labels ในสวนของ Loading Display Option ให click ที่ Load Values (V) click Apply

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 264: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222555999]]] ขั้นตอนที่ 7 ทําการวิเคราะหและออกแบบ ความรูเสริม : แนะนําวากอนการวิเคราะหโครงสรางควรมีการตรวจสอบแบบจําลองกอนเสมอ โดยในโปรแกรมชุดนี้ไดสรางชุดเครื่องไมเครื่องมือ (Tools) มาชวยทําการตรวจสอบโครงสรางที่เราจําลองขึ้นมา ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการชวยลดปญหาตางๆ (ซ่ึงอาจเกิดขึ้นในขั้นตอนของการวิเคราะหได) รวมไปถึงปญหาที่เกิดจากตัวผูใชซ่ึงไมปฎิบัติไปตามกรอบของโปรแกรมที่วางไว อาจจะตั้งใจหรือไมตั้งใจหรือไมรู (รูเทาไมถึงการณ....ใชๆๆๆอยางเดียว) ซ่ึงสามารถทําไดดังนี้ ทางตรงที่สุดก็โดยการใชคําสั่ง Tools ใน Menu bare วิธีการใชกแ็สนสะดวกคือ click เลือกที่คําสั่งโดยตรงแลวโปรแกรมจะตรวจสอบให (เรามีสวนรวมบาง...แตนอย)

ทางออมโดยการตรวจสอบ (แอบหรือขโมยดู) ดูวาแบบจําลองโครงสรางมีการกําหนดองคประกอบตางๆครบแลวหรือไม ซ่ึงผมมองเห็นอยู 2 ชองทางคือ

โดยการเขาไปดูรายละเอียดในสวนของ Setup โดยการใชคําสั่งใน Menu bare Select By Missing Attributes…

วิธีการใชก็แสนสะดวกเชนเดิมแคเพียง click แลวรอการรายงานผล

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 265: 9378161 staad pro

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666000]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

2005 Training

Page 266: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666111]]] ตารางที่ 4.22 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การกําหนดวิธีการวเิคราะหและออกแบบ

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่ กําหนดรูปแบบของการ

วิเคราะหโครงสราง (ในที่นี้เลือกการวิเคราะหแบบปกติทั่วไปคือ Linear Static Analysis)

ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่Perform Analysis ที่ Print Option click เลือกที่

หรือ (แนะนํากรณีหลัง) ไปที่ click ไปที่ click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 267: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666222]]] ตารางที่ 4.23 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การกําหนดวิธีการวเิคราะหและออกแบบ

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดรูปแบบของการพิมพขอมูลตางๆของโครงสรางที่จําลองขึ้น (กอนการวิเคราะหและออกแบบ)

ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่

แถบ ไปที่ click ไปที่click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 268: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666333]]] ตารางที่ 4.24 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การกําหนดวิธีการวเิคราะหและออกแบบ

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

กําหนดรูปแบบของการพิมพขอมูลตางๆของโครงสรางที่ไดจากการวิเคราะหและออกแบบ

ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่แถบ

ไปที่ click (เพื่อเลือก load case ทั้งหมด) ไปที่ click ไปที่ click เลือกที่แถบ click ไปที่

click

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 269: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666444]]] ตารางที่ 4.25 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การกําหนดวิธีการวเิคราะหและออกแบบ

B

เปนสวนของการกําหนดการออกแบบแผนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก

A

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 270: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666555]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ออกแบบแผนพื้นโดยกําหนดรู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร อ อ ก แ บ บโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยคา parameter ตางๆใชตามม าตรฐ านก า รออกแบบต าม default ของโปรแกรมคือ ACI-

ไปที click เลือกที่ (Plates Cursor) ไปที่ click เลือกที่แผนพื้นที่จะ

ออกแบบ ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่click เลือกที่แถบ ไปที่ A click

จะปรากฎกรอบ dialog box Design Commands

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 271: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666666]]] 318 (2002)

ขึ้นมา ไปที่ click ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click

(กอนทําขั้นตอนตอไป ใหเปลี่ยนหนวยของความยาวกอนจากเดิมคือ m. เปลี่ยนเปน cm. เพราะหนวยของ stress ที่จะกําหนดคือ kg./cm.2) ไปที่ B click

จะปรากฎกรอบ dialog box Designs Parameters ข้ึนมาให click ที่ ปอนคา 65 ksc. แลว click

ไป click ที่ ปอนคา 2,400 ksc. แลว click ไป click ที่

ตารางที่ 4.26 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การกําหนดวิธีการวเิคราะหและออกแบบ

เปนสวนของการกําหนดการออกแบบผนังรับแรงเฉือยคอนกรีตเสริมเหล็ก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 272: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666777]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 273: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666888]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ออกแบบผนังรับแรงเฉือนโดยกําหนดรูปแบบของการออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กโดยคา parameter ตางๆใชตามม าตรฐ านก า รออกแบบต าม default ของโปรแกรมคือ ACI-318 (2002)

ไปที click เลือกที่ (Surface Cursor) ไปที่ click เลือกที่ผนังรับแรง

เฉือนที่จะออกแบบ ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่ click

จะปรากฎกรอบ dialog box Design Commands ขึ้นมา ไปที่ click เลือกที่แถบ แลว

click ไปที่ click จะปรากฎกรอบ dialog box Designs Parameters ขึ้นมาให click ที่

ปอนคา 65 ksc. แลว click ไป click ที่ ปอนคา 2,400 ksc. แลว click

ไป click ที่ เลือกที่ ไป click ที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 274: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222666999]]] ตารางที่ 4.27 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การกําหนดวิธีการวเิคราะหและออกแบบ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 275: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777000]]]

B

หากการจําลองโครงสรางตลอดจนการกําหนดคาตางๆไมมีปญหาเมื่อโปรแกรมทําการประมวลผลแลวเสร็จก็จะปรากฎกรอบ dialog box ดังภาพนี ้

A

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 276: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777111]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ส่ังใหโปรแกรมรัน

ไปที่ click เลือกที่ ไปที่click เลือกที่ ไปที่click เลือกที่ (จากนั้นจะปรากฎหนาตางแสดง

การรันของโปรแกรม...เมื่อหยุดรัน) ไปที่ click เลือกที่

(เพื่อตองการดูผลของการวิเคราะหและออกแบบ) ไปที่ click ไปที่ A (เพื่อเลือก load case ที่จะใหแสดงผล ซ่ึงปกติโปรแกรมจะเลือกใหทั้งหมดอยูแลว ก็ไมตองทําอะไร) ไปที่ B click ที่ ก็จะปรากฎหนาตางการแสดงผลดังภาพ

ซ่ึงตาม default จะแสดงเสนการเสียรูปใหเสมอ หมายเหตุ : หากตองการใหแสดงผลเปนแรง (แรงภายใน) ก็ให click เลือกที่ปุมใน tool bar ดัง

ขางลางนี้ (โดย Fx = axial force, Fy

& Fz = shear force, Mx & My = torsional moment, Mz = bending moment, Beam Stress,

เมื่อโปรแกรมทําการประมวลผลแลวเสร็จก็จะปรากฎดังภาพนี้

แสดงผลอยูในรูปของตารางขอมูล

แสดงผลอยูในรูปของกราฟก

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 277: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777222]]] PlateStress) รวมกับแถบเครื่องมือ

ขั้นตอนที่ 8 การแสดงผลการวิเคราะหและออกแบบ ตารางที่ 4.28 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การแสดงผลทาง graphic ท้ังโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 278: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777333]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

แ ส ด ง ก า ร เ สี ย รู ป ข อ งโครงสรางทั้งหมด โดยการปรับแตงให เห็นการเสีย รูปที่ชัดเจนขึ้น

กอนอื่นใหขยายหนาตางใหเต็มพื้นที่โดยการ click ที่

จากนั้นไปที่ click เลือกที่

(Deflection) จ า ก นั้ น ไ ป ที่

click เลือกที่ (Scale) ไปที่ click เลือกที่

ไปที่ click เ ลื อกที่ แ ถบ ไปที่ click เลือกที่

แ ส ด ง ก า ร เ สี ย รู ป ข อ งโครงสรางในสวนของแผนพื้นและผนังรับแรงเฉือน

ไปที่ click เลือกที่ หรือ (จะแสดงผลเหมือนกัน) ที่แถบ Plate Stress Contour ไปที่

click เลือกที่ ไปที่ click เลือกที่แถบ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 279: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777444]]] ไปที่ click เลือกที่

ตารางที่ 4.29 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การแสดงผลทาง graphic ท้ังโครงสราง

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 280: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777555]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 281: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777666]]]

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

ก า ร แ ส ด ง ผ ล เ ป นภ า พ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ข อ ง ทั้ งโครงสรางในสวนของการเสียรูป

ไปที่ click เลือกที่ (Scale) ไปที่ click เลือกที่แถบ

ไปที่ click เลือกที่แถบ ไปที่

click เลือกที่ ไปที่ click ที่

ก า ร แ ส ด ง ผ ล เ ป นภ า พ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ข อ ง ทั้ งโครงสรางในสวนของของการเกิด stress

ไปที่ ที่แถบ Plate Stress Contour ไปที่ click เลือกที่ และชนิดของ stress

(ตามตองการ) ไปที่click เลือกที่แถบ ไปที่ click เลือกที่

ไปที่ click ที่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 282: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777777]]] ตารางที่ 4.30 โครงขอแขง็ 3 มิติ (Space Frame) : การแสดงผลทาง graphic ท้ังโครงสราง

ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่ การแสดงผลการวิเคราะห

ทางกราฟกในสวนของโมเมนตดัดในคานและเสาและการแสดงคาเชิงตัวเลขกํากับ

ไปที่ Menu bar click เลือกที่ Results ไปที่ click เลือกที่แถบ View Value… ไปที่ click เลือกที่แถบ Ranges เลือกที่ All ไปที่ click เลือกที่แถบ Beam

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 283: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777888]]]

Results click เลือกที่ ไปที่ click ที่

ตารางที่ 4.31 โครงขอแข็ง 3 มิติ (Space Frame) : แสดงผลการออกแบบ

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 284: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222777999]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 285: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888000]]] ลําดับการทํางานตามหมายเลข อธิบายเสริม + รูปแบบคําสัง่

การแสดงผลการวิเคราะหทาง graphic ของแตละชิ้นสวน (member) ในสวนของคานโครงสรางเหล็กรูปพรรณ

ที่ click เลือกที่แถบ (STAAD Output)…จากนั้นก็เล่ือนดูผลการวิเคราะหและออกแบบดวยการหมุนที่ปุมกลางของ mouse

โดยที่ เปนผลการออกแบบแผนพื้น โดยที่ เปนผลการออกแบบผนังรับแรงเฉือน

ความรูเสริม : ในตัวอยางนี้ในขั้นตอนของการจําลองแผนพื้นโดยใช plate element หากตองการผล (การวิเคราะห) ที่ละเอียดขึ้น จะตองทําการสรางโครงรางแห (โดยใชคําสั่ง generate mesh) ใหกับทุกแผนพื้น (ตาม default ของโปรแกรมปกติจะแบงใหโดยอัตโนมัติคือขนาด 10 x 10 ชองตอ 1 plate) แต...จะตองทําใจในเรื่องของระยะเวลาที่ใชในการวิเคราะหและการแสดงผลตางๆ (โดยเฉพาะการแสดง stress) ทําไดโดย

เลือกแผนพื้นที่จะซอยเปนรางแห click mouse ปุมดานขวามือ ปรากฎ pop up ใหเลือกที่ Generate Mesh

เลือกที่ ...ซ่ึงคือรางแหทรงสี่เหล่ียม จากนั้นจะปรากฎ dialog box ดังภาพขางลาง...ให click ที่ Apply

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 286: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888111]]]

ขอเปรียบเทียบ : ผลท่ีไดจากการทํา Generate Mesh

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 287: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888222]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 288: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888333]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 289: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888444]]] ขอเปรียบเทียบ : ผลท่ีไดจากการไมทํา Generate Mesh

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 290: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888555]]]

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 291: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888666]]] สรุปขอมูลท้ัง Input และ Output Input แสดงคําสั่ง Command File ท่ีสรางโดย STAAD Editor ขณะจําลองโครงสราง Output แสดงผลขอมูลผลการวิเคราะหและออกแบบ

แสดงคาํสั่ง Command File ท่ีสรางโดย STAAD Editor ขณะจําลองโครงสราง

STAAD SPACE START JOB INFORMATION ENGINEER DATE 02-Feb-07 END JOB INFORMATION INPUT WIDTH 79 UNIT METER KG JOINT COORDINATES 1 1 0 2; 2 1 0 6; 3 1 0 10; 4 2 0 1; 5 2 0 2; 6 2 0 6; 7 2 0 10; 8 2 0 11; 9 6 0 1; 10 6 0 2; 11 6 0 4; 12 6 0 6; 13 6 0 10; 14 6 0 11; 15 8 0 4; 16 8 0 6; 17 10 0 1; 18 10 0 2; 19 10 0 4; 20 10 0 6; 21 10 0 10; 22 10 0 11; 23 11 0 2; 24 11 0 6; 25 11 0 10; 26 1 4 2; 27 1 4 6; 28 1 4 10; 29 2 4 1; 30 2 4 2; 31 2 4 6; 32 2 4 10; 33 2 4 11; 34 6 4 1; 35 6 4 2; 36 6 4 4; 37 6 4 6; 38 6 4 10; 39 6 4 11; 40 8 4 6; 41 10 4 1; 42 10 4 2; 43 10 4 4; 44 10 4 6; 45 10 4 10; 46 10 4 11; 47 11 4 2; 48 11 4 6; 49 11 4 10; 50 8 4 4; 51 2 -1 2; 52 2 -1 6; 53 6 -1 2; 54 2 -1 10; 55 10 -1 2; 56 10 -1 6; 57 6 -1 10; 58 10 -1 10; 59 1 8 2; 60 1 8 6; 61 1 8 10; 62 2 8 1; 63 2 8 2; 64 2 8 6; 65 2 8 10; 66 2 8 11; 67 6 8 1; 68 6 8 2; 69 6 8 4; 70 6 8 6; 71 6 8 10; 72 6 8 11; 73 8 8 6; 74 10 8 1; 75 10 8 2; 76 10 8 4; 77 10 8 6; 78 10 8 10; 79 10 8 11; 80 11 8 2; 81 11 8 6; 82 11 8 10; 83 8 8 4; 84 6 -1 4; 85 6 -1 6; 86 8 -1 4; 87 8 -1 6; MEMBER INCIDENCES 1 4 5; 2 5 6; 4 7 8; 5 1 5; 6 5 10; 7 10 18; 8 18 23; 9 17 18; 10 18 19; 11 20 21; 12 21 22; 13 3 7; 15 13 21; 16 21 25; 17 2 6; 18 6 12; 20 20 24; 21 9 10; 22 10 11; 23 12 13; 24 13 14; 26 16 20; 55 19 20; 56 6 7; 57 7 13;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 292: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888777]]] 58 29 30; 59 30 31; 60 32 33; 61 26 30; 62 30 35; 63 35 42; 64 42 47; 65 41 42; 66 42 43; 67 44 45; 68 45 46; 69 28 32; 70 38 45; 71 45 49; 72 27 31; 73 31 37; 74 44 48; 75 34 35; 76 35 36; 77 37 38; 78 38 39; 79 40 44; 80 43 44; 81 31 32; 82 32 38; 117 30 5; 118 32 7; 119 38 13; 121 44 20; 122 42 18; 123 35 10; 125 31 6; 126 45 21; 127 5 51; 128 6 52; 129 10 53; 130 7 54; 131 18 55; 132 20 56; 133 13 57; 134 21 58; 135 62 63; 136 63 64; 137 65 66; 138 59 63; 139 63 68; 140 68 75; 141 75 80; 142 74 75; 143 75 76; 144 77 78; 145 78 79; 146 61 65; 147 71 78; 148 78 82; 149 60 64; 150 64 70; 151 77 81; 152 67 68; 153 68 69; 154 70 71; 155 71 72; 156 73 77; 157 76 77; 158 64 65; 159 65 71; 160 63 30; 161 65 32; 162 71 38; 163 77 44; 164 75 42; 165 68 35; 166 64 31; 167 78 45; ELEMENT INCIDENCES SHELL 83 6 12 10 5; 84 11 19 18 10; 85 15 16 20 19; 86 12 13 21 20; 87 6 7 13 12; 88 10 9 4 5; 89 10 18 17 9; 90 20 24 23 18; 91 20 21 25 24; 92 4 1 5; 93 17 23 18; 94 22 25 21; 95 3 8 7; 96 1 2 6 5; 97 2 3 7 6; 98 13 14 22 21; 99 13 7 8 14; 100 31 37 35 30; 101 36 43 42 35; 102 50 40 44 43; 103 37 38 45 44; 104 31 32 38 37; 105 35 34 29 30; 106 35 42 41 34; 107 44 48 47 42; 108 44 45 49 48; 109 29 26 30; 110 42 47 41; 111 46 49 45; 112 28 33 32; 113 26 27 31 30; 114 27 28 32 31; 115 38 39 46 45; 116 38 32 33 39; 168 64 70 68 63; 169 69 76 75 68; 170 83 73 77 76; 171 70 71 78 77; 172 64 65 71 70; 173 68 67 62 63; 174 68 75 74 67; 175 77 81 80 75; 176 77 78 82 81; 177 62 59 63; 178 75 80 74; 179 79 82 78; 180 61 66 65; 181 59 60 64 63; 182 60 61 65 64; 183 71 72 79 78; 184 71 65 66 72; SURFACE INCIDENCE 36 50 15 11 SURFACE 1 50 40 16 15 SURFACE 2 40 37 12 16 SURFACE 3 69 83 50 36 SURFACE 4 83 73 40 50 SURFACE 5 73 70 37 40 SURFACE 6

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 293: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888888]]] 11 15 86 84 SURFACE 7 15 16 87 86 SURFACE 8 16 12 85 87 SURFACE 9 ELEMENT PROPERTY 83 TO 116 168 TO 184 THICKNESS 0.15 DEFINE MATERIAL START ISOTROPIC CONCRETE E 2.21467e+009 POISSON 0.17 DENSITY 2402.62 ALPHA 1e-005 DAMP 0.05 END DEFINE MATERIAL MEMBER PROPERTY JAPANESE 1 2 4 TO 13 15 TO 18 20 TO 24 26 55 TO 82 135 TO 159 PRIS YD 0.35 ZD 0.15 MEMBER PROPERTY JAPANESE 117 TO 119 121 TO 123 125 TO 134 160 TO 167 PRIS YD 0.2 SURFACE PROPERTY 1 TO 9 THICKNESS 0.2 CONSTANTS MATERIAL CONCRETE MEMB 1 2 4 TO 13 15 TO 18 20 TO 24 26 55 TO 119 121 TO 123 - 125 TO 184 SURFACE CONSTANTS MATERIAL CONCRETE LIST 1 TO 9 SUPPORTS 51 TO 58 84 TO 87 PINNED LOAD 1 LOADTYPE Live TITLE LL ELEMENT LOAD 83 TO 116 168 TO 184 PR -1000 JOINT LOAD 1 2 26 27 59 60 FX 1500

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 294: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222888999]]] LOAD 2 LOADTYPE Dead TITLE DL SELFWEIGHT Y -1 MEMBER LOAD 1 2 4 TO 13 15 TO 18 20 TO 24 26 55 TO 82 135 TO 159 UNI GY -500 LOAD COMB 3 0.75(DL+LL) 1 0.75 2 0.75 PERFORM ANALYSIS PERFORM ANALYSIS PRINT STATICS CHECK PRINT PROBLEM STATISTICS LOAD LIST ALL PRINT ANALYSIS RESULTS START CONCRETE DESIGN CODE ACI DESIGN ELEMENT 100 TO 116 UNIT CM KG FC 65 MEMB 100 TO 116 FYMAIN 2400 MEMB 100 TO 116 END CONCRETE DESIGN START SHEARWALL DESIGN CODE ACI DESIGN SHEARWALL ALL FC 65 ALL FYMAIN 2400 ALL TWO 1 ALL END SHEARWALL DESIGN FINISH

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 295: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999000]]]

Output แสดงผลขอมูลผลการวิเคราะหและออกแบบ

**************************************************** * * STAAD.Pro * Version 2005 Bld 1001.US * Proprietary Program of * Research Engineers, Intl. * Date= FEB 5, 2007 * Time= 7:53:12 * * USER ID: **************************************************** 1. STAAD SPACE INPUT FILE: Space Frame.STD 2. START JOB INFORMATION 3. ENGINEER DATE 02-FEB-07 4. END JOB INFORMATION 5. INPUT WIDTH 79 6. UNIT METER KG 7. JOINT COORDINATES 8. 1 1 0 2; 2 1 0 6; 3 1 0 10; 4 2 0 1; 5 2 0 2; 6 2 0 6; 7 2 0 10; 8 2 0 11 9. 9 6 0 1; 10 6 0 2; 11 6 0 4; 12 6 0 6; 13 6 0 10; 14 6 0 11; 15 8 0 4 10. 16 8 0 6; 17 10 0 1; 18 10 0 2; 19 10 0 4; 20 10 0 6; 21 10 0 10; 22 10 0 11 11. 23 11 0 2; 24 11 0 6; 25 11 0 10; 26 1 4 2; 27 1 4 6; 28 1 4 10; 29 2 4 1 12. 30 2 4 2; 31 2 4 6; 32 2 4 10; 33 2 4 11; 34 6 4 1; 35 6 4 2; 36 6 4 4 13. 37 6 4 6; 38 6 4 10; 39 6 4 11; 40 8 4 6; 41 10 4 1; 42 10 4 2; 43 10 4 4 14. 44 10 4 6; 45 10 4 10; 46 10 4 11; 47 11 4 2; 48 11 4 6; 49 11 4 10; 50 8 4 4

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 296: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999111]]] 15. 51 2 -1 2; 52 2 -1 6; 53 6 -1 2; 54 2 -1 10; 55 10 -1 2; 56 10 -1 6 16. 57 6 -1 10; 58 10 -1 10; 59 1 8 2; 60 1 8 6; 61 1 8 10; 62 2 8 1; 63 2 8 2 17. 64 2 8 6; 65 2 8 10; 66 2 8 11; 67 6 8 1; 68 6 8 2; 69 6 8 4; 70 6 8 6 18. 71 6 8 10; 72 6 8 11; 73 8 8 6; 74 10 8 1; 75 10 8 2; 76 10 8 4; 77 10 8 6 19. 78 10 8 10; 79 10 8 11; 80 11 8 2; 81 11 8 6; 82 11 8 10; 83 8 8 4; 84 6 -1 4 20. 85 6 -1 6; 86 8 -1 4; 87 8 -1 6 21. MEMBER INCIDENCES 22. 1 4 5; 2 5 6; 4 7 8; 5 1 5; 6 5 10; 7 10 18; 8 18 23; 9 17 18; 10 18 19 23. 11 20 21; 12 21 22; 13 3 7; 15 13 21; 16 21 25; 17 2 6; 18 6 12; 20 20 24 24. 21 9 10; 22 10 11; 23 12 13; 24 13 14; 26 16 20; 55 19 20; 56 6 7; 57 7 13 25. 58 29 30; 59 30 31; 60 32 33; 61 26 30; 62 30 35; 63 35 42; 64 42 47; 65 41 42 26. 66 42 43; 67 44 45; 68 45 46; 69 28 32; 70 38 45; 71 45 49; 72 27 31; 73 31 37 27. 74 44 48; 75 34 35; 76 35 36; 77 37 38; 78 38 39; 79 40 44; 80 43 44; 81 31 32 28. 82 32 38; 117 30 5; 118 32 7; 119 38 13; 121 44 20; 122 42 18; 123 35 10 29. 125 31 6; 126 45 21; 127 5 51; 128 6 52; 129 10 53; 130 7 54; 131 18 55 30. 132 20 56; 133 13 57; 134 21 58; 135 62 63; 136 63 64; 137 65 66; 138 59 63 31. 139 63 68; 140 68 75; 141 75 80; 142 74 75; 143 75 76; 144 77 78; 145 78 79 32. 146 61 65; 147 71 78; 148 78 82; 149 60 64; 150 64 70; 151 77 81; 152 67 68 33. 153 68 69; 154 70 71; 155 71 72; 156 73 77; 157 76 77; 158 64 65; 159 65 71 34. 160 63 30; 161 65 32; 162 71 38; 163 77 44; 164 75 42; 165 68 35; 166 64 31 35. 167 78 45 36. ELEMENT INCIDENCES SHELL 37. 83 6 12 10 5; 84 11 19 18 10; 85 15 16 20 19; 86 12 13 21 20; 87 6 7 13 12 38. 88 10 9 4 5; 89 10 18 17 9; 90 20 24 23 18; 91 20 21 25 24; 92 4 1 5 39. 93 17 23 18; 94 22 25 21; 95 3 8 7; 96 1 2 6 5; 97 2 3 7 6; 98 13 14 22 21 40. 99 13 7 8 14; 100 31 37 35 30; 101 36 43 42 35; 102 50 40 44 43 STAAD SPACE 41. 103 37 38 45 44; 104 31 32 38 37; 105 35 34 29 30; 106 35 42 41 34 42. 107 44 48 47 42; 108 44 45 49 48; 109 29 26 30; 110 42 47 41; 111 46 49 45 43. 112 28 33 32; 113 26 27 31 30; 114 27 28 32 31; 115 38 39 46 45

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 297: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999222]]] 44. 116 38 32 33 39; 168 64 70 68 63; 169 69 76 75 68; 170 83 73 77 76 45. 171 70 71 78 77; 172 64 65 71 70; 173 68 67 62 63; 174 68 75 74 67 46. 175 77 81 80 75; 176 77 78 82 81; 177 62 59 63; 178 75 80 74; 179 79 82 78 47. 180 61 66 65; 181 59 60 64 63; 182 60 61 65 64; 183 71 72 79 78 48. 184 71 65 66 72 49. SURFACE INCIDENCE 50. 36 50 15 11 SURFACE 1 51. 50 40 16 15 SURFACE 2 52. 40 37 12 16 SURFACE 3 53. 69 83 50 36 SURFACE 4 54. 83 73 40 50 SURFACE 5 55. 73 70 37 40 SURFACE 6 56. 11 15 86 84 SURFACE 7 57. 15 16 87 86 SURFACE 8 58. 16 12 85 87 SURFACE 9 59. ELEMENT PROPERTY 60. 83 TO 116 168 TO 184 THICKNESS 0.15 61. DEFINE MATERIAL START 62. ISOTROPIC CONCRETE 63. E 2.21467E+009 64. POISSON 0.17 65. DENSITY 2402.62 66. ALPHA 1E-005 67. DAMP 0.05 68. END DEFINE MATERIAL 69. MEMBER PROPERTY JAPANESE 70. 1 2 4 TO 13 15 TO 18 20 TO 24 26 55 TO 82 135 TO 159 PRIS YD 0.35 ZD 0.15 71. MEMBER PROPERTY JAPANESE 72. 117 TO 119 121 TO 123 125 TO 134 160 TO 167 PRIS YD 0.2 73. SURFACE PROPERTY 74. 1 TO 9 THICKNESS 0.2

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 298: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999333]]] 75. CONSTANTS 76. MATERIAL CONCRETE MEMB 1 2 4 TO 13 15 TO 18 20 TO 24 26 55 TO 119 121 TO 123 - 77. 125 TO 184 78. SURFACE CONSTANTS 79. MATERIAL CONCRETE LIST 1 TO 9 80. SUPPORTS 81. 51 TO 58 84 TO 87 PINNED 82. LOAD 1 LOADTYPE LIVE TITLE LL 83. ELEMENT LOAD 84. 83 TO 116 168 TO 184 PR -1000 85. JOINT LOAD 86. 1 2 26 27 59 60 FX 1500 87. LOAD 2 LOADTYPE DEAD TITLE DL 88. SELFWEIGHT Y -1 89. MEMBER LOAD 90. 1 2 4 TO 13 15 TO 18 20 TO 24 26 55 TO 82 135 TO 159 UNI GY -500 91. LOAD COMB 3 0.75(DL+LL) 92. 1 0.75 2 0.75 93. PERFORM ANALYSIS STAAD SPACE P R O B L E M S T A T I S T I C S ----------------------------------- NUMBER OF JOINTS/MEMBER+ELEMENTS/SUPPORTS = 1032/ 1050/ 12 ORIGINAL/FINAL BAND-WIDTH= 947/ 141/ 852 DOF TOTAL PRIMARY LOAD CASES = 2, TOTAL DEGREES OF FREEDOM = 6168 SIZE OF STIFFNESS MATRIX = 5256 DOUBLE KILO-WORDS REQRD/AVAIL. DISK SPACE = 73.8/ 21092.7 MB

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 299: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999444]]] 94. PERFORM ANALYSIS PRINT STATICS CHECK 95. PRINT PROBLEM STATISTICS 96. LOAD LIST ALL 97. PRINT ANALYSIS RESULTS STAAD SPACE - JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = SPACE ------------------ JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN 1 1 0.0228 -0.0674 -0.0438 -0.0001 -0.0001 0.0003 2 -0.0003 -0.0342 -0.0048 0.0000 0.0000 0.0000 3 0.0168 -0.0763 -0.0364 -0.0001 -0.0001 0.0003 2 1 -0.0007 -0.1130 -0.0438 0.0001 -0.0001 0.0007 2 -0.0034 -0.0501 -0.0048 0.0000 0.0000 0.0001 3 -0.0030 -0.1223 -0.0365 0.0001 -0.0001 0.0007 3 1 -0.0253 -0.0755 -0.0440 0.0001 -0.0001 0.0004 2 -0.0066 -0.0321 -0.0049 0.0000 0.0000 0.0000 3 -0.0239 -0.0807 -0.0367 0.0001 0.0000 0.0003 4 1 0.0279 -0.0745 -0.0378 -0.0004 -0.0001 0.0002 2 0.0004 -0.0347 -0.0040 -0.0001 0.0000 0.0000 3 0.0212 -0.0820 -0.0313 -0.0003 -0.0001 0.0001 5 1 0.0224 -0.0424 -0.0378 -0.0002 -0.0001 0.0001 2 -0.0003 -0.0312 -0.0040 0.0001 0.0000 -0.0001 3 0.0166 -0.0552 -0.0314 -0.0001 -0.0001 0.0000 6 1 -0.0010 -0.0470 -0.0378 0.0000 -0.0001 0.0005 2 -0.0034 -0.0377 -0.0040 0.0000 0.0000 0.0000 3 -0.0033 -0.0635 -0.0314 0.0000 -0.0001 0.0004 7 1 -0.0253 -0.0423 -0.0379 0.0000 -0.0001 0.0002

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 300: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999555]]] 2 -0.0066 -0.0314 -0.0041 -0.0001 0.0000 -0.0001 3 -0.0239 -0.0553 -0.0315 -0.0001 -0.0001 0.0001 8 1 -0.0314 -0.0632 -0.0379 0.0003 -0.0001 0.0001 2 -0.0075 -0.0295 -0.0041 0.0000 0.0000 0.0000 3 -0.0292 -0.0695 -0.0315 0.0002 -0.0001 0.0001 9 1 0.0275 -0.1015 -0.0150 -0.0007 -0.0001 0.0000 2 0.0004 -0.0608 -0.0010 -0.0003 0.0000 0.0000 3 0.0209 -0.1217 -0.0120 -0.0008 -0.0001 0.0000 10 1 0.0215 -0.0381 -0.0152 -0.0005 -0.0001 0.0000 2 -0.0004 -0.0311 -0.0010 -0.0002 0.0000 0.0000 3 0.0158 -0.0519 -0.0122 -0.0005 -0.0001 0.0000 11 1 0.0073 0.0061 -0.0156 -0.0001 -0.0001 0.0001 2 -0.0021 -0.0155 -0.0010 -0.0001 0.0000 0.0001 3 0.0039 -0.0071 -0.0125 -0.0002 -0.0001 0.0001 12 1 -0.0013 -0.0334 -0.0141 -0.0001 -0.0001 -0.0001 2 -0.0033 -0.0315 -0.0009 0.0002 0.0000 0.0003 3 -0.0034 -0.0486 -0.0112 0.0000 -0.0001 0.0001 13 1 -0.0253 -0.0465 -0.0137 0.0005 -0.0001 0.0000 2 -0.0067 -0.0373 -0.0008 0.0000 0.0000 0.0000 3 -0.0240 -0.0628 -0.0109 0.0004 -0.0001 0.0000 14 1 -0.0313 -0.1129 -0.0137 0.0007 -0.0001 -0.0001 2 -0.0075 -0.0513 -0.0008 0.0002 0.0000 0.0000 3 -0.0291 -0.1232 -0.0109 0.0007 -0.0001 0.0000 15 1 0.0068 -0.0088 0.0008 -0.0001 0.0000 -0.0002 2 -0.0026 -0.0043 0.0012 0.0000 0.0000 0.0000 3 0.0032 -0.0099 0.0015 0.0000 0.0000 -0.0001 16 1 -0.0024 -0.0089 0.0004 -0.0001 -0.0001 0.0000 2 -0.0040 -0.0087 0.0010 0.0000 0.0000 -0.0001 3 -0.0048 -0.0132 0.0011 -0.0001 -0.0001 -0.0001 STAAD SPACE

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 301: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999666]]] JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = SPACE ------------------ JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN 17 1 0.0276 -0.0134 0.0107 0.0002 -0.0001 -0.0001 2 0.0004 -0.0197 0.0025 0.0001 0.0000 0.0000 3 0.0210 -0.0248 0.0099 0.0002 -0.0001 0.0000 18 1 0.0209 -0.0366 0.0107 0.0003 -0.0001 -0.0001 2 -0.0005 -0.0293 0.0025 0.0002 0.0000 0.0001 3 0.0153 -0.0494 0.0099 0.0004 -0.0001 0.0000 19 1 0.0079 -0.1309 0.0106 0.0000 -0.0001 -0.0008 2 -0.0024 -0.0914 0.0025 0.0000 0.0000 -0.0005 3 0.0042 -0.1667 0.0098 -0.0001 -0.0001 -0.0010 20 1 -0.0020 -0.0400 0.0102 -0.0003 -0.0001 -0.0005 2 -0.0037 -0.0302 0.0024 -0.0001 0.0000 -0.0002 3 -0.0043 -0.0527 0.0094 -0.0003 0.0000 -0.0005 21 1 -0.0254 -0.0410 0.0102 0.0003 -0.0001 0.0000 2 -0.0067 -0.0308 0.0024 0.0000 0.0000 0.0001 3 -0.0240 -0.0538 0.0095 0.0002 -0.0001 0.0000 22 1 -0.0314 -0.0864 0.0102 0.0005 -0.0001 -0.0001 2 -0.0075 -0.0390 0.0024 0.0001 0.0000 0.0000 3 -0.0291 -0.0940 0.0095 0.0005 -0.0001 -0.0001 23 1 0.0210 -0.0584 0.0165 0.0002 -0.0001 -0.0002 2 -0.0005 -0.0316 0.0033 0.0001 0.0000 0.0000 3 0.0154 -0.0675 0.0149 0.0002 0.0000 -0.0002 24 1 -0.0020 -0.1064 0.0159 -0.0003 -0.0001 -0.0007 2 -0.0037 -0.0647 0.0031 -0.0001 0.0000 -0.0004 3 -0.0043 -0.1284 0.0143 -0.0003 0.0000 -0.0008 25 1 -0.0254 -0.0587 0.0162 0.0004 -0.0001 -0.0002

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 302: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999777]]] 2 -0.0067 -0.0323 0.0032 0.0001 0.0000 0.0000 3 -0.0241 -0.0683 0.0145 0.0003 -0.0001 -0.0002 26 1 0.1642 -0.1849 -0.3811 -0.0001 -0.0005 0.0003 2 -0.0105 -0.1190 -0.0674 0.0000 -0.0001 0.0001 3 0.1153 -0.2279 -0.3364 -0.0001 -0.0005 0.0003 27 1 -0.0507 -0.2600 -0.3812 0.0001 -0.0005 0.0010 2 -0.0563 -0.1642 -0.0674 0.0000 -0.0001 0.0003 3 -0.0802 -0.3182 -0.3364 0.0001 -0.0005 0.0010 28 1 -0.2669 -0.1906 -0.3815 0.0000 -0.0005 0.0004 2 -0.1021 -0.1141 -0.0674 -0.0001 -0.0001 0.0000 3 -0.2767 -0.2285 -0.3366 0.0000 -0.0005 0.0003 29 1 0.2172 -0.1913 -0.3273 -0.0004 -0.0005 0.0001 2 0.0010 -0.1179 -0.0559 -0.0001 -0.0001 0.0000 3 0.1636 -0.2319 -0.2874 -0.0004 -0.0005 0.0001 30 1 0.1639 -0.1564 -0.3273 -0.0002 -0.0005 0.0001 2 -0.0105 -0.1153 -0.0559 0.0001 -0.0001 -0.0001 3 0.1150 -0.2038 -0.2874 -0.0001 -0.0005 0.0000 31 1 -0.0510 -0.1702 -0.3274 0.0000 -0.0005 0.0008 2 -0.0563 -0.1367 -0.0559 0.0000 -0.0001 0.0002 3 -0.0805 -0.2302 -0.2875 0.0000 -0.0005 0.0007 32 1 -0.2669 -0.1565 -0.3275 0.0000 -0.0005 0.0002 2 -0.1021 -0.1163 -0.0559 -0.0002 -0.0001 -0.0001 3 -0.2767 -0.2046 -0.2876 -0.0001 -0.0005 0.0001 STAAD SPACE JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = SPACE ------------------ JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 303: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999888]]] 33 1 -0.3209 -0.1757 -0.3275 0.0003 -0.0005 0.0001 2 -0.1135 -0.1097 -0.0559 0.0000 -0.0001 -0.0001 3 -0.3258 -0.2141 -0.2876 0.0002 -0.0005 0.0000 34 1 0.2167 -0.2362 -0.1129 -0.0011 -0.0005 0.0001 2 0.0010 -0.1694 -0.0100 -0.0006 -0.0001 0.0000 3 0.1633 -0.3042 -0.0922 -0.0013 -0.0005 0.0001 35 1 0.1627 -0.1357 -0.1131 -0.0009 -0.0005 0.0001 2 -0.0105 -0.1113 -0.0100 -0.0005 -0.0001 0.0000 3 0.1142 -0.1853 -0.0924 -0.0010 -0.0005 0.0001 36 1 0.0519 0.0085 -0.1136 -0.0005 -0.0006 0.0000 2 -0.0335 -0.0247 -0.0101 -0.0003 -0.0001 0.0000 3 0.0138 -0.0122 -0.0928 -0.0006 -0.0005 0.0000 37 1 -0.0512 -0.0491 -0.1120 0.0000 -0.0005 0.0001 2 -0.0563 -0.0476 -0.0101 0.0003 -0.0001 0.0004 3 -0.0806 -0.0725 -0.0916 0.0002 -0.0005 0.0004 38 1 -0.2670 -0.1682 -0.1117 0.0008 -0.0005 0.0000 2 -0.1021 -0.1351 -0.0101 0.0002 -0.0001 0.0000 3 -0.2768 -0.2274 -0.0914 0.0007 -0.0005 0.0000 39 1 -0.3209 -0.2587 -0.1117 0.0010 -0.0005 -0.0001 2 -0.1135 -0.1647 -0.0101 0.0003 -0.0001 0.0000 3 -0.3258 -0.3176 -0.0914 0.0010 -0.0005 0.0000 40 1 -0.0510 -0.0135 0.0004 -0.0001 -0.0005 -0.0002 2 -0.0558 -0.0132 0.0132 0.0000 -0.0001 -0.0002 3 -0.0801 -0.0200 0.0102 -0.0001 -0.0005 -0.0003 41 1 0.2166 -0.1356 0.1048 0.0000 -0.0006 -0.0002 2 0.0009 -0.1046 0.0358 0.0000 -0.0001 0.0000 3 0.1632 -0.1802 0.1055 0.0000 -0.0005 -0.0002 42 1 0.1620 -0.1392 0.1049 0.0002 -0.0005 -0.0003 2 -0.0105 -0.1080 0.0358 0.0001 -0.0001 0.0000 3 0.1136 -0.1854 0.1055 0.0003 -0.0005 -0.0002 43 1 0.0531 -0.2140 0.1045 -0.0001 -0.0005 -0.0011

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 304: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[222999999]]] 2 -0.0333 -0.1565 0.0358 -0.0001 -0.0001 -0.0008 3 0.0148 -0.2779 0.1052 -0.0002 -0.0005 -0.0014 44 1 -0.0515 -0.1409 0.1042 -0.0002 -0.0005 -0.0009 2 -0.0561 -0.1067 0.0358 0.0000 -0.0001 -0.0006 3 -0.0806 -0.1856 0.1050 -0.0001 -0.0005 -0.0012 45 1 -0.2670 -0.1515 0.1041 0.0003 -0.0005 0.0000 2 -0.1021 -0.1139 0.0358 0.0000 -0.0001 0.0001 3 -0.2769 -0.1991 0.1049 0.0002 -0.0005 0.0001 46 1 -0.3210 -0.1987 0.1041 0.0005 -0.0005 -0.0001 2 -0.1136 -0.1219 0.0358 0.0001 -0.0001 0.0000 3 -0.3259 -0.2404 0.1049 0.0005 -0.0005 0.0000 47 1 0.1620 -0.1839 0.1582 0.0001 -0.0005 -0.0005 2 -0.0105 -0.1148 0.0472 0.0000 -0.0001 -0.0001 3 0.1137 -0.2241 0.1540 0.0001 -0.0005 -0.0004 48 1 -0.0516 -0.2518 0.1579 -0.0002 -0.0005 -0.0012 2 -0.0561 -0.1758 0.0473 0.0000 -0.0001 -0.0007 3 -0.0807 -0.3207 0.1539 -0.0002 -0.0005 -0.0014 STAAD SPACE JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = SPACE ------------------ JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN 49 1 -0.2671 -0.1706 0.1581 0.0003 -0.0005 -0.0002 2 -0.1021 -0.1139 0.0473 0.0000 -0.0001 0.0000 3 -0.2769 -0.2134 0.1540 0.0002 -0.0005 -0.0002 50 1 0.0518 -0.0134 0.0003 0.0000 -0.0005 -0.0003 2 -0.0333 -0.0055 0.0131 0.0001 -0.0001 -0.0001 3 0.0139 -0.0142 0.0100 0.0000 -0.0005 -0.0002

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 305: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000000]]] 51 1 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0005 -0.0001 -0.0004 2 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0000 0.0000 3 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0004 -0.0001 -0.0003 52 1 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0006 -0.0001 -0.0002 2 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0000 0.0000 3 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0005 -0.0001 -0.0001 53 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 -0.0003 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 0.0000 0.0000 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 -0.0001 -0.0002 54 1 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0006 -0.0001 0.0003 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 3 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0004 -0.0001 0.0003 55 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 -0.0003 2 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0000 0.0000 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 -0.0002 56 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 -0.0001 0.0002 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 0.0000 0.0002 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0003 0.0000 0.0003 57 1 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0004 -0.0001 0.0004 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 3 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0003 -0.0001 0.0003 58 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0004 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0003 59 1 0.3107 -0.2480 -0.7495 -0.0001 -0.0011 0.0004 2 -0.0252 -0.1622 -0.1507 0.0001 -0.0003 0.0001 3 0.2141 -0.3077 -0.6751 0.0000 -0.0010 0.0004 60 1 -0.1205 -0.3338 -0.7486 0.0000 -0.0011 0.0011 2 -0.1282 -0.2188 -0.1503 0.0000 -0.0003 0.0004 3 -0.1865 -0.4144 -0.6742 0.0001 -0.0010 0.0011 61 1 -0.5509 -0.2439 -0.7480 0.0000 -0.0011 0.0004

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 306: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000111]]] 2 -0.2303 -0.1513 -0.1500 -0.0001 -0.0003 0.0000 3 -0.5859 -0.2964 -0.6735 -0.0001 -0.0010 0.0002 62 1 0.4183 -0.2456 -0.6415 -0.0004 -0.0011 0.0001 2 0.0008 -0.1581 -0.1249 0.0000 -0.0003 0.0000 3 0.3143 -0.3028 -0.5748 -0.0003 -0.0010 0.0001 63 1 0.3103 -0.2136 -0.6415 -0.0002 -0.0011 0.0002 2 -0.0252 -0.1570 -0.1249 0.0001 -0.0003 0.0000 3 0.2138 -0.2780 -0.5748 0.0000 -0.0010 0.0001 64 1 -0.1209 -0.2313 -0.6411 0.0000 -0.0011 0.0009 2 -0.1282 -0.1855 -0.1247 0.0000 -0.0003 0.0002 3 -0.1869 -0.3126 -0.5743 0.0000 -0.0010 0.0009 STAAD SPACE JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = SPACE ------------------ JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN 65 1 -0.5509 -0.2140 -0.6406 0.0001 -0.0011 0.0001 2 -0.2303 -0.1585 -0.1244 -0.0002 -0.0003 -0.0002 3 -0.5859 -0.2794 -0.5737 -0.0001 -0.0010 0.0000 66 1 -0.6581 -0.2358 -0.6406 0.0003 -0.0011 0.0000 2 -0.2557 -0.1486 -0.1244 -0.0001 -0.0003 -0.0001 3 -0.6854 -0.2883 -0.5738 0.0002 -0.0010 -0.0001 67 1 0.4176 -0.3013 -0.2105 -0.0013 -0.0011 0.0001 2 0.0008 -0.2215 -0.0217 -0.0007 -0.0003 0.0000 3 0.3138 -0.3921 -0.1741 -0.0015 -0.0010 0.0001 68 1 0.3102 -0.1840 -0.2104 -0.0011 -0.0011 0.0001 2 -0.0248 -0.1508 -0.0217 -0.0006 -0.0003 0.0000 3 0.2141 -0.2511 -0.1740 -0.0013 -0.0010 0.0001

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 307: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000222]]] 69 1 0.0946 0.0054 -0.2111 -0.0008 -0.0011 0.0000 2 -0.0763 -0.0292 -0.0222 -0.0006 -0.0003 0.0000 3 0.0137 -0.0178 -0.1750 -0.0010 -0.0010 0.0000 70 1 -0.1221 -0.0639 -0.2106 0.0001 -0.0011 0.0002 2 -0.1287 -0.0591 -0.0221 0.0004 -0.0003 0.0005 3 -0.1881 -0.0923 -0.1745 0.0004 -0.0010 0.0005 71 1 -0.5505 -0.2287 -0.2112 0.0009 -0.0011 0.0000 2 -0.2301 -0.1833 -0.0225 0.0003 -0.0003 0.0000 3 -0.5855 -0.3090 -0.1753 0.0009 -0.0010 0.0000 72 1 -0.6580 -0.3338 -0.2112 0.0012 -0.0011 0.0000 2 -0.2558 -0.2190 -0.0225 0.0004 -0.0003 0.0000 3 -0.6853 -0.4146 -0.1753 0.0012 -0.0010 0.0000 73 1 -0.1177 -0.0156 0.0015 -0.0001 -0.0011 -0.0005 2 -0.1243 -0.0154 0.0290 -0.0001 -0.0002 -0.0005 3 -0.1815 -0.0233 0.0229 -0.0002 -0.0010 -0.0007 74 1 0.4172 -0.1874 0.2184 0.0000 -0.0011 -0.0002 2 0.0007 -0.1442 0.0802 0.0000 -0.0003 0.0000 3 0.3135 -0.2487 0.2240 0.0000 -0.0010 -0.0002 75 1 0.3101 -0.1908 0.2184 0.0002 -0.0011 -0.0003 2 -0.0246 -0.1471 0.0803 0.0001 -0.0003 0.0000 3 0.2141 -0.2535 0.2240 0.0003 -0.0010 -0.0002 76 1 0.0971 -0.2660 0.2175 -0.0001 -0.0011 -0.0012 2 -0.0746 -0.1957 0.0796 -0.0001 -0.0002 -0.0009 3 0.0169 -0.3462 0.2228 -0.0002 -0.0010 -0.0016 77 1 -0.1196 -0.1913 0.2183 -0.0002 -0.0011 -0.0012 2 -0.1261 -0.1448 0.0803 0.0000 -0.0003 -0.0007 3 -0.1843 -0.2521 0.2240 -0.0001 -0.0010 -0.0014 78 1 -0.5506 -0.2072 0.2182 0.0004 -0.0011 -0.0001 2 -0.2302 -0.1553 0.0800 0.0000 -0.0003 0.0001 3 -0.5856 -0.2719 0.2237 0.0003 -0.0010 0.0000 79 1 -0.6578 -0.2584 0.2182 0.0006 -0.0011 -0.0001

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 308: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000333]]] 2 -0.2559 -0.1648 0.0801 0.0001 -0.0003 0.0001 3 -0.6853 -0.3174 0.2237 0.0005 -0.0010 0.0000 80 1 0.3101 -0.2383 0.3254 0.0001 -0.0011 -0.0005 2 -0.0246 -0.1543 0.1053 0.0000 -0.0003 -0.0001 3 0.2141 -0.2945 0.3230 0.0001 -0.0010 -0.0005 STAAD SPACE JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = SPACE ------------------ JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN 81 1 -0.1197 -0.3215 0.3263 -0.0002 -0.0011 -0.0014 2 -0.1262 -0.2262 0.1063 0.0000 -0.0003 -0.0008 3 -0.1844 -0.4108 0.3244 -0.0002 -0.0010 -0.0017 82 1 -0.5506 -0.2298 0.3256 0.0003 -0.0011 -0.0003 2 -0.2303 -0.1554 0.1059 0.0000 -0.0003 0.0000 3 -0.5857 -0.2889 0.3237 0.0002 -0.0010 -0.0002 83 1 0.0981 -0.0153 0.0007 0.0000 -0.0011 -0.0006 2 -0.0735 -0.0070 0.0284 0.0001 -0.0003 -0.0003 3 0.0185 -0.0167 0.0218 0.0001 -0.0010 -0.0007 84 1 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0002 0.0000 0.0006 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0016 3 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0000 -0.0008 85 1 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0000 -0.0033 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0031 3 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0000 -0.0048 86 1 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 0.0000 0.0001 2 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 3 0.0000 0.0000 0.0000 0.0001 0.0000 0.0001

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 309: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000444]]] 87 1 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0000 0.0000 2 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0001 0.0000 0.0000 3 0.0000 0.0000 0.0000 -0.0002 0.0000 0.0000 STAAD SPACE SUPPORT REACTIONS -UNIT KG METE STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- JOINT LOAD FORCE-X FORCE-Y FORCE-Z MOM-X MOM-Y MOM Z 51 1 -161.35 29466.82 105.67 0.00 0.00 0.00 2 34.47 21735.69 51.02 0.00 0.00 0.00 3 -95.16 38401.88 117.52 0.00 0.00 0.00 52 1 -247.67 32693.38 196.00 0.00 0.00 0.00 2 14.46 26284.62 23.59 0.00 0.00 0.00 3 -174.91 44233.49 164.69 0.00 0.00 0.00 53 1 -103.80 26504.54 -160.88 0.00 0.00 0.00 2 5.77 21657.15 -94.39 0.00 0.00 0.00 3 -73.53 36121.27 -191.45 0.00 0.00 0.00 54 1 37.03 29446.34 217.19 0.00 0.00 0.00 2 78.43 21907.65 -37.95 0.00 0.00 0.00 3 86.59 38515.50 134.44 0.00 0.00 0.00 55 1 -54.66 25459.91 123.63 0.00 0.00 0.00 2 -36.87 20449.98 88.07 0.00 0.00 0.00 3 -68.65 34432.42 158.78 0.00 0.00 0.00 56 1 243.52 27832.50 -202.03 0.00 0.00 0.00 2 137.84 21054.94 -47.36 0.00 0.00 0.00 3 286.02 36665.57 -187.04 0.00 0.00 0.00 57 1 123.36 32347.29 323.04 0.00 0.00 0.00 2 29.62 25984.89 16.17 0.00 0.00 0.00

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 310: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000555]]] 3 114.73 43749.14 254.41 0.00 0.00 0.00 58 1 142.49 28497.81 103.95 0.00 0.00 0.00 2 -7.69 21462.72 -17.58 0.00 0.00 0.00 3 101.09 37470.40 64.78 0.00 0.00 0.00 84 1 -2651.74 -4823.64 162.34 0.00 0.00 0.00 2 5337.40 10471.54 -23.53 0.00 0.00 0.00 3 2014.25 4235.92 104.11 0.00 0.00 0.00 85 1 8521.40 19609.12 109.27 0.00 0.00 0.00 2 9712.16 20016.95 176.41 0.00 0.00 0.00 3 13675.17 29719.55 214.26 0.00 0.00 0.00 86 1 -3138.08 14377.34 3721.72 0.00 0.00 0.00 2 -4981.86 9486.75 2959.27 0.00 0.00 0.00 3 -6089.95 17898.07 5010.74 0.00 0.00 0.00 87 1 -11710.49 19588.56 -4699.91 0.00 0.00 0.00 2 -10323.73 17691.95 -3093.74 0.00 0.00 0.00 3 -16525.67 27960.38 -5845.23 0.00 0.00 0.00 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 1 1 4 53.19 -507.56 21.89 18.62 -10.66 -10.63 5 -53.19 507.56 -21.89 -18.62 -11.24 -496.93 2 4 7.04 -96.48 1.33 24.82 -0.54 -17.60 5 -7.04 722.62 -1.33 -24.82 -0.79 -391.94 3 4 45.17 -453.03 17.42 32.58 -8.40 -21.17

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 311: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000666]]] 5 -45.17 922.63 -17.42 -32.58 -9.02 -666.66 2 1 5 -0.19 82.97 0.87 -27.44 -1.81 218.33 6 0.19 -82.97 -0.87 27.44 -1.68 113.57 2 5 13.82 1238.00 0.05 -4.74 -0.09 790.25 6 -13.82 1266.55 -0.05 4.74 -0.10 -847.36 3 5 10.22 990.73 0.69 -24.14 -1.43 756.43 6 -10.22 887.68 -0.69 24.14 -1.33 -550.34 4 1 7 18.32 590.83 3.69 12.02 -2.34 550.73 8 -18.32 -590.83 -3.69 -12.02 -1.35 40.10 2 7 -3.24 750.66 -0.79 -24.48 0.50 401.87 8 3.24 -124.52 0.79 24.48 0.29 35.73 3 7 11.31 1006.12 2.18 -9.34 -1.38 714.45 8 -11.31 -536.51 -2.18 9.34 -0.80 56.87 5 1 1 406.72 -568.50 19.67 6.61 -10.97 -31.24 5 -406.72 568.50 -19.67 -6.61 -8.70 -537.25 2 1 -3.74 -119.16 0.85 -23.70 -0.41 -35.82 5 3.74 745.29 -0.85 23.70 -0.44 -396.41 3 1 302.23 -515.74 15.39 -12.82 -8.54 -50.30 5 -302.23 985.34 -15.39 12.82 -6.86 -700.24 6 1 5 279.65 25.14 0.88 20.05 -2.04 80.80 10 -279.65 -25.14 -0.88 -20.05 -1.49 19.77 2 5 25.93 1221.00 0.07 17.33 -0.15 755.40 10 -25.93 1283.55 -0.07 -17.33 -0.13 -880.48 3 5 229.19 934.61 0.72 28.03 -1.65 627.15 10 -229.19 943.80 -0.72 -28.03 -1.22 -645.54 7 1 10 161.77 -53.12 -0.64 -55.47 1.42 -79.39

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 312: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000777]]] 18 -161.77 53.12 0.64 55.47 1.15 -133.08 2 10 14.42 1278.85 -0.13 -26.66 0.29 863.12 18 -14.42 1225.70 0.13 26.66 0.24 -756.83 3 10 132.14 919.30 -0.58 -61.59 1.28 587.80 18 -132.14 959.11 0.58 61.59 1.05 -667.43 8 1 18 -37.15 449.02 2.73 30.42 -2.51 398.38 23 37.15 -449.02 -2.73 -30.42 -0.21 50.64 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 18 1.79 753.91 -1.42 32.22 0.71 410.63 23 -1.79 -127.77 1.42 -32.22 0.72 30.21 3 18 -26.52 902.19 0.98 46.98 -1.36 606.75 23 26.52 -432.59 -0.98 -46.98 0.38 60.64 9 1 17 -5.29 -418.70 -2.49 11.91 -0.25 -25.85 18 5.29 418.70 2.49 -11.91 2.74 -392.86 2 17 4.41 -121.72 -1.75 -18.92 0.77 -24.67 18 -4.41 747.86 1.75 18.92 0.99 -410.13 3 17 -0.66 -405.32 -3.19 -5.26 0.39 -37.88 18 0.66 874.92 3.19 5.26 2.80 -602.24 10 1 18 73.04 1010.83 -1.03 90.97 1.37 791.27 19 -73.04 -1010.83 1.03 -90.97 0.70 1230.39

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 313: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000888]]] 2 18 -42.02 1403.44 -0.14 81.62 0.37 840.07 19 42.02 -151.16 0.14 -81.62 -0.10 714.54 3 18 23.26 1810.70 -0.88 129.44 1.31 1223.50 19 -23.26 -871.50 0.88 -129.44 0.45 1458.70 11 1 20 -6.09 -3.25 0.56 -29.35 -0.87 170.99 21 6.09 3.25 -0.56 29.35 -1.36 -183.99 2 20 -8.37 1287.82 -0.09 -21.40 0.28 923.30 21 8.37 1216.73 0.09 21.40 0.09 -781.10 3 20 -10.85 963.43 0.35 -38.06 -0.44 820.72 21 10.85 914.98 -0.35 38.06 -0.95 -723.82 12 1 21 -21.12 504.74 7.53 25.82 -4.30 493.57 22 21.12 -504.74 -7.53 -25.82 -3.23 11.17 2 21 5.82 728.28 -0.39 29.24 0.26 386.01 22 -5.82 -102.14 0.39 -29.24 0.13 29.20 3 21 -11.48 924.77 5.35 41.30 -3.03 659.69 22 11.48 -455.16 -5.35 -41.30 -2.33 30.28 13 1 3 -6.86 -505.12 -1.75 16.45 2.58 -5.52 7 6.86 505.12 1.75 -16.45 -0.83 -499.60 2 3 -1.56 -108.74 -0.40 30.93 0.17 -30.48 7 1.56 734.88 0.40 -30.93 0.23 -391.33 3 3 -6.31 -460.40 -1.61 35.53 2.06 -27.00 7 6.31 930.00 1.61 -35.53 -0.45 -668.20 15 1 13 12.28 -17.42 0.70 12.86 -1.41 -23.87 21 -12.28 17.42 -0.70 -12.86 -1.41 -45.80 2 13 -0.15 1277.70 -0.07 2.30 0.15 864.06 21 0.15 1226.85 0.07 -2.30 0.12 -762.36 3 13 9.10 945.21 0.48 11.37 -0.95 630.15

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 314: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333000999]]] 21 -9.10 933.20 -0.48 -11.37 -0.97 -606.12 16 1 21 35.66 610.21 6.09 -19.33 -3.90 531.95 25 -35.66 -610.21 -6.09 19.33 -2.19 78.26 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 21 -6.22 755.20 -0.46 -23.67 0.17 405.45 25 6.22 -129.06 0.46 23.67 0.29 36.68 3 21 22.08 1024.05 4.22 -32.26 -2.80 703.05 25 -22.08 -554.45 -4.22 32.26 -1.42 86.21 17 1 2 396.43 -432.84 5.07 12.64 -1.74 81.70 6 -396.43 432.84 -5.07 -12.64 -3.34 -514.53 2 2 -9.91 -249.15 0.15 3.76 -0.09 -74.85 6 9.91 875.29 -0.15 -3.76 -0.06 -487.37 3 2 289.89 -511.49 3.91 12.30 -1.37 5.13 6 -289.89 981.09 -3.91 -12.30 -2.55 -751.42 18 1 6 75.14 145.24 0.87 8.80 -1.58 464.58 12 -75.14 -145.24 -0.87 -8.80 -1.89 116.39 2 6 -19.29 1351.12 0.03 -11.72 -0.05 959.32 12 19.29 1153.43 -0.03 11.72 -0.09 -563.94 3 6 41.89 1122.27 0.68 -2.19 -1.22 1067.92 12 -41.89 756.14 -0.68 2.19 -1.49 -335.66

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 315: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111000]]] 20 1 20 24.58 750.96 0.01 4.85 -0.97 702.27 24 -24.58 -750.96 -0.01 -4.85 0.96 48.69 2 20 -9.38 866.69 -2.98 3.53 1.52 473.76 24 9.38 -240.56 2.98 -3.53 1.47 79.86 3 20 11.40 1213.24 -2.23 6.29 0.41 882.02 24 -11.40 -743.64 2.23 -6.29 1.82 96.42 21 1 9 184.99 -426.96 2.61 14.40 -2.11 88.55 10 -184.99 426.96 -2.61 -14.40 -0.50 -515.51 2 9 26.46 -151.23 -0.69 3.58 0.34 -40.65 10 -26.46 777.37 0.69 -3.58 0.35 -423.65 3 9 158.59 -433.64 1.44 13.48 -1.33 35.93 10 -158.59 903.25 -1.44 -13.48 -0.11 -704.37 22 1 10 257.40 253.94 -3.41 -15.56 4.72 453.29 11 -257.40 -253.94 3.41 15.56 2.10 54.59 2 10 -18.56 807.83 -0.36 -10.05 0.42 463.65 11 18.56 444.45 0.36 10.05 0.30 -100.27 3 10 179.13 796.33 -2.83 -19.21 3.86 687.70 11 -179.13 142.88 2.83 19.21 1.81 -34.26 23 1 12 -100.87 -132.48 0.81 -7.15 -1.72 -81.36 13 100.87 132.48 -0.81 7.15 -1.50 -448.57 2 12 -23.75 1177.10 -0.08 16.57 0.11 638.75 13 23.75 1327.45 0.08 -16.57 0.20 -939.45 3 12 -93.46 783.46 0.55 7.07 -1.21 418.04 13 93.46 1094.95 -0.55 -7.07 -0.97 -1041.02 24 1 13 4.02 462.71 6.81 20.86 -3.98 532.61 14 -4.02 -462.71 -6.81 -20.86 -2.83 -69.91

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 316: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111111]]] STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 13 3.61 868.08 -0.69 2.91 0.44 483.12 14 -3.61 -241.95 0.69 -2.91 0.25 71.89 3 13 5.72 998.09 4.59 17.83 -2.65 761.80 14 -5.72 -528.49 -4.59 -17.83 -1.94 1.49 26 1 16 -233.61 -288.57 9.33 29.69 -10.14 -36.21 20 233.61 288.57 -9.33 -29.69 -8.53 -540.94 2 16 -192.21 505.77 0.74 5.63 -1.21 193.00 20 192.21 746.51 -0.74 -5.63 -0.28 -433.73 3 16 -319.36 162.90 7.56 26.49 -8.51 117.59 20 319.36 776.31 -7.56 -26.49 -6.60 -731.01 55 1 19 219.03 -975.35 8.24 -42.85 -8.84 -1136.45 20 -219.03 975.35 -8.24 42.85 -7.64 -814.25 2 19 75.23 -185.58 0.93 -39.52 -1.39 -614.46 20 -75.23 1437.85 -0.93 39.52 -0.47 -1008.97 3 19 220.69 -870.70 6.88 -61.78 -7.67 -1313.18 20 -220.69 1809.90 -6.88 61.78 -6.08 -1367.41 56 1 6 21.34 -31.99 0.47 21.35 -0.92 -51.90 7 -21.34 31.99 -0.47 -21.35 -0.97 -76.05 2 6 17.39 1286.29 -0.03 6.30 0.06 867.02

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 317: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111222]]] 7 -17.39 1218.26 0.03 -6.30 0.07 -730.96 3 6 29.05 940.73 0.33 20.74 -0.64 611.34 7 -29.05 937.68 -0.33 -20.74 -0.68 -605.25 57 1 7 18.75 93.10 0.57 -30.55 -1.12 236.07 13 -18.75 -93.10 -0.57 30.55 -1.15 136.33 2 7 14.23 1231.06 -0.09 -9.45 0.17 763.97 13 -14.23 1273.49 0.09 9.45 0.21 -848.83 3 7 24.73 993.12 0.36 -30.00 -0.72 750.03 13 -24.73 885.29 -0.36 30.00 -0.71 -534.38 58 1 29 84.46 -463.79 26.69 1.54 -13.24 35.63 30 -84.46 463.79 -26.69 -1.54 -13.44 -499.42 2 29 5.25 -83.89 1.19 9.43 -0.67 6.51 30 -5.25 710.03 -1.19 -9.43 -0.52 -403.47 3 29 67.28 -410.76 20.91 8.22 -10.44 31.60 30 -67.28 880.37 -20.91 -8.22 -10.47 -677.17 59 1 30 10.50 105.88 1.07 -43.39 -2.20 274.44 31 -10.50 -105.88 -1.07 43.39 -2.06 149.06 2 30 -1.77 1258.84 0.07 -16.28 -0.13 830.24 31 1.77 1245.72 -0.07 16.28 -0.14 -804.00 3 30 6.55 1023.53 0.85 -44.75 -1.75 828.51 31 -6.55 854.88 -0.85 44.75 -1.65 -491.20 60 1 32 25.90 554.99 6.82 29.37 -4.15 549.84 33 -25.90 -554.99 -6.82 -29.37 -2.67 5.15 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE -----------------

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 318: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111333]]] ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 32 2.64 726.62 1.37 -10.84 -0.78 404.05 33 -2.64 -100.49 -1.37 10.84 -0.60 9.51 3 32 21.41 961.21 6.15 13.90 -3.69 715.41 33 -21.41 -491.61 -6.15 -13.90 -2.45 11.00 61 1 26 401.75 -527.84 23.21 21.66 -12.80 2.14 30 -401.75 527.84 -23.21 -21.66 -10.41 -529.97 2 26 0.87 -85.41 1.01 -11.47 -0.51 -8.12 30 -0.87 711.55 -1.01 11.47 -0.50 -390.35 3 26 301.97 -459.93 18.16 7.64 -9.98 -4.49 30 -301.97 929.54 -18.16 -7.64 -8.18 -690.25 62 1 30 327.89 43.38 1.03 46.94 -2.34 100.03 35 -327.89 -43.38 -1.03 -46.94 -1.79 73.50 2 30 -0.57 1237.69 0.05 39.53 -0.10 774.45 35 0.57 1266.86 -0.05 -39.53 -0.12 -832.81 3 30 245.49 960.80 0.81 64.85 -1.83 655.86 35 -245.49 917.61 -0.81 -64.85 -1.43 -569.48 63 1 35 213.47 -78.81 -0.81 -74.59 1.69 -51.73 42 -213.47 78.81 0.81 74.59 1.55 -263.49 2 35 5.75 1280.24 0.04 -43.93 -0.09 894.08 42 -5.75 1224.31 -0.04 43.93 -0.05 -782.22 3 35 164.41 901.08 -0.58 -88.89 1.20 631.76 42 -164.41 977.34 0.58 88.89 1.12 -784.28

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 319: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111444]]] 64 1 42 -56.21 607.73 7.04 24.45 -5.49 570.38 47 56.21 -607.73 -7.04 -24.45 -1.55 37.35 2 42 -4.44 751.93 2.04 32.38 -1.24 417.49 47 4.44 -125.79 -2.04 -32.38 -0.81 21.36 3 42 -45.49 1019.74 6.81 42.62 -5.05 740.90 47 45.49 -550.14 -6.81 -42.62 -1.77 44.03 65 1 41 -18.97 -646.05 -1.26 23.14 -1.55 -46.52 42 18.97 646.05 1.26 -23.14 2.80 -599.53 2 41 -4.16 -153.24 1.41 -13.78 -0.84 -31.31 42 4.16 779.38 -1.41 13.78 -0.58 -435.00 3 41 -17.35 -599.47 0.12 7.01 -1.79 -58.37 42 17.35 1069.07 -0.12 -7.01 1.67 -775.90 66 1 42 181.64 1021.60 -1.82 111.45 2.05 842.26 43 -181.64 -1021.60 1.82 -111.45 1.59 1200.94 2 42 45.56 1404.97 -0.03 109.10 -0.10 827.21 43 -45.56 -152.69 0.03 -109.10 0.16 730.45 3 42 170.40 1819.92 -1.39 165.41 1.46 1252.10 43 -170.40 -880.72 1.39 -165.41 1.31 1448.54 67 1 44 33.16 -39.88 0.76 -62.87 -1.38 68.04 45 -33.16 39.88 -0.76 62.87 -1.64 -227.57 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 320: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111555]]] 2 44 11.93 1260.06 0.10 -48.68 -0.24 837.03 45 -11.93 1244.49 -0.10 48.68 -0.15 -805.88 3 44 33.81 915.14 0.64 -83.66 -1.21 678.80 45 -33.81 963.28 -0.64 83.66 -1.34 -775.09 68 1 45 -36.73 450.28 8.38 11.75 -4.89 480.50 46 36.73 -450.28 -8.38 -11.75 -3.49 -30.21 2 45 -5.36 683.07 0.76 19.10 -0.44 374.25 46 5.36 -56.94 -0.76 -19.10 -0.32 -4.24 3 45 -31.57 850.02 6.85 23.13 -4.00 641.06 46 31.57 -380.42 -6.85 -23.13 -2.86 -25.84 69 1 28 -1.77 -466.82 1.92 3.08 0.71 28.84 32 1.77 466.82 -1.92 -3.08 -2.63 -495.66 2 28 0.95 -78.66 1.43 20.83 -0.69 -2.84 32 -0.95 704.80 -1.43 -20.83 -0.73 -388.89 3 28 -0.62 -409.11 2.51 17.93 0.01 19.50 32 0.62 878.71 -2.51 -17.93 -2.52 -663.41 70 1 38 26.78 -36.46 0.88 30.39 -1.76 -57.46 45 -26.78 36.46 -0.88 -30.39 -1.74 -88.39 2 38 5.43 1263.19 0.09 14.80 -0.17 831.27 45 -5.43 1241.36 -0.09 -14.80 -0.17 -787.59 3 38 24.16 920.05 0.72 33.89 -1.45 580.35 45 -24.16 958.36 -0.72 -33.89 -1.44 -656.98 71 1 45 84.18 588.12 5.30 7.75 -3.63 552.40 49 -84.18 -588.12 -5.30 -7.75 -1.67 35.72 2 45 13.44 764.41 0.35 -1.73 -0.19 433.81 49 -13.44 -138.27 -0.35 1.73 -0.16 17.53

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 321: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111666]]] 3 45 73.22 1014.40 4.24 4.51 -2.87 739.66 49 -73.22 -544.79 -4.24 -4.51 -1.37 39.94 72 1 27 395.11 -207.19 8.04 13.27 -3.29 174.67 31 -395.11 207.19 -8.04 -13.27 -4.75 -381.86 2 27 3.17 -71.73 1.14 4.66 -0.57 -0.29 31 -3.17 697.86 -1.14 -4.66 -0.58 -384.51 3 27 298.71 -209.19 6.88 13.45 -2.89 130.79 31 -298.71 678.79 -6.88 -13.45 -3.99 -574.78 73 1 31 62.98 103.60 1.02 1.68 -1.86 408.70 37 -62.98 -103.60 -1.02 -1.68 -2.21 5.70 2 31 -1.75 1310.85 0.07 -18.61 -0.14 886.50 37 1.75 1193.70 -0.07 18.61 -0.12 -652.19 3 31 45.92 1060.84 0.81 -12.70 -1.50 971.40 37 -45.92 817.57 -0.81 12.70 -1.75 -484.86 74 1 44 110.28 438.53 5.26 13.94 -4.21 501.78 48 -110.28 -438.53 -5.26 -13.94 -1.05 -63.24 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 44 24.20 671.35 2.35 16.08 -1.34 351.84 48 -24.20 -45.21 -2.35 -16.08 -1.02 6.44 3 44 100.86 832.41 5.71 22.51 -4.16 640.21

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 322: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111777]]] 48 -100.86 -362.81 -5.71 -22.51 -1.55 -42.60 75 1 34 234.91 -144.65 5.21 15.19 -3.89 188.22 35 -234.91 144.65 -5.21 -15.19 -1.31 -332.86 2 34 5.69 33.30 1.42 -1.41 -0.82 31.01 35 -5.69 592.84 -1.42 1.41 -0.60 -310.78 3 34 180.45 -83.51 4.97 10.33 -3.54 164.42 35 -180.45 553.11 -4.97 -10.33 -1.44 -482.73 76 1 35 298.72 -74.14 -4.38 11.77 6.10 143.73 36 -298.72 74.14 4.38 -11.77 2.67 -292.02 2 35 15.11 582.71 0.06 9.19 0.00 266.35 36 -15.11 669.56 -0.06 -9.19 -0.11 -353.20 3 35 235.38 381.43 -3.24 15.72 4.57 307.56 36 -235.38 557.78 3.24 -15.72 1.92 -483.92 77 1 37 -70.78 -72.55 1.04 3.83 -2.14 84.54 38 70.78 72.55 -1.04 -3.83 -2.01 -374.72 2 37 5.49 1227.80 0.09 25.74 -0.16 760.58 38 -5.49 1276.75 -0.09 -25.74 -0.21 -858.47 3 37 -48.97 866.44 0.85 22.18 -1.73 633.84 38 48.97 1011.97 -0.85 -22.18 -1.66 -924.89 78 1 38 -8.80 213.64 9.11 22.91 -5.36 385.94 39 8.80 -213.64 -9.11 -22.91 -3.75 -172.31 2 38 -4.53 679.00 1.13 5.14 -0.65 372.95 39 4.53 -52.86 -1.13 -5.14 -0.48 -7.02 3 38 -10.00 669.48 7.68 21.04 -4.51 569.17 39 10.00 -199.87 -7.68 -21.04 -3.17 -134.49 79 1 40 251.16 224.86 14.09 10.98 -13.77 677.74

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 323: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111888]]] 44 -251.16 -224.86 -14.09 -10.98 -14.41 -228.02 2 40 144.64 912.93 0.74 -8.35 -0.30 764.62 44 -144.64 339.34 -0.74 8.35 -1.18 -191.03 3 40 296.85 853.34 11.12 1.97 -10.55 1081.77 44 -296.85 85.86 -11.12 -1.97 -11.69 -314.29 80 1 43 200.30 -765.08 12.77 -19.94 -12.81 -817.30 44 -200.30 765.08 -12.77 19.94 -12.73 -712.86 2 43 -24.97 -32.34 0.80 -21.74 -0.52 -353.90 44 24.97 1284.61 -0.80 21.74 -1.08 -963.05 3 43 131.50 -598.06 10.18 -31.26 -10.00 -878.40 44 -131.50 1537.27 -10.18 31.26 -10.36 -1256.93 81 1 31 36.59 -49.13 0.66 39.14 -1.26 -96.26 32 -36.59 49.13 -0.66 -39.14 -1.39 -100.26 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 31 -0.53 1273.28 0.09 20.32 -0.18 822.72 32 0.53 1231.27 -0.09 -20.32 -0.19 -738.70 3 31 27.05 918.11 0.57 44.60 -1.08 544.85 32 -27.05 960.30 -0.57 -44.60 -1.19 -629.21 82 1 32 19.65 117.94 0.86 -50.55 -1.69 283.51 38 -19.65 -117.94 -0.86 50.55 -1.76 188.25

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 324: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333111999]]] 2 32 -1.09 1251.08 0.12 -25.22 -0.24 790.56 38 1.09 1253.47 -0.12 25.22 -0.26 -795.33 3 32 13.93 1026.77 0.74 -56.83 -1.45 805.55 38 -13.93 851.65 -0.74 56.83 -1.52 -455.31 117 1 30 19836.32 59.83 -70.30 17.83 139.71 121.10 5 -19836.32 -59.83 70.30 -17.83 141.51 118.24 2 30 14480.07 -11.31 -25.66 3.98 52.02 -22.40 5 -14781.99 11.31 25.66 -3.98 50.61 -22.82 3 30 25737.30 36.40 -71.97 16.36 143.79 74.02 5 -25963.74 -36.40 71.97 -16.36 144.09 71.56 118 1 32 19860.77 -54.61 -98.58 17.86 196.29 -108.96 7 -19860.77 54.61 98.58 -17.86 198.03 -109.48 2 32 14617.90 -44.32 1.46 3.98 -5.14 -90.03 7 -14919.82 44.32 -1.46 -3.98 -0.69 -87.26 3 32 25859.00 -74.20 -72.84 16.38 143.37 -149.24 7 -26085.44 74.20 72.84 -16.38 148.00 -147.55 119 1 38 21166.96 -75.94 -113.73 17.87 239.37 -151.29 13 -21166.96 75.94 113.73 -17.87 215.55 -152.46 2 38 16853.84 -28.92 -17.82 4.01 43.49 -57.25 13 -17155.77 28.92 17.82 -4.01 27.80 -58.42 3 38 28515.60 -78.64 -98.66 16.41 212.14 -156.40 13 -28742.04 78.64 98.66 -16.41 182.51 -158.16 121 1 44 17541.95 -107.28 60.99 17.94 -116.91 -236.03 20 -17541.95 107.28 -60.99 -17.94 -127.04 -193.07 2 44 13145.63 -71.47 13.22 4.09 -22.07 -159.22 20 -13447.55 71.47 -13.22 -4.09 -30.80 -126.65 3 44 23015.68 -134.06 55.65 16.53 -104.24 -296.44

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 325: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222000]]] 20 -23242.12 134.06 -55.65 -16.53 -118.38 -239.79 122 1 42 17855.26 21.11 -5.92 17.79 5.98 34.61 18 -17855.26 -21.11 5.92 -17.79 17.71 49.85 2 42 13533.55 3.98 -11.06 3.96 19.67 6.13 18 -13835.47 -3.98 11.06 -3.96 24.55 9.79 3 42 23541.61 18.82 -12.73 16.31 19.24 30.55 18 -23768.05 -18.82 12.73 -16.31 31.70 44.73 123 1 35 16977.07 50.20 55.73 17.83 -129.54 104.37 10 -16977.07 -50.20 -55.73 -17.83 -93.38 96.45 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 35 13804.12 -0.75 42.48 3.99 -98.44 0.80 10 -14106.04 0.75 -42.48 -3.99 -71.49 -3.80 3 35 23085.89 37.09 73.66 16.37 -170.98 78.88 10 -23312.33 -37.09 -73.66 -16.37 -123.65 69.48 125 1 31 21432.48 65.24 -95.49 17.83 191.58 142.10 6 -21432.48 -65.24 95.49 -17.83 190.36 118.86 2 31 17069.93 -5.14 -18.25 3.98 36.96 -2.70 6 -17371.85 5.14 18.25 -3.98 36.04 -17.84 3 31 28876.80 45.08 -85.30 16.36 171.40 104.55 6 -29103.25 -45.08 85.30 -16.36 169.80 75.76

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 326: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222111]]] 126 1 45 19235.34 -81.73 -10.21 17.87 21.13 -163.54 21 -19235.34 81.73 10.21 -17.87 19.71 -163.40 2 45 14312.89 -18.63 12.33 4.00 -24.80 -36.12 21 -14614.82 18.63 -12.33 -4.00 -24.52 -38.40 3 45 25161.17 -75.27 1.59 16.40 -2.75 -149.74 21 -25387.62 75.27 -1.59 -16.40 -3.61 -151.35 127 1 5 29466.82 161.35 -105.67 0.00 105.67 161.35 51 -29466.82 -161.35 105.67 0.00 0.00 0.00 2 5 21660.21 -34.47 -51.02 0.00 51.02 -34.47 51 -21735.69 34.47 51.02 0.00 0.00 0.00 3 5 38345.27 95.16 -117.52 0.00 117.52 95.16 51 -38401.88 -95.16 117.52 0.00 0.00 0.00 128 1 6 32693.38 247.67 -196.00 0.00 196.00 247.67 52 -32693.38 -247.67 196.00 0.00 0.00 0.00 2 6 26209.13 -14.46 -23.59 0.00 23.59 -14.46 52 -26284.62 14.46 23.59 0.00 0.00 0.00 3 6 44176.88 174.91 -164.69 0.00 164.69 174.91 52 -44233.49 -174.91 164.69 0.00 0.00 0.00 129 1 10 26504.54 103.80 160.88 0.00 -160.88 103.80 53 -26504.54 -103.80 -160.88 0.00 0.00 0.00 2 10 21581.67 -5.77 94.39 0.00 -94.39 -5.77 53 -21657.15 5.77 -94.39 0.00 0.00 0.00 3 10 36064.66 73.53 191.45 0.00 -191.45 73.53 53 -36121.27 -73.53 -191.45 0.00 0.00 0.00 130 1 7 29446.34 -37.03 -217.19 0.00 217.19 -37.03 54 -29446.34 37.03 217.19 0.00 0.00 0.00

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 327: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222222]]] 2 7 21832.17 -78.43 37.95 0.00 -37.95 -78.43 54 -21907.65 78.43 -37.95 0.00 0.00 0.00 3 7 38458.89 -86.59 -134.44 0.00 134.44 -86.59 54 -38515.50 86.59 134.44 0.00 0.00 0.00 131 1 18 25459.91 54.66 -123.63 0.00 123.63 54.66 55 -25459.91 -54.66 123.63 0.00 0.00 0.00 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 18 20374.50 36.87 -88.07 0.00 88.07 36.87 55 -20449.98 -36.87 88.07 0.00 0.00 0.00 3 18 34375.81 68.65 -158.78 0.00 158.78 68.65 55 -34432.42 -68.65 158.78 0.00 0.00 0.00 132 1 20 27832.50 -243.52 202.03 0.00 -202.03 -243.52 56 -27832.50 243.52 -202.03 0.00 0.00 0.00 2 20 20979.45 -137.84 47.36 0.00 -47.36 -137.84 56 -21054.94 137.84 -47.36 0.00 0.00 0.00 3 20 36608.96 -286.02 187.04 0.00 -187.04 -286.02 56 -36665.57 286.02 -187.04 0.00 0.00 0.00 133 1 13 32347.29 -123.36 -323.04 0.00 323.04 -123.36 57 -32347.29 123.36 323.04 0.00 0.00 0.00 2 13 25909.41 -29.62 -16.17 0.00 16.17 -29.62

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 328: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222333]]] 57 -25984.89 29.62 16.17 0.00 0.00 0.00 3 13 43692.53 -114.73 -254.41 0.00 254.41 -114.73 57 -43749.14 114.73 254.41 0.00 0.00 0.00 134 1 21 28497.81 -142.49 -103.95 0.00 103.95 -142.49 58 -28497.81 142.49 103.95 0.00 0.00 0.00 2 21 21387.24 7.69 17.58 0.00 -17.58 7.69 58 -21462.72 -7.69 -17.58 0.00 0.00 0.00 3 21 37413.79 -101.09 -64.78 0.00 64.78 -101.09 58 -37470.40 101.09 64.78 0.00 0.00 0.00 135 1 62 -25.31 -459.27 -2.89 -10.66 0.60 48.66 63 25.31 459.27 2.89 10.66 2.29 -507.93 2 62 13.52 -76.53 -1.49 3.62 -0.01 17.16 63 -13.52 702.67 1.49 -3.62 1.50 -406.77 3 62 -8.85 -401.85 -3.28 -5.28 0.44 49.37 63 8.85 871.46 3.28 5.28 2.84 -686.02 136 1 63 -117.87 99.34 -0.44 -48.83 0.76 251.80 64 117.87 -99.34 0.44 48.83 1.00 145.57 2 63 -52.90 1264.99 -0.12 -19.78 0.24 838.60 64 52.90 1239.56 0.12 19.78 0.26 -787.76 3 63 -128.08 1023.25 -0.42 -51.46 0.75 817.80 64 128.08 855.17 0.42 51.46 0.95 -481.64 137 1 65 39.89 526.93 -0.14 28.55 -1.05 541.67 66 -39.89 -526.93 0.14 -28.55 1.19 -14.74 2 65 29.18 717.41 6.03 -11.09 -3.76 404.12 66 -29.18 -91.27 -6.03 11.09 -2.28 0.21 3 65 51.81 933.25 4.42 13.10 -3.61 709.34 66 -51.81 -463.65 -4.42 -13.10 -0.82 -10.90

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 329: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222444]]] 138 1 59 436.21 -494.21 -0.28 20.98 -1.30 23.26 63 -436.21 494.21 0.28 -20.98 1.59 -517.47 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 59 10.44 -73.68 -1.12 -7.90 0.32 1.42 63 -10.44 699.82 1.12 7.90 0.80 -388.17 3 59 334.98 -425.92 -1.05 9.81 -0.73 18.51 63 -334.98 895.52 1.05 -9.81 1.79 -679.23 139 1 63 21.75 58.12 -0.60 61.89 0.93 141.82 68 -21.75 -58.12 0.60 -61.89 1.46 90.67 2 63 -103.02 1241.04 -0.23 50.07 0.42 784.46 68 103.02 1263.51 0.23 -50.07 0.50 -829.42 3 63 -60.95 974.37 -0.62 83.97 1.01 694.71 68 60.95 904.04 0.62 -83.97 1.47 -554.06 140 1 68 33.03 -74.73 -0.03 -87.14 0.10 -30.54 75 -33.03 74.73 0.03 87.14 0.04 -268.38 2 68 -51.48 1280.04 0.28 -53.13 -0.53 895.50 75 51.48 1224.51 -0.28 53.13 -0.59 -784.46 3 68 -13.83 903.98 0.19 -105.20 -0.33 648.72 75 13.83 974.43 -0.19 105.20 -0.42 -789.62

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 330: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222555]]] 141 1 75 -37.48 597.23 3.67 18.52 -2.20 573.56 80 37.48 -597.23 -3.67 -18.52 -1.47 23.68 2 75 -26.49 742.50 12.05 29.41 -6.97 418.02 80 26.49 -116.37 -12.05 -29.41 -5.08 11.42 3 75 -47.98 1004.80 11.79 35.95 -6.88 743.68 80 47.98 -535.20 -11.79 -35.95 -4.91 26.32 142 1 74 -44.42 -614.53 2.82 27.02 -1.58 -23.66 75 44.42 614.53 -2.82 -27.02 -1.24 -590.87 2 74 -40.29 -140.70 10.03 -9.82 -5.33 -19.00 75 40.29 766.84 -10.03 9.82 -4.70 -434.77 3 74 -63.53 -566.42 9.64 12.90 -5.18 -31.99 75 63.53 1036.03 -9.64 -12.90 -4.46 -769.23 143 1 75 545.08 1043.73 -1.15 127.03 -0.77 861.28 76 -545.08 -1043.73 1.15 -127.03 3.06 1226.18 2 75 390.36 1417.02 -0.55 120.84 -1.15 838.12 76 -390.36 -164.75 0.55 -120.84 2.26 743.65 3 75 701.58 1845.56 -1.27 185.91 -1.44 1274.55 76 -701.58 -906.36 1.27 -185.91 3.99 1477.37 144 1 77 28.28 -41.68 0.67 -74.63 -1.92 77.73 78 -28.28 41.68 -0.67 74.63 -0.75 -244.45 2 77 80.61 1259.13 0.65 -57.72 -1.88 838.76 78 -80.61 1245.42 -0.65 57.72 -0.74 -811.33 3 77 81.67 913.09 0.99 -99.26 -2.85 687.37 78 -81.67 965.32 -0.99 99.26 -1.11 -791.84 145 1 78 -55.09 446.19 2.94 -0.49 -2.41 485.82 79 55.09 -446.19 -2.94 0.49 -0.53 -39.63 STAAD SPACE

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 331: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222666]]] MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 78 -43.73 679.04 3.51 12.92 -2.34 376.16 79 43.73 -52.90 -3.51 -12.92 -1.16 -10.19 3 78 -74.11 843.92 4.83 9.32 -3.56 646.48 79 74.11 -374.32 -4.83 -9.32 -1.27 -37.36 146 1 61 15.62 -470.73 -9.47 -9.91 6.60 36.55 65 -15.62 470.73 9.47 9.91 2.87 -507.27 2 61 17.29 -75.75 4.94 17.35 -2.40 4.54 65 -17.29 701.89 -4.94 -17.35 -2.54 -393.36 3 61 24.68 -409.86 -3.40 5.58 3.15 30.81 65 -24.68 879.46 3.40 -5.58 0.24 -675.47 147 1 71 20.63 -59.23 0.64 38.58 -1.44 -91.29 78 -20.63 59.23 -0.64 -38.58 -1.13 -145.63 2 71 33.58 1250.71 0.57 18.37 -1.22 807.64 78 -33.58 1253.84 -0.57 -18.37 -1.06 -813.88 3 71 40.66 893.61 0.91 42.71 -2.00 537.26 78 -40.66 984.80 -0.91 -42.71 -1.64 -719.63 148 1 78 47.45 569.81 3.04 13.61 -1.65 550.09 82 -47.45 -569.81 -3.04 -13.61 -1.40 19.72 2 78 81.41 757.75 1.71 2.59 -0.71 436.11 82 -81.41 -131.61 -1.71 -2.59 -1.00 8.57 3 78 96.65 995.67 3.56 12.15 -1.76 739.65

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 332: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222777]]] 82 -96.65 -526.07 -3.56 -12.15 -1.80 21.22 149 1 60 498.34 -107.19 -7.96 5.69 4.73 215.07 64 -498.34 107.19 7.96 -5.69 3.23 -322.26 2 60 57.60 -12.90 1.87 4.51 -1.02 24.04 64 -57.60 639.03 -1.87 -4.51 -0.85 -350.00 3 60 416.95 -90.07 -4.57 7.65 2.78 179.33 64 -416.95 559.67 4.57 -7.65 1.79 -504.20 150 1 64 340.36 108.16 -0.35 -5.57 0.68 429.08 70 -340.36 -108.16 0.35 5.57 0.74 3.58 2 64 130.18 1308.13 -0.09 -27.51 0.11 867.15 70 -130.18 1196.42 0.09 27.51 0.26 -643.74 3 64 352.90 1062.22 -0.33 -24.81 0.59 972.17 70 -352.90 816.19 0.33 24.81 0.75 -480.12 151 1 77 30.19 340.57 14.16 13.67 -7.66 440.62 81 -30.19 -340.57 -14.16 -13.67 -6.50 -100.05 2 77 139.12 609.21 19.24 16.83 -10.42 312.40 81 -139.12 16.93 -19.24 -16.83 -8.83 -16.25 3 77 126.98 712.34 25.06 22.87 -13.56 564.76 81 -126.98 -242.73 -25.06 -22.87 -11.50 -87.22 152 1 67 -95.12 -13.31 -2.91 10.40 0.88 238.48 68 95.12 13.31 2.91 -10.40 2.03 -251.80 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 333: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222888]]] MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 67 -39.75 115.33 3.68 -2.45 -2.44 62.23 68 39.75 510.81 -3.68 2.45 -1.25 -259.98 3 67 -101.15 76.51 0.58 5.96 -1.16 225.54 68 101.15 393.09 -0.58 -5.96 0.58 -383.83 153 1 68 420.85 -49.18 -1.76 16.11 2.62 112.38 69 -420.85 49.18 1.76 -16.11 0.90 -210.75 2 68 306.93 631.52 0.13 12.58 0.11 252.87 69 -306.93 620.76 -0.13 -12.58 -0.37 -242.11 3 68 545.83 436.75 -1.23 21.52 2.05 273.94 69 -545.83 502.46 1.23 -21.52 0.40 -339.65 154 1 70 173.74 -88.72 0.86 10.39 -1.44 67.06 71 -173.74 88.72 -0.86 -10.39 -1.99 -421.95 2 70 132.91 1219.62 0.71 33.09 -1.13 724.32 71 -132.91 1284.93 -0.71 -33.09 -1.70 -854.94 3 70 229.99 848.18 1.17 32.61 -1.93 593.54 71 -229.99 1030.24 -1.17 -32.61 -2.77 -957.66 155 1 71 -7.06 121.38 3.18 15.95 -2.74 330.87 72 7.06 -121.38 -3.18 -15.95 -0.44 -209.49 2 71 -17.57 629.19 5.75 1.86 -3.63 343.67 72 17.57 -3.06 -5.75 -1.86 -2.12 -27.55 3 71 -18.47 562.93 6.70 13.36 -4.78 505.90 72 18.47 -93.32 -6.70 -13.36 -1.93 -177.78 156 1 73 1154.93 119.76 -6.49 5.05 9.28 492.79 77 -1154.93 -119.76 6.49 -5.05 3.70 -253.27

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 334: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333222999]]] 2 73 1047.75 788.98 0.78 -12.78 1.81 539.69 77 -1047.75 463.30 -0.78 12.78 -3.38 -214.01 3 73 1652.01 681.55 -4.28 -5.80 8.32 774.36 77 -1652.01 257.66 4.28 5.80 0.24 -350.46 157 1 76 -467.55 -766.43 -8.40 -10.87 11.91 -818.72 77 467.55 766.43 8.40 10.87 4.88 -714.14 2 76 -414.32 -46.85 -1.31 -15.81 4.40 -363.91 77 414.32 1299.13 1.31 15.81 -1.78 -982.07 3 76 -661.40 -609.96 -7.28 -20.01 12.24 -886.97 77 661.40 1549.17 7.28 20.01 2.32 -1272.16 158 1 64 -144.88 -68.93 -0.03 51.77 0.11 -128.45 65 144.88 68.93 0.03 -51.77 0.02 -147.29 2 64 -83.31 1272.42 0.30 28.39 -0.56 809.65 65 83.31 1232.13 -0.30 -28.39 -0.66 -729.08 3 64 -171.14 902.61 0.20 60.12 -0.33 510.90 65 171.14 975.80 -0.20 -60.12 -0.48 -657.28 159 1 65 -114.14 107.08 0.57 -59.51 -0.94 246.54 71 114.14 -107.08 -0.57 59.51 -1.34 181.76 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 65 -62.74 1243.73 0.72 -32.16 -1.28 758.82

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 335: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333000]]] 71 62.74 1260.82 -0.72 32.16 -1.60 -793.02 3 65 -132.66 1013.10 0.97 -68.75 -1.66 754.03 71 132.66 865.31 -0.97 68.75 -2.20 -458.45 160 1 63 9955.56 67.50 -79.12 19.78 159.69 137.60 30 -9955.56 -67.50 79.12 -19.78 156.79 132.38 2 63 7108.51 -11.50 -33.35 5.28 67.43 -22.34 30 -7410.43 11.50 33.35 -5.28 65.95 -23.65 3 63 12798.06 42.00 -84.35 18.79 170.34 86.44 30 -13024.50 -42.00 84.35 -18.79 167.05 81.55 161 1 65 9999.98 -70.94 -106.60 19.73 214.34 -143.87 32 -9999.98 70.94 106.60 -19.73 212.07 -139.90 2 65 7187.86 -60.43 1.59 5.30 -4.68 -123.14 32 -7489.78 60.43 -1.59 -5.30 -1.68 -118.60 3 65 12890.88 -98.53 -78.76 18.77 157.25 -200.26 32 -13117.32 98.53 78.76 -18.77 157.79 -193.88 162 1 71 10525.27 -88.30 -142.20 19.84 291.27 -176.35 38 -10525.27 88.30 142.20 -19.84 277.55 -176.84 2 71 8236.54 -38.31 -34.90 5.40 72.74 -76.40 38 -8538.47 38.31 34.90 -5.40 66.86 -76.84 3 71 14071.36 -94.96 -132.83 18.93 273.00 -189.56 38 -14297.80 94.96 132.83 -18.93 258.31 -190.27 163 1 77 8781.15 -158.83 60.42 20.23 -121.16 -326.64 44 -8781.15 158.83 -60.42 -20.23 -120.53 -308.68 2 77 6477.84 -110.09 10.11 5.71 -20.09 -225.92 44 -6779.76 110.09 -10.11 -5.71 -20.36 -214.43 3 77 11444.24 -201.69 52.90 19.45 -105.94 -414.42 44 -11670.69 201.69 -52.90 -19.45 -105.66 -392.33

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 336: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333111]]] 164 1 75 8973.10 10.37 9.25 19.75 -18.59 19.63 42 -8973.10 -10.37 -9.25 -19.75 -18.42 21.85 2 75 6653.69 -0.23 -3.65 5.28 7.18 -0.56 42 -6955.61 0.23 3.65 -5.28 7.41 -0.36 3 75 11720.09 7.60 4.20 18.78 -8.56 14.30 42 -11946.53 -7.60 -4.20 -18.78 -8.26 16.12 165 1 68 8403.87 59.34 95.02 19.78 -198.14 119.48 35 -8403.87 -59.34 -95.02 -19.78 -181.95 117.88 2 68 6721.79 1.55 70.69 5.25 -147.38 3.27 35 -7023.71 -1.55 -70.69 -5.25 -135.39 2.93 3 68 11344.24 45.67 124.29 18.77 -259.14 92.06 35 -11570.69 -45.67 -124.29 -18.77 -238.00 90.61 166 1 64 10633.96 85.21 -104.31 19.74 208.66 176.50 31 -10633.96 -85.21 104.31 -19.74 208.57 164.33 STAAD SPACE MEMBER END FORCES STRUCTURE TYPE = SPACE ----------------- ALL UNITS ARE -- KG METE MEMBER LOAD JT AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z TORSION MOM-Y MOM-Z 2 64 8323.76 4.30 -24.67 5.27 49.50 11.49 31 -8625.68 -4.30 24.67 -5.27 49.17 5.71 3 64 14218.29 67.13 -96.73 18.76 193.62 140.99 31 -14444.73 -67.13 96.73 -18.76 193.31 127.53

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 337: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333222]]] 167 1 78 9686.69 -97.62 -7.14 19.74 15.91 -196.70 45 -9686.69 97.62 7.14 -19.74 12.65 -193.76 2 78 7036.72 -27.51 15.11 5.35 -29.56 -54.99 45 -7338.65 27.51 -15.11 -5.35 -30.88 -55.05 3 78 12542.56 -93.85 5.98 18.82 -10.24 -188.77 45 -12769.00 93.85 -5.98 -18.82 -13.67 -186.61 ************** END OF LATEST ANALYSIS RESULT ************** 98. START CONCRETE DESIGN STAAD SPACE 99. CODE ACI 100. DESIGN ELEMENT 100 TO 116 STAAD SPACE ELEMENT DESIGN SUMMARY ---------------------- ELEMENT LONG. REINF MOM-X /LOAD TRANS. REINF MOM-Y /LOAD

แสดงสรปุผลการออกแบบแผนพืน้

(SQ.MM/MM) (KN-MM/MM) (SQ.MM/MM) (KN-MM/MM) 100 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 100 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 100 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 100 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 100 TOP : 0.270 0.71 / 1 0.270 1.11 / 3 BOTT: 0.270 0.16 / 2 0.270 0.00 / 0 101 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 101 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 338: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333333]]] 101 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 101 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 101 TOP : 0.270 1.29 / 3 0.270 0.30 / 1 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.06 / 2 102 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 102 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 102 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 102 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 102 TOP : 0.270 0.42 / 2 0.270 3.23 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 2 103 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 103 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 103 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 103 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 103 TOP : 0.270 1.15 / 1 0.270 1.30 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 2 104 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 104 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 104 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 104 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 104 TOP : 0.270 0.73 / 1 0.270 0.76 / 1 BOTT: 0.270 0.26 / 2 0.270 0.32 / 2 105 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 105 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 105 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 105 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 105 TOP : 0.270 1.58 / 3 0.270 0.27 / 1

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 339: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333444]]] BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.01 / 2 106 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 106 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 106 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 106 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 106 TOP : 0.270 0.78 / 1 0.270 1.68 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 2 107 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. STAAD SPACE 107 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 107 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 107 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 107 TOP : 0.270 1.53 / 3 0.270 0.00 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.34 / 1 108 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 108 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 108 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 108 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 108 TOP : 0.270 1.04 / 1 0.270 1.72 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 1 109 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 109 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 109 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 109 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 109 TOP : 0.270 1.91 / 3 0.270 1.92 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 1

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 340: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333555]]] 110 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 110 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 110 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 110 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 110 TOP : 0.270 1.93 / 3 0.270 1.97 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 1 111 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 111 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 111 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 111 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 111 TOP : 0.270 1.70 / 3 0.270 2.05 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 1 112 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 112 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 112 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 112 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 112 TOP : 0.270 1.91 / 1 0.270 1.95 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 1 113 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 113 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 113 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 113 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 113 TOP : 0.270 0.55 / 1 0.270 1.67 / 3 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 1 114 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 114 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 341: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333666]]] 114 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 114 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 114 TOP : 0.270 0.22 / 1 0.270 1.60 / 3 BOTT: 0.270 0.11 / 2 0.270 0.00 / 1 115 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. STAAD SPACE 115 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 115 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 115 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 115 TOP : 0.270 1.60 / 3 0.270 0.29 / 1 BOTT: 0.270 0.00 / 2 0.270 0.00 / 1 116 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required. 116 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required. 116 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required. 116 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required. 116 TOP : 0.270 0.48 / 1 0.270 1.67 / 3 BOTT: 0.270 0.05 / 2 0.270 0.00 / 1 *************************END OF ELEMENT DESIGN************************** 101. UNIT CM KG 102. FC 65 MEMB 100 TO 116 103. FYMAIN 2400 MEMB 100 TO 116 104. END CONCRETE DESIGN 105. START SHEARWALL DESIGN 106. CODE ACI 107. DESIGN SHEARWALL ALL STAAD SPACE

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 342: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333777]]] ================= ====================== ===============================แสดงสรปุผลการออกแบบผนังรับแรงเฉือน SHEARWALL NO. : 1 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ====================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -11.81 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00038)* ----------------------------------------------------------------------------- -10.50 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00033)* ----------------------------------------------------------------------------- -9.19 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00027)* ----------------------------------------------------------------------------- -7.87 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 343: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333888]]] 2 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00023)* ----------------------------------------------------------------------------- -6.56 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00017)* ----------------------------------------------------------------------------- -5.25 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00012)* ----------------------------------------------------------------------------- -3.94 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00006)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00001)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 1 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ====================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 344: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333333999]]] (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00003)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1 HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50. CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ====================================================================== SHEARWALL NO. : 2 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 345: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444000]]] (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -11.81 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00003)* ----------------------------------------------------------------------------- -10.50 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00002)* ----------------------------------------------------------------------------- -9.19 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00001)* ----------------------------------------------------------------------------- -7.87 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)* ----------------------------------------------------------------------------- -6.56 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00001)* ----------------------------------------------------------------------------- -5.25 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)* ----------------------------------------------------------------------------- -3.94 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 346: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444111]]] 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00001)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00002)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 2 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ====================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00004)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 347: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444222]]] HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50. CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ====================================================================== SHEARWALL NO. : 3 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ====================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -11.81 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 2 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00025)* ----------------------------------------------------------------------------- -10.50 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 2 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00026)*

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 348: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444333]]] ----------------------------------------------------------------------------- -9.19 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00023)* ----------------------------------------------------------------------------- -7.87 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 2 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.220/ 0.00044 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00044)* ----------------------------------------------------------------------------- -6.56 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00044)* ----------------------------------------------------------------------------- -5.25 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00049)* ----------------------------------------------------------------------------- -3.94 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00055)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00045)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 3 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 349: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444444]]] HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 2 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.400/ 0.00081 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00067)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1 HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50. CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ====================================================================== SHEARWALL NO. : 4 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 350: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444555]]] HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -11.81 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00002)* ----------------------------------------------------------------------------- -10.50 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00004)* ----------------------------------------------------------------------------- -9.19 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00003)* ----------------------------------------------------------------------------- -7.87 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00003)* ----------------------------------------------------------------------------- -6.56 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 351: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444666]]] 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00003)* ----------------------------------------------------------------------------- -5.25 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00004)* ----------------------------------------------------------------------------- -3.94 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00007)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00007)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 4 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 352: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444777]]] EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00001)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1 HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50. CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ====================================================================== SHEARWALL NO. : 5 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 353: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444888]]] EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -11.81 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00005)* ----------------------------------------------------------------------------- -10.50 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00005)* ----------------------------------------------------------------------------- -9.19 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00003)* ----------------------------------------------------------------------------- -7.87 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00002)* ----------------------------------------------------------------------------- -6.56 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)* ----------------------------------------------------------------------------- -5.25 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00002)* ----------------------------------------------------------------------------- -3.94 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00002)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 354: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333444999]]] 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00002)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 5 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00001)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1 HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 355: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555000]]] CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ==================================================================== SHEARWALL NO. : 6 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -11.81 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00007)* ----------------------------------------------------------------------------- -10.50 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00025)* -----------------------------------------------------------------------------

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 356: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555111]]] -9.19 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00014)* ----------------------------------------------------------------------------- -7.87 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00028)* ----------------------------------------------------------------------------- -6.56 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00026)* ----------------------------------------------------------------------------- -5.25 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.200/ 0.00040 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00032)* ----------------------------------------------------------------------------- -3.94 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00048)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00050)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 6 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 13.12 FT FY : 60.00 KSI

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 357: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555222]]] THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 2 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.400/ 0.00081 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00074)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1 HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50. CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ==================================================================== SHEARWALL NO. : 7 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 358: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555333]]] HEIGHT : 3.28 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ====================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -2.95 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 2 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.400/ 0.00081 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00071)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 2 - # 4/ 1/ 0.00254 0.00155 0.400/ 0.00081 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00069)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.30 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 3 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.330/ 0.00067 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00066)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.97 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 3 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.330/ 0.00067 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00064)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.64 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 359: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555444]]] 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00060)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00058)* ----------------------------------------------------------------------------- -0.98 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00053)* ----------------------------------------------------------------------------- -0.66 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 5/ 1/ 0.00254 0.00155 0.310/ 0.00062 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00050)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 7 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 3.28 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 360: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555555]]] VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -0.33 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 2 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.220/ 0.00044 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00042)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1 HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50. CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ====================================================================== SHEARWALL NO. : 8 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 3.28 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ====================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 361: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555666]]] HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -2.95 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00004)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00001)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.30 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.97 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.64 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00002)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00003)* ----------------------------------------------------------------------------- -0.98 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00003)*

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 362: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555777]]] ----------------------------------------------------------------------------- -0.66 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00005)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 8 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 3.28 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -0.33 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 1 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.110/ 0.00022 1 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00006)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 363: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555888]]] HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50. CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ===================================================================== SHEARWALL NO. : 9 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI HEIGHT : 3.28 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -2.95 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00101)* ----------------------------------------------------------------------------- -2.62 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00094)*

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 364: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333555999]]] ----------------------------------------------------------------------------- -2.30 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00093)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.97 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00093)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.64 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00094)* ----------------------------------------------------------------------------- -1.31 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00092)* ----------------------------------------------------------------------------- -0.98 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00096)* ----------------------------------------------------------------------------- -0.66 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00096)* ----------------------------------------------------------------------------- ====================================================================== SHEARWALL NO. : 9 DESIGN CODE : ACI 318-02 WIDTH : 6.56 FT FC : 4.00 KSI

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 365: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333666000]]] HEIGHT : 3.28 FT FY : 60.00 KSI THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2) ===================================================================== LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/ (FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) VERT./ EDGE REBAR ----------------------------------------------------------------------------- -0.33 1/ # 4 @ 10.00/ # 3 @ 9.00/ 5 - # 3/ 1/ 0.00254 0.00155 0.550/ 0.00111 3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00102)* ----------------------------------------------------------------------------- NOTE : ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE. NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 1 HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER. REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50. CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE. *) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3. ====================================================================== 108. FC 65 ALL 109. FYMAIN 2400 ALL 110. TWO 1 ALL

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 366: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333666111]]] 111. END SHEARWALL DESIGN 112. FINISH *********** END OF THE STAAD.Pro RUN *********** **** DATE= FEB 5,2007 TIME= 7:53:38 **** Information about the key files in the current distribution Modfication Date CRC Size (Bytes) File Name ----------------------------------------------------------------------------------------- 07/12/2005 0xaf01 11636736 SProStaad.exe 12/16/2004 0xca81 04558848 SProStaadStl.exe 09/19/2003 0x2fc0 00081970 CMesh.dll 07/11/2005 0xc7c0 02396160 dbsectioninterface.dll 01/23/2001 0x9b40 00073728 LoadGen.dll 09/25/2003 0x6340 00704512 MeshEngine.dll 09/22/2003 0xce00 00069632 QuadPlateEngine.dll 04/16/2004 0x91c1 00139264 SurfMesh.dll 06/23/2005 0x4c01 00493568 aiscsections.mdb 01/05/2005 0x79c1 00319488 aiscsections_all_editions.mdb 01/05/2005 0x4b81 01810432 aiscsteeljoists.mdb 01/05/2005 0xcac1 03651584 aitctimbersections.mdb 01/27/2005 0xeb01 00552960 aluminumsections.mdb 01/05/2005 0xcd01 00163840 australiansections.mdb 01/05/2005 0x6a41 00229376 britishsections.mdb 07/08/2005 0x9d41 00434176 bscoldformedsections.mdb 06/28/2005 0x8201 00327680 butlercoldformedsections.mdb 01/05/2005 0xabc0 00262144 canadiansections.mdb 05/31/2005 0x9e81 00450560 canadiantimbersections.mdb 05/05/2005 0x7f80 00409600 chinesesections.mdb

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 367: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางการตัวอยางการตัวอยางการวิเคราะหวิเคราะหวิเคราะหโครงสราง โครงสราง โครงสราง 3 3 3 มิติมิติมิต ิ[[[333666222]]] 01/05/2005 0xd6c0 00600064 dutchsections.mdb 01/05/2005 0x1a00 00354304 europeansections.mdb 01/05/2005 0xd301 00202752 frenchsections.mdb 01/05/2005 0x11c1 00233472 germansections.mdb 01/05/2005 0x3c40 00264192 indiansections.mdb 01/05/2005 0xd540 00180224 iscoldformedsections.mdb 02/03/2005 0x9c01 00202752 japanesesections.mdb 01/05/2005 0xb740 00174080 koreansections.mdb 02/03/2005 0xda00 00096256 lysaghtcoldformedsections.mdb 02/07/2005 0x9a00 00243712 mexicansteeltables.mdb 02/03/2005 0x9b40 00307200 russiansections.mdb 01/05/2005 0x9081 00206848 southafricansections.mdb 01/06/2005 0x9341 00194560 spanishsections.mdb 06/23/2005 0x2800 00204800 uscoldformedsections.mdb 01/05/2005 0xbac0 00149504 usersectionstemplate.mdb 01/05/2005 0x9d41 00141312 venezuelansections.mdb -----------------------------------------------------------------------------------------

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 368: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพัน

ฐานฐานฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSSTTTAAAAAADDD PPPrrrooo [[[333666333]]]

ี่

5

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

บทท

ธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

Page 369: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSSTTTAAAAAADDD PPPrrrooo [[[333666444]]] Tips and Tricks for using STAAD Pro คําถาม: When I am printing the help contents, the sentences are often truncated at the right end due to inadequate width for the right margin and/or font size. The pictures too are cut off. Is there a way to set the right margin so we can see all text and pictures in the printed document? คําตอบ: One way to overcome this problem is to print the pages in landscape mode. คําถาม: Whenever I start up STAAD Pro want the default unit system to come up as Metric instead of English. What is the setting for this specification? คําตอบ: Start STAAD Pro From the File menu, select Configure. Choose Base unit and set it to Metric. คําถาม: I have a beam whose local axis is parallel to the global X axis. I want to orient it in a way that its web is parallel to the global XZ plane. คําตอบ: Specify a Beta angle of 90 degrees. Beta angles can be specified from the Commands - Geometric Constants menu. คําถาม: A member property is declared using the Tapered option. What do the values reported in response to the PRINT MEMBER PROPERTY command represent? คําตอบ: The average of the values between those at the start and end locations of the member. คําถาม: I have a Wide Flange section with a concrete slab on top, resulting in composite action. How do I assign properties so that the "composite" nature of the section can be taken advantage of? คําตอบ: STAAD does have a facility for defining a composite section consisting of a wide flange with a concrete slab on top. This property assignment can be made through the Commands - Member Property page. คําถาม: I am modeling a portal frame where the connection between the beam and column is of the "Welded" type. Do I have to assign any specific command to convey this message to the analysis engine? คําตอบ: By default, all connections are assumed to be of the type where the forces of all 6 degrees of freedom can be transmitted across the connection. Since this assumption conforms to

5ฐานความรูของ STAAD Pro

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 370: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[336655]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [365]the requirement of a welded type of connection, no special instructions have to be specified in the STAAD file. คําถาม: In the STAAD/Pro Graphical User Interface, how does one delete a support? คําตอบ: Select the support type S1, which is designated "No support" and assign it to the node where you want the support removed. คําถาม: I want to perform a seismic analysis per the UBC 1997 code. However, instead of using the code specifications for calculating the periods of the structure, I want to specify my own. คําตอบ: It can be done. The input syntax for UBC loading includes 2 parameters by the name PX and PZ, which indicate the periods of the structure in X and Z directions. คําถาม: How many modes does STAAD use by default in response spectrum and time history analyses? คําตอบ: In STAAD/Pro 2000 and older - 3 In STAAD Pro 2001 - 6 คําถาม: I am analyzing a large structure and encounter an error message "Read /Write Error in Unit 17". I have been told that this is due to insufficient disk space. My input file is located on the D drive which has over 10 GB of free space. How do I remedy this situation? คําตอบ: During the analysis, temporary files are created and placed in the folder pointed to by the SET TEMP parameter under the Windows Environment settings. Usually, this is on the C: drive. Further, the virtual memory paging files may also be residing on the C: drive. You can a) change the virtual memory settings so multiple drives are used b) Change the "SET TEMP" folder to point to the drive with a large amount of free space. คําถาม: The KL/ry reported for a T shape does not match my hand calculations. I am using the AISC ASD 9th edition code. คําตอบ: For singly symmetric shapes, KL/r for the Y axis has to be calculated using the rules for flexural torsional buckling as explained in page 3-53 of the AISC ASD manual. คําถาม: I am unable to view any of the mode shapes besides the first mode shape. คําตอบ: From the View menu, select "Structure Diagrams - Loads and Results", and choose the mode you want to view.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 371: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[336666]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [366]

http://www.reiworld.com/Product/Pro/Tutorials.aspSTAAD Pro Knowledge Base http://www.reiworld.com/support/pro/faqs.asp

General1. Problem: How does Staad "direct" a spring to determine if it is in compression or tension? In view of the above, how should one specified radially directed springs located around a circular tunnel or pipe and designate them as "compression" only in the physical sense of the term? Solution: For the purpose of defining the sense of the force in the SPRING TENSION/SPRING COMPRESSION facility, the following rules are adopted in STAAD :A support reaction force is considered TENSILE if it is opposite to the positive direction of the axis under consideration. Another way of putting it is that, for this condition, the displacement along that axis of the support node is in the same direction as the positive direction of that axis.A support reaction force is considered COMPRESSIVE if it is along the positive direction of the axis under consideration. Another way of putting it is that, for this condition, the displacement along that axis of the support node is in the direction opposite to the positive direction of that axis. These rules are applicable for global axis supports, as well as inclined axis supports. Hence, use the center of the circular pipe as the REFERENCE POINT for the INCLINED supports. The local X axis for the inclined supports will then point from the perimeter towards the center of the circle. The supports around the circumference can then be assigned COMPRESSION only springs. 2. Problem: What is the difference between a LOAD COMBINATION and a REPEAT LOAD? Solution: The difference lies in the way STAAD goes about calculating the results - joint displacements, member forces and support reactions. For a load combination case, STAAD simply ALGEBRAICALLY COMBINES THE RESULTS of the component cases after factoring them. In other words, for example, in order to obtain the results of load 10, it has no

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 372: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[336677]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [367]need to know what exactly constitutes load cases 3, 4 and 5. It just needs to know what the results of those cases are. Thus, the structure is NOT actually analysed for a combination load case. With a REPEAT LOAD case however, the procedure followed is that which occurs for any other primary load case. A load vector {P} is first created, and later, that load vector gets pre-multiplied by the inverted stiffness matrix. [Kinv] {P} to obtain the joint displacements. Those displacements are then used to calculate the member forces and support reactions. Thus, the structure IS analysed for that load case {P}. 3. Problem: In a structure which has wall panels in addition to other things, is it possible to temporarily disable some of the outer panels and analyse just the rest of the structure consisting of interior beams, columns, and slabs? Solution: STAAD has an INACTIVE MEMBER command. This command can be used with beam/columns as well as plate elements. The members and elements subjected to this condition will have their stiffness, as well as any applied loading on them, ignored. This means, only the remainder of the structure will be treated as being active. So, what you can do is use the INACTIVE MEMBER command in conjunction with CHANGE to create a multiple analysis model. In this manner, a single STAAD input file can represent various stages of construction of the structure. Take a look at example 4 in the Examples manual. Although that example illustrates the procedure using just beams, the same can be used with plates included in the structure 4. Problem: What's the difference between ELASTIC MAT and PLATE MAT for spring support generation? Solution: With the ELASTIC MAT you enter a list of joints from which STAAD will attempt to form a perimeter which encloses an overall area. This is done with a convex hull algorithm. Lastly, areas are assigned to each joint. If the convex hull rules are met, the algorithm works well. However for mats with irregular edges or holes, the algorithm may not do what the user expects and one may end up with springs with unreasonable spring constant values. Since many mat foundation problems have plates defining the entire mat, we have added the PLATE MAT option where you enter a list of plates that entirely define the mat. Roughly 1/4th of the area of each plate is assigned to each joint in the plate in the same manner as uniform pressure or self weight is distributed.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 373: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[336688]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [368]So if you have the foundation support entirely defined by plates, then use the PLATE MAT option. Otherwise use the ELASTIC MAT option. With this option please observe the rules listed in the Tech Ref Manual. Avoid convex angles. You may have to subdivide the region into several sub-regions with several ELASTIC MAT commands. Add "PRINT" to the end of the command to see the areas assigned to each joint where a support is generated 5. Problem: My model is a simple rectangular beam fixed at both ends, with an applied torsional moment at the mid-span point of the beam. Results shows zero moment at one end. At the other end, the value equals the full amount of the applied torsional moment. The results are unchanged even in the case of uniform torsional moment applied throughout the span. Solution: If you defined the beam as a single member, with fixed supports at both ends, it becomes a model with zero degrees of freedom. Under those conditions, there are no displacements to solve for. For such a case, STAAD by default releases the torsional degree of freedom at one end, and a message to this effect will appear in your output file. So, look at the output file and see if the following message is present ***STAAD.Pro WARNING - ALL DEGREES OF FREEDOM FIXED. STAAD WILL RELEASE MOMENT-X AT FIRST JOINT ENTERED. If you see such a message, go back to your model, and change the support at one of the nodes from FIXED to FIXED BUT MY. Alternatively, break up the beam into 2 members, so that a node is create at the mid-span point. This will change the model from a zero d.o.f system to a 6 d.o.f system, which hence wouldn't require STAAD to release anything on its own. Then change the applied load from a concentrated moment to a joint load MX at the middle joint. You will get the answers you expect. 6. Problem: The output from my STAAD run contains the warning message : THIS STRUCTURE IS DISJOINTED. IGNORE IF MASTER/SLAVE OR IF UNCONNECTED JOINTS. Is STAAD telling me that my structure is in several pieces?

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 374: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[336699]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [369]Solution: This is referred to in STAAD as Multiple structures. The document below explains the process for identifying the disparate components and merging them so they form a single structure. One of the consequences of having multiple structures, namely, structural instabilities, is also discussed. 7. Problem: I need to specify a cable member. Can I give it the proper properties using user define tables? Solution: The only property that a cable requires is the cross section area. So any property type which can enable the program to obtain the area would be acceptable. A few examples are : As a PRISmatic section with the diameter specified using the term YD : MEMBER PROPERTY 1 PRIS YD 1.0 or As a PRISmatic section with the Area specified using the term AX MEMBER PROPERTY 1 PRIS AX 0.35 or As a PIPE section with the outer and inner diameters specified using the terms OD & ID MEMBER PROPERTY 1 TA ST PIPE OD 1.1 ID 0.0 If you wish to specify it as a user defined section using a user table, that would be acceptable too. 8. Problem: We have successfully imported an Autocad model into Staad.Pro. Since the import, the original drawing has been changed (beam spacings, etc.). Is it possible to "re-import" the revised CAD drawing into the existing Staad.Pro model? Will Staad.Pro pick up the revisions, or do we have to start over? Solution: If the only changes are in beam spacings, that is, the actual number of beams and nodes has not changed, you can import the new geometry into a new STAAD file.Then, using the STAAD editor, you can copy all of the data which comes after the geometry from the old STAAD file to your new STAAD file 9. Problem: I have generated a cross-section using Sectionwizard with all its properties calculated correctly. I exported the section as indicated on the Sectionwizard manual. Now, my problem is when I tried to import this section into STAAD.Pro, it didn't seem to

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 375: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337700]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [370]recognize the user-defined table I created in Sectionwizard. Solution: You can import a Sectionwizard property into STAAD.Pro by following these steps: 1) Go to Tools | Create User Table... from the main menu in STAAD.Pro. The Create User Provided Table will prompt you to create a new table. 2) Click on the New Table button to select an existing external table in the Select Section Type dialog box 3) Check the box labeled External Table. Click on the Browse button to find the UPT that was created in Sectionwizard. Select the Section Type depending on what type of property you exported from Sectionwizard. This can be either Prismatic or General. Click on OK once you have located the UPT file. [NOTE: Please make sure the STAAD file and UPT created from Sectionwizard are located in the same directory] 4) You will now be able to see the Property name in the Create User Table dialog window. Click the Close button. 5) You can now access this property for assignment to members in your model from the Property page. Click on the "User Table..." button to see all of the UPT tables and the properties in each table. 10. Problem: What is the difference between importing an AutoCAD DXF file and using Frameworks to create my model? Solution: When a model is imported as a DXF file (whether from AutoCAD or some other CAD package), only the geometry (joint coordinates and member incidences) are imported. Frameworks (a CAD package from Intergraph) has the ability to generate an entire STAAD file (.std) including loads, supports and member specifications. Frameworks provides the facility to input these structural attributes in its environment and the, generates a STD file which can be opened directly with STAAD. 11. Problem: What is the procedure for importing DXF files created in AutoCAD into STAAD.Pro? Solution: In the File menu, you will see an option called Import. Select that and it will display a dialog box giving you 3 choices : 3D DXF, QSE and STARDYNE

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 376: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337711]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [371]Select 3D DXF, and specify the location of the DXF file. 12. Problem: While importing a dxf file into Staad/Pro, it reports an error for curved elements. Please clarfiy what the limitations of dxf file format are while importing to Staad/Pro. Solution: STAAD can import only Line and 3DFACE entities from the DXF file. The other entities are ignored. Line entity is imported as a member and 3DFace as an element. So please create the drawing with Line and 3DFACE entities only. 13. Problem: I have drawn a structure using a CAD program. I would like to bring in the data into STAAD/Pro and convert it to a STAAD data file. How can it be done? Solution: STAAD/Pro is capable of reading data from a DXF file. The data that can be read includes member and element geometry only. From the data in the DXF file, STAAD/Pro will create the structure data containing joint numbers, their coordinate values, member and element numbers and their incidences. This is how you do it. From the File menu of STAAD/Pro, select Import. Choose the option "3D DXF"and click on the "Import" key. Specify the DXF file name. Once the file is imported, you will see the structure drawn on the graphics area. Line entities in the DXF file are treated as members, and 3DFace entities are treated as thin plate elements. 14. Problem: I created a drawing in AutoCAD that represents a slab with edge beams and pile caps along the perimeter and interior. The drawing is being imported into STAAD.Pro to serve as a visual template for the mesh generation. The problem is that after importing the file, most of the pile caps and the slab depression are missing. I can see them in the DXF file viewed in AutoCAD but they do not appear in the STAAD drawing created with the import command. What's wrong? Solution: Many AutoCAD drawings use a combination of lines and polylines to model entities like pile caps. STAAD.Pro can accept a line entity, but not a polyline. You can "explode" the polylines and convert them into lines or you can recreate those pile caps using line entities. Viewing the Model 15. Problem: How can I change the axis or point of rotation from the current point which is always at the center of the structure? Solution: In STAAD.Pro 2003, there is new feature called "Select Node to Set Center of

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 377: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337722]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [372]Rotation". The icon is shown below. Click on the icon to activate the Rotation cursor. Select an exisiting node where you would like the new center of rotation to be. The structure will now rotate about the new point.

Member specs 16. Problem: In the output file, I see the following message ** WARNING ** A SOFT MATERIAL WITH (1.0 / 1.750E+01) TIMES THE STIFFNESS OF CONCRETE ENTERED. PLEASE CHECK. Please explain to me in plain English what StaadPro is trying to tell me. Solution: STAAD checks to see if the E (Modulus of Elasticity) assigned to members and elements is comparable to the values of steel, aluminum, concrete or timber. If it falls below or above the range of these materials, warning messages similar to the one you encountered are displayed. This is done to notify the user in case he/she is not aware of this fact, or if he/she may have specified the value in an incorrect unit system. If you believe that your E is specified correctly, you may ignore the message. Else, correct the number. 17. Problem: What is the difference between a partial moment release and providing a spring with a stiffness as a release? Solution: Both of these types of releases accomplish the same thing. They provide a connection where the transfer of force or moment is somewhere between 0 and 100%. The difference is that when a spring constant (stiffness) has to be defined, it is sometimes rather difficult to determine what that spring constant should be. A value like 1200 kip/in can be somewhat esoteric when describing the percentage of fixity of a connection. Partial moment releases allow you to describe the amount of force or moment to be transferred as a percentage rather than a stiffness (i.e. 0.75 or 0.50). This makes modeling a connection much easier. Mathematically, the stiffnesses corresponding to the DOFs from the connection are not fully statically condensed out, but instead, at the percentage specified. Export 18. Problem: In STAAD Pro, I create a report and export it to a Microsoft Word document. When I open that document in Word, I find that it is filled with smiling-faces,

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 378: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337733]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [373]symbols and assembly language characters. How do I get around the problem? Solution: This is most likely caused by a feature called "Script stopper" in your virus-scan program. It prevents the export process from taking place properly. Disable that feature before you export to Word, and re-start it after the exporting is complete. 19. Problem: Is there a way to convert the output reaction files to an Excel-friendly format? Solution: You may follow these steps below : Run the Analysis. From the Mode menu, select Post Processing. From the Select menu, choose "By Specification | All Supports". From the Report menu, select Support Reactions. In the dialog box which appears, there are 3 tabs. In the Sorting tab, select the criteria for sorting. If you do not want any sorting performed, leave the option "List with no sort done" unchanged. In the Loading tab, select the load cases for which you wish to see the results. Click on OK. The reaction values will be displayed in a table. Click on the cell called Node. The entire table will be selected (highlighted in black). To copy the contents of the table, click the right mouse button and choose Copy or simply type Ctrl+C. Start Microsoft Excel and open a new document. Click on the cell A1 (or the cell from which you want to begin copying the values) and select Paste. The support reaction table should now appear in the Excel sheet. 20. Problem: How can I export the Results Diagrams (Bending Moment, Section Displacement, etc.) from STAAD.Pro to another Windows application? Solution: First bring up the Results Diagram on the screen in the Post-processing mode. Then click on the Copy Picture option from the Edit menu. Go to any Windows application (MS Word, Paint, AutoCAD) and then click on the Edit - Paste option. Instability & zero stiffness problems21. Problem: I tried to model a concrete foundation using solid elements, basically following the approach described in example 24 of the examples manual. However, I got

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 379: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337744]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [374]this warning stating "more than 12 DOF with zero stiffness". Can anyone please advise me what are the technical reasons for this and how I can possibly handle this warning? Solution: A solid element by its basic nature does not have rotational degrees of freedom at its nodes. So, at all points on the structure where the only entities connected are solid elements, there is no rotational stiffness. There is an explanation on the reasons behind zero stiffness messages at http://www.reiworld.com/Search.asp?id=SP-1496 If you are using STAAD.Pro 2003 Build 1003.US or later, and the only entities in your structure are solids (no plates or beams), the program automatically applies restraints along those rotational degrees of freedom and the messages will hence not appear. However, if beams or plates are present in the structure in addition to solids, those messages will be present. If you do not encounter instability warning messages in your output, and the applied loads are in equilibrium with support reactions, you may consider the zero stiffness warning messages harmless, and ignore them 22. Problem: When we generate the spring supports for a raft foundation using the command "list-of-joints Elastic mat Dir YONLY SUB 10000" we get instability warnings in FX, FZ and MY directions at certain joints. Why? Solution: The Elastic Mat instability messages have to do with the Y option versus the YONLY option. The Y option automatically fixes the FX and FZ directions at all mat joints whereas the YONLY option does not. Without any support in the FX and FZ directions, your structure is unstable in these directions and MY as well. You could switch to the Y option or perhaps fix FX, FZ and MY at one joint near the center. Since STAAD automatically applies very small springs at one joint to stabilize an unstable structure, you could ignore the messages if there are no FX, FZ, or MY loadings and if the displacements are small in those directions. 23. Problem: Do you have any information I can use in understanding instability messages? Three questions and their answers are provided below to help explain this issue. Question : I have analyzed a structure and find that there are instability messages in the .anl (output) file, as follows :

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 380: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337755]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [375]***WARNING - INSTABILITY AT JOINT 26 DIRECTION = FX PROBABLE CAUSE SINGULAR-ADDING WEAK SPRING K-MATRIX DIAG= 5.3274384E+03 L-MATRIX DIAG= 0.0000000E+00 EQN NO 127 ***NOTE - VERY WEAK SPRING ADDED FOR STABILITY **NOTE** STAAD DETECTS INSTABILITIES AS EXCESSIVE LOSS OF SIGNIFICANT DIGITS DURING DECOMPOSITION. WHEN A DECOMPOSED DIAGONAL IS LESS THAN THE BUILT-IN REDUCTION FACTOR TIMES THE ORIGINAL STIFFNESS MATRIX DIAGONAL, STAAD PRINTS A SINGULARITY NOTICE. THE BUILT-IN REDUCTION FACTOR IS 1.000E-09 THE ABOVE CONDITIONS COULD ALSO BE CAUSED BY VERY STIFF OR VERY WEAK ELEMENTS AS WELL AS TRUE SINGULARITIES. What is the significance of such messages? Answer : An instability is a condition where a load applied on the structure is not able to make its way into the supports because no paths exist for the load to flow through, and may result in a lack of equilibrium between the applied load and the support reaction. There is some explanation available in Section 1.18.1 of the STAAD.Pro Technical Reference Manual for the typical cause of instabilities. You will find it under the heading "Modeling and Numerical Instability Problems". Question : If there are instability messages, does it mean my analysis results may be unsatisfactory? Answer : There are many situations where instabilities are unimportant and the STAAD approach of adding a weak spring is an ideal solution to the problem. For example, sometimes an engineer will release the MX torsion in a single beam or at the ends of a series of members such that technically the members are unstable in torsion. If there is no torque applied, this singularity can safely be "fixed" by STAAD with a weak torsional spring.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 381: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337766]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [376]Similarly a column that is at a pinned support will sometimes be connected to members that all have releases such that they cannot transmit moments that cause torsion in the column. This column will be unstable in torsion but can be safely "fixed" by STAAD with a weak torsional spring. Sometimes however, a section of a structure has members that are overly released to the point where that section can rotate with respect to the rest of the structure. In this case, if STAAD adds a weak spring, there may be large displacements because there are loads in the section that are in the direction of the extremely weak spring. Another way of saying it is, an applied load acts along an unstable degree of freedom, and causes excessive displacements at that degree of freedom. Question : If there are instability messages, are there any simple checks to verify whether my analysis results are satisfactory? Answer : There are 2 important checks that should be carried out if instability messages are present. a) A static equilibrium check. This check will tell us whether all the applied loading flowed through the model into the supports. A satisfactory result would require that the applied loading be in equilibrium with the support reactions. b) The joint displacement check. This check will tell us whether the displacements in the model are within reasonable limits. If a load passes through a corresponding unstable degree of freedom, the structure will undergo excessive deflections at that degree of freedom. One may use the PRINT STATICS CHECK option in conjunction with the PERFORM ANALYSIS command to obtain a report of both the results mentioned in the above checks. The STAAD output file will contain a report similar to the following, for every primary load case that has been solved for : ***TOTAL APPLIED LOAD ( KG METE ) SUMMARY (LOADING 1 ) SUMMATION FORCE-X = 0.00 SUMMATION FORCE-Y = -817.84 SUMMATION FORCE-Z = 0.00 SUMMATION OF MOMENTS AROUND THE ORIGIN- MX= 291.23 MY= 0.00 MZ= -3598.50

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 382: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337777]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [377]***TOTAL REACTION LOAD( KG METE ) SUMMARY (LOADING 1 ) SUMMATION FORCE-X = 0.00 SUMMATION FORCE-Y = 817.84 SUMMATION FORCE-Z = 0.00 SUMMATION OF MOMENTS AROUND THE ORIGIN- MX= -291.23 MY= 0.00 MZ= 3598.50 MAXIMUM DISPLACEMENTS ( CM /RADIANS) (LOADING 1) MAXIMUMS AT NODE X = 1.00499E-04 25 Y = -3.18980E-01 12 Z = 1.18670E-02 23 RX= 1.52966E-04 5 RY= 1.22373E-04 23 RZ= 1.07535E-03 8 Go through these numbers to ensure that i) The "TOTAL APPLIED LOAD" values and "TOTAL REACTION LOAD" values are equal and opposite. ii) The "MAXIMUM DISPLACEMENTS" are within reasonable limits. 24. Problem: What does a zero stiffness warning message in the STAAD output file mean? Solution: Definition of a zero stiffness condition : The procedure used by STAAD in calculating displacements and forces in a structure is the stiffness method. One of the steps involved in this method is the assembly of the global stiffness matrix. During this process, STAAD verifies that no active degree of freedom (d.o.f) has a zero value, because a zero value could be a potential cause of instability in the model along that d.o.f. It means that the structural conditions which exist at that node and degree of freedom result in the structure having no ability to resist a load acting along that d.o.f. A warning message is printed in the STAAD output file highlighting the node number and the d.o.f at which the zero stiffness condition exists. Examples of cases which give rise to these conditions : Consider a frame structure where some of the members are defined to be trusses. On this model,

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 383: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337788]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [378]if a joint exists where the only structural components connected at that node are truss members, there is no rotational stiffness at that node along any of the global d.o.f. If the structure is defined as STAAD PLANE, it will result in a warning along the MZ d.o.f at that node. If it were declared as STAAD SPACE, there will be at least 3 warnings, one for each of MX, MY and MZ, and perhaps additional warnings for the translational d.o.f. These warnings can also appear when other structural conditions such as member releases and element releases deprive the structure of stiffness at the associated nodes along the global translational or rotational directions. A tower held down by cables, defined as a PLANE or SPACE frame, where cable members are pinned supported at their base will also generate these warnings for the rotational d.o.f. at the supported nodes of the cables. Solid elements have no rotational stiffness at their nodes. So, at all nodes where you have only solids, these zero stiffness warning messages will appear. These are warnings and not errors because : The reason why these conditions are reported as warnings and not errors is due to the fact that they may not necessarily be detrimental to the proper transfer of loads from the structure to the supports. If no load acts at and along the d.o.f where the stiffness is zero, that point may not be a trouble-spot. What is the usefulness of these messages : A zero stiffness message can be a tool for investigating the cause of instabilities in the model. An instability is a condition where a load applied on the structure is not able to make its way into the supports because no paths exist for the load to flow through, and may result in a lack of equilibrium between the applied load and the support reaction. A zero stiffness message can tell us whether any of those d.o.f are obstacles to the flow of the load. Plate & solid elements 25. Problem: Is there a way to obtain the average stress at a node where several plate elements meet? Solution: Presently, STAAD only reports the nodal stresses of the individual elements meeting at the node. In the Plate page of the post-processing mode, the lower table on the right hand side of the screen contains the element nodal stresses. However, the average value from all such plates connected to the node is not reported. Averaging is straightforward at joints that are only connected to one plane of plate elements and the loading is a normal pressure. However

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 384: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[337799]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [379]transverse shear will jump at a line if a line load is applied; so a single average would be inappropriate for that stress only. Similarly for stresses across a line of beams or walls or a line of bending moments; etc. If two walls and a floor meet at a joint there are 3 planes that should be treated separately. Also averaging should be separate for the same surface on either side of a wall to account for the stress discontinuity. At the common joint there would be 12 sets of stresses (4 plates on each of 3 surfaces). So averaging can be interrupted due to certain loadings, plates in other planes, and other members. Further complexity occurs for contours and corner stresses if a shallow curved surface is being averaged. Most likely the inplane stresses should be averaged separately from the bending stresses, without coordinate transformations, since the flat plate faceted surfaces are trying to simulate a smooth surface. The above considerations are not easily automated. REI hopes to implement at least some simple cases in a near future release. 26. Problem: In the plate element stress results, what do the terms TRESCAT and TRESTAB stand for? How are they calculated? Solution: TRESCA is 2.0 times TMAX. TMAX is the maximum inplane shear stress on a plate element. TMAX = 0.5 * max[abs((s1 – s2)) , abs((s2 – s3)) , abs((s3 – s1))] where s1 and s2 are the inplane principal stresses and the 3rd principal stress, s3, is zero at the surface. TRESCAT is the value for the top surface of the element. TRESCAB is on the bottom. Top and bottom are in accordance with the direction of the local Z axis. See the link http://www.reiworld.com/Search.asp?id=SP-1549 for more information on the meaning of TOP and BOTTOM surfaces for plates. Example problem 18 in the examples manual shows the calculation of TMAX 27. Problem: I am modelling a concrete slab using plate elements. I am looking for the moments in the slab at the center of each element. I noticed that the output gives the bending moments per unit width. What is the per unit width? Would that be the thickness of the plate element? Solution: For Mx, the unit width is a unit distance at the center of the element, parallel to the local Y axis. For My, the unit width is a unit distance at the center of the element, parallel to the local X axis. Attached is a diagram to clarify this. It is taken from section 1.6.1 of the Technical Reference manual.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 385: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338800]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [380]28. Problem: Shown below is a STAAD model for a simple plate fixed at bottom. The problem is this: when I apply any in-plane loadings on the plate, I get Mx and My as zero. Those bending moments can not be zero.

Solution: In plate results, MX & MY are moments which cause the plate to bend out of plane. For this particular model, in-plane loads cannot cause out of plane bending. They only result in in-plane actions such as SX, SY and SXY.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 386: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSSTTTAAAAAADDD PPPrrrooo [[[333888111]]]

29. Problem: Is it possible to apply a concentrated force on the surface of an element? The point where the load acts is not one of the nodes of the element, as a result of which I cannot use the JOINT LOAD option. Solution: Yes, it is possible to do this. In Section 5.32.3 of the STAAD.Pro Technical Reference Manual, if you look at the syntax of the element pressure loading, you will find the following : element-list PRESSURE direction x1 y1 x2 y2 In this syntax, (x1,y1) and (x2,y2) represent the corners of the region (on the element) over which the PRESSURE load is applied. However, if you omit the terms (x2,y2), the load will be treated as a concentrated force acting at the point (x1,y1), where x1 and y1 are measured as distances, from the centroid of the element, along the local X and Y axes, of the point of action of the load. Thus, if you want to apply a 580 pound force along the negative global Z direction at a distance away from the centroid of (1.3,2.5)feet along the local X & Y axes of element 73, you can specify the following commands UNIT POUND FEET LOAD 1 CONCENTRATED LOAD ON WALL ELEMENT LOAD 73 PR GZ -580.0 1.3 2.5

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 387: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338822]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [382]30. Problem: How can I find the maximum shear stress on my plate element model ? Solution: Since there are several types of shear stress results we can get from STAAD, the expression "maximum shear stress" needs to be clarified. So, let us first see what the choices are : SXY - For any given element, this is the in-plane shear stress on the element and acts along the plate local X-Y axes directions. TMAX - This is the maximum inplane shear stress on the element and is a composite of SXY and the stress resulting from torsion MXY. SQX - This is the out-of-plane shear stress on the X face at the centroid of the element. SQY - This is the out-of-plane shear stress on the Y face at the centroid of the element. All of these results can be obtained in a report form, with additional options like sorting done in ascending or descending order for a user-defined set of elements and a user-defined set of load cases. As an example, do the following for getting a report of TMAX sorted in the order from maximum to minimum for all plates for load cases 4 and 5. Go to the post-processing mode. Select all plates. From the Report menu, select Plate Results - Principal stresses. Select TMAX, and set the sorting order from High to Low. Switch on "Absolute values" also to perform sorting based on Absolute values. Click on the Loading tab, and select just cases 4 and 5. Click on OK. A report will be displayed. Click the right mouse button inside the table, and select Print. 31. Problem: What is the application of the IGNORE INPLANE ROTATION specification for plate elements? Solution: Imagine that you have a wall upon which you apply a concentrated force at the top along the plane of the element (see figure).

STAAD normally takes into consideration in-plane rotation action. In other words, STAAD normally assumes that the wall has some inherent flexibility, which means that the distance between two points that are at the far corners of the wall would change as force is applied to the wall. If the wall was a rigid body, however, the distance between the two points would remain

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 388: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338833]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [383]the same. If you wanted the plate to behave as a rigid body, you would add this Ignore Inplane Rotation specification and assign it to the plate. This feature is not used very often. It is available in case you wish to compare STAAD’s analysis results with those of another structural analysis program that ignores in-plane rotation by default. 32. Problem: The plate element results contain a term called TMAX. Is TMAX the best representation of the total stresses resulting from the torsion on the element? Solution: Among the various stresses resulting from the torsional moment MXY, the only stress which is considered in TMAX is the shear stress. There are other stresses such as warping normal stresses which do not get represented in TMAX. TMAX is the maximum inplane shear stress on an element for a given load case. It represents inplane shear stresses only. It contains contributions from the direct inplane shear stress SXY as well as the shear stress caused by the torsional moment MXY. Example 18 in the examples manual shows the derivation of TMAX from SXY and MXY. While on the subject of shear stresses, one must note that the plate is also subjected to out-of-plane shear stresses SQX and SQY, which do not have any representation in TMAX. 33. Problem: In the post processing mode - Results menu - Plate Stress Contour, there are two options called Max Top and Max Bottom. Are these direct stresses or flexural stresses? Solution: These are the principal stresses SMAX and SMIN. Principal stresses are a blend of axial stresses (also known as membrane stresses SX and SY), bending stresses (caused by MX and MY) and inplane shear stresses (SXY). Since the bending stresses have distinct signs for the top and bottom surfaces of the element, the principal stresses too are distinct for top and bottom. The derivation for principal stresses is shown in example 18 of the STAAD Examples manual. 34. Problem: Can STAAD be used in designing a mat foundation? Solution: The answer to the question is Yes. The following are the major steps involved in the modelling and design of mat foundations using STAAD. 1) The mat foundation has to be modelled using finite elements. If the length and width of the mat are atleast 10 times larger than its thickness, plate elements can be used. If not, one may use 8 noded solid elements. The remainder of the structure involving the beams, columns and slabs also has to be modelled along with the mat. If beams share a common boundary with the mat and slabs, to ensure the proper transfer of load between the beams and the mat & slabs, the mat & slabs have to be divided into several elements, the beams have to be divided into several

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 389: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338844]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [384]members, and the elements and members must share common nodes. 2) Generally, the supports for the mat are derived from the subgrade reaction of the soil. Using this attribute, and the influence area of each node of the mat, the spring constant for the supports may be derived. STAAD contains an automatic spring support generation facility for mat foundations. One may refer to Section 5.27.3 of the STAAD.Pro Technical Reference Manual for details on this type of support generation. 3) Soil spring supports generally tend to be effective against resisting compressive forces only. They are ineffective in resisting uplift. This type of a unidirectional support requires those springs to be assigned an attribute call SPRING COMPRESSION. 4) The loads on the mat and the rest of the model have to be specified. Then, the structure has to be analysed. This will generate the plate stresses and corner forces needed to design the mat. 5) You can then use the program's concrete design ability to design the individual elements which make up the mat. The only tedious aspect of this is that the program can presently design individual elements only. The task of taking the reinforcement values from each element and assembling the reinforcement picture of the overall mat has to be done by you manually. You may wish to look the information posted at the following links for details on the issues involved in designing individual elements. http://www.reiworld.com/Search.asp?id=SP-1549 http://www.reiworld.com/Search.asp?id=SP-1791 http://www.reiworld.com/Search.asp?id=SP-1792 We suggest you take a look at example problem number 27 in the STAAD.Pro examples manual for guidance on analysing mat foundations. In that example, the aspects explained in steps 1,2, 3 and 4 above are illustrated. Example problems 9 and 10 discuss concrete design of individual plate elements. 35. Problem: When modelling plate elements, should the individual elements satisfy any minimum requirements for the ratio of the length of their side to their thickness? Solution: No, they do not have to. However, for the overall slab or wall, if the span in either direction is less than 10 times its thickness, then the slab or wall becomes more like a solid than like a plate; and thick plate theory may not be adequate. In that case, 8-noded solid elements may be necessary. 36. Problem: I have a model where supports are defined at the nodes of some of the plate

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 390: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338855]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [385]elements in the structure. If I divide the support reaction values by the thickness, length etc., of the side of the elements adjacent to the support, shouldn't the values match the ELEMENT NODAL STRESSES? I am aware of the fact that element stresses are in the local axis system of the element, and support reactions are in the global axis system, and am making the required transformations before making the comparison. Solution: The element nodal stresses are obtained as the value of the stress polynomial at the coordinates of those joints. Stresses in an element are most accurately determined only at the center of the element (in the middle of the joint displacement locations used in calculating that stress). The stress values calculated at the nodes will only be approximate (only the displacements of the joints from this one element are used in calculating the stress). Stresses at a joint would be improved if the stresses from the other elements at the joint (on the same surface) were averaged. Consequently, the comparison you suggest is not feasible. A better alternative would be to compare the forces at the node rather than the stresses at the node. However, to do so, you will require version 2001 of STAAD.Pro. In STAAD.Pro 2001, the output for the command PRINT ELEMENT FORCES consists of the 3 forces and 3 moments at each of the nodes of the elements, reported in the global axis system. Thus, the output will consist of FX,FY,FZ,MX,MY,MZ with the 3 forces having units of force (not stress) and the 3 moments have units of moment (not moment per unit width). If you add up the values at the nodes of those elements which are connected to the support, those values must be equal to the support reaction. Another consideration is the way in which element loads are evaluated and used. Staad computes the equivalent forces at the corner joints (same total force, center of force, and direction). The remainder of the analysis and results are as if you had applied the loads as joint loads rather than as element loads. Two exceptions, temperature loads are applied internally to the element and plate releases will affect the load distribution to the joints. Say you have a wall with uniform pressure. Half of the load on the elements along the base will be applied directly to the base, the other half is applied to the line of joints at the top of these elements. So the internal transverse shears are too high at the top of the element. The transverse shears are OK at the center and too small at the base. The same will be true for the element force output of transverse forces. However, the reactions will have the entire force. A finer mesh in general, and near the base in

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 391: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338866]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [386]particular, will improve the element stress and load distribution P-Delta Analysis 37. Problem: When the PDELTA ANALYSIS command is specified with the CONVERGENCE (m) parameter, the output file contains a message such as:- Load Case = 1 Convergence Error (SRSS) = 2.790E-02 INCH What does this number represent? Solution: The SRSS is the square root of the sum of the squares of the change in displacement (from one iteration to the next) of every dof. If after an iteration, the SRSS falls below the SET DISP tol or default tolerance then that PDELTA load case is converged. Mathematically this is the Euclidean norm of the vector of displacement changes. || {DISPi} - {DISPi-1} || SRSS=0.00 do iDOF=1,nj6 SRSS=SRSS+(dj(iDOF,ipdload)-olddj(iDOF,ipdload))**2 enddo SRSS=sqrt(SRSS) The SRSS printed is for the last iteration performed for that load case and tends to be an upper bound on the amount of error in any one displacement. 38. Problem: When doing P-Delta analysis for the design, what does the message "Load Case = 101 Convergence Error (SRSS) = 3.6603E-02 INCH" in the output file mean? Solution: "Load Case = 101 Convergence Error (SRSS) = 3.6603E-02 INCH" is NOT an error message. It is a measure of the convergence tolerance. If are getting a lot of these messages and you don't want to see so many of them you can set your tolerance to a lower value, say, 1/4 ". This can be done by adding "SET DISP 0.25" into the std file, provided the units has been set to inches. STEEL DESIGN 39. Problem: While I can look at the model with Stress Ratio values annotated next to the steel members that I have asked to be checked, when I do the member query (double clicking on the members) I don’t see the Design Property and Steel Design boxes anymore. Why is that? Solution: Design Property and Steel Design tabs are not displayed for members which have not

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 392: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338877]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [387]been designed. Are you sure you are clicking a member for which the design has been done? Sometimes, when ratios are annotated on the screen, the picture may become quite cluttered with data and in an effort to double click on a designed member, one may end up clicking on a member for which design has not been performed. So, first check that the member you are double-clicking has indeed been designed. If you are certain that STAAD has done the design and evidence of that exists in the analysis output file and in the postprocessing Unity Check tables, but still you are not able to see these tabs in the dialog box which comes up when you double click on the member, please send us your .std model and our support representatives will look into that. Our email address is [email protected] 40. Problem: STAAD is checking deflection for beams or girders for all the load combinations in my model. Is there a way to tell STAAD which load combination to check? Solution: You have to use the LOAD LIST command to achieve this. Supposing you want to check deflection for combination cases 81 and 82. And assume that L/Deflection has a limit of 240. The command sequence required to achieve this is LOAD LIST 81 82 PARAMETER CODE AISC DFF 240 ALL CHECK CODE ALL However, after these commands, you have to reset DFF to a very small number so that deflection does not become a criteria for any further design operations. That is because, once a parameter is specified in STAAD, it stays that way till it is changed again. So, after the above, you need to specify PARAMETER CODE AISC DFF 1 ALL 41. Problem: The steel design output indicates a slenderness failure (KL/r exceeds allowable). Why? The axial force on the member is very small. Solution: The code has requirements which say that the KL/r ratios for a member should not exceed certain allowable limits. For members subjected to tensile forces, the code suggests one limit, and for members subjected to compressive forces, there is another limit. This check does

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 393: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338888]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [388]not consider the amount of the axial force. It only looks at the sign of the force to determine if it is a tensile force or compressive force. In most codes, this is the first check STAAD does on a member. If the member fails the check, no further calculations are done for that member. So, STAAD performs these checks by default. However, the code does not offer any guidelines on what must be the minimum magnitude of the axial force for the member to become a candidate for this check. So, in STAAD, two parameters are available - one called MAIN and another called TMAIN if you wish to bypass this check (TMAIN is available for some codes only). MAIN=1 is for bypassing the slenderness check in compression, and TMAIN=1 is for bypassing the slenderness check in tension 42. Problem: I set my deflection limit to L/360, but the maximum deflection indicated in the summary of node displacements in PostProcessing shows a deflection of 1.5 inches. Isn't this above the limit that I set? Solution: During steel design per the AISC ASD code, there are two types of deflection checks you can perform with STAAD. They are a) Check for local deflection. This is usually applicable to members which are connected at both their ends to other members. b) Check for the relative displacements between the nodes such as for a cantilever beam. LOCAL DEFLECTION is defined as the maximum deflection between the 2 ends of the beam relative to a straight line connecting the 2 ends of that member in its deflected position. If you go to Help - Contents - Technical Reference - Commands and Input Instructions - Printing Section Displacements for Members you will find a diagram indicating this is in figure 5.41. To obtain more information on the difference between the 2 methods of deflection checking, please go to Help - Contents - Technical Reference - American Steel Design - Design Parameters (which comes after Allowables per AISC code). It will bring up section "2.4 Design Parameters". At the end of the parameters table, you will see several notes. Please read Notes items 1 through 4 for the description of the two methods. As you can see there, the default condition, which is also represented by a value of zero for the CAN parameter, is to perform the LOCAL DEFLECTION check. Your question indicates that what you are looking for is a check of the nodal deflections. The cantilever style check STAAD offers is probably the solution for your problem. If so, specify the CAN parameter with a value of 1. 43. Problem: I am running STAAD.Pro 2003. In the TRACK 2 output for the American

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 394: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[338899]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [389]LRFD code, I find some terms that I am not familiar with. Can you tell me what those are? The terms reported in the TRACK 2 output for American LRFD are : AX = Cross section Area. AY : Area used in computing shear stresses along local Y axis. AZ : Area used in computing shear stresses along local Z axis. PY : Plastic Section modulus about local Y axis. PZ : Plastic Section modulus about local Z axis. RY : Radius of gyration about local Y axis. RZ : Radius of gyration about local Z axis. PNC : Axial compression capacity. pnc : Axial compressive force used in critical condition. PNT : Axial tensile capacity. pnt : Axial tensile force used in critical condition. MNZ : Nominal bending capacity about local Z axis. mnz : Bending moment about local Z axis, used in critical condition. MNY : Nominal bending capacity about local Y axis. mny : Bending moment about local Y axis, used in critical condition. 44. Problem: I'm trying to modeling lateral supports in the roof members. Nodes 3 9 to 16 and 4 17 to 24 are zee purlins on the roof. Beam members are tapered sections. Using the support command, how do I modeling the zee purlins as lateral stability? Solution: The lateral support information is generally not specified through supports because it typically acts only as a mechanism for preventing lateral torsional buckling (LTB) of the flange it is connected to. It does not necessarily prevent a physical displacement at that point on the roof member whose flange is being restrained. Instead, you provide the information by specifying the distance between points where the roof members are restrained against LTB. The values you may wish to specify are the terms LY, LZ, UNT and UNB. You will find an explanation of these in Table 2.1 of Section 2 of the STAAD.Pro Technical Reference Manual. You may also wish to refer to example problem 1 of the examples manual under the command PARAMETERS, as in the example below : PERFORM ANALYSIS PARAMETER

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 395: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[339900]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [390]CODE AISC NSF 0.85 ALL BEAM 1.0 ALL KY 1.2 MEMB 3 4 LY 25 MEMB 3 4 LZ 20 MEMB 5 6 UNT 15 MEMB 8 TO 15 RATIO 0.9 ALL CHECK CODE ALL VN : Shear capacity. vn : Shear force associated with critical load case and section location. DFF : Permissible limit for checking length to deflection ratio. dff : Actual length to deflection ratio. 44. Problem: Why do tension-only members fail when kl/r is less than 300? Solution: It is probably due to the fact that, the end of the beam is so close to compression that, the dead weight puts it into compression. To alleviate this you can turn off the slenderness test by setting the MAIN parameter to 1.0 45. Problem: When performing steel design per the AISC 9th edition ASD code, does STAAD take into consideration the effect of L/rt while calculating the allowable bending stress? Solution: The effect of L/rt is indeed being taken into consideration while calculating the allowable bending stress, as per Section F of the specifications of the code. The L used for this purpose is the value specified for the unsupported length of the compression flange through the input parameters UNT and UNB 46. Problem: I'm trying to modeling lateral supports in the roof members. Nodes 3 9 to 16 and 4 17 to 24 are zee purlins on the roof. Beam members are tapered sections. Using the support command, how do I modeling the zee purlins as lateral stability? Solution: The lateral support information is generally not specified through supports because it typically acts only as a mechanism for preventing lateral torsional buckling (LTB) of the flange it is connected to. It does not necessarily prevent a physical displacement at that point on the roof member whose flange is being restrained. Instead, you provide the information by specifying the

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 396: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[339911]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [391]distance between points where the roof members are restrained against LTB. The values you may wish to specify are the terms LY, LZ, UNT and UNB. You will find an explanation of these in Table 2.1 of Section 2 of the STAAD.Pro Technical Reference Manual. You may also wish to refer to example problem 1 of the examples manual under the command PARAMETERS, as in the example below : PERFORM ANALYSIS PARAMETER CODE AISC NSF 0.85 ALL BEAM 1.0 ALL KY 1.2 MEMB 3 4 LY 25 MEMB 3 4 LZ 20 MEMB 5 6 UNT 15 MEMB 8 TO 15 RATIO 0.9 ALL CHECK CODE ALL 47. Problem: How do I get a design parameter, say the RATIO parameter, to be applied only to certain load cases? Solution: You would need to use the "LOAD LIST" command. For example, if you only were interested in the 1st, 3rd and 5th load cases for the RATIO parameter you would need to write: LOAD LIST 1 3 5 RATIO 0.5 In your input file. 48. Problem: If using an American code for code check, is there any parameter to define the material factor or is it already included? Solution: The American codes do not have explicit material factors. Instead, they use "strength reduction factors". These strength reduction factors account for unavoidable variations in material strength, design equations, fabrication and erection. For example, in the American steel code LRFD 2001, these factors are : 0.90 for limit states involving yielding 0.75 for limit states involving rupture

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 397: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[339922]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [392]0.85 for limit states involving compression buckling For the American concrete code ACI 318-02, some of the values used are Tension-controlled sections - 0.9 Compression controlled sections, members with spiral reinforcement - 0.7 Shear and Torsion - 0.75 Bearing on concrete - 0.65 etc. These are requirements placed by the code. So, we do not have parameters for altering these CONCRETE DESIGN 49. Problem: Why is it that the concrete column interaction diagram is not plotted in the output although track 2 was specified? Solution: If you open the file in the STAAD editor (go to the Edit menu, and choose Edit Input Command File), and go to the end of the file, you will observe the following : CLB 0.25 MEMB 1 TO 481 DESIGN ELEMENT 1 TO 456 458 TO 481 DESIGN COLUMN 457 TRACK 2 MEMB 457 END CONCRETE DESIGN FINISH The TRACK command has to be specified before the DESIGN commands. In others words, the order of these commands must be the following : CLB 0.25 MEMB 1 TO 481 TRACK 2 MEMB 457 DESIGN ELEMENT 1 TO 456 458 TO 481 DESIGN COLUMN 457 END CONCRETE DESIGN FINISH If you make this change, you will get the interaction diagram. 50. Problem: When I perform concrete design on an element, the output contains expressions such as "LONG. REINF.", "TRANS. REINF.", "TOP", "BOTT.", etc. Can you explain what these terms mean? Solution: The design of an element involves determination of the reinforcement for moments Mx and My at the centroid of the element. The reinforcement calculated to resist Mx is called longitudinal reinforcement, and is denoted in the output by the expression "LONG. REINF.".

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 398: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[339933]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [393]The reinforcement calculated to resist My is called transverse reinforcement, and is denoted in the output by the expression "TRANS. REINF.". The sign of Mx and My will determine which face of the element the steel has to be provided on. Every element has a "top" face, and a "bottom" face, as defined by the direction of the local Z axis of the elements. Mx will cause tension on one of those faces, and compression on the other. A similar effect will be caused by My. The output report of reinforcement provided on those faces contains the terms "TOP" for top face, and "BOTT" for the bottom face. The procedure used by the program to arrive at these quantities is as follows : For each element, the program first scans through all the active load cases, to find the following maxima : Maximum positive Mx Maximum negative Mx Maximum positive My Maximum negative My The element is then designed for all those four quantities. If any of these moments happen to be zero, or if the reinforcement required to resist that moment is less than the capacity of the element with minimum reinforcement, only minimum reinforcement is provided. For the ACI code, the rules governing provision of reinforcement for shrinkage and temperature are used in calculating minimum reinforcement. The rules applicable for design of a beam for flexure are used in calculating the steel areas. The width used in this calculation is a unit width of the element. For determination of the effective depth, the steel for longitudinal moment is assumed to be the outer layer, and the steel for transverse moment is the inner layer. The output will consist of the steel area required for all of four maximas. As described earlier, they will be reported using the terms LONG, TRANSVERSE, TOP and BOTT. 51. Problem: When I perform concrete design on an element, the output reports reinforcement in terms of "SQ.MM/MM". Can you please explain why? Solution: When you ask for an element design or a slab design using the commands DESIGN ELEMENT .. or DESIGN SLAB .. STAAD designs the element for the moments MX and MY at the centroid of the element. By

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 399: 9378161 staad pro

ฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSTTAAAADD PPrroo [[339944]]

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานความรูเสริมของ STAAD Pro [394]definition, MX and MY are termed as Moments per Unit width, since that is what they are. They have units of Force-length/length, as in 43.5 KN-mm/mm, or 43.5 KN-m/m. In other words, if you take a one metre width of the slab at the centroid of the element in question, the moment over that one metre width on that element is equal to 43.5 KN-m. The design of that element hence has to be done on the basis of a unit width. Thus, in order to design an element for a 43.5 KN-m/m moment, one needs to use a one metre width of slab. The reinforcement required for that element is thus reported in terms of unit width of the element. The results are hence in the form Area of steel/unit-width of element, as in, "SQ.MM/MM". 52. Problem: A floor slab has been modeled using 4-noded plate elements. The elements are subjected to pressure loading in the vertically downward direction. A concrete design has been performed on the elements. The reinforcement report for many of those elements looks like the following:

ELEMENT LONG. REINF (SQ.IN/FT)

MOM-X /LOAD (K-FT/FT)

TRANS. REINF (SQ.IN/FT)

MOM-Y /LOAD (K-FT/FT)

134 TOP : 5.944 1474.13 / 12 6.914 1679.58 / 12 BOTT: 1.296 0.00 / 0 1.296 0.00 / 0

Why is it that the moments as well as reinforcement are appearing on the top and not on the bottom of the plates? Solution: In the above output, the word TOP and BOTTOM refer to the “local” top and bottom surfaces of the individual elements, and not in the global axis sense. The local top and bottom surfaces depend on the way an element is defined in its incidence statement. TOP is defined as the surface which coincides with the positive side of the local Z axis. BOTTOM is defined as the surface which coincides with the negative side of the local Z axis. Shown below are two examples in which the element incidence is numbered in two contrasting ways. In the first figure, the local Z axis of the element points in the vertically upward direction. Consequently, the local top and bottom surfaces have the same sense as the global top and bottom.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 400: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ฐานฐานฐานความรูเสริมของ ความรูเสริมของ ความรูเสริมของ SSSTTTAAAAAADDD PPPrrrooo [[[333999555]]]

In the next figure, the local Z axis of the element points in the vertically downward direction. Consequently, the local top and bottom surfaces have the opposite sense as the global top and bottom.

You can verify the direction of the local axes of the elements in your model by doing the following. Click the right mouse button and select Labels. Under the Plate category, switch on Plate Orientation. The local axes will be displayed as shown in these figures above.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 401: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพัน

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[333999666]]]

6

ี่

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

บทท

ธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

Page 402: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[333999777]]]

ตัวอยางงานวิเคราะหและออกแบบงานจริง

ผลการวิเคราะหโครงสราง (ใชเวลา 17 วินาที)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 403: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[333999888]]]

Shear YLoad 1 :

Shear Force

Bending ZLoad 1 : Bending Force

รูปแบบของคาํสั่ง (Command File) ท่ีตัวโปรแกรมสรางเมื่อจําลองโครงสราง STAAD SPACE START JOB INFORMATION JOB NAME RC 2 LAYERS JOB CLIENT DONGBUNK JOB NO 1 JOB PART 1 JOB REF 1 ENGINEER NAME A.SERMPUN ENGINEER DATE 20-Oct-05 END JOB INFORMATION INPUT WIDTH 79

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 404: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[333999999]]] UNIT METER KG JOINT COORDINATES 1 3 -3.85 3; 2 7 -3.85 3; 3 11 -3.85 3; 4 15 -3.85 3; 5 19 -3.85 3; 6 23 -3.85 3; 7 27 -3.85 3; 8 31 -3.85 3; 9 31 -3.85 7; 10 31 -3.85 11; 11 27 -3.85 11; 12 23 -3.85 11; 13 19 -3.85 11; 14 15 -3.85 11; 15 11 -3.85 11; 16 7 -3.85 11; 17 3 -3.85 11; 18 3 -3.85 7; 19 15 -3.85 15; 20 19 -3.85 15; 21 15 -3.85 7; 22 15 -3.85 1; 23 19 -3.85 1; 24 19 -3.85 7; 25 15 -3.85 5; 26 19 -3.85 5; 27 17 -3.85 3; 28 17 -3.85 1; 29 17 -3.85 2; 30 19 -3.85 2; 31 7 -3 7; 32 11 -3 7; 33 23 -3 7; 34 27 -3 7; 35 3 -5.35 3; 36 7 -5.35 3; 37 11 -5.35 3; 38 15 -5.35 3; 39 19 -5.35 3; 40 23 -5.35 3; 41 27 -5.35 3; 42 31 -5.35 3; 43 31 -5.35 7; 44 31 -5.35 11; 45 27 -5.35 11; 46 23 -5.35 11; 47 19 -5.35 11; 48 15 -5.35 11; 49 11 -5.35 11; 50 7 -5.35 11; 51 3 -5.35 11; 52 3 -5.35 7; 53 15 -5.35 15; 54 19 -5.35 15; 55 15 -5.35 7; 56 15 -5.35 1; 57 19 -5.35 1; 58 19 -5.35 7; 59 7 -5.35 7; 60 11 -5.35 7; 61 23 -5.35 7; 62 27 -5.35 7; 63 3 -3 3; 64 7 -3 3; 65 11 -3 3; 66 15 -3 3; 67 19 -3 3; 68 23 -3 3; 69 27 -3 3; 70 31 -3 3; 71 31 -3 7; 72 31 -3 11; 73 27 -3 11; 74 23 -3 11; 75 19 -3 11; 76 15 -3 11; 77 11 -3 11; 78 7 -3 11; 79 3 -3 11; 80 3 -3 7; 81 15 -3 7; 82 19 -3 7; 83 3 -3 9.5; 84 7 -3 9.5; 85 11 -3 9.5; 86 15 -3 9.5; 87 19 -3 9.5; 88 23 -3 9.5; 89 27 -3 9.5; 90 31 -3 9.5; 91 15 -3 6.05; 92 19 -3 6.05; 93 15 0 6.05; 94 19 0 6.05; 95 3 0 2; 96 7 0 2; 97 11 0 2; 98 15 0 2; 99 19 0 2; 100 23 0 2; 101 27 0 2; 102 31 0 2; 103 32 0 2; 104 32 0 3; 105 32 0 7; 106 32 0 11; 107 32 0 12; 108 31 0 12; 109 27 0 12; 110 23 0 12; 111 19 0 12; 112 19 0 15; 113 15 0 15; 114 15 0 12; 115 11 0 12; 116 7 0 12; 117 3 0 12; 118 2 0 12; 119 2 0 11; 120 2 0 7; 121 2 0 3; 122 2 0 2; 123 14 0 12; 124 14 0 15; 125 14 0 16; 126 15 0 16; 127 19 0 16; 128 20 0 16; 129 20 0 15; 130 20 0 12; 131 7 2.94 7; 132 11 2.94 7; 133 23 2.94 7; 134 27 2.94 7; 135 3 2.94 3; 136 7 2.94 3; 137 11 2.94 3; 138 15 2.94 3; 139 19 2.94 3; 140 23 2.94 3; 141 27 2.94 3; 142 31 2.94 3; 143 31 2.94 7; 144 31 2.94 11; 145 27 2.94 11; 146 23 2.94 11; 147 19 2.94 11; 148 15 2.94 11; 149 11 2.94 11; 150 7 2.94 11; 151 3 2.94 11; 152 3 2.94 7; 153 19 2.94 15; 154 15 2.94 15; 155 15 0 3; 156 19 0 3;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 405: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000000]]] 157 15 1.47 1; 158 19 1.47 1; 159 7 0 7; 160 11 0 7; 161 23 0 7; 162 27 0 7; 163 3 0 3; 164 7 0 3; 165 11 0 3; 166 23 0 3; 167 27 0 3; 168 31 0 3; 169 31 0 7; 170 31 0 11; 171 27 0 11; 172 23 0 11; 173 19 0 11; 174 15 0 11; 175 11 0 11; 176 7 0 11; 177 3 0 11; 178 3 0 7; 179 15 0 7; 180 19 0 7; 181 15 1.47 3; 182 19 1.47 3; 183 19 -1.4 3; 184 15 -1.4 3; 185 19 -1.4 1; 186 15 -1.4 1; 187 14 2.94 16; 188 20 2.94 16; 189 7 5.78 7; 190 11 5.78 7; 191 23 5.78 7; 192 27 5.78 7; 193 31 5.78 7; 194 15 5.78 7; 195 19 5.78 7; 196 17 5.11 11; 197 17 2.94 11; 198 17 5.11 16; 199 17 2.94 16; 200 15 2.94 7; 201 19 2.94 7; 202 17 5.11 7; 203 17 2.94 7; 204 17 5.11 7.9; 205 1 2.94 11; 206 1 2.94 3; 207 14 2.94 11; 208 14 2.94 15; 209 15 2.94 16; 210 19 2.94 16; 211 20 2.94 15; 212 20 2.94 11; 213 3 5.78 7; 214 1 5.78 7; 215 33 2.94 11; 216 33 2.94 3; 217 33 5.78 7; 218 14 2.94 17; 219 20 2.94 17; 220 17 5.11 17; 221 3 4.36 9; 222 3 4.36 5; 223 7 4.36 9; 224 7 4.36 5; 225 11 4.36 9; 226 11 4.36 5; 227 23 4.36 9; 228 23 4.36 5; 229 27 4.36 9; 230 27 4.36 5; 231 31 4.36 9; 232 31 4.36 5; 233 3 2.94 9; 234 3 2.94 5; 235 7 2.94 9; 236 7 2.94 5; 237 11 2.94 9; 238 11 2.94 5; 239 23 2.94 9; 240 23 2.94 5; 241 27 2.94 9; 242 27 2.94 5; 243 31 2.94 9; 244 31 2.94 5; 245 19 4.36 5; 246 15 4.36 5; 247 15 2.94 5; 248 19 2.94 5; 249 1 4.36 5; 250 1 4.36 9; 251 33 4.36 5; 252 33 4.36 9; 253 19 4.36 9; 254 19 2.94 9; 255 15 4.36 9; 256 15 2.94 9; 257 21 4.36 9; 258 14.9809 3.64954 9.98637; 259 19.0191 3.64954 9.98637; 260 1 3.65 10; 261 3 3.65 10; 262 7 3.65 10; 263 11 3.65 10; 264 27 3.65 10; 265 31 3.65 10; 266 33 3.65 10; 267 23 3.65 10; 268 1 5.07 8; 269 3 5.07 8; 270 7 5.07 8; 271 11 5.07 8; 272 15 5.07 8; 273 19 5.07 8; 274 23 5.07 8; 275 27 5.07 8; 276 33 5.07 8; 277 31 5.07 8; 278 15.9904 4.37977 8.94318; 279 18.0096 4.37977 8.94318; 280 19.0191 3.64953 16; 281 18.0095 4.37976 16; 282 19.0191 3.64953 17; 283 18.0095 4.37976 17; 284 15.9905 4.37976 16; 285 15.9905 4.37976 17; 286 14.9809 3.64953 16; 287 14.9809 3.64953 17; 288 1 3.65 4; 289 3 3.65 4; 290 7 3.65 4; 291 11 3.65 4; 292 15 3.65 4; 293 19 3.65 4; 294 23 3.65 4; 295 27 3.65 4; 296 31 3.65 4; 297 33 3.65 4; 298 1 5.07 6; 299 3 5.07 6; 300 7 5.07 6; 301 11 5.07 6; 302 15 5.07 6; 303 19 5.07 6; 304 23 5.07 6;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 406: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000111]]] 305 27 5.07 6; 306 31 5.07 6; 307 33 5.07 6; 308 14 2.94 13.5; 309 20 2.94 13.5; 310 17 5.11 13.5; 311 19.0191 3.64953 13.5; 312 18.0095 4.37976 13.5; 313 15.9905 4.37976 13.5; 314 14.9809 3.64953 13.5; 315 17 -1.4 1; 316 17 -1.4 3; MEMBER INCIDENCES 1 1 2; 2 2 3; 3 3 4; 4 4 27; 5 5 6; 6 6 7; 7 7 8; 8 8 9; 9 9 10; 10 10 11; 11 11 12; 12 12 13; 13 13 14; 14 14 15; 15 15 16; 16 16 17; 17 17 18; 18 18 1; 19 14 19; 20 19 20; 21 20 13; 22 21 25; 23 4 22; 24 22 28; 25 23 30; 26 5 26; 27 25 4; 28 26 24; 29 25 26; 30 27 5; 31 28 23; 32 27 29; 33 29 28; 34 30 5; 35 29 30; 36 1 35; 37 2 36; 38 3 37; 39 22 56; 40 23 57; 41 5 39; 42 4 38; 43 21 55; 44 24 58; 45 6 40; 46 7 41; 47 8 42; 48 9 43; 49 10 44; 50 11 45; 51 34 62; 52 12 46; 53 33 61; 54 20 54; 55 19 53; 56 14 48; 57 13 47; 58 15 49; 59 32 60; 60 31 59; 61 16 50; 62 17 51; 63 18 52; 64 1 63; 65 2 64; 66 3 65; 67 4 66; 68 5 67; 69 6 68; 70 7 69; 71 8 70; 72 9 71; 73 10 72; 74 11 73; 75 12 74; 76 13 75; 77 14 76; 78 15 77; 79 16 78; 80 17 79; 81 18 80; 82 63 64; 83 64 65; 84 65 66; 85 67 68; 86 68 69; 87 69 70; 88 70 71; 89 71 90; 90 72 73; 91 73 74; 92 74 75; 93 75 76; 94 76 77; 95 77 78; 96 78 79; 97 79 83; 98 80 63; 99 80 31; 100 31 32; 101 71 34; 102 34 33; 103 64 31; 104 31 84; 105 65 32; 106 32 85; 107 66 91; 108 67 92; 109 68 33; 110 33 88; 111 69 34; 112 34 89; 113 81 86; 114 82 87; 115 32 81; 116 81 82; 117 82 33; 118 163 164; 119 164 165; 120 165 155; 121 156 166; 122 166 167; 123 167 168; 124 168 169; 125 169 170; 126 170 171; 127 171 172; 128 172 173; 129 173 174; 130 174 175; 131 175 176; 132 176 177; 133 177 178; 134 178 163; 135 178 159; 136 159 160; 137 169 162; 138 162 161; 139 164 159; 140 159 176; 141 165 160; 142 160 175; 143 155 93; 144 156 94; 145 166 161; 146 161 172; 147 167 162; 148 162 171; 149 179 174; 150 180 173; 151 160 179; 152 179 180; 153 180 161; 154 83 80; 155 84 78; 156 85 77; 157 86 76; 158 87 75; 159 88 74; 160 89 73; 161 90 72; 162 91 81; 163 92 82; 164 91 92; 165 83 84; 166 84 85; 167 85 86; 168 86 87; 169 87 88; 170 88 89; 171 89 90; 172 21 81; 173 24 82; 174 93 179; 175 94 180; 176 93 94; 177 163 95; 178 95 96; 179 96 97; 180 97 98; 181 98 155; 182 156 99; 183 99 100; 184 100 101; 185 101 102; 186 102 168; 187 102 103; 188 103 104;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 407: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000222]]] 189 104 105; 190 105 106; 191 106 107; 192 107 108; 193 108 109; 194 109 110; 195 110 130; 196 173 111; 197 112 113; 198 113 114; 199 114 123; 200 115 116; 201 116 117; 202 117 118; 203 118 119; 204 119 120; 205 120 121; 206 121 122; 207 122 95; 208 163 121; 209 178 120; 210 177 119; 211 177 117; 212 176 116; 213 175 115; 214 100 166; 215 101 167; 216 168 104; 217 169 105; 218 170 106; 219 170 108; 220 171 109; 221 172 110; 222 123 115; 223 123 124; 224 124 125; 225 125 126; 226 126 127; 227 127 128; 228 128 129; 229 130 111; 230 129 130; 231 113 126; 232 113 124; 233 112 127; 234 112 129; 235 135 163; 236 152 178; 237 151 177; 238 150 176; 239 131 159; 240 136 164; 241 137 165; 242 132 160; 243 149 175; 244 148 174; 245 154 113; 246 153 112; 247 147 173; 248 146 172; 249 145 171; 250 140 166; 251 133 161; 252 141 167; 253 134 162; 254 142 168; 255 143 169; 256 144 170; 257 181 182; 258 181 157; 259 157 158; 260 158 182; 261 31 159; 262 32 160; 263 33 161; 264 34 162; 265 63 163; 266 64 164; 267 65 165; 268 66 184; 269 67 183; 270 68 166; 271 69 167; 272 70 168; 273 71 169; 274 72 170; 275 77 175; 276 78 176; 277 79 177; 278 80 178; 279 81 179; 280 82 180; 281 73 171; 282 74 172; 283 75 173; 284 76 174; 285 113 19; 286 112 20; 287 157 186; 288 158 185; 289 183 156; 290 184 155; 291 183 316; 292 185 23; 293 186 22; 294 185 315; 295 96 164; 296 97 165; 297 184 186; 298 183 185; 299 155 181; 300 156 182; 301 131 189; 302 132 190; 303 133 191; 304 134 192; 305 143 193; 306 152 213; 307 200 194; 308 201 195; 309 213 189; 310 189 190; 311 190 194; 312 194 195; 313 195 191; 314 191 192; 315 192 193; 316 197 196; 317 199 198; 318 198 310; 319 200 179; 320 201 180; 321 200 203; 322 203 202; 323 196 204; 324 204 202; 325 198 284; 326 198 281; 327 135 136; 328 136 137; 329 137 138; 330 139 140; 331 140 141; 332 141 142; 333 142 244; 334 143 243; 335 144 145; 336 145 146; 337 146 212; 338 147 197; 339 148 207; 340 149 150; 341 150 151; 342 151 233; 343 152 234; 344 136 236; 345 131 235; 346 137 238; 347 132 237; 348 140 240; 349 133 239; 350 141 242; 351 134 241; 352 200 256; 353 201 254; 354 147 153; 355 154 148; 356 135 206; 357 151 205; 358 207 308; 359 208 187; 360 187 209; 361 209 199; 362 210 188; 363 188 211; 364 211 309; 365 154 209; 366 154 208; 367 153 210; 368 153 211; 369 138 247; 370 139 248; 371 138 139; 372 151 261; 373 213 299; 374 150 262;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 408: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000333]]] 375 189 300; 376 149 263; 377 190 301; 378 144 265; 379 193 306; 380 145 264; 381 192 305; 382 191 304; 383 213 214; 384 206 288; 385 214 268; 386 216 297; 387 217 276; 388 193 217; 389 142 216; 390 144 215; 391 220 285; 392 220 283; 393 187 218; 394 198 220; 395 188 219; 396 221 269; 397 222 289; 398 223 270; 399 224 290; 400 225 271; 401 226 291; 402 227 274; 403 228 294; 404 229 275; 405 230 295; 406 231 277; 407 232 296; 408 233 152; 409 234 135; 410 235 150; 411 236 131; 412 237 149; 413 238 132; 414 239 146; 415 240 133; 416 241 145; 417 242 134; 418 243 144; 419 244 143; 420 221 233; 421 222 234; 422 223 235; 423 225 237; 424 224 236; 425 226 238; 426 227 239; 427 228 240; 428 230 242; 429 229 241; 430 231 243; 431 232 244; 432 195 303; 433 194 302; 434 245 293; 435 246 292; 436 247 200; 437 248 201; 438 246 247; 439 245 248; 440 222 152; 441 152 221; 442 224 131; 443 131 223; 444 226 132; 445 132 225; 446 246 200; 447 245 201; 448 228 133; 449 133 227; 450 230 134; 451 134 229; 452 232 143; 453 143 231; 454 249 298; 455 250 260; 456 251 307; 457 252 266; 458 249 222; 459 222 224; 460 224 226; 461 226 246; 462 246 245; 463 245 228; 464 228 230; 465 230 232; 466 232 251; 467 250 221; 468 221 223; 469 223 225; 470 227 229; 471 229 231; 472 231 252; 473 225 255; 474 253 257; 475 254 147; 476 253 254; 477 256 148; 478 255 256; 479 195 273; 480 201 253; 481 194 272; 482 200 255; 483 204 278; 484 257 227; 485 258 207; 486 204 279; 487 259 212; 488 255 258; 489 253 259; 490 260 205; 491 261 221; 492 262 223; 493 263 225; 494 264 229; 495 265 231; 496 266 215; 497 260 261; 498 261 262; 499 262 263; 500 263 258; 501 227 267; 502 267 146; 503 259 267; 504 267 264; 505 264 265; 506 265 266; 507 268 250; 508 269 213; 509 270 189; 510 271 190; 511 272 255; 512 268 269; 513 269 270; 514 270 271; 515 271 272; 516 273 253; 517 274 191; 518 275 192; 519 276 252; 520 277 193; 521 273 274; 522 274 275; 523 275 277; 524 277 276; 525 273 204; 526 272 204; 527 278 258; 528 255 278; 529 279 259; 530 253 279; 531 280 188; 532 259 311; 533 279 312; 534 282 219; 535 280 282; 536 283 282; 537 281 283; 538 284 286; 539 278 313; 540 285 287; 541 284 285; 542 286 187; 543 258 314; 544 287 218; 545 286 287; 546 288 249; 547 289 135; 548 288 289; 549 290 136; 550 289 290; 551 291 137; 552 290 291; 553 292 138; 554 291 292; 555 293 139; 556 292 293; 557 294 140; 558 293 294; 559 295 141; 560 294 295;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 409: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000444]]] 561 296 142; 562 295 296; 563 297 251; 564 296 297; 565 298 214; 566 299 222; 567 298 299; 568 300 224; 569 299 300; 570 301 226; 571 300 301; 572 302 246; 573 301 302; 574 303 245; 575 302 303; 576 304 228; 577 303 304; 578 305 230; 579 304 305; 580 306 232; 581 305 306; 582 307 217; 583 306 307; 584 281 280; 585 308 208; 586 309 212; 587 310 196; 588 311 280; 589 312 281; 590 313 284; 591 314 286; 592 310 313; 593 310 312; 594 311 309; 595 313 314; 596 314 308; 597 312 311; 598 181 138; 599 182 139; 600 114 174; 601 111 112; 602 203 201; 603 197 148; 604 199 210; 605 207 149; 606 212 147; 607 315 186; 608 316 184; 609 315 316; DEFINE MATERIAL START ISOTROPIC MATERIAL1 E 2.54929e+009 POISSON 0.17 DENSITY 2447.32 ALPHA 1.2e-011 DAMP 7.90066e+033 ISOTROPIC MATERIAL2 E 2.09042e+010 POISSON 0.3 DENSITY 7851.81 ALPHA 1.2e-011 DAMP 7.90066e+033 END DEFINE MATERIAL MEMBER PROPERTY JAPANESE 36 TO 38 41 TO 81 172 173 PRIS YD 0.25 ZD 0.25 39 40 235 TO 256 261 TO 290 292 293 299 300 319 320 598 599 PRIS YD 0.2 ZD 0.2 1 TO 31 34 82 TO 171 174 TO 234 257 TO 260 291 294 TO 298 321 327 TO 371 389 - 390 393 395 408 TO 419 436 437 475 477 585 586 600 TO 607 - 608 PRIS YD 0.4 ZD 0.2 32 33 35 609 PRIS YD 0.35 ZD 0.2 309 TO 315 318 323 324 383 388 394 483 485 TO 487 527 529 587 TABLE D C100X50X5

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 410: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000555]]] 301 TO 308 316 317 322 325 326 372 TO 382 384 TO 387 391 392 396 TO 407 420 - 421 TO 435 438 TO 474 476 478 TO 482 484 488 TO 526 528 530 TO 584 - 588 TO 597 TABLE ST C100X50X5 SUPPORTS 35 TO 62 PINNED MEMBER TRUSS 301 TO 308 420 TO 431 438 TO 453 476 478 480 482 CONSTANTS MATERIAL MATERIAL1 MEMB 1 TO 300 319 TO 321 327 TO 371 389 390 393 395 408 - 409 TO 419 436 437 475 477 585 586 598 TO 609 MATERIAL MATERIAL2 MEMB 301 TO 318 322 TO 326 372 TO 388 391 392 394 - 396 TO 407 420 TO 435 438 TO 474 476 478 TO 584 587 TO 597 LOAD 1 DL SELFWEIGHT Y -1 MEMBER LOAD 1 TO 3 5 TO 21 26 27 29 178 TO 185 187 TO 195 200 TO 207 222 291 294 297 298 - 607 TO 609 UNI GY -200 MEMBER LOAD 4 26 27 29 30 UNI GY -588 4 23 TO 25 30 TO 35 90 TO 97 155 TO 161 165 TO 171 291 294 297 298 - 607 TO 609 UNI GY -370 4 23 TO 25 30 TO 35 155 TO 160 UNI GY -392 29 UNI GY -1000 2 4 89 97 107 108 113 114 120 143 144 149 150 154 161 TO 163 174 175 199 224 225 - 227 TO 229 257 TO 260 UNI GY -468 90 TO 92 94 TO 96 321 327 TO 371 389 390 393 395 408 TO 419 436 437 475 477 - 585 586 602 TO 606 UNI GY -100 32 33 35 82 TO 88 93 98 113 116 118 TO 128 130 TO 134 152 162 TO 167 - 169 TO 171 174 TO 196 200 TO 223 226 230 295 296 600 UNI GY -230 164 UNI GY -1500 89 99 TO 102 104 106 110 112 TO 117 154 165 TO 171 UNI GY -735

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 411: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000666]]] 82 TO 88 98 TO 103 105 107 TO 109 111 115 117 TO 153 162 163 196 TO 198 600 - 601 UNI GY -1176 176 UNI GY -1500 2 4 291 608 UNI GY -1500 0 2 103 105 109 111 129 135 TO 142 145 TO 148 151 TO 153 UNI GY -1176 177 186 208 TO 221 295 296 UNI GY -230 104 106 110 112 TO 114 UNI GY -735 155 TO 160 UNI GY -392 JOINT LOAD 189 TO 196 198 202 204 207 212 213 221 TO 232 245 246 253 255 257 TO 259 261 - 262 TO 265 267 269 TO 275 277 TO 281 284 286 289 TO 296 299 TO 306 - 310 TO 314 FY -520 135 TO 142 144 TO 146 149 TO 151 187 188 205 206 214 TO 220 249 TO 252 260 - 266 268 276 282 288 297 298 307 TO 309 FY -260 PERFORM ANALYSIS PRINT PROBLEM STATISTICS LOAD LIST ALL PRINT ANALYSIS RESULTS PRINT MAXFORCE ENVELOPE NSECTION 10 ALL PRINT MEMBER FORCES ALL PRINT SUPPORT REACTION LIST 35 TO 62 UNIT CM KG PARAMETER CODE AISC FYLD 2400 MEMB 301 TO 318 322 TO 326 372 TO 388 391 392 394 396 TO 407 420 - 421 TO 435 438 TO 474 476 478 TO 584 587 TO 597 FU 4100 MEMB 301 TO 318 322 TO 326 372 TO 388 391 392 394 396 TO 407 - 420 TO 435 438 TO 474 476 478 TO 584 587 TO 597 CHECK CODE MEMB 301 TO 318 322 TO 326 372 TO 388 391 392 394 396 TO 407 420 - 421 TO 435 438 TO 474 476 478 TO 584 587 TO 597 PARAMETER

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 412: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000777]]] CODE AISC SELECT OPTIMIZED FINISH

ตัวอยางงานวิเคราะหและออกแบบงานจริง

ผลการวิเคราะหโครงสราง (ใชเวลา 6 วินาท)ี

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 413: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000888]]]

Shear YLoad 3 :

Shear Force

Bending ZLoad 3 :

Bending Force

รูปแบบของคาํสั่ง (Command File) ท่ีตัวโปรแกรมสรางเมื่อจําลองโครงสราง STAAD SPACE START JOB INFORMATION ENGINEER DATE 31-Mar-06 END JOB INFORMATION INPUT WIDTH 79 UNIT METER KG JOINT COORDINATES 3 6 0 2; 4 6 0 7; 5 2 0 7; 6 2 0 2; 8 4 0 2; 9 4 0 0.5; 10 2 0 0.5; 11 6 0 0.5; 12 10 0 2; 13 10 0 7; 14 8 0 2; 15 8 0 0.5; 16 10 0 0.5; 17 14 0 2; 18 14 0 7; 19 12 0 2; 20 12 0 0.5; 21 14 0 0.5; 22 18 0 2; 23 18 0 7; 24 16 0 2;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 414: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444000999]]] 25 16 0 0.5; 26 18 0 0.5; 27 0.5 0 2; 28 0.5 0 7; 29 6 -1.5 2; 30 6 -1.5 7; 31 2 -1.5 7; 32 2 -1.5 2; 33 10 -1.5 2; 34 10 -1.5 7; 35 14 -1.5 2; 36 14 -1.5 7; 37 18 -1.5 2; 38 18 -1.5 7; 39 6 2.7 2; 40 6 2.7 7; 41 2 2.7 7; 42 2 2.7 2; 43 4 2.7 2; 44 4 2.7 0.5; 45 2 2.7 0.5; 46 6 2.7 0.5; 47 10 2.7 2; 48 10 2.7 7; 49 8 2.7 2; 50 8 2.7 0.5; 51 10 2.7 0.5; 52 14 2.7 2; 53 14 2.7 7; 54 12 2.7 2; 55 12 2.7 0.5; 56 14 2.7 0.5; 57 18 2.7 2; 58 18 2.7 7; 59 16 2.7 2; 60 16 2.7 0.5; 61 18 2.7 0.5; 63 6 2.7 8.5; 64 2 2.7 8.5; 68 10 2.7 8.5; 71 14 2.7 8.5; 74 18 2.7 8.5; 76 0.5 2.7 7; 78 0.5 2.7 8.5; 83 2 5.2 0.5; 84 6 5.2 0.5; 87 10 5.2 0.5; 90 14 5.2 0.5; 93 18 5.2 0.5; 94 6 5.2 8.5; 95 2 5.2 8.5; 96 10 5.2 8.5; 97 14 5.2 8.5; 98 18 5.2 8.5; 99 0.5 0 3.5; 100 2 0 3.5; 101 2 5.2 4.5; 102 2 6.7 4.5; 105 2 4.75 -0.5; 106 2 4.75 9.5; 107 6 5.2 4.5; 108 6 6.7 4.5; 111 6 4.75 -0.5; 112 6 4.75 9.5; 113 10 5.2 4.5; 114 10 6.7 4.5; 117 10 4.75 -0.5; 118 10 4.75 9.5; 119 14 5.2 4.5; 120 14 6.7 4.5; 123 14 4.75 -0.5; 124 14 4.75 9.5; 125 18 5.2 4.5; 126 18 6.7 4.5; 129 18 4.75 -0.5; 130 18 4.75 9.5; 131 1 5.2 0.5; 132 1 5.2 8.5; 133 1 6.7 4.5; 136 1 4.75 -0.5; 137 1 4.75 9.5; 138 19 5.2 0.5; 139 19 5.2 8.5; 140 19 6.7 4.5; 143 19 4.75 -0.5; 144 19 4.75 9.5; 145 4 5.2 0.5; 146 4 5.2 8.5; 147 4 6.7 4.5; 150 4 4.75 -0.5; 151 4 4.75 9.5; 159 8 5.2 0.5; 160 8 5.2 8.5; 161 8 6.7 4.5; 164 8 4.75 -0.5; 165 8 4.75 9.5; 173 12 5.2 0.5; 174 12 5.2 8.5; 175 12 6.7 4.5; 178 12 4.75 -0.5; 179 12 4.75 9.5; 187 16 5.2 0.5; 188 16 5.2 8.5; 189 16 6.7 4.5; 192 16 4.75 -0.5; 193 16 4.75 9.5; 194 1 5.575 1.5; 195 1 5.95 2.5; 196 1 6.325 3.5; 197 1 6.325 5.5; 198 1 5.95 6.5; 199 1 5.575 7.5; 200 2 5.575 1.5; 201 2 5.95 2.5; 202 2 6.325 3.5; 203 2 6.325 5.5; 204 2 5.95 6.5; 205 2 5.575 7.5; 206 19 5.575 1.5; 207 19 5.95 2.5; 208 19 6.325 3.5; 209 19 6.325 5.5; 210 19 5.95 6.5; 211 19 5.575 7.5; 212 18 5.575 1.5; 213 18 5.95 2.5; 214 18 6.325 3.5; 215 18 6.325 5.5; 216 18 5.95 6.5; 217 18 5.575 7.5; 218 4 5.575 1.5; 219 4 5.95 2.5; 220 4 6.325 3.5; 221 4 6.325 5.5; 222 4 5.95 6.5; 223 4 5.575 7.5; 224 6 5.575 1.5; 225 6 5.95 2.5; 226 6 6.325 3.5; 227 6 6.325 5.5; 228 6 5.95 6.5; 229 6 5.575 7.5; 230 8 5.575 1.5;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 415: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111000]]] 231 8 5.95 2.5; 232 8 6.325 3.5; 233 8 6.325 5.5; 234 8 5.95 6.5; 235 8 5.575 7.5; 236 10 5.575 1.5; 237 10 5.95 2.5; 238 10 6.325 3.5; 239 10 6.325 5.5; 240 10 5.95 6.5; 241 10 5.575 7.5; 242 12 5.575 1.5; 243 12 5.95 2.5; 244 12 6.325 3.5; 245 12 6.325 5.5; 246 12 5.95 6.5; 247 12 5.575 7.5; 248 14 5.575 1.5; 249 14 5.95 2.5; 250 14 6.325 3.5; 251 14 6.325 5.5; 252 14 5.95 6.5; 253 14 5.575 7.5; 254 16 5.575 1.5; 255 16 5.95 2.5; 256 16 6.325 3.5; 257 16 6.325 5.5; 258 16 5.95 6.5; 259 16 5.575 7.5; 260 2 5.2 2; 261 2 5.2 7; 262 2 5.76256 2.00016; 263 2 5.76256 6.99984; 264 6 5.2 2; 265 6 5.2 7; 266 6 5.76256 2.00016; 267 6 5.76256 6.99984; 268 10 5.2 2; 269 10 5.2 7; 270 10 5.76256 2.00016; 271 10 5.76256 6.99984; 272 14 5.2 2; 273 14 5.2 7; 274 14 5.76256 2.00016; 275 14 5.76256 6.99984; 276 18 5.2 2; 277 18 5.2 7; 278 18 5.76256 2.00016; 279 18 5.76256 6.99984; MEMBER INCIDENCES 1 27 99; 2 76 78; 3 6 27; 4 28 5; 5 41 76; 6 78 64; 7 5 31; 8 6 32; 9 5 100; 10 6 10; 11 5 41; 12 6 42; 13 10 45; 14 42 45; 15 41 64; 16 42 41; 17 10 9; 18 6 8; 19 45 44; 20 42 43; 21 4 5; 22 9 8; 23 40 41; 24 44 43; 25 64 63; 26 9 11; 27 8 3; 28 44 46; 29 43 39; 30 3 29; 31 4 30; 32 3 4; 33 11 3; 34 3 39; 35 4 40; 36 11 46; 37 46 39; 38 40 63; 39 39 40; 40 11 15; 41 3 14; 42 46 50; 43 39 49; 44 13 4; 45 15 14; 46 48 40; 47 50 49; 48 63 68; 49 15 16; 50 14 12; 51 50 51; 52 49 47; 53 12 33; 54 13 34; 55 12 13; 56 16 12; 57 12 47; 58 13 48; 59 16 51; 60 51 47; 61 48 68; 62 47 48; 63 16 20; 64 12 19; 65 51 55; 66 47 54; 67 18 13; 68 20 19; 69 53 48; 70 55 54; 71 68 71; 72 20 21; 73 19 17; 74 55 56; 75 54 52; 76 17 35; 77 18 36; 78 17 18; 79 21 17; 80 17 52; 81 18 53; 82 21 56; 83 56 52; 84 53 71; 85 52 53; 86 21 25; 87 17 24; 88 56 60; 89 52 59; 90 23 18; 91 25 24; 92 58 53; 93 60 59; 94 71 74; 95 25 26; 96 24 22; 97 60 61; 98 59 57; 99 22 37; 100 23 38; 101 22 23; 102 26 22; 103 22 57; 104 23 58; 105 26 61; 106 61 57; 107 58 74; 108 57 58; 113 45 83; 114 46 84; 117 51 87; 120 56 90; 123 61 93; 124 63 94; 125 64 95; 126 68 96; 127 71 97; 128 74 98; 129 99 28; 130 100 6; 131 99 100; 137 101 102; 146 83 105; 147 95 106; 150 83 145; 151 95 146; 153 102 147; 160 107 108; 169 84 111; 170 94 112;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 416: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111111]]] 173 84 159; 174 94 160; 176 108 161; 183 113 114; 192 87 117; 193 96 118; 196 87 173; 197 96 174; 199 114 175; 206 119 120; 215 90 123; 216 97 124; 219 90 187; 220 97 188; 222 120 189; 229 125 126; 238 93 129; 239 98 130; 240 83 131; 241 95 132; 242 102 133; 245 105 136; 246 106 137; 247 106 151; 248 112 165; 249 118 179; 250 124 193; 251 105 150; 252 111 164; 253 117 178; 254 123 192; 255 136 131; 260 132 137; 261 93 138; 262 98 139; 263 126 140; 266 129 143; 267 130 144; 268 143 138; 273 139 144; 274 145 84; 275 146 94; 276 147 108; 279 150 111; 280 151 112; 285 145 150; 286 146 151; 287 159 87; 288 160 96; 289 161 114; 292 164 117; 293 165 118; 298 159 164; 299 160 165; 300 173 90; 301 174 97; 302 175 120; 305 178 123; 306 179 124; 311 173 178; 312 174 179; 313 187 93; 314 188 98; 315 189 126; 318 192 129; 319 193 130; 324 187 192; 325 188 193; 326 131 194; 327 133 197; 328 83 200; 329 102 203; 330 138 206; 331 140 209; 332 93 212; 333 126 215; 334 194 195; 335 195 196; 336 196 133; 337 197 198; 338 198 199; 339 199 132; 340 200 262; 341 201 202; 342 202 102; 343 203 204; 344 204 263; 345 205 95; 346 206 207; 347 207 208; 348 208 140; 349 209 210; 350 210 211; 351 211 139; 352 212 278; 353 213 214; 354 214 126; 355 215 216; 356 216 279; 357 217 98; 358 200 218; 359 201 219; 360 202 220; 361 203 221; 362 204 222; 363 205 223; 364 145 218; 365 147 221; 366 218 219; 367 219 220; 368 220 147; 369 221 222; 370 222 223; 371 223 146; 372 218 224; 373 219 225; 374 220 226; 375 221 227; 376 222 228; 377 223 229; 378 84 224; 379 108 227; 380 224 266; 381 225 226; 382 226 108; 383 227 228; 384 228 267; 385 229 94; 386 224 230; 387 225 231; 388 226 232; 389 227 233; 390 228 234; 391 229 235; 392 159 230; 393 161 233; 394 230 231; 395 231 232; 396 232 161; 397 233 234; 398 234 235; 399 235 160; 400 230 236; 401 231 237; 402 232 238; 403 233 239; 404 234 240; 405 235 241; 406 87 236; 407 114 239; 408 236 270; 409 237 238; 410 238 114; 411 239 240; 412 240 271; 413 241 96; 414 236 242; 415 237 243; 416 238 244; 417 239 245; 418 240 246; 419 241 247; 420 173 242; 421 175 245; 422 242 243; 423 243 244; 424 244 175; 425 245 246; 426 246 247; 427 247 174; 428 242 248; 429 243 249; 430 244 250; 431 245 251; 432 246 252; 433 247 253; 434 90 248; 435 120 251; 436 248 274; 437 249 250; 438 250 120; 439 251 252; 440 252 275; 441 253 97; 442 248 254; 443 249 255;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 417: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111222]]] 444 250 256; 445 251 257; 446 252 258; 447 253 259; 448 187 254; 449 189 257; 450 254 255; 451 255 256; 452 256 189; 453 257 258; 454 258 259; 455 259 188; 456 194 200; 457 195 201; 458 196 202; 459 197 203; 460 198 204; 461 199 205; 462 254 212; 463 212 206; 464 255 213; 465 213 207; 466 256 214; 467 214 208; 468 257 215; 469 215 209; 470 258 216; 471 216 210; 472 259 217; 473 217 211; 474 83 260; 475 101 261; 476 260 101; 477 261 95; 478 262 201; 479 260 262; 480 263 205; 481 261 263; 482 262 101; 483 101 263; 484 266 225; 485 267 229; 486 84 264; 487 107 265; 488 264 107; 489 265 94; 490 264 266; 491 265 267; 492 266 107; 493 107 267; 494 270 237; 495 271 241; 496 87 268; 497 113 269; 498 268 113; 499 269 96; 500 268 270; 501 269 271; 502 270 113; 503 113 271; 504 274 249; 505 275 253; 506 90 272; 507 119 273; 508 272 119; 509 273 97; 510 272 274; 511 273 275; 512 274 119; 513 119 275; 514 278 213; 515 279 217; 516 93 276; 517 125 277; 518 276 125; 519 277 98; 520 276 278; 521 277 279; 522 278 125; 523 125 279; 524 42 260; 525 39 264; 526 47 268; 527 52 272; 528 57 276; 529 40 265; 530 41 261; 531 48 269; 532 53 273; 533 58 277; ELEMENT INCIDENCES SHELL 132 99 76 41 100; ELEMENT PROPERTY 132 THICKNESS 0.12 DEFINE MATERIAL START ISOTROPIC CONCRETE E 2.21467e+009 POISSON 0.17 DENSITY 2402.62 ALPHA 1e-005 DAMP 0.05 ISOTROPIC STEEL E 2.09042e+010 POISSON 0.3 DENSITY 7833.41 ALPHA 1.2e-005

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 418: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111333]]] DAMP 0.03 END DEFINE MATERIAL MEMBER PROPERTY JAPANESE 1 3 4 9 10 17 18 21 22 26 27 32 33 40 41 44 45 49 50 55 56 63 64 67 68 72 - 73 78 79 86 87 90 91 95 96 101 102 129 TO 131 PRIS YD 0.35 ZD 0.2 7 8 11 TO 13 30 31 34 TO 36 53 54 57 TO 59 76 77 80 TO 82 99 100 103 TO 104 - 105 PRIS YD 0.2 ZD 0.2 2 5 6 14 TO 16 19 20 23 TO 25 28 29 37 TO 39 42 43 46 TO 48 51 52 60 TO 62 - 65 66 69 TO 71 74 75 83 TO 85 88 89 92 TO 94 97 98 106 TO 107 - 108 PRIS YD 0.4 ZD 0.2 113 114 117 120 123 TO 128 524 TO 533 PRIS YD 0.15 ZD 0.15 MEMBER PROPERTY JAPANESE 137 146 147 160 169 170 183 192 193 206 215 216 229 238 239 285 286 298 299 - 311 312 324 325 328 329 332 333 340 TO 345 352 TO 357 364 TO 371 378 TO 385 - 392 TO 399 406 TO 413 420 TO 427 434 TO 441 448 TO 455 474 TO 522 - 523 TABLE ST TUB1001002.3 245 TO 255 260 266 TO 268 273 279 280 292 293 305 306 318 319 326 327 330 - 331 334 TO 339 346 TO 351 358 TO 363 372 TO 377 386 TO 391 400 TO 405 414 - 415 TO 419 428 TO 433 442 TO 447 456 TO 473 TABLE ST TUB50501.6 150 151 153 173 174 176 196 197 199 219 220 222 240 TO 242 261 TO 263 274 - 275 TO 276 287 TO 289 300 TO 302 313 TO 315 TABLE ST TUB1251253.2 CONSTANTS MATERIAL CONCRETE MEMB 1 TO 108 113 114 117 120 123 TO 132 524 TO 533 MATERIAL STEEL MEMB 137 146 147 150 151 153 160 169 170 173 174 176 183 192 - 193 196 197 199 206 215 216 219 220 222 229 238 TO 242 245 TO 255 - 260 TO 263 266 TO 268 273 TO 276 279 280 285 TO 289 292 293 298 TO 302 305 - 306 311 TO 315 318 319 324 TO 523 SUPPORTS 29 TO 38 PINNED DEFINE WIND LOAD TYPE 1

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 419: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111444]]] INT 43.0767 43.0767 43.7025 44.2794 44.8156 45.3175 45.7898 46.2364 46.6605 - 47.0646 47.4508 47.8209 48.1765 48.5188 48.8489 HEIG 0 4.572 5.15815 - 5.74431 6.33046 6.91662 7.50277 8.08892 8.67508 9.26123 9.84739 - 10.4335 11.0197 11.6059 12.192 EXP 1 JOINT 3 TO 6 8 TO 61 63 64 68 71 74 76 78 83 84 87 90 93 TO 102 105 - 106 TO 108 111 TO 114 117 TO 120 123 TO 126 129 TO 133 136 TO 140 143 TO 147 - 150 151 159 TO 161 164 165 173 TO 175 178 179 187 TO 189 192 TO 279 LOAD 1 LOADTYPE Live TITLE WL WIND LOAD Z 1 TYPE 1 ZR 0 10 LOAD 2 LOADTYPE Dead TITLE DL SELFWEIGHT Y -1 MEMBER LOAD 1 TO 6 9 10 14 TO 29 32 33 37 TO 52 55 56 60 TO 75 78 79 83 TO 98 101 102 - 106 TO 108 129 TO 131 UNI GY -1000 ELEMENT LOAD 132 PR GY -500 MEMBER LOAD 146 147 150 151 153 169 170 173 174 176 192 193 196 197 199 215 216 219 220 - 222 238 TO 242 245 TO 255 260 TO 263 266 TO 268 273 TO 276 279 280 - 285 TO 289 292 293 298 TO 302 305 306 311 TO 315 318 319 324 TO 473 478 480 - 484 485 494 495 504 505 514 515 UNI GY -100 LOAD COMB 3 0.75(DL+LL) 1 0.75 2 0.75 PERFORM ANALYSIS PRINT STATICS CHECK PRINT PROBLEM STATISTICS LOAD LIST ALL PRINT ANALYSIS RESULTS START CONCRETE DESIGN CODE ACI DESIGN ELEMENT ALL END CONCRETE DESIGN

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 420: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111555]]] FINISH

ตัวอยางงานวิเคราะหและออกแบบงานจริง

ผลการวิเคราะหโครงสราง (ใชเวลา 46 วินาที)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 421: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111666]]]

Shear YLoad 3 : Shear Force

Bending ZLoad 3 : Bending Force

Load 3X

Y

Z

Max Absolutekg/cm2

<= 0.370

2.24

4.12

5.99

7.87

9.74

11.6

13.5

15.4

17.2

19.121

22.9

24.7

26.6

28.5

>= 30.4

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 422: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111777]]] Stress In Plate

รูปแบบของคาํสั่ง (Command File) ท่ีตัวโปรแกรมสรางเมื่อจําลองโครงสราง STAAD SPACE SPACIAL EDUCATION CENTER START JOB INFORMATION ENGINEER DATE 16-Jun-05 END JOB INFORMATION INPUT WIDTH 79 UNIT METER KG JOINT COORDINATES 1 10.8 -3.5 3; 2 17.8 -3.5 3; 3 21.3 -3.5 6; 4 24.8 -3.5 6; 5 21.3 -3.5 3; 6 32.8 -3.5 6; 7 36.3 -3.5 6; 8 40.8 -3.5 6; 9 47.8 -3.5 6; 10 54.8 -3.5 6; 11 54.8 -3.5 14; 12 54.8 -3.5 22; 13 47.8 -3.5 22; 14 40.8 -3.5 22; 15 40.8 -3.5 26; 16 40.8 -4.2 30; 17 32.8 -3.5 22; 18 24.8 -3.5 22; 19 17.8 -3.5 22; 20 10.8 -3.5 22; 21 10.8 -3.5 16; 22 10.8 -3.5 12; 23 10.8 -3.5 6; 24 32.8 -3.5 26; 25 32.8 -4.2 30; 26 4.8 -3.5 12; 27 1.8 -3.5 12; 28 1.8 -3.5 16; 29 1.8 -3.5 20; 30 1.8 -3.5 23; 31 4.8 -3.5 23; 32 7.8 -3.5 23; 33 10.8 -3.5 23; 34 17.8 -3.5 6; 35 17.8 -3.5 12; 36 17.8 -3.5 16; 37 21.3 -3.5 22; 38 24.8 -3.5 12; 39 24.8 -3.5 16; 40 32.8 -3.5 12; 41 32.8 -3.5 16; 42 40.8 -3.5 14; 43 47.8 -3.5 14; 44 21.3 -3.5 9; 45 21.3 -3.5 12; 46 21.3 -3.5 16; 47 14.8 -3.5 12; 48 10.8 -3.5 8; 49 14.3 -3.5 22; 50 14.3 -3.5 3; 51 40.8 -3.5 12; 52 47.8 -3.5 12; 53 54.8 -3.5 12; 54 24.8 -3.5 9; 55 17.8 -3.5 9; 56 4.8 -3.5 20; 57 4.8 -3.5 16; 58 10.8 -3.5 20; 59 6.8 -3.5 12; 60 7.8 -3.5 16; 61 7.8 -3.5 20; 62 7.8 -3.5 13; 63 4.8 -3.5 22; 64 9.8 -3.5 3; 65 1.8 -3.5 11; 66 8.6262 -3.5 4.1738; 67 5.79778 -3.5 7.00222; 68 2.96935 -3.5 9.83065; 69 8.79778 -3.5 10.0022; 70 2.8 -3.5 12; 71 2.8 -3.5 16; 72 2.8 -3.5 20; 73 2.8 -3.5 22; 74 6.8 -3.5 20; 75 6.8 -3.5 22; 76 40.8 -3.5 16; 77 47.8 -3.5 16; 78 54.8 -3.5 16; 79 14.3 -3.5 16; 80 14.3 -3.5 6; 81 14.3 -3.5 18; 82 10.8 -3.5 18; 83 17.8 -3.5 18; 84 12.55 -3.5 18; 85 21.3 -3.5 19; 86 17.8 -3.5 19; 87 24.8 -3.5 19;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 423: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111888]]] 88 32.8 -3.5 19; 89 40.8 -3.5 19; 90 47.8 -3.5 19; 91 54.8 -3.5 19; 92 11.8 -3.5 9; 93 14.3262 -3.5 12.4738; 94 14.3244 -3.5 11.5244; 95 14.3133 -3.5 9.01538; 96 28.8 -3.5 12; 97 28.8 -3.5 16; 98 28.8 -3.5 19; 99 28.8 -3.5 22; 100 36.8 -3.5 22; 101 36.8 -3.5 19; 102 36.8 -3.5 16; 103 36.8 -3.5 12; 104 44.3 -3.5 22; 105 51.3 -3.5 22; 106 44.3 -3.5 19; 107 51.3 -3.5 19; 108 44.3 -3.5 16; 109 51.3 -3.5 16; 110 51.3 -3.5 12; 111 44.3 -3.5 12; 112 32.8 -3.5 10; 113 24.8 -3.5 10; 114 26.9 -3.5 12; 115 26.9 -3.5 10; 116 28 -3.5 6; 117 28 -3.5 10; 118 29 -3.5 6; 119 29 -3.5 10; 120 40.8 -3.5 9; 121 47.8 -3.5 9; 122 54.8 -3.5 9; 123 32.8 -3.5 9; 124 44.3 -3.5 6; 125 51.3 -3.5 6; 126 51.3 -3.5 9; 127 44.3 -3.5 9; 128 44.3 -3.5 14; 129 36.3 -3.5 9; 130 36.3 -3.5 12; 131 38.55 -3.5 9; 132 38.55 -3.5 12; 133 36.8 -3.5 9; 134 36.8 -3.5 6; 135 36.8 -3.5 24; 136 40.8 -3.5 24; 137 32.8 -3.5 24; 138 34.3 -3.5 26; 139 34.3 -4.2 30; 140 34.3 -3.5 24; 141 39.3 -3.5 26; 142 39.3 -4.2 30; 143 39.3 -3.5 24; 144 10.8 -4.2 3; 145 17.8 -4.2 3; 146 24.8 -4.2 6; 147 21.3 -4.2 3; 148 32.8 -4.2 6; 149 36.3 -4.2 6; 150 40.8 -4.2 6; 151 47.8 -4.2 6; 152 54.8 -4.2 6; 153 54.8 -4.2 14; 154 54.8 -4.2 22; 155 47.8 -4.2 22; 156 40.8 -4.2 22; 157 32.8 -4.2 22; 158 24.8 -4.2 22; 159 17.8 -4.2 22; 160 10.8 -4.2 22; 161 10.8 -4.2 16; 162 10.8 -4.2 12; 163 10.8 -4.2 6; 164 4.8 -4.2 12; 165 1.8 -4.2 12; 166 1.8 -4.2 16; 167 1.8 -4.2 20; 168 1.8 -4.2 23; 169 4.8 -4.2 23; 170 10.8 -4.2 23; 171 17.8 -4.2 6; 172 17.8 -4.2 12; 173 17.8 -4.2 16; 174 24.8 -4.2 12; 175 24.8 -4.2 16; 176 32.8 -4.2 12; 177 32.8 -4.2 16; 178 40.8 -4.2 14; 179 47.8 -4.2 14; 180 4.8 -4.2 20; 181 8.6262 -4.2 4.1738; 182 5.79778 -4.2 7.00222; 183 2.96935 -4.2 9.83065; 184 36.3 -4.2 9; 185 36.3 -4.2 12; 186 38.55 -4.2 9; 187 38.55 -4.2 12; 188 40.8 -4.2 26; 189 32.8 -4.2 26; 190 34.3 -4.2 26; 191 39.3 -4.2 26; 192 32.8 -1.75 6; 193 36.3 -1.75 6; 194 32.8 -1.75 4; 195 36.3 -1.75 4; 196 10.8 0 3; 197 17.8 0 3; 198 21.3 0 6; 199 24.8 0 6; 200 21.3 0 3; 201 32.8 0 6; 202 36.3 0 6; 203 40.8 0 6; 204 47.8 0 6; 205 54.8 0 6; 206 54.8 0 14; 207 54.8 0 22; 208 47.8 0 22; 209 40.8 0 22; 210 32.8 0 22; 211 24.8 0 22; 212 17.8 0 22; 213 10.8 0 22; 214 10.8 0 16;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 424: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444111999]]] 215 10.8 0 12; 216 10.8 0 6; 217 4.8 0 12; 218 1.8 0 12; 219 1.8 0 16; 220 1.8 0 20; 221 1.8 0 23; 222 4.8 0 23; 223 7.8 0 23; 224 10.8 0 23; 225 17.8 0 6; 226 17.8 0 12; 227 17.8 0 16; 228 21.3 0 22; 229 24.8 0 12; 230 24.8 0 16; 231 32.8 0 12; 232 32.8 0 16; 233 40.8 0 14; 234 47.8 0 14; 235 21.3 0 9; 236 21.3 0 12; 237 21.3 0 16; 238 14.3 0 22; 239 14.3 0 3; 240 40.8 0 12; 241 47.8 0 12; 242 54.8 0 12; 243 24.8 0 9; 244 17.8 0 9; 245 4.8 0 20; 246 4.8 0 16; 247 10.8 0 20; 248 7.8 0 16; 249 7.8 0 20; 250 9.8 0 3; 251 1.8 0 11; 252 8.6262 0 4.1738; 253 5.79778 0 7.00222; 254 2.96935 0 9.83065; 255 40.8 0 16; 256 47.8 0 16; 257 54.8 0 16; 258 14.3 0 16; 259 14.3 0 6; 260 21.3 0 19; 261 17.8 0 19; 262 24.8 0 19; 263 32.8 0 19; 264 40.8 0 19; 265 47.8 0 19; 266 54.8 0 19; 267 28.8 0 12; 268 28.8 0 16; 269 28.8 0 19; 270 28.8 0 22; 271 36.8 0 22; 272 36.8 0 19; 273 36.8 0 16; 274 36.8 0 12; 275 44.3 0 22; 276 51.3 0 22; 277 44.3 0 19; 278 51.3 0 19; 279 44.3 0 16; 280 51.3 0 16; 281 51.3 0 12; 282 44.3 0 12; 283 32.8 0 10; 284 24.8 0 10; 285 26.9 0 12; 286 26.9 0 10; 287 28 0 6; 288 28 0 10; 289 29 0 6; 290 29 0 10; 291 40.8 0 9; 292 47.8 0 9; 293 54.8 0 9; 294 32.8 0 9; 295 44.3 0 6; 296 51.3 0 6; 297 51.3 0 9; 298 44.3 0 9; 299 44.3 0 14; 300 36.3 0 9; 301 36.3 0 12; 302 38.55 0 9; 303 38.55 0 12; 304 32.8 1.75 6; 305 36.3 1.75 6; 306 32.8 1.75 4; 307 36.3 1.75 4; 308 7.79778 0 9.00222; 309 10.8 0 9.01538; 310 14.3 0 9.01538; 311 0.65 0 24.15; 312 4.8 0 24.15; 313 7.8 0 24.15; 314 10.8 0 24.15; 315 0.65 0 12; 316 0.65 0 16; 317 0.65 0 20; 318 10.8 0 23.5; 319 54.8 0 23.5; 320 40.8 0 30; 321 32.8 0 30; 322 32.8 0 23.5; 323 40.8 0 23.5; 324 17.8 0 23.5; 325 24.8 0 23.5; 326 47.8 0 23.5; 327 10.8 0 1.85; 328 17.8 0 1.85; 329 21.3 0 1.85; 330 14.3 0 1.85; 331 0.6 0 10.4; 332 9.2 0 1.9; 333 2.05603 0 8.92847; 334 4.867 0 6.08279; 335 7.67796 0 3.23713; 336 14.3 0 12; 337 10.8 0 9.00222; 338 14.3 0 19; 339 10.8 0 19; 340 10.7641 0 1.85112; 341 21.3 0 4.5; 342 32.8 0 4.5; 343 24.8 0 4.5; 344 30.8 0 10; 345 30.8 0 12; 346 38.55 0 6; 347 36.3 0 4.5; 348 54.8 0 4.5; 349 40.8 0 4.5; 350 47.8 0 4.5; 351 56.3 0 6; 352 56.3 0 14; 353 56.3 0 22; 354 56.3 0 23.5; 355 56.3 0 4.5; 356 7.8 -4.2 23;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 425: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222000]]] 357 7.79873 0 11.999; 358 32.8 0 26; 359 40.8 0 26; 360 32.8 -4.0752 29.2868; 361 21.3 3.5 6; 362 24.8 3.5 6; 363 32.8 3.5 6; 364 36.3 3.5 6; 365 40.8 3.5 6; 366 47.8 3.5 6; 367 54.8 3.5 6; 368 54.8 3.5 14; 369 54.8 3.5 22; 370 47.8 3.5 22; 371 40.8 3.5 22; 372 32.8 3.5 22; 373 24.8 3.5 22; 374 17.8 3.5 22; 375 10.8 3.5 22; 376 10.8 3.5 16; 377 10.8 3.5 12; 378 10.8 3.5 6; 379 17.8 3.5 6; 380 17.8 3.5 12; 381 17.8 3.5 16; 382 21.3 3.5 22; 383 24.8 3.5 12; 384 24.8 3.5 16; 385 32.8 3.5 12; 386 32.8 3.5 16; 387 40.8 3.5 14; 388 47.8 3.5 14; 389 21.3 3.5 9; 390 21.3 3.5 12; 391 21.3 3.5 16; 392 14.3 3.5 22; 393 40.8 3.5 12; 394 24.8 3.5 9; 395 17.8 3.5 9; 396 40.8 3.5 16; 397 14.3 3.5 16; 398 14.3 3.5 6; 399 21.3 3.5 19; 400 17.8 3.5 19; 401 24.8 3.5 19; 402 32.8 3.5 19; 403 40.8 3.5 19; 404 28.8 3.5 12; 405 28.8 3.5 16; 406 28.8 3.5 19; 407 28.8 3.5 22; 408 36.8 3.5 22; 409 36.8 3.5 19; 410 36.8 3.5 16; 411 36.8 3.5 12; 412 44.3 3.5 22; 413 51.3 3.5 22; 414 32.8 3.5 10; 415 24.8 3.5 10; 416 26.9 3.5 12; 417 26.9 3.5 10; 418 28 3.5 6; 419 28 3.5 10; 420 29 3.5 6; 421 29 3.5 10; 422 40.8 3.5 9; 423 32.8 3.5 9; 424 44.3 3.5 6; 425 51.3 3.5 6; 426 44.3 3.5 14; 427 36.3 3.5 9; 428 36.3 3.5 12; 429 38.55 3.5 9; 430 38.55 3.5 12; 431 32.8 5.25 6; 432 36.3 5.25 6; 433 32.8 5.25 4; 434 36.3 5.25 4; 435 10.8 3.5 9.01538; 436 14.3 3.5 9.01538; 437 10.8 3.5 23.5; 438 54.8 3.5 23.5; 439 32.8 3.5 23.5; 440 40.8 3.5 23.5; 441 17.8 3.5 23.5; 442 24.8 3.5 23.5; 443 47.8 3.5 23.5; 444 14.3 3.5 12; 445 10.8 3.5 9.00222; 446 14.3 3.5 19; 447 10.8 3.5 19; 448 32.8 3.5 4.5; 449 24.8 3.5 4.5; 450 30.8 3.5 10; 451 30.8 3.5 12; 452 36.3 3.5 4.5; 453 54.8 3.5 4.5; 454 40.8 3.5 4.5; 455 47.8 3.5 4.5; 456 56.3 3.5 6; 457 56.3 3.5 14; 458 56.3 3.5 22; 459 56.3 3.5 23.5; 460 56.3 3.5 4.5; 461 10.8 3.5 4.5; 462 17.8 3.5 4.5; 463 9.3 3.5 22; 464 9.3 3.5 16; 465 9.3 3.5 12; 466 9.3 3.5 6; 467 9.3 3.5 23.5; 468 9.3 3.5 4.5; 469 52.3 3.5 6; 470 52.3 3.5 4.5; 471 40.8 3.5 11; 472 44.3 3.5 11; 473 47.8 3.5 11; 474 51.3 3.5 11; 475 54.8 3.5 11; 476 54.8 3.5 8; 477 51.3 3.5 8; 478 47.8 3.5 8; 479 44.3 3.5 8; 480 40.8 3.5 8; 481 40.8 3.5 17;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 426: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222111]]] 482 44.3 3.5 17; 483 47.8 3.5 17; 484 51.3 3.5 17; 485 40.8 3.5 20; 486 44.3 3.5 20; 487 47.8 3.5 20; 488 51.3 3.5 20; 489 54.8 3.5 20; 490 54.8 3.5 17; 491 51.3 3.5 14; 492 56.3 3.5 8; 493 56.3 3.5 11; 494 56.3 3.5 17; 495 56.3 3.5 20; 496 34.55 -3.5 9; 497 34.55 -1.75 6; 498 34.55 0 9; 499 34.55 1.75 6; 500 34.55 3.5 9; 501 34.55 5.25 6; 502 32.8 -1.75 4.5; 503 33.675 -1.75 4.5; 504 33.675 -1.75 4; 505 32.8 -1.75 5; 506 33.675 -1.75 5; 507 32.8 -1.75 5.5; 508 33.675 -1.75 5.5; 509 33.675 -1.75 6; 510 34.55 -1.75 4.5; 511 34.55 -1.75 4; 512 34.55 -1.75 5; 513 34.55 -1.75 5.5; 514 35.425 -1.75 4.5; 515 35.425 -1.75 4; 516 35.425 -1.75 5; 517 35.425 -1.75 5.5; 518 35.425 -1.75 6; 519 36.3 -1.75 4.5; 520 36.3 -1.75 5; 521 36.3 -1.75 5.5; 522 18.675 -3.5 3; 523 18.675 -3.5 3.75; 524 17.8 -3.5 3.75; 525 19.55 -3.5 3; 526 19.55 -3.5 3.75; 527 20.425 -3.5 3; 528 20.425 -3.5 3.75; 529 21.3 -3.5 3.75; 530 18.675 -3.5 4.5; 531 17.8 -3.5 4.5; 532 19.55 -3.5 4.5; 533 20.425 -3.5 4.5; 534 21.3 -3.5 4.5; 535 18.675 -3.5 5.25; 536 17.8 -3.5 5.25; 537 19.55 -3.5 5.25; 538 20.425 -3.5 5.25; 539 21.3 -3.5 5.25; 540 18.675 -3.5 6; 541 19.55 -3.5 6; 542 20.425 -3.5 6; 543 2.8 -3.5 20.5; 544 3.3 -3.5 20.5; 545 3.3 -3.5 20; 546 2.8 -3.5 21; 547 3.3 -3.5 21; 548 2.8 -3.5 21.5; 549 3.3 -3.5 21.5; 550 3.3 -3.5 22; 551 3.8 -3.5 20.5; 552 3.8 -3.5 20; 553 3.8 -3.5 21; 554 3.8 -3.5 21.5; 555 3.8 -3.5 22; 556 4.3 -3.5 20.5; 557 4.3 -3.5 20; 558 4.3 -3.5 21; 559 4.3 -3.5 21.5; 560 4.3 -3.5 22; 561 4.8 -3.5 20.5; 562 4.8 -3.5 21; 563 4.8 -3.5 21.5; 564 5.3 -3.5 22; 565 5.3 -3.5 21.5; 566 5.8 -3.5 22; 567 5.8 -3.5 21.5; 568 6.3 -3.5 22; 569 6.3 -3.5 21.5; 570 6.8 -3.5 21.5; 571 5.3 -3.5 21; 572 5.8 -3.5 21; 573 6.3 -3.5 21; 574 6.8 -3.5 21; 575 5.3 -3.5 20.5; 576 5.8 -3.5 20.5; 577 6.3 -3.5 20.5; 578 6.8 -3.5 20.5; 579 5.3 -3.5 20; 580 5.8 -3.5 20; 581 6.3 -3.5 20; 582 7.8 -3.5 22; 583 7.8 -3.5 21.5; 584 8.8 -3.5 22; 585 8.8 -3.5 21.5; 586 9.8 -3.5 22; 587 9.8 -3.5 21.5; 588 10.8 -3.5 21.5; 589 7.8 -3.5 21; 590 8.8 -3.5 21; 591 9.8 -3.5 21; 592 10.8 -3.5 21; 593 7.8 -3.5 20.5; 594 8.8 -3.5 20.5; 595 9.8 -3.5 20.5; 596 10.8 -3.5 20.5; 597 8.8 -3.5 20; 598 9.8 -3.5 20;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 427: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222222]]] 599 37.425 -3.5 6; 600 37.425 -3.5 6.75; 601 36.3 -3.5 6.75; 602 38.55 -3.5 6; 603 38.55 -3.5 6.75; 604 39.675 -3.5 6; 605 39.675 -3.5 6.75; 606 40.8 -3.5 6.75; 607 37.425 -3.5 7.5; 608 36.3 -3.5 7.5; 609 38.55 -3.5 7.5; 610 39.675 -3.5 7.5; 611 40.8 -3.5 7.5; 612 37.425 -3.5 8.25; 613 36.3 -3.5 8.25; 614 38.55 -3.5 8.25; 615 39.675 -3.5 8.25; 616 40.8 -3.5 8.25; 617 37.425 -3.5 9; 618 39.675 -3.5 9; 619 24.8 -3.5 7; 620 25.6 -3.5 7; 621 25.6 -3.5 6; 622 24.8 -3.5 8; 623 25.6 -3.5 8; 624 25.6 -3.5 9; 625 25.6 -3.5 10; 626 26.4 -3.5 7; 627 26.4 -3.5 6; 628 26.4 -3.5 8; 629 26.4 -3.5 9; 630 26.4 -3.5 10; 631 27.2 -3.5 7; 632 27.2 -3.5 6; 633 27.2 -3.5 8; 634 27.2 -3.5 9; 635 27.2 -3.5 10; 636 28 -3.5 7; 637 28 -3.5 8; 638 28 -3.5 9; 639 28.25 -3.5 6; 640 28.25 -3.5 7; 641 28.5 -3.5 6; 642 28.5 -3.5 7; 643 28.75 -3.5 6; 644 28.75 -3.5 7; 645 29 -3.5 7; 646 28.25 -3.5 8; 647 28.5 -3.5 8; 648 28.75 -3.5 8; 649 29 -3.5 8; 650 28.25 -3.5 9; 651 28.5 -3.5 9; 652 28.75 -3.5 9; 653 29 -3.5 9; 654 28.25 -3.5 10; 655 28.5 -3.5 10; 656 28.75 -3.5 10; 657 29.95 -3.5 6; 658 29.95 -3.5 7; 659 30.9 -3.5 6; 660 30.9 -3.5 7; 661 31.85 -3.5 6; 662 31.85 -3.5 7; 663 32.8 -3.5 7; 664 29.95 -3.5 8; 665 30.9 -3.5 8; 666 31.85 -3.5 8; 667 32.8 -3.5 8; 668 29.95 -3.5 9; 669 30.9 -3.5 9; 670 31.85 -3.5 9; 671 29.95 -3.5 10; 672 30.9 -3.5 10; 673 31.85 -3.5 10; 674 25.325 -3.5 10; 675 25.325 -3.5 10.5; 676 24.8 -3.5 10.5; 677 25.85 -3.5 10; 678 25.85 -3.5 10.5; 679 26.375 -3.5 10; 680 26.375 -3.5 10.5; 681 26.9 -3.5 10.5; 682 25.325 -3.5 11; 683 24.8 -3.5 11; 684 25.85 -3.5 11; 685 26.375 -3.5 11; 686 26.9 -3.5 11; 687 25.325 -3.5 11.5; 688 24.8 -3.5 11.5; 689 25.85 -3.5 11.5; 690 26.375 -3.5 11.5; 691 26.9 -3.5 11.5; 692 25.325 -3.5 12; 693 25.85 -3.5 12; 694 26.375 -3.5 12; 695 28.375 -3.5 12; 696 28.375 -3.5 11.5; 697 29.85 -3.5 12; 698 29.85 -3.5 11.5; 699 31.325 -3.5 12; 700 31.325 -3.5 11.5; 701 32.8 -3.5 11.5; 702 28.375 -3.5 11; 703 29.85 -3.5 11; 704 31.325 -3.5 11; 705 32.8 -3.5 11; 706 28.375 -3.5 10.5; 707 29.85 -3.5 10.5; 708 31.325 -3.5 10.5; 709 32.8 -3.5 10.5; 710 28.375 -3.5 10; 711 29.85 -3.5 10; 712 31.325 -3.5 10; 713 32.8 -4.025 29;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 428: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222333]]] 714 33.175 -4.025 29; 715 33.175 -4.2 30; 716 32.8 -3.85 28; 717 33.175 -3.85 28; 718 32.8 -3.675 27; 719 33.175 -3.675 27; 720 33.175 -3.5 26; 721 33.55 -4.025 29; 722 33.55 -4.2 30; 723 33.55 -3.85 28; 724 33.55 -3.675 27; 725 33.55 -3.5 26; 726 33.925 -4.025 29; 727 33.925 -4.2 30; 728 33.925 -3.85 28; 729 33.925 -3.675 27; 730 33.925 -3.5 26; 731 34.3 -4.025 29; 732 34.3 -3.85 28; 733 34.3 -3.675 27; 734 32.8 -3.5 25.5; 735 33.175 -3.5 25.5; 736 32.8 -3.5 25; 737 33.175 -3.5 25; 738 32.8 -3.5 24.5; 739 33.175 -3.5 24.5; 740 33.175 -3.5 24; 741 33.55 -3.5 25.5; 742 33.55 -3.5 25; 743 33.55 -3.5 24.5; 744 33.55 -3.5 24; 745 33.925 -3.5 25.5; 746 33.925 -3.5 25; 747 33.925 -3.5 24.5; 748 33.925 -3.5 24; 749 34.3 -3.5 25.5; 750 34.3 -3.5 25; 751 34.3 -3.5 24.5; 752 39.3 -4.025 29; 753 39.675 -4.025 29; 754 39.675 -4.2 30; 755 39.3 -3.85 28; 756 39.675 -3.85 28; 757 39.3 -3.675 27; 758 39.675 -3.675 27; 759 39.675 -3.5 26; 760 40.05 -4.025 29; 761 40.05 -4.2 30; 762 40.05 -3.85 28; 763 40.05 -3.675 27; 764 40.05 -3.5 26; 765 40.425 -4.025 29; 766 40.425 -4.2 30; 767 40.425 -3.85 28; 768 40.425 -3.675 27; 769 40.425 -3.5 26; 770 40.8 -4.025 29; 771 40.8 -3.85 28; 772 40.8 -3.675 27; 773 39.3 -3.5 25.5; 774 39.675 -3.5 25.5; 775 39.3 -3.5 25; 776 39.675 -3.5 25; 777 39.3 -3.5 24.5; 778 39.675 -3.5 24.5; 779 39.675 -3.5 24; 780 40.05 -3.5 25.5; 781 40.05 -3.5 25; 782 40.05 -3.5 24.5; 783 40.05 -3.5 24; 784 40.425 -3.5 25.5; 785 40.425 -3.5 25; 786 40.425 -3.5 24.5; 787 40.425 -3.5 24; 788 40.8 -3.5 25.5; 789 40.8 -3.5 25; 790 40.8 -3.5 24.5; 791 4.8 0 19; 792 5.55 0 19; 793 5.55 0 20; 794 4.8 0 18; 795 5.55 0 18; 796 4.8 0 17; 797 5.55 0 17; 798 5.55 0 16; 799 6.3 0 19; 800 6.3 0 20; 801 6.3 0 18; 802 6.3 0 17; 803 6.3 0 16; 804 7.05 0 19; 805 7.05 0 20; 806 7.05 0 18; 807 7.05 0 17; 808 7.05 0 16; 809 7.8 0 19; 810 7.8 0 18; 811 7.8 0 17; 812 8.55 0 20; 813 8.55 0 19; 814 9.3 0 20; 815 9.3 0 19; 816 10.05 0 20; 817 10.05 0 19; 818 8.55 0 18; 819 9.3 0 18; 820 10.05 0 18; 821 10.8 0 18; 822 8.55 0 17; 823 9.3 0 17; 824 10.05 0 17; 825 10.8 0 17; 826 8.55 0 16; 827 9.3 0 16; 828 10.05 0 16; 829 4.8 0 15;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 429: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222444]]] 830 5.54992 0 14.9999; 831 4.8 0 14; 832 5.54984 0 13.9999; 833 4.8 0 13; 834 5.54976 0 12.9998; 835 5.54968 0 11.9998; 836 6.29984 0 14.9999; 837 6.29968 0 13.9998; 838 6.29952 0 12.9996; 839 6.29937 0 11.9995; 840 7.04976 0 14.9998; 841 7.04952 0 13.9996; 842 7.04929 0 12.9994; 843 7.04905 0 11.9992; 844 7.79968 0 14.9998; 845 7.79937 0 13.9995; 846 7.79905 0 12.9992; 847 8.54905 0 11.9992; 848 8.54929 0 12.9994; 849 9.29937 0 11.9995; 850 9.29952 0 12.9996; 851 10.0497 0 11.9998; 852 10.0498 0 12.9998; 853 10.8 0 13; 854 8.54952 0 13.9996; 855 9.29968 0 13.9998; 856 10.0498 0 13.9999; 857 10.8 0 14; 858 8.54976 0 14.9998; 859 9.29984 0 14.9999; 860 10.0499 0 14.9999; 861 10.8 0 15; 862 7.79849 0 11.2498; 863 8.54887 0 11.25; 864 7.79825 0 10.5006; 865 8.54869 0 10.5007; 866 7.79802 0 9.75142; 867 8.54851 0 9.75148; 868 8.54834 0 9.00222; 869 9.29925 0 11.2502; 870 9.29913 0 10.5009; 871 9.29901 0 9.75154; 872 9.29889 0 9.00222; 873 10.0496 0 11.2504; 874 10.0496 0 10.501; 875 10.0495 0 9.7516; 876 10.0494 0 9.00222; 877 10.8 0 11.2506; 878 10.8 0 10.5011; 879 10.8 0 9.75167; 880 7.04041 0 11.3745; 881 6.29889 0 10.5011; 882 7.29855 0 10.7505; 883 5.54945 0 11.2506; 884 7.04834 0 9.75167; 885 9.54909 0 8.50731; 886 8.54834 0 8.25167; 887 9.29889 0 7.50111; 888 10.0437 0 7.97839; 889 10.0494 0 9.01209; 890 8.54834 0 9.00551; 891 10.8 0 8.26154; 892 10.8 0 6.75385; 893 10.0494 0 6.75056; 894 9.29889 0 9.0088; 895 10.8 0 7.50769; 896 10.8 0 23.125; 897 12.55 0 23.125; 898 12.55 0 23.5; 899 10.8 0 22.75; 900 12.55 0 22.75; 901 10.8 0 22.375; 902 12.55 0 22.375; 903 12.55 0 22; 904 14.3 0 23.125; 905 14.3 0 23.5; 906 14.3 0 22.75; 907 14.3 0 22.375; 908 16.05 0 23.125; 909 16.05 0 23.5; 910 16.05 0 22.75; 911 16.05 0 22.375; 912 16.05 0 22; 913 17.8 0 23.125; 914 17.8 0 22.75; 915 17.8 0 22.375; 916 19.55 0 23.5; 917 19.55 0 23.125; 918 21.3 0 23.5; 919 21.3 0 23.125; 920 23.05 0 23.5; 921 23.05 0 23.125; 922 24.8 0 23.125; 923 19.55 0 22.75; 924 21.3 0 22.75; 925 23.05 0 22.75; 926 24.8 0 22.75; 927 19.55 0 22.375; 928 21.3 0 22.375; 929 23.05 0 22.375; 930 24.8 0 22.375; 931 19.55 0 22; 932 23.05 0 22;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 430: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222555]]] 933 26.8 0 22; 934 26.8 0 22.375; 935 28.8 0 22.375; 936 30.8 0 22; 937 30.8 0 22.375; 938 32.8 0 22.375; 939 26.8 0 22.75; 940 28.8 0 22.75; 941 30.8 0 22.75; 942 32.8 0 22.75; 943 26.8 0 23.125; 944 28.8 0 23.125; 945 30.8 0 23.125; 946 32.8 0 23.125; 947 26.8 0 23.5; 948 28.8 0 23.5; 949 30.8 0 23.5; 950 22.175 0 4.5; 951 22.175 0 4.875; 952 21.3 0 4.875; 953 23.05 0 4.5; 954 23.05 0 4.875; 955 23.925 0 4.5; 956 23.925 0 4.875; 957 24.8 0 4.875; 958 22.175 0 5.25; 959 21.3 0 5.25; 960 23.05 0 5.25; 961 23.925 0 5.25; 962 24.8 0 5.25; 963 22.175 0 5.625; 964 21.3 0 5.625; 965 23.05 0 5.625; 966 23.925 0 5.625; 967 24.8 0 5.625; 968 22.175 0 6; 969 23.05 0 6; 970 23.925 0 6; 971 26.8 0 4.5; 972 26.8 0 4.875; 973 28.8 0 4.5; 974 28.8 0 4.875; 975 30.8 0 4.5; 976 30.8 0 4.875; 977 32.8 0 4.875; 978 26.8 0 5.25; 979 28.8 0 5.25; 980 30.8 0 5.25; 981 32.8 0 5.25; 982 26.8 0 5.625; 983 28.8 0 5.625; 984 30.8 0 5.625; 985 32.8 0 5.625; 986 26.8 0 6; 987 28.8 0 6; 988 30.8 0 6; 989 22.175 0 6.75; 990 21.3 0 6.75; 991 23.05 0 6.75; 992 23.925 0 6.75; 993 24.8 0 6.75; 994 22.175 0 7.5; 995 21.3 0 7.5; 996 23.05 0 7.5; 997 23.925 0 7.5; 998 24.8 0 7.5; 999 22.175 0 8.25; 1000 21.3 0 8.25; 1001 23.05 0 8.25; 1002 23.925 0 8.25; 1003 24.8 0 8.25; 1004 22.175 0 9; 1005 23.05 0 9; 1006 23.925 0 9; 1007 25.6 0 6; 1008 25.6 0 7; 1009 24.8 0 7; 1010 26.4 0 6; 1011 26.4 0 7; 1012 27.2 0 6; 1013 27.2 0 7; 1014 28 0 7; 1015 25.6 0 8; 1016 24.8 0 8; 1017 26.4 0 8; 1018 27.2 0 8; 1019 28 0 8; 1020 25.6 0 9; 1021 26.4 0 9; 1022 27.2 0 9; 1023 28 0 9; 1024 25.6 0 10; 1025 26.4 0 10; 1026 27.2 0 10; 1027 28.25 0 6; 1028 28.25 0 7; 1029 28.5 0 6; 1030 28.5 0 7; 1031 28.75 0 6; 1032 28.75 0 7; 1033 29 0 7; 1034 28.25 0 8; 1035 28.5 0 8; 1036 28.75 0 8; 1037 29 0 8; 1038 28.25 0 9; 1039 28.5 0 9; 1040 28.75 0 9; 1041 29 0 9; 1042 28.25 0 10; 1043 28.5 0 10; 1044 28.75 0 10; 1045 29.95 0 6; 1046 29.95 0 7; 1047 30.9 0 6; 1048 30.9 0 7; 1049 31.85 0 6; 1050 31.85 0 7; 1051 32.8 0 7; 1052 29.95 0 8; 1053 30.9 0 8; 1054 31.85 0 8; 1055 32.8 0 8; 1056 29.95 0 9; 1057 30.9 0 9; 1058 31.85 0 9; 1059 29.95 0 10; 1060 30.9 0 10; 1061 31.85 0 10; 1062 25.325 0 10; 1063 25.325 0 10.5; 1064 24.8 0 10.5; 1065 25.85 0 10; 1066 25.85 0 10.5; 1067 26.375 0 10; 1068 26.375 0 10.5;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 431: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222666]]] 1069 26.9 0 10.5; 1070 25.325 0 11; 1071 24.8 0 11; 1072 25.85 0 11; 1073 26.375 0 11; 1074 26.9 0 11; 1075 25.325 0 11.5; 1076 24.8 0 11.5; 1077 25.85 0 11.5; 1078 26.375 0 11.5; 1079 26.9 0 11.5; 1080 25.325 0 12; 1081 25.85 0 12; 1082 26.375 0 12; 1083 27.875 0 10; 1084 27.875 0 10.5; 1085 28.85 0 10; 1086 28.85 0 10.5; 1087 29.825 0 10; 1088 29.825 0 10.5; 1089 30.8 0 10.5; 1090 27.875 0 11; 1091 28.85 0 11; 1092 29.825 0 11; 1093 30.8 0 11; 1094 27.875 0 11.5; 1095 28.85 0 11.5; 1096 29.825 0 11.5; 1097 30.8 0 11.5; 1098 27.875 0 12; 1099 28.85 0 12; 1100 29.825 0 12; 1101 31.3 0 10; 1102 31.3 0 10.5; 1103 31.8 0 10; 1104 31.8 0 10.5; 1105 32.3 0 10; 1106 32.3 0 10.5; 1107 32.8 0 10.5; 1108 31.3 0 11; 1109 31.8 0 11; 1110 32.3 0 11; 1111 32.8 0 11; 1112 31.3 0 11.5; 1113 31.8 0 11.5; 1114 32.3 0 11.5; 1115 32.8 0 11.5; 1116 31.3 0 12; 1117 31.8 0 12; 1118 32.3 0 12; 1119 37.425 0 4.5; 1120 37.425 0 4.875; 1121 36.3 0 4.875; 1122 38.55 0 4.5; 1123 38.55 0 4.875; 1124 39.675 0 4.5; 1125 39.675 0 4.875; 1126 40.8 0 4.875; 1127 37.425 0 5.25; 1128 36.3 0 5.25; 1129 38.55 0 5.25; 1130 39.675 0 5.25; 1131 40.8 0 5.25; 1132 37.425 0 5.625; 1133 36.3 0 5.625; 1134 38.55 0 5.625; 1135 39.675 0 5.625; 1136 40.8 0 5.625; 1137 37.425 0 6; 1138 39.675 0 6; 1139 42.55 0 4.5; 1140 42.55 0 4.875; 1141 44.3 0 4.5; 1142 44.3 0 4.875; 1143 46.05 0 4.5; 1144 46.05 0 4.875; 1145 47.8 0 4.875; 1146 42.55 0 5.25; 1147 44.3 0 5.25; 1148 46.05 0 5.25; 1149 47.8 0 5.25; 1150 42.55 0 5.625; 1151 44.3 0 5.625; 1152 46.05 0 5.625; 1153 47.8 0 5.625; 1154 42.55 0 6; 1155 46.05 0 6; 1156 49.55 0 4.5; 1157 49.55 0 4.875; 1158 51.3 0 4.5; 1159 51.3 0 4.875; 1160 53.05 0 4.5; 1161 53.05 0 4.875; 1162 54.8 0 4.875; 1163 49.55 0 5.25; 1164 51.3 0 5.25; 1165 53.05 0 5.25; 1166 54.8 0 5.25; 1167 49.55 0 5.625; 1168 51.3 0 5.625; 1169 53.05 0 5.625; 1170 54.8 0 5.625; 1171 49.55 0 6; 1172 53.05 0 6; 1173 55.175 0 4.5; 1174 55.175 0 4.875; 1175 55.55 0 4.5; 1176 55.55 0 4.875; 1177 55.925 0 4.5; 1178 55.925 0 4.875; 1179 56.3 0 4.875; 1180 55.175 0 5.25; 1181 55.55 0 5.25; 1182 55.925 0 5.25; 1183 56.3 0 5.25; 1184 55.175 0 5.625; 1185 55.55 0 5.625; 1186 55.925 0 5.625; 1187 56.3 0 5.625; 1188 55.175 0 6; 1189 55.55 0 6; 1190 55.925 0 6; 1191 42.55 0 22; 1192 42.55 0 22.375;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 432: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222777]]] 1193 40.8 0 22.375; 1194 44.3 0 22.375; 1195 46.05 0 22; 1196 46.05 0 22.375; 1197 47.8 0 22.375; 1198 42.55 0 22.75; 1199 40.8 0 22.75; 1200 44.3 0 22.75; 1201 46.05 0 22.75; 1202 47.8 0 22.75; 1203 42.55 0 23.125; 1204 40.8 0 23.125; 1205 44.3 0 23.125; 1206 46.05 0 23.125; 1207 47.8 0 23.125; 1208 42.55 0 23.5; 1209 44.3 0 23.5; 1210 46.05 0 23.5; 1211 49.55 0 22; 1212 49.55 0 22.375; 1213 51.3 0 22.375; 1214 53.05 0 22; 1215 53.05 0 22.375; 1216 54.8 0 22.375; 1217 49.55 0 22.75; 1218 51.3 0 22.75; 1219 53.05 0 22.75; 1220 54.8 0 22.75; 1221 49.55 0 23.125; 1222 51.3 0 23.125; 1223 53.05 0 23.125; 1224 54.8 0 23.125; 1225 49.55 0 23.5; 1226 51.3 0 23.5; 1227 53.05 0 23.5; 1228 55.175 0 22; 1229 55.175 0 22.375; 1230 55.55 0 22; 1231 55.55 0 22.375; 1232 55.925 0 22; 1233 55.925 0 22.375; 1234 56.3 0 22.375; 1235 55.175 0 22.75; 1236 55.55 0 22.75; 1237 55.925 0 22.75; 1238 56.3 0 22.75; 1239 55.175 0 23.125; 1240 55.55 0 23.125; 1241 55.925 0 23.125; 1242 56.3 0 23.125; 1243 55.175 0 23.5; 1244 55.55 0 23.5; 1245 55.925 0 23.5; 1246 55.175 0 14; 1247 55.175 0 16; 1248 55.55 0 14; 1249 55.55 0 16; 1250 55.925 0 14; 1251 55.925 0 16; 1252 56.3 0 16; 1253 55.175 0 18; 1254 54.8 0 18; 1255 55.55 0 18; 1256 55.925 0 18; 1257 56.3 0 18; 1258 55.175 0 20; 1259 54.8 0 20; 1260 55.55 0 20; 1261 55.925 0 20; 1262 56.3 0 20; 1263 55.175 0 8; 1264 54.8 0 8; 1265 55.55 0 8; 1266 55.925 0 8; 1267 56.3 0 8; 1268 55.175 0 10; 1269 54.8 0 10; 1270 55.55 0 10; 1271 55.925 0 10; 1272 56.3 0 10; 1273 55.175 0 12; 1274 55.55 0 12; 1275 55.925 0 12; 1276 56.3 0 12; 1277 32.8 1.75 4.5; 1278 33.675 1.75 4.5; 1279 33.675 1.75 4; 1280 32.8 1.75 5; 1281 33.675 1.75 5; 1282 32.8 1.75 5.5; 1283 33.675 1.75 5.5; 1284 33.675 1.75 6; 1285 34.55 1.75 4.5; 1286 34.55 1.75 4; 1287 34.55 1.75 5; 1288 34.55 1.75 5.5; 1289 35.425 1.75 4.5; 1290 35.425 1.75 4; 1291 35.425 1.75 5; 1292 35.425 1.75 5.5; 1293 35.425 1.75 6; 1294 36.3 1.75 4.5; 1295 36.3 1.75 5; 1296 36.3 1.75 5.5; 1297 9.675 3.5 4.5; 1298 9.675 3.5 4.875; 1299 9.3 3.5 4.875; 1300 10.05 3.5 4.5; 1301 10.05 3.5 4.875; 1302 10.425 3.5 4.5; 1303 10.425 3.5 4.875; 1304 10.8 3.5 4.875; 1305 9.675 3.5 5.25; 1306 9.3 3.5 5.25;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 433: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222888]]] 1307 10.05 3.5 5.25; 1308 10.425 3.5 5.25; 1309 10.8 3.5 5.25; 1310 9.675 3.5 5.625; 1311 9.3 3.5 5.625; 1312 10.05 3.5 5.625; 1313 10.425 3.5 5.625; 1314 10.8 3.5 5.625; 1315 9.675 3.5 6; 1316 10.05 3.5 6; 1317 10.425 3.5 6; 1318 12.55 3.5 4.5; 1319 12.55 3.5 4.875; 1320 14.3 3.5 4.5; 1321 14.3 3.5 4.875; 1322 16.05 3.5 4.5; 1323 16.05 3.5 4.875; 1324 17.8 3.5 4.875; 1325 12.55 3.5 5.25; 1326 14.3 3.5 5.25; 1327 16.05 3.5 5.25; 1328 17.8 3.5 5.25; 1329 12.55 3.5 5.625; 1330 14.3 3.5 5.625; 1331 16.05 3.5 5.625; 1332 17.8 3.5 5.625; 1333 12.55 3.5 6; 1334 16.05 3.5 6; 1335 19.55 3.5 4.5; 1336 19.55 3.5 4.875; 1337 21.3 3.5 4.5; 1338 21.3 3.5 4.875; 1339 23.05 3.5 4.5; 1340 23.05 3.5 4.875; 1341 24.8 3.5 4.875; 1342 19.55 3.5 5.25; 1343 21.3 3.5 5.25; 1344 23.05 3.5 5.25; 1345 24.8 3.5 5.25; 1346 19.55 3.5 5.625; 1347 21.3 3.5 5.625; 1348 23.05 3.5 5.625; 1349 24.8 3.5 5.625; 1350 19.55 3.5 6; 1351 23.05 3.5 6; 1352 26.8 3.5 4.5; 1353 26.8 3.5 4.875; 1354 28.8 3.5 4.5; 1355 28.8 3.5 4.875; 1356 30.8 3.5 4.5; 1357 30.8 3.5 4.875; 1358 32.8 3.5 4.875; 1359 26.8 3.5 5.25; 1360 28.8 3.5 5.25; 1361 30.8 3.5 5.25; 1362 32.8 3.5 5.25; 1363 26.8 3.5 5.625; 1364 28.8 3.5 5.625; 1365 30.8 3.5 5.625; 1366 32.8 3.5 5.625; 1367 26.8 3.5 6; 1368 28.8 3.5 6; 1369 30.8 3.5 6; 1370 25.6 3.5 6; 1371 25.6 3.5 7; 1372 24.8 3.5 7; 1373 26.4 3.5 6; 1374 26.4 3.5 7; 1375 27.2 3.5 6; 1376 27.2 3.5 7; 1377 28 3.5 7; 1378 25.6 3.5 8; 1379 24.8 3.5 8; 1380 26.4 3.5 8; 1381 27.2 3.5 8; 1382 28 3.5 8; 1383 25.6 3.5 9; 1384 26.4 3.5 9; 1385 27.2 3.5 9; 1386 28 3.5 9; 1387 25.6 3.5 10; 1388 26.4 3.5 10; 1389 27.2 3.5 10; 1390 28.25 3.5 6; 1391 28.25 3.5 7; 1392 28.5 3.5 6; 1393 28.5 3.5 7; 1394 28.75 3.5 6; 1395 28.75 3.5 7; 1396 29 3.5 7; 1397 28.25 3.5 8; 1398 28.5 3.5 8; 1399 28.75 3.5 8; 1400 29 3.5 8; 1401 28.25 3.5 9; 1402 28.5 3.5 9; 1403 28.75 3.5 9; 1404 29 3.5 9; 1405 28.25 3.5 10; 1406 28.5 3.5 10; 1407 28.75 3.5 10; 1408 29.95 3.5 6; 1409 29.95 3.5 7; 1410 30.9 3.5 6; 1411 30.9 3.5 7; 1412 31.85 3.5 6; 1413 31.85 3.5 7; 1414 32.8 3.5 7; 1415 29.95 3.5 8; 1416 30.9 3.5 8; 1417 31.85 3.5 8;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 434: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444222999]]] 1418 32.8 3.5 8; 1419 29.95 3.5 9; 1420 30.9 3.5 9; 1421 31.85 3.5 9; 1422 29.95 3.5 10; 1423 30.9 3.5 10; 1424 31.85 3.5 10; 1425 25.325 3.5 10; 1426 25.325 3.5 10.5; 1427 24.8 3.5 10.5; 1428 25.85 3.5 10; 1429 25.85 3.5 10.5; 1430 26.375 3.5 10; 1431 26.375 3.5 10.5; 1432 26.9 3.5 10.5; 1433 25.325 3.5 11; 1434 24.8 3.5 11; 1435 25.85 3.5 11; 1436 26.375 3.5 11; 1437 26.9 3.5 11; 1438 25.325 3.5 11.5; 1439 24.8 3.5 11.5; 1440 25.85 3.5 11.5; 1441 26.375 3.5 11.5; 1442 26.9 3.5 11.5; 1443 25.325 3.5 12; 1444 25.85 3.5 12; 1445 26.375 3.5 12; 1446 27.875 3.5 10; 1447 27.875 3.5 10.5; 1448 28.85 3.5 10; 1449 28.85 3.5 10.5; 1450 29.825 3.5 10; 1451 29.825 3.5 10.5; 1452 30.8 3.5 10.5; 1453 27.875 3.5 11; 1454 28.85 3.5 11; 1455 29.825 3.5 11; 1456 30.8 3.5 11; 1457 27.875 3.5 11.5; 1458 28.85 3.5 11.5; 1459 29.825 3.5 11.5; 1460 30.8 3.5 11.5; 1461 27.875 3.5 12; 1462 28.85 3.5 12; 1463 29.825 3.5 12; 1464 31.3 3.5 10; 1465 31.3 3.5 10.5; 1466 31.8 3.5 10; 1467 31.8 3.5 10.5; 1468 32.3 3.5 10; 1469 32.3 3.5 10.5; 1470 32.8 3.5 10.5; 1471 31.3 3.5 11; 1472 31.8 3.5 11; 1473 32.3 3.5 11; 1474 32.8 3.5 11; 1475 31.3 3.5 11.5; 1476 31.8 3.5 11.5; 1477 32.3 3.5 11.5; 1478 32.8 3.5 11.5; 1479 31.3 3.5 12; 1480 31.8 3.5 12; 1481 32.3 3.5 12; 1482 9.675 3.5 7.5; 1483 9.3 3.5 7.5; 1484 10.05 3.5 7.5; 1485 10.425 3.5 7.5; 1486 10.8 3.5 7.5; 1487 9.675 3.5 9; 1488 9.3 3.5 9; 1489 10.05 3.5 9; 1490 10.425 3.5 9; 1491 10.8 3.5 9; 1492 9.675 3.5 10.5; 1493 9.3 3.5 10.5; 1494 10.05 3.5 10.5; 1495 10.425 3.5 10.5; 1496 10.8 3.5 10.5; 1497 9.675 3.5 12; 1498 10.05 3.5 12; 1499 10.425 3.5 12; 1500 9.675 3.5 13; 1501 9.3 3.5 13; 1502 10.05 3.5 13; 1503 10.425 3.5 13; 1504 10.8 3.5 13; 1505 9.675 3.5 14; 1506 9.3 3.5 14; 1507 10.05 3.5 14; 1508 10.425 3.5 14; 1509 10.8 3.5 14; 1510 9.675 3.5 15; 1511 9.3 3.5 15; 1512 10.05 3.5 15; 1513 10.425 3.5 15; 1514 10.8 3.5 15; 1515 9.675 3.5 16; 1516 10.05 3.5 16; 1517 10.425 3.5 16; 1518 9.675 3.5 17.5; 1519 9.3 3.5 17.5; 1520 10.05 3.5 17.5; 1521 10.425 3.5 17.5; 1522 10.8 3.5 17.5; 1523 9.675 3.5 19; 1524 9.3 3.5 19; 1525 10.05 3.5 19; 1526 10.425 3.5 19; 1527 9.675 3.5 20.5; 1528 9.3 3.5 20.5; 1529 10.05 3.5 20.5; 1530 10.425 3.5 20.5; 1531 10.8 3.5 20.5;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 435: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333000]]] 1532 9.675 3.5 22; 1533 10.05 3.5 22; 1534 10.425 3.5 22; 1535 9.675 3.5 22.375; 1536 9.3 3.5 22.375; 1537 10.05 3.5 22.375; 1538 10.425 3.5 22.375; 1539 10.8 3.5 22.375; 1540 9.675 3.5 22.75; 1541 9.3 3.5 22.75; 1542 10.05 3.5 22.75; 1543 10.425 3.5 22.75; 1544 10.8 3.5 22.75; 1545 9.675 3.5 23.125; 1546 9.3 3.5 23.125; 1547 10.05 3.5 23.125; 1548 10.425 3.5 23.125; 1549 10.8 3.5 23.125; 1550 9.675 3.5 23.5; 1551 10.05 3.5 23.5; 1552 10.425 3.5 23.5; 1553 12.55 3.5 22; 1554 12.55 3.5 22.375; 1555 14.3 3.5 22.375; 1556 16.05 3.5 22; 1557 16.05 3.5 22.375; 1558 17.8 3.5 22.375; 1559 12.55 3.5 22.75; 1560 14.3 3.5 22.75; 1561 16.05 3.5 22.75; 1562 17.8 3.5 22.75; 1563 12.55 3.5 23.125; 1564 14.3 3.5 23.125; 1565 16.05 3.5 23.125; 1566 17.8 3.5 23.125; 1567 12.55 3.5 23.5; 1568 14.3 3.5 23.5; 1569 16.05 3.5 23.5; 1570 19.55 3.5 22; 1571 19.55 3.5 22.375; 1572 21.3 3.5 22.375; 1573 23.05 3.5 22; 1574 23.05 3.5 22.375; 1575 24.8 3.5 22.375; 1576 19.55 3.5 22.75; 1577 21.3 3.5 22.75; 1578 23.05 3.5 22.75; 1579 24.8 3.5 22.75; 1580 19.55 3.5 23.125; 1581 21.3 3.5 23.125; 1582 23.05 3.5 23.125; 1583 24.8 3.5 23.125; 1584 19.55 3.5 23.5; 1585 21.3 3.5 23.5; 1586 23.05 3.5 23.5; 1587 26.8 3.5 22; 1588 26.8 3.5 22.375; 1589 28.8 3.5 22.375; 1590 30.8 3.5 22; 1591 30.8 3.5 22.375; 1592 32.8 3.5 22.375; 1593 26.8 3.5 22.75; 1594 28.8 3.5 22.75; 1595 30.8 3.5 22.75; 1596 32.8 3.5 22.75; 1597 26.8 3.5 23.125; 1598 28.8 3.5 23.125; 1599 30.8 3.5 23.125; 1600 32.8 3.5 23.125; 1601 26.8 3.5 23.5; 1602 28.8 3.5 23.5; 1603 30.8 3.5 23.5; 1604 34.8 3.5 22; 1605 34.8 3.5 22.375; 1606 36.8 3.5 22.375; 1607 38.8 3.5 22; 1608 38.8 3.5 22.375; 1609 40.8 3.5 22.375; 1610 34.8 3.5 22.75; 1611 36.8 3.5 22.75; 1612 38.8 3.5 22.75; 1613 40.8 3.5 22.75; 1614 34.8 3.5 23.125; 1615 36.8 3.5 23.125; 1616 38.8 3.5 23.125; 1617 40.8 3.5 23.125; 1618 34.8 3.5 23.5; 1619 36.8 3.5 23.5; 1620 38.8 3.5 23.5; 1621 42.55 3.5 22; 1622 42.55 3.5 22.375; 1623 44.3 3.5 22.375; 1624 46.05 3.5 22; 1625 46.05 3.5 22.375;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 436: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333111]]] 1626 47.8 3.5 22.375; 1627 42.55 3.5 22.75; 1628 44.3 3.5 22.75; 1629 46.05 3.5 22.75; 1630 47.8 3.5 22.75; 1631 42.55 3.5 23.125; 1632 44.3 3.5 23.125; 1633 46.05 3.5 23.125; 1634 47.8 3.5 23.125; 1635 42.55 3.5 23.5; 1636 44.3 3.5 23.5; 1637 46.05 3.5 23.5; 1638 49.55 3.5 22; 1639 49.55 3.5 22.375; 1640 51.3 3.5 22.375; 1641 53.05 3.5 22; 1642 53.05 3.5 22.375; 1643 54.8 3.5 22.375; 1644 49.55 3.5 22.75; 1645 51.3 3.5 22.75; 1646 53.05 3.5 22.75; 1647 54.8 3.5 22.75; 1648 49.55 3.5 23.125; 1649 51.3 3.5 23.125; 1650 53.05 3.5 23.125; 1651 54.8 3.5 23.125; 1652 49.55 3.5 23.5; 1653 51.3 3.5 23.5; 1654 53.05 3.5 23.5; 1655 55.175 3.5 22; 1656 55.175 3.5 22.375; 1657 55.55 3.5 22; 1658 55.55 3.5 22.375; 1659 55.925 3.5 22; 1660 55.925 3.5 22.375; 1661 56.3 3.5 22.375; 1662 55.175 3.5 22.75; 1663 55.55 3.5 22.75; 1664 55.925 3.5 22.75; 1665 56.3 3.5 22.75; 1666 55.175 3.5 23.125; 1667 55.55 3.5 23.125; 1668 55.925 3.5 23.125; 1669 56.3 3.5 23.125; 1670 55.175 3.5 23.5; 1671 55.55 3.5 23.5; 1672 55.925 3.5 23.5; 1673 55.175 3.5 14; 1674 55.175 3.5 16; 1675 54.8 3.5 16; 1676 55.55 3.5 14; 1677 55.55 3.5 16; 1678 55.925 3.5 14; 1679 55.925 3.5 16; 1680 56.3 3.5 16; 1681 55.175 3.5 18; 1682 54.8 3.5 18; 1683 55.55 3.5 18; 1684 55.925 3.5 18; 1685 56.3 3.5 18; 1686 55.175 3.5 20; 1687 55.55 3.5 20; 1688 55.925 3.5 20; 1689 55.175 3.5 6; 1690 55.175 3.5 8; 1691 55.55 3.5 6; 1692 55.55 3.5 8; 1693 55.925 3.5 6; 1694 55.925 3.5 8; 1695 55.175 3.5 10; 1696 54.8 3.5 10; 1697 55.55 3.5 10; 1698 55.925 3.5 10; 1699 56.3 3.5 10; 1700 55.175 3.5 12; 1701 54.8 3.5 12; 1702 55.55 3.5 12; 1703 55.925 3.5 12; 1704 56.3 3.5 12; 1705 55.175 3.5 4.5; 1706 55.175 3.5 4.875; 1707 54.8 3.5 4.875; 1708 55.55 3.5 4.5; 1709 55.55 3.5 4.875; 1710 55.925 3.5 4.5; 1711 55.925 3.5 4.875; 1712 56.3 3.5 4.875; 1713 55.175 3.5 5.25; 1714 54.8 3.5 5.25; 1715 55.55 3.5 5.25; 1716 55.925 3.5 5.25; 1717 56.3 3.5 5.25; 1718 55.175 3.5 5.625; 1719 54.8 3.5 5.625; 1720 55.55 3.5 5.625; 1721 55.925 3.5 5.625; 1722 56.3 3.5 5.625; 1723 32.8 5.25 5.5; 1724 33.675 5.25 5.5; 1725 33.675 5.25 6; 1726 32.8 5.25 5; 1727 33.675 5.25 5;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 437: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333222]]] 1728 32.8 5.25 4.5; 1729 33.675 5.25 4.5; 1730 33.675 5.25 4; 1731 34.55 5.25 5.5; 1732 34.55 5.25 5; 1733 34.55 5.25 4.5; 1734 34.55 5.25 4; 1735 35.425 5.25 5.5; 1736 35.425 5.25 6; 1737 35.425 5.25 5; 1738 35.425 5.25 4.5; 1739 35.425 5.25 4; 1740 36.3 5.25 5.5; 1741 36.3 5.25 5; 1742 36.3 5.25 4.5; 1743 36.3 3.5 5.625; 1744 37.425 3.5 5.625; 1745 37.425 3.5 6; 1746 36.3 3.5 5.25; 1747 37.425 3.5 5.25; 1748 36.3 3.5 4.875; 1749 37.425 3.5 4.875; 1750 37.425 3.5 4.5; 1751 38.55 3.5 5.625; 1752 38.55 3.5 6; 1753 38.55 3.5 5.25; 1754 38.55 3.5 4.875; 1755 38.55 3.5 4.5; 1756 39.675 3.5 5.625; 1757 39.675 3.5 6; 1758 39.675 3.5 5.25; 1759 39.675 3.5 4.875; 1760 39.675 3.5 4.5; 1761 40.8 3.5 5.625; 1762 40.8 3.5 5.25; 1763 40.8 3.5 4.875; 1764 42.55 3.5 4.5; 1765 42.55 3.5 4.875; 1766 44.3 3.5 4.5; 1767 44.3 3.5 4.875; 1768 46.05 3.5 4.5; 1769 46.05 3.5 4.875; 1770 47.8 3.5 4.875; 1771 42.55 3.5 5.25; 1772 44.3 3.5 5.25; 1773 46.05 3.5 5.25; 1774 47.8 3.5 5.25; 1775 42.55 3.5 5.625; 1776 44.3 3.5 5.625; 1777 46.05 3.5 5.625; 1778 47.8 3.5 5.625; 1779 42.55 3.5 6; 1780 46.05 3.5 6; 1781 48.925 3.5 4.5; 1782 48.925 3.5 4.875; 1783 50.05 3.5 4.5; 1784 50.05 3.5 4.875; 1785 51.175 3.5 4.5; 1786 51.175 3.5 4.875; 1787 52.3 3.5 4.875; 1788 48.925 3.5 5.25; 1789 50.05 3.5 5.25; 1790 51.175 3.5 5.25; 1791 52.3 3.5 5.25; 1792 48.925 3.5 5.625; 1793 50.05 3.5 5.625; 1794 51.175 3.5 5.625; 1795 52.3 3.5 5.625; 1796 48.925 3.5 6; 1797 50.05 3.5 6; 1798 51.175 3.5 6; 1799 52.925 3.5 4.5; 1800 52.925 3.5 4.875; 1801 53.55 3.5 4.5; 1802 53.55 3.5 4.875; 1803 54.175 3.5 4.5; 1804 54.175 3.5 4.875; 1805 52.925 3.5 5.25; 1806 53.55 3.5 5.25; 1807 54.175 3.5 5.25; 1808 52.925 3.5 5.625; 1809 53.55 3.5 5.625; 1810 54.175 3.5 5.625; 1811 52.925 3.5 6; 1812 53.55 3.5 6; 1813 54.175 3.5 6; 1814 32.8 -3.0625 8.25; 1815 33.2375 -3.0625 8.25; 1816 33.2375 -3.5 9; 1817 32.8 -2.625 7.5; 1818 33.2375 -2.625 7.5; 1819 32.8 -2.1875 6.75; 1820 33.2375 -2.1875 6.75; 1821 33.2375 -1.75 6; 1822 33.675 -3.0625 8.25; 1823 33.675 -3.5 9;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 438: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333333]]] 1824 33.675 -2.625 7.5; 1825 33.675 -2.1875 6.75; 1826 34.1125 -3.0625 8.25; 1827 34.1125 -3.5 9; 1828 34.1125 -2.625 7.5; 1829 34.1125 -2.1875 6.75; 1830 34.1125 -1.75 6; 1831 34.55 -3.0625 8.25; 1832 34.55 -2.625 7.5; 1833 34.55 -2.1875 6.75; 1834 34.9875 -1.75 6; 1835 34.9875 -1.3125 6.75; 1836 34.55 -1.3125 6.75; 1837 35.425 -1.3125 6.75; 1838 35.8625 -1.75 6; 1839 35.8625 -1.3125 6.75; 1840 36.3 -1.3125 6.75; 1841 34.9875 -0.875 7.5; 1842 34.55 -0.875 7.5; 1843 35.425 -0.875 7.5; 1844 35.8625 -0.875 7.5; 1845 36.3 -0.875 7.5; 1846 34.9875 -0.4375 8.25; 1847 34.55 -0.4375 8.25; 1848 35.425 -0.4375 8.25; 1849 35.8625 -0.4375 8.25; 1850 36.3 -0.4375 8.25; 1851 34.9875 0 9; 1852 35.425 0 9; 1853 35.8625 0 9; 1854 34.1125 0 9; 1855 34.1125 0.4375 8.25; 1856 34.55 0.4375 8.25; 1857 33.675 0 9; 1858 33.675 0.4375 8.25; 1859 33.2375 0 9; 1860 33.2375 0.4375 8.25; 1861 32.8 0.4375 8.25; 1862 34.1125 0.875 7.5; 1863 34.55 0.875 7.5; 1864 33.675 0.875 7.5; 1865 33.2375 0.875 7.5; 1866 32.8 0.875 7.5; 1867 34.1125 1.3125 6.75; 1868 34.55 1.3125 6.75; 1869 33.675 1.3125 6.75; 1870 33.2375 1.3125 6.75; 1871 32.8 1.3125 6.75; 1872 34.1125 1.75 6; 1873 33.2375 1.75 6; 1874 34.9875 1.75 6; 1875 34.9875 2.1875 6.75; 1876 34.55 2.1875 6.75; 1877 35.425 2.1875 6.75; 1878 35.8625 1.75 6; 1879 35.8625 2.1875 6.75; 1880 36.3 2.1875 6.75; 1881 34.9875 2.625 7.5; 1882 34.55 2.625 7.5; 1883 35.425 2.625 7.5; 1884 35.8625 2.625 7.5; 1885 36.3 2.625 7.5; 1886 34.9875 3.0625 8.25; 1887 34.55 3.0625 8.25; 1888 35.425 3.0625 8.25; 1889 35.8625 3.0625 8.25; 1890 36.3 3.0625 8.25; 1891 34.9875 3.5 9; 1892 35.425 3.5 9; 1893 35.8625 3.5 9; 1894 34.1125 3.5 9; 1895 34.1125 3.9375 8.25; 1896 34.55 3.9375 8.25; 1897 33.675 3.5 9; 1898 33.675 3.9375 8.25; 1899 33.2375 3.5 9; 1900 33.2375 3.9375 8.25; 1901 32.8 3.9375 8.25; 1902 34.1125 4.375 7.5; 1903 34.55 4.375 7.5; 1904 33.675 4.375 7.5; 1905 33.2375 4.375 7.5; 1906 32.8 4.375 7.5; 1907 34.1125 4.8125 6.75; 1908 34.55 4.8125 6.75; 1909 33.675 4.8125 6.75; 1910 33.2375 4.8125 6.75; 1911 32.8 4.8125 6.75; 1912 34.1125 5.25 6; 1913 33.2375 5.25 6; 1914 51.3 -3.5 14; MEMBER INCIDENCES

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 439: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333444]]] 1 1 50; 2 2 522; 3 5 529; 4 3 4; 5 4 621; 6 6 7; 7 7 134; 8 8 124; 9 9 125; 10 10 122; 11 11 78; 12 12 105; 13 13 104; 14 14 136; 15 15 772; 16 14 100; 17 17 99; 18 18 37; 19 19 49; 20 20 588; 21 21 22; 22 22 48; 23 23 1; 24 17 137; 25 24 718; 26 22 59; 27 26 70; 28 27 28; 29 28 29; 30 29 30; 31 30 31; 32 31 32; 33 32 33; 34 33 20; 35 2 524; 36 34 55; 37 35 36; 38 36 83; 39 37 19; 40 3 44; 41 4 619; 42 38 39; 43 39 87; 44 6 663; 45 40 41; 46 41 88; 47 8 606; 48 42 76; 49 9 121; 50 43 77; 51 22 47; 52 44 45; 53 45 46; 54 47 35; 55 48 23; 56 48 92; 57 47 93; 58 49 20; 59 50 2; 60 35 45; 61 45 38; 62 38 692; 63 51 42; 64 40 130; 65 52 43; 66 51 111; 67 53 11; 68 52 110; 69 54 113; 70 44 54; 71 55 35; 72 44 55; 73 3 542; 74 34 80; 75 26 57; 76 56 561; 77 57 56; 78 28 71; 79 57 60; 80 29 72; 81 58 82; 82 56 579; 83 59 26; 84 21 62; 85 59 69; 86 60 21; 87 61 597; 88 61 60; 89 62 59; 90 60 62; 91 63 31; 92 20 586; 93 1 64; 94 64 66; 95 65 27; 96 66 67; 97 67 68; 98 68 65; 99 69 48; 100 67 69; 101 66 23; 102 68 26; 103 70 27; 104 71 57; 105 70 71; 106 72 545; 107 71 72; 108 72 543; 109 73 550; 110 74 61; 111 75 568; 112 74 578; 113 21 79; 114 36 46; 115 46 39; 116 39 97; 117 76 89; 118 41 102; 119 77 90; 120 76 108; 121 78 91; 122 77 109; 123 79 36; 124 80 23; 125 50 80; 126 79 81; 127 81 49; 128 82 21; 129 82 84; 130 83 86; 131 81 83; 132 84 81; 133 21 84; 134 46 85; 135 85 37; 136 86 19; 137 86 85; 138 87 18; 139 85 87; 140 88 17; 141 87 98; 142 89 14; 143 88 101; 144 90 13; 145 89 106; 146 91 12; 147 90 107; 148 92 94; 149 93 21; 150 79 93; 151 94 47; 152 80 95; 153 95 94; 154 55 95; 155 95 92; 156 96 697; 157 97 41; 158 98 88; 159 99 18; 160 99 98; 161 98 97; 162 97 96; 163 100 17; 164 101 89; 165 102 76; 166 103 132; 167 104 14; 168 105 13; 169 106 90; 170 107 91; 171 108 77; 172 109 78; 173 110 53; 174 111 52; 175 112 709; 176 113 676; 177 112 673; 178 114 695; 179 115 630; 180 114 691; 181 116 639; 182 117 635; 183 116 636; 184 118 657; 185 119 656; 186 118 645; 187 120 51; 188 121 52; 189 122 53; 190 123 112; 191 120 618; 192 103 102; 193 102 101; 194 101 100; 195 111 128; 196 108 106; 197 106 104; 198 105 107; 199 107 109; 200 109 1914; 201 124 9; 202 125 10; 203 111 127; 204 110 126; 205 126 125; 206 122 126; 207 126 121; 208 127 124; 209 121 127; 210 11 1914; 211 128 108; 212 43 128; 213 128 42; 214 129 496;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 440: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333555]]] 215 7 601; 216 130 103; 217 129 130; 218 131 617; 219 132 51; 220 131 132; 221 133 129; 222 134 599; 223 133 134; 224 120 127; 225 100 135; 226 136 790; 227 135 143; 228 137 738; 229 135 140; 230 140 748; 231 138 733; 232 140 751; 233 143 779; 234 141 757; 235 143 777; 236 1 144; 237 2 145; 238 4 146; 239 5 147; 240 6 148; 241 7 149; 242 8 150; 243 9 151; 244 10 152; 245 11 153; 246 12 154; 247 13 155; 248 14 156; 249 17 157; 250 18 158; 251 19 159; 252 20 160; 253 21 161; 254 22 162; 255 23 163; 256 26 164; 257 27 165; 258 28 166; 259 29 167; 260 30 168; 261 31 169; 262 33 170; 263 34 171; 264 35 172; 265 36 173; 266 38 174; 267 39 175; 268 40 176; 269 41 177; 270 42 178; 271 43 179; 272 56 180; 273 66 181; 274 67 182; 275 68 183; 276 129 184; 277 130 185; 278 131 186; 279 132 187; 280 15 188; 281 24 189; 282 138 190; 283 141 191; 284 192 507; 285 194 504; 286 195 519; 287 192 1821; 288 196 239; 289 197 200; 290 200 341; 291 198 968; 292 199 1007; 293 203 1154; 294 204 1171; 295 205 1264; 296 206 257; 297 207 1214; 298 208 1195; 299 209 271; 300 210 936; 301 211 932; 302 212 912; 303 213 247; 304 214 861; 305 216 196; 306 218 219; 307 219 220; 308 220 221; 309 221 222; 310 222 223; 311 223 224; 312 224 899; 313 197 225; 314 225 244; 315 226 227; 316 228 931; 317 198 990; 318 199 993; 319 229 230; 320 230 262; 321 201 1051; 322 231 232; 323 232 263; 324 203 291; 325 233 255; 326 204 292; 327 234 256; 328 235 236; 329 236 237; 330 238 903; 331 239 197; 332 226 236; 333 236 229; 334 229 1080; 335 240 233; 336 231 301; 337 241 234; 338 240 282; 339 242 206; 340 241 281; 341 243 284; 342 235 1004; 343 244 226; 344 235 244; 345 198 225; 346 225 259; 347 217 833; 348 246 796; 349 246 798; 350 248 826; 351 249 812; 352 249 809; 353 196 250; 354 250 252; 355 251 218; 356 252 253; 357 253 254; 358 254 251; 359 252 216; 360 254 217; 361 214 258; 362 227 237; 363 237 230; 364 230 268; 365 255 264; 366 232 273; 367 256 265; 368 255 279; 369 257 1254; 370 256 280; 371 258 227; 372 259 216; 373 239 259; 374 237 260; 375 260 228; 376 261 212; 377 261 260; 378 262 211; 379 260 262; 380 263 210; 381 262 269; 382 264 209; 383 263 272; 384 265 208; 385 264 277; 386 266 1259; 387 265 278; 388 267 1099; 389 268 232; 390 269 263; 391 270 933; 392 270 269; 393 269 268; 394 268 267; 395 271 210; 396 272 264; 397 273 255; 398 274 303; 399 275 1191; 400 276 1211;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 441: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333666]]] 401 277 265; 402 278 266; 403 279 256; 404 280 257; 405 281 242; 406 282 241; 407 283 1107; 408 284 1064; 409 283 1105; 410 285 1098; 411 286 1025; 412 285 1079; 413 287 1027; 414 288 1083; 415 287 1014; 416 289 1045; 417 290 1085; 418 289 1033; 419 291 240; 420 292 241; 421 293 1269; 422 294 283; 423 291 302; 424 274 273; 425 273 272; 426 272 271; 427 282 299; 428 279 277; 429 277 275; 430 276 278; 431 278 280; 432 280 281; 433 295 1155; 434 296 1172; 435 282 298; 436 281 297; 437 297 296; 438 293 297; 439 297 292; 440 298 295; 441 292 298; 442 206 234; 443 299 279; 444 234 299; 445 299 233; 446 300 1853; 447 202 300; 448 301 274; 449 300 301; 450 303 240; 451 302 303; 452 291 298; 453 304 1282; 454 306 1279; 455 307 1294; 456 218 217; 457 217 883; 458 308 886; 459 253 308; 460 248 844; 461 245 222; 462 249 223; 463 219 246; 464 220 245; 465 245 793; 466 215 877; 467 309 337; 468 259 310; 469 222 312; 470 223 313; 471 224 896; 472 219 316; 473 220 317; 474 315 316; 475 316 317; 476 317 311; 477 311 312; 478 312 313; 479 313 314; 480 311 221; 481 221 245; 482 318 314; 483 207 1216; 484 209 1193; 485 210 938; 486 322 358; 487 318 898; 488 323 359; 489 319 1227; 490 212 915; 491 325 947; 492 211 930; 493 326 1210; 494 208 1197; 495 197 328; 496 200 329; 497 239 330; 498 329 328; 499 328 330; 500 330 327; 501 331 333; 502 333 334; 503 254 333; 504 334 335; 505 253 334; 506 335 332; 507 252 335; 508 258 336; 509 336 310; 510 215 336; 511 336 226; 512 337 891; 513 308 868; 514 337 310; 515 310 244; 516 214 825; 517 227 261; 518 258 338; 519 338 238; 520 261 338; 521 339 247; 522 338 339; 523 324 916; 524 315 331; 525 332 340; 526 218 315; 527 340 327; 528 196 340; 529 341 952; 530 342 977; 531 341 950; 532 343 971; 533 199 967; 534 344 1059; 535 345 1116; 536 344 1089; 537 202 1137; 538 346 1138; 539 302 346; 540 300 302; 541 321 320; 542 347 1121; 543 348 1162; 544 347 1119; 545 349 1139; 546 203 1136; 547 350 1156; 548 204 1153; 549 304 1873; 550 205 1188; 551 206 1246; 552 207 1228; 553 319 1243; 554 348 1173; 555 355 1179; 556 351 1267; 557 352 1252; 558 353 1234; 559 32 356; 560 357 862; 561 217 835; 562 357 847; 563 1 196; 564 2 197; 565 3 198; 566 4 199; 567 5 200; 568 6 192; 569 192 201; 570 7 193; 571 193 202; 572 8 203; 573 9 204; 574 10 205; 575 11 206; 576 12 207; 577 13 208;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 442: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333777]]] 578 14 209; 579 17 210; 580 18 211; 581 19 212; 582 20 213; 583 21 214; 584 22 215; 585 23 216; 586 26 217; 587 27 218; 588 28 219; 589 29 220; 590 30 221; 591 31 222; 592 32 223; 593 33 224; 594 34 225; 595 35 226; 596 36 227; 597 38 229; 598 39 230; 599 40 231; 600 41 232; 601 43 234; 602 56 245; 603 66 252; 604 67 253; 605 68 254; 606 129 300; 607 130 301; 608 131 302; 609 132 303; 610 358 321; 611 24 358; 612 359 320; 613 15 359; 614 360 25; 615 321 25; 616 320 16; 617 361 1351; 618 362 1370; 619 365 1779; 620 366 1796; 621 367 476; 622 369 1641; 623 370 1624; 624 371 1607; 625 372 1590; 626 373 1573; 627 374 1556; 628 376 1514; 629 379 395; 630 380 381; 631 382 1570; 632 361 389; 633 362 1372; 634 383 384; 635 384 401; 636 363 1414; 637 385 386; 638 386 402; 639 365 480; 640 387 396; 641 366 478; 642 389 390; 643 390 391; 644 392 1553; 645 380 390; 646 390 383; 647 383 1443; 648 393 387; 649 385 428; 650 471 472; 651 473 474; 652 394 415; 653 389 394; 654 395 380; 655 389 395; 656 361 1350; 657 379 1334; 658 376 397; 659 381 391; 660 391 384; 661 384 405; 662 396 481; 663 386 410; 664 481 482; 665 483 484; 666 397 381; 667 398 1333; 668 391 399; 669 399 382; 670 400 374; 671 400 399; 672 401 373; 673 399 401; 674 402 372; 675 401 406; 676 403 485; 677 402 409; 678 485 486; 679 487 488; 680 404 1462; 681 405 386; 682 406 402; 683 407 1587; 684 407 406; 685 406 405; 686 405 404; 687 408 1604; 688 409 403; 689 410 396; 690 411 430; 691 412 1621; 692 413 1638; 693 486 487; 694 488 489; 695 482 483; 696 484 490; 697 474 475; 698 472 473; 699 414 1470; 700 415 1427; 701 414 1468; 702 416 1461; 703 417 1388; 704 416 1442; 705 418 1390; 706 419 1446; 707 418 1377; 708 420 1408; 709 421 1448; 710 420 1396; 711 422 471; 712 423 414; 713 422 429; 714 411 410; 715 410 409; 716 409 408; 717 413 488; 718 424 1780; 719 425 469; 720 476 477; 721 477 478; 722 478 479; 723 368 491; 724 388 426; 725 426 387; 726 427 1893; 727 364 427; 728 428 411; 729 427 428; 730 430 393; 731 429 430; 732 480 479; 733 431 1723; 734 433 1730; 735 434 1742; 736 377 1496; 737 435 445; 738 398 436; 739 369 1643; 740 371 1609; 741 372 1592; 742 437 1567; 743 438 1654; 744 374 1558; 745 442 1601; 746 373 1575; 747 443 1637; 748 370 1626; 749 397 444; 750 444 436; 751 377 444; 752 444 380; 753 445 1491; 754 445 436; 755 436 395;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 443: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333888]]] 756 376 1522; 757 381 400; 758 397 446; 759 446 392; 760 400 446; 761 446 447; 762 441 1584; 763 448 1358; 764 449 1352; 765 362 1349; 766 450 1422; 767 451 1479; 768 450 1452; 769 427 429; 770 452 1748; 771 453 1707; 772 452 1750; 773 454 1764; 774 365 1761; 775 455 1781; 776 366 1778; 777 431 1913; 778 367 1689; 779 368 1673; 780 369 1655; 781 438 1670; 782 453 1705; 783 460 1712; 784 456 492; 785 457 1680; 786 458 1661; 787 363 431; 788 364 432; 789 461 1304; 790 449 1339; 791 462 1322; 792 379 1332; 793 447 1531; 794 375 1539; 795 375 1534; 796 376 1517; 797 377 1499; 798 378 1317; 799 437 1552; 800 461 1302; 801 468 1299; 802 466 1483; 803 465 1501; 804 464 1519; 805 463 1536; 806 439 1618; 807 469 1811; 808 470 1799; 809 469 1795; 810 364 1745; 811 471 393; 812 477 425; 813 479 424; 814 480 422; 815 481 403; 816 485 371; 817 486 412; 818 487 370; 819 489 369; 820 479 472; 821 472 426; 822 426 482; 823 482 486; 824 478 473; 825 473 388; 826 388 483; 827 483 487; 828 477 474; 829 491 388; 830 474 491; 831 491 484; 832 484 488; 833 490 1682; 834 476 1696; 835 475 1701; 836 368 1675; 837 492 1699; 838 476 1690; 839 493 1704; 840 475 493; 841 494 1685; 842 490 494; 843 495 458; 844 489 1686; 845 496 1827; 846 497 1834; 847 498 1854; 848 499 1874; 849 500 1894; 850 501 1736; 851 199 362; 852 203 365; 853 204 366; 854 205 367; 855 206 368; 856 207 369; 857 208 370; 858 209 371; 859 210 372; 860 211 373; 861 212 374; 862 213 375; 863 214 376; 864 215 377; 865 216 378; 866 225 379; 867 226 380; 868 227 381; 869 229 383; 870 230 384; 871 231 385; 872 232 386; 873 233 387; 874 234 388; 875 300 427; 876 301 428; 877 302 429; 878 303 430; 879 363 304; 880 304 201; 881 202 305; 882 364 305; 883 502 194; 884 504 511; 885 505 502; 886 507 505; 887 509 1830; 888 511 515; 889 515 195; 890 518 1838; 891 519 520; 892 520 521; 893 521 193; 894 522 525; 895 524 531; 896 525 527; 897 527 5; 898 529 534; 899 531 536; 900 534 539; 901 536 34; 902 539 3; 903 540 34; 904 541 540; 905 542 541; 906 543 546; 907 545 552; 908 546 548; 909 548 73; 910 550 555; 911 552 557; 912 555 560; 913 557 56; 914 560 63; 915 561 562; 916 562 563; 917 563 63; 918 564 63; 919 566 564; 920 568 566; 921 570 75; 922 574 570; 923 578 574; 924 579 580; 925 580 581; 926 581 74; 927 582 75;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 444: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444333999]]] 928 584 582; 929 586 584; 930 588 592; 931 592 596; 932 596 58; 933 597 598; 934 598 58; 935 599 602; 936 601 608; 937 602 604; 938 604 8; 939 606 611; 940 608 613; 941 611 616; 942 613 129; 943 616 120; 944 617 133; 945 618 131; 946 619 622; 947 621 627; 948 622 54; 949 625 674; 950 627 632; 951 630 679; 952 632 116; 953 635 115; 954 636 637; 955 637 638; 956 638 117; 957 639 641; 958 641 643; 959 643 118; 960 645 649; 961 649 653; 962 653 119; 963 654 117; 964 655 710; 965 656 655; 966 657 659; 967 659 661; 968 661 6; 969 663 667; 970 667 123; 971 671 711; 972 672 671; 973 673 712; 974 674 113; 975 676 683; 976 677 625; 977 679 677; 978 681 115; 979 683 688; 980 686 681; 981 688 38; 982 691 686; 983 692 693; 984 693 694; 985 694 114; 986 695 96; 987 697 699; 988 699 40; 989 701 40; 990 705 701; 991 709 705; 992 710 654; 993 711 119; 994 712 672; 995 713 360; 996 716 713; 997 718 716; 998 731 139; 999 732 731; 1000 733 732; 1001 734 24; 1002 736 734; 1003 738 736; 1004 740 137; 1005 744 740; 1006 748 744; 1007 749 138; 1008 750 749; 1009 751 750; 1010 752 142; 1011 755 752; 1012 757 755; 1013 770 16; 1014 771 770; 1015 772 771; 1016 773 141; 1017 775 773; 1018 777 775; 1019 779 783; 1020 783 787; 1021 787 136; 1022 788 15; 1023 789 788; 1024 790 789; 1025 791 245; 1026 793 800; 1027 794 791; 1028 796 794; 1029 798 803; 1030 800 805; 1031 803 808; 1032 805 249; 1033 808 248; 1034 809 810; 1035 810 811; 1036 811 248; 1037 812 814; 1038 814 816; 1039 816 247; 1040 821 339; 1041 825 821; 1042 826 827; 1043 827 828; 1044 828 214; 1045 829 246; 1046 831 829; 1047 833 831; 1048 835 839; 1049 839 843; 1050 843 357; 1051 844 845; 1052 845 846; 1053 846 357; 1054 847 849; 1055 849 851; 1056 851 215; 1057 853 215; 1058 857 853; 1059 861 857; 1060 862 864; 1061 864 866; 1062 866 308; 1063 868 872; 1064 872 876; 1065 876 337; 1066 877 878; 1067 878 879; 2997 879 309; 2998 881 884; 2999 883 881; 3000 884 308; 3001 886 887; 3002 887 893; 3003 891 895; 3004 892 216; 3005 893 216; 3006 895 892; 3007 896 318; 3008 898 905; 3009 899 901; 3010 901 213; 3011 903 213; 3012 905 909; 3013 909 324; 3014 912 238; 3015 913 324; 3016 914 913; 3017 915 914; 3018 916 918; 3019 918 920; 3020 920 325; 3021 922 325; 3022 926 922; 3023 930 926;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 445: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444000]]] 3024 931 212; 3025 932 228; 3026 933 211; 3027 936 270; 3028 938 942; 3029 942 946; 3030 946 322; 3031 947 948; 3032 948 949; 3033 949 322; 3034 950 953; 3035 952 959; 3036 953 955; 3037 955 343; 3038 957 343; 3039 959 964; 3040 962 957; 3041 964 198; 3042 967 962; 3043 968 969; 3044 969 970; 3045 970 199; 3046 971 973; 3047 973 975; 3048 975 342; 3049 977 981; 3050 981 985; 3051 985 201; 3052 986 1012; 3053 987 289; 3054 988 1047; 3055 990 995; 3056 993 1009; 3057 995 1000; 3058 998 1016; 3059 1000 235; 3060 1003 243; 3061 1004 1005; 3062 1005 1006; 3063 1006 243; 3064 1007 1010; 3065 1009 998; 3066 1010 986; 3067 1012 287; 3068 1014 1019; 3069 1016 1003; 3070 1019 1023; 3071 1023 288; 3072 1024 1062; 3073 1025 1067; 3074 1026 286; 3075 1027 1029; 3076 1029 1031; 3077 1031 987; 3078 1033 1037; 3079 1037 1041; 3080 1041 290; 3081 1042 288; 3082 1043 1042; 3083 1044 1043; 3084 1045 988; 3085 1047 1049; 3086 1049 201; 3087 1051 1055; 3088 1055 294; 3089 1059 1087; 3090 1060 344; 3091 1061 1103; 3092 1062 284; 3093 1064 1071; 3094 1065 1024; 3095 1067 1065; 3096 1069 286; 3097 1071 1076; 3098 1074 1069; 3099 1076 229; 3100 1079 1074; 3101 1080 1081; 3102 1081 1082; 3103 1082 285; 3104 1083 1026; 3105 1085 1044; 3106 1087 290; 3107 1089 1093; 3108 1093 1097; 3109 1097 345; 3110 1098 267; 3111 1099 1100; 3112 1100 345; 3113 1101 1060; 3114 1103 1101; 3115 1105 1061; 3116 1107 1111; 3117 1111 1115; 3118 1115 231; 3119 1116 1117; 3120 1117 1118; 3121 1118 231; 3122 1119 1122; 3123 1121 1128; 3124 1122 1124; 3125 1124 349; 3126 1126 349; 3127 1128 1133; 3128 1131 1126; 3129 1133 202; 3130 1136 1131; 3131 1137 346; 3132 1138 203; 3133 1139 1141; 3134 1141 1143; 3135 1143 350; 3136 1145 350; 3137 1149 1145; 3138 1153 1149; 3139 1154 295; 3140 1155 204; 3141 1156 1158; 3142 1158 1160; 3143 1160 348; 3144 1162 1166; 3145 1166 1170; 3146 1170 205; 3147 1171 296; 3148 1172 205; 3149 1173 1175; 3150 1175 1177; 3151 1177 355; 3152 1179 1183; 3153 1183 1187; 3154 1187 351; 3155 1188 1189; 3156 1189 1190; 3157 1190 351; 3158 1191 209; 3159 1193 1199; 3160 1195 275; 3161 1197 1202; 3162 1199 1204; 3163 1202 1207; 3164 1204 323; 3165 1207 326; 3166 1208 323; 3167 1209 1208; 3168 1210 1209; 3169 1211 208; 3170 1214 276; 3171 1216 1220; 3172 1220 1224; 3173 1224 319; 3174 1225 326; 3175 1226 1225; 3176 1227 1226; 3177 1228 1230; 3178 1230 1232;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 446: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444111]]] 3179 1232 353; 3180 1234 1238; 3181 1238 1242; 3182 1242 354; 3183 1243 1244; 3184 1244 1245; 3185 1245 354; 3186 1246 1248; 3187 1248 1250; 3188 1250 352; 3189 1252 1257; 3190 1254 266; 3191 1257 1262; 3192 1259 207; 3193 1262 353; 3194 1264 293; 3195 1267 1272; 3196 1269 242; 3197 1272 1276; 3198 1276 352; 3199 1277 306; 3200 1279 1286; 3201 1280 1277; 3202 1282 1280; 3203 1284 1872; 3204 1286 1290; 3205 1290 307; 3206 1293 1878; 3207 1294 1295; 3208 1295 1296; 3209 1296 305; 3210 1297 468; 3211 1299 1306; 3212 1300 1297; 3213 1302 1300; 3214 1304 1309; 3215 1306 1311; 3216 1309 1314; 3217 1311 466; 3218 1314 378; 3219 1315 466; 3220 1316 1315; 3221 1317 1316; 3222 1318 461; 3223 1320 1318; 3224 1322 1320; 3225 1324 462; 3226 1328 1324; 3227 1332 1328; 3228 1333 378; 3229 1334 398; 3230 1335 462; 3231 1337 1335; 3232 1339 1337; 3233 1341 449; 3234 1345 1341; 3235 1349 1345; 3236 1350 379; 3237 1351 362; 3238 1352 1354; 3239 1354 1356; 3240 1356 448; 3241 1358 1362; 3242 1362 1366; 3243 1366 363; 3244 1367 1375; 3245 1368 420; 3246 1369 1410; 3247 1370 1373; 3248 1372 1379; 3249 1373 1367; 3250 1375 418; 3251 1377 1382; 3252 1379 394; 3253 1382 1386; 3254 1386 419; 3255 1387 1425; 3256 1388 1430; 3257 1389 417; 3258 1390 1392; 3259 1392 1394; 3260 1394 1368; 3261 1396 1400; 3262 1400 1404; 3263 1404 421; 3264 1405 419; 3265 1406 1405; 3266 1407 1406; 3267 1408 1369; 3268 1410 1412; 3269 1412 363; 3270 1414 1418; 3271 1418 423; 3272 1422 1450; 3273 1423 450; 3274 1424 1466; 3275 1425 415; 3276 1427 1434; 3277 1428 1387; 3278 1430 1428; 3279 1432 417; 3280 1434 1439; 3281 1437 1432; 3282 1439 383; 3283 1442 1437; 3284 1443 1444; 3285 1444 1445; 3286 1445 416; 3287 1446 1389; 3288 1448 1407; 3289 1450 421; 3290 1452 1456; 3291 1456 1460; 3292 1460 451; 3293 1461 404; 3294 1462 1463; 3295 1463 451; 3296 1464 1423; 3297 1466 1464; 3298 1468 1424; 3299 1470 1474; 3300 1474 1478; 3301 1478 385; 3302 1479 1480; 3303 1480 1481; 3304 1481 385; 3305 1483 1488; 3306 1486 378; 3307 1488 1493; 3308 1491 1486; 3309 1493 465; 3310 1496 435; 3311 1497 465; 3312 1498 1497; 3313 1499 1498; 3314 1501 1506; 3315 1504 377; 3316 1506 1511; 3317 1509 1504; 3318 1511 464; 3319 1514 1509; 3320 1515 464; 3321 1516 1515; 3322 1517 1516; 3323 1519 1524; 3324 1522 447; 3325 1524 1528; 3326 1528 463; 3327 1531 375; 3328 1532 463; 3329 1533 1532; 3330 1534 1533; 3331 1536 1541; 3332 1539 1544; 3333 1541 1546;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 447: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444222]]] 3334 1544 1549; 3335 1546 467; 3336 1549 437; 3337 1550 467; 3338 1551 1550; 3339 1552 1551; 3340 1553 375; 3341 1556 392; 3342 1558 1562; 3343 1562 1566; 3344 1566 441; 3345 1567 1568; 3346 1568 1569; 3347 1569 441; 3348 1570 374; 3349 1573 382; 3350 1575 1579; 3351 1579 1583; 3352 1583 442; 3353 1584 1585; 3354 1585 1586; 3355 1586 442; 3356 1587 373; 3357 1590 407; 3358 1592 1596; 3359 1596 1600; 3360 1600 439; 3361 1601 1602; 3362 1602 1603; 3363 1603 439; 3364 1604 372; 3365 1607 408; 3366 1609 1613; 3367 1613 1617; 3368 1617 440; 3369 1618 1619; 3370 1619 1620; 3371 1620 440; 3372 1621 371; 3373 1624 412; 3374 1626 1630; 3375 1630 1634; 3376 1634 443; 3377 1635 440; 3378 1636 1635; 3379 1637 1636; 3380 1638 370; 3381 1641 413; 3382 1643 1647; 3383 1647 1651; 3384 1651 438; 3385 1652 443; 3386 1653 1652; 3387 1654 1653; 3388 1655 1657; 3389 1657 1659; 3390 1659 458; 3391 1661 1665; 3392 1665 1669; 3393 1669 459; 3394 1670 1671; 3395 1671 1672; 3396 1672 459; 3397 1673 1676; 3398 1675 490; 3399 1676 1678; 3400 1678 457; 3401 1680 494; 3402 1682 489; 3403 1685 495; 3404 1686 1687; 3405 1687 1688; 3406 1688 495; 3407 1689 1691; 3408 1690 1692; 3409 1691 1693; 3410 1692 1694; 3411 1693 456; 3412 1694 492; 3413 1696 475; 3414 1699 493; 3415 1701 368; 3416 1704 457; 3417 1705 1708; 3418 1707 1714; 3419 1708 1710; 3420 1710 460; 3421 1712 1717; 3422 1714 1719; 3423 1717 1722; 3424 1719 367; 3425 1722 456; 3426 1723 1726; 3427 1725 1912; 3428 1726 1728; 3429 1728 433; 3430 1730 1734; 3431 1734 1739; 3432 1736 432; 3433 1739 434; 3434 1740 432; 3435 1741 1740; 3436 1742 1741; 3437 1743 364; 3438 1745 1752; 3439 1746 1743; 3440 1748 1746; 3441 1750 1755; 3442 1752 1757; 3443 1755 1760; 3444 1757 365; 3445 1760 454; 3446 1761 1762; 3447 1762 1763; 3448 1763 454; 3449 1764 1766; 3450 1766 1768; 3451 1768 455; 3452 1770 455; 3453 1774 1770; 3454 1778 1774; 3455 1779 424; 3456 1780 366; 3457 1781 1783; 3458 1783 1785; 3459 1785 470; 3460 1787 470; 3461 1791 1787; 3462 1795 1791; 3463 1796 1797; 3464 1797 1798; 3465 1798 425; 3466 1799 1801; 3467 1801 1803; 3468 1803 453; 3469 1811 1812; 3470 1812 1813; 3471 1813 367; 3472 1816 123; 3473 1821 509; 3474 1823 1816; 3475 1827 1823; 3476 1830 497; 3477 1834 518; 3478 1838 193; 3479 1851 498; 3480 1852 1851; 3481 1853 1852; 3482 1854 1857; 3483 1857 1859; 3484 1859 294; 3485 1872 499; 3486 1873 1284; 3487 1874 1293; 3488 1878 305;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 448: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444333]]] 3489 1891 500; 3490 1892 1891; 3491 1893 1892; 3492 1894 1897; 3493 1897 1899; 3494 1899 423; 3495 1912 501; 3496 1913 1725; 3497 1914 43; 3498 1914 110; ELEMENT INCIDENCES SHELL 1068 194 502 503 504; 1070 502 505 506 503; 1072 505 507 508 506; 1074 507 192 509 508; 1076 504 503 510 511; 1077 503 506 512 510; 1078 506 508 513 512; 1079 508 509 497 513; 1081 511 510 514 515; 1082 510 512 516 514; 1083 512 513 517 516; 1085 513 497 518 517; 1087 515 514 519 195; 1089 514 516 520 519; 1091 516 517 521 520; 1092 517 518 193 521; 1095 2 522 523 524; 1097 522 525 526 523; 1099 525 527 528 526; 1101 527 5 529 528; 1103 524 523 530 531; 1104 523 526 532 530; 1105 526 528 533 532; 1107 528 529 534 533; 1109 531 530 535 536; 1110 530 532 537 535; 1111 532 533 538 537; 1113 533 534 539 538; 1115 536 535 540 34; 1117 535 537 541 540; 1119 537 538 542 541; 1120 538 539 3 542; 1123 72 543 544 545; 1125 543 546 547 544; 1127 546 548 549 547; 1129 548 73 550 549; 1131 545 544 551 552; 1132 544 547 553 551; 1133 547 549 554 553; 1135 549 550 555 554; 1137 552 551 556 557; 1138 551 553 558 556; 1139 553 554 559 558; 1141 554 555 560 559; 1143 557 556 561 56; 1145 556 558 562 561; 1147 558 559 563 562; 1148 559 560 63 563; 1150 63 564 565 563; 1152 564 566 567 565; 1154 566 568 569 567; 1156 568 75 570 569; 1157 563 565 571 562; 1158 565 567 572 571; 1159 567 569 573 572; 1161 569 570 574 573; 1162 562 571 575 561; 1163 571 572 576 575; 1164 572 573 577 576; 1166 573 574 578 577; 1168 561 575 579 56; 1170 575 576 580 579; 1172 576 577 581 580; 1173 577 578 74 581; 1175 75 582 583 570; 1177 582 584 585 583; 1179 584 586 587 585; 1181 586 20 588 587; 1182 570 583 589 574; 1183 583 585 590 589; 1184 585 587 591 590; 1186 587 588 592 591; 1187 574 589 593 578; 1188 589 590 594 593; 1189 590 591 595 594; 1191 591 592 596 595; 1192 578 593 61 74; 1194 593 594 597 61; 1196 594 595 598 597; 1197 595 596 58 598; 1200 7 599 600 601; 1202 599 602 603 600; 1204 602 604 605 603; 1206 604 8 606 605;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 449: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444444]]] 1208 601 600 607 608; 1209 600 603 609 607; 1210 603 605 610 609; 1212 605 606 611 610; 1214 608 607 612 613; 1215 607 609 614 612; 1216 609 610 615 614; 1218 610 611 616 615; 1220 613 612 617 129; 1221 612 614 131 617; 1223 614 615 618 131; 1224 615 616 120 618; 1227 4 619 620 621; 1229 619 622 623 620; 1230 622 54 624 623; 1232 54 113 625 624; 1234 621 620 626 627; 1235 620 623 628 626; 1236 623 624 629 628; 1238 624 625 630 629; 1240 627 626 631 632; 1241 626 628 633 631; 1242 628 629 634 633; 1244 629 630 635 634; 1246 632 631 636 116; 1248 631 633 637 636; 1250 633 634 638 637; 1251 634 635 117 638; 1253 116 639 640 636; 1255 639 641 642 640; 1257 641 643 644 642; 1259 643 118 645 644; 1260 636 640 646 637; 1261 640 642 647 646; 1262 642 644 648 647; 1264 644 645 649 648; 1265 637 646 650 638; 1266 646 647 651 650; 1267 647 648 652 651; 1269 648 649 653 652; 1271 638 650 654 117; 1273 650 651 655 654; 1275 651 652 656 655; 1276 652 653 119 656; 1278 118 657 658 645; 1280 657 659 660 658; 1282 659 661 662 660; 1284 661 6 663 662; 1285 645 658 664 649; 1286 658 660 665 664; 1287 660 662 666 665; 1289 662 663 667 666; 1290 649 664 668 653; 1291 664 665 669 668; 1292 665 666 670 669; 1293 666 667 123 670; 1295 653 668 671 119; 1297 668 669 672 671; 1299 669 670 673 672; 1300 670 123 112 673; 1303 113 674 675 676; 1305 674 677 678 675; 1307 677 679 680 678; 1309 679 115 681 680; 1311 676 675 682 683; 1312 675 678 684 682; 1313 678 680 685 684; 1315 680 681 686 685; 1317 683 682 687 688; 1318 682 684 689 687; 1319 684 685 690 689; 1321 685 686 691 690; 1323 688 687 692 38; 1325 687 689 693 692; 1327 689 690 694 693; 1328 690 691 114 694; 1330 114 695 696 691; 1332 695 697 698 696; 1334 697 699 700 698; 1336 699 40 701 700; 1337 691 696 702 686; 1338 696 698 703 702; 1339 698 700 704 703; 1341 700 701 705 704; 1342 686 702 706 681; 1343 702 703 707 706; 1344 703 704 708 707; 1346 704 705 709 708; 1348 681 706 710 115; 1350 706 707 711 710; 1352 707 708 712 711; 1353 708 709 112 712; 1355 25 713 714 715;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 450: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444555]]] 1357 713 716 717 714; 1359 716 718 719 717; 1360 718 24 720 719; 1361 715 714 721 722; 1362 714 717 723 721; 1363 717 719 724 723; 1364 719 720 725 724; 1365 722 721 726 727; 1366 721 723 728 726; 1367 723 724 729 728; 1368 724 725 730 729; 1370 727 726 731 139; 1372 726 728 732 731; 1374 728 729 733 732; 1375 729 730 138 733; 1377 24 734 735 720; 1379 734 736 737 735; 1381 736 738 739 737; 1383 738 137 740 739; 1384 720 735 741 725; 1385 735 737 742 741; 1386 737 739 743 742; 1388 739 740 744 743; 1389 725 741 745 730; 1390 741 742 746 745; 1391 742 743 747 746; 1393 743 744 748 747; 1395 730 745 749 138; 1397 745 746 750 749; 1399 746 747 751 750; 1400 747 748 140 751; 1402 142 752 753 754; 1404 752 755 756 753; 1406 755 757 758 756; 1407 757 141 759 758; 1408 754 753 760 761; 1409 753 756 762 760; 1410 756 758 763 762; 1411 758 759 764 763; 1412 761 760 765 766; 1413 760 762 767 765; 1414 762 763 768 767; 1415 763 764 769 768; 1417 766 765 770 16; 1419 765 767 771 770; 1421 767 768 772 771; 1422 768 769 15 772; 1424 141 773 774 759; 1426 773 775 776 774; 1428 775 777 778 776; 1430 777 143 779 778; 1431 759 774 780 764; 1432 774 776 781 780; 1433 776 778 782 781; 1435 778 779 783 782; 1436 764 780 784 769; 1437 780 781 785 784; 1438 781 782 786 785; 1440 782 783 787 786; 1442 769 784 788 15; 1444 784 785 789 788; 1446 785 786 790 789; 1447 786 787 136 790; 1450 245 791 792 793; 1452 791 794 795 792; 1454 794 796 797 795; 1456 796 246 798 797; 1458 793 792 799 800; 1459 792 795 801 799; 1460 795 797 802 801; 1462 797 798 803 802; 1464 800 799 804 805; 1465 799 801 806 804; 1466 801 802 807 806; 1468 802 803 808 807; 1470 805 804 809 249; 1472 804 806 810 809; 1474 806 807 811 810; 1475 807 808 248 811; 1477 249 812 813 809; 1479 812 814 815 813; 1481 814 816 817 815; 1482 816 247 339 817; 1483 809 813 818 810; 1484 813 815 819 818; 1485 815 817 820 819; 1487 817 339 821 820; 1488 810 818 822 811; 1489 818 819 823 822; 1490 819 820 824 823; 1492 820 821 825 824; 1494 811 822 826 248; 1496 822 823 827 826;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 451: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444666]]] 1498 823 824 828 827; 1499 824 825 214 828; 1501 246 829 830 798; 1503 829 831 832 830; 1505 831 833 834 832; 1507 833 217 835 834; 1508 798 830 836 803; 1509 830 832 837 836; 1510 832 834 838 837; 1512 834 835 839 838; 1513 803 836 840 808; 1514 836 837 841 840; 1515 837 838 842 841; 1517 838 839 843 842; 1519 808 840 844 248; 1521 840 841 845 844; 1523 841 842 846 845; 1524 842 843 357 846; 1526 357 847 848 846; 1528 847 849 850 848; 1530 849 851 852 850; 1532 851 215 853 852; 1533 846 848 854 845; 1534 848 850 855 854; 1535 850 852 856 855; 1537 852 853 857 856; 1538 845 854 858 844; 1539 854 855 859 858; 1540 855 856 860 859; 1542 856 857 861 860; 1543 844 858 826 248; 1544 858 859 827 826; 1545 859 860 828 827; 1546 860 861 214 828; 1548 357 862 863 847; 1550 862 864 865 863; 1552 864 866 867 865; 1554 866 308 868 867; 1555 847 863 869 849; 1556 863 865 870 869; 1557 865 867 871 870; 1559 867 868 872 871; 1560 849 869 873 851; 1561 869 870 874 873; 1562 870 871 875 874; 1564 871 872 876 875; 1566 851 873 877 215; 1568 873 874 878 877; 1570 874 875 879 878; 1571 875 876 337 879; 1573 880 881 882; 1575 880 883 881; 1577 882 881 884; 1578 217 883 835; 1579 843 862 357; 1580 866 884 308; 1581 880 882 862; 1582 880 839 883; 1583 866 864 884; 1584 883 839 835; 1585 882 864 862; 1586 882 884 864; 1587 880 843 839; 1588 880 862 843; 1591 885 886 887; 1592 888 885 887; 1593 888 889 885; 1594 308 886 890; 1596 889 891 309; 1599 892 893 216; 1600 888 887 893; 1601 885 894 886; 1603 892 895 893; 1604 886 894 890; 1605 885 889 894; 1606 888 891 889; 1607 888 895 891; 1608 888 893 895; 1611 318 896 897 898; 1613 896 899 900 897; 1615 899 901 902 900; 1617 901 213 903 902; 1619 898 897 904 905; 1620 897 900 906 904; 1621 900 902 907 906; 1622 902 903 238 907; 1624 905 904 908 909; 1625 904 906 910 908; 1626 906 907 911 910; 1628 907 238 912 911; 1630 909 908 913 324; 1632 908 910 914 913; 1634 910 911 915 914; 1635 911 912 212 915; 1637 324 916 917 913; 1639 916 918 919 917; 1641 918 920 921 919; 1643 920 325 922 921; 1644 913 917 923 914; 1645 917 919 924 923; 1646 919 921 925 924;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 452: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444777]]] 1648 921 922 926 925; 1649 914 923 927 915; 1650 923 924 928 927; 1651 924 925 929 928; 1653 925 926 930 929; 1655 915 927 931 212; 1656 927 928 228 931; 1658 928 929 932 228; 1659 929 930 211 932; 1661 211 933 934 930; 1662 933 270 935 934; 1664 270 936 937 935; 1666 936 210 938 937; 1667 930 934 939 926; 1668 934 935 940 939; 1669 935 937 941 940; 1671 937 938 942 941; 1672 926 939 943 922; 1673 939 940 944 943; 1674 940 941 945 944; 1676 941 942 946 945; 1678 922 943 947 325; 1680 943 944 948 947; 1682 944 945 949 948; 1683 945 946 322 949; 1686 341 950 951 952; 1688 950 953 954 951; 1690 953 955 956 954; 1692 955 343 957 956; 1694 952 951 958 959; 1695 951 954 960 958; 1696 954 956 961 960; 1698 956 957 962 961; 1700 959 958 963 964; 1701 958 960 965 963; 1702 960 961 966 965; 1704 961 962 967 966; 1706 964 963 968 198; 1708 963 965 969 968; 1710 965 966 970 969; 1711 966 967 199 970; 1713 343 971 972 957; 1715 971 973 974 972; 1717 973 975 976 974; 1719 975 342 977 976; 1720 957 972 978 962; 1721 972 974 979 978; 1722 974 976 980 979; 1724 976 977 981 980; 1725 962 978 982 967; 1726 978 979 983 982; 1727 979 980 984 983; 1729 980 981 985 984; 1731 967 982 986 199; 1733 982 983 987 986; 1735 983 984 988 987; 1736 984 985 201 988; 1738 198 968 989 990; 1739 968 969 991 989; 1740 969 970 992 991; 1742 970 199 993 992; 1744 990 989 994 995; 1745 989 991 996 994; 1746 991 992 997 996; 1748 992 993 998 997; 1750 995 994 999 1000; 1751 994 996 1001 999; 1752 996 997 1002 1001; 1754 997 998 1003 1002; 1756 1000 999 1004 235; 1758 999 1001 1005 1004; 1760 1001 1002 1006 1005; 1761 1002 1003 243 1006; 1764 199 1007 1008 1009; 1766 1007 1010 1011 1008; 1768 1010 1012 1013 1011; 1770 1012 287 1014 1013; 1772 1009 1008 1015 1016; 1773 1008 1011 1017 1015; 1774 1011 1013 1018 1017; 1776 1013 1014 1019 1018; 1777 1016 1015 1020 243; 1778 1015 1017 1021 1020; 1779 1017 1018 1022 1021; 1781 1018 1019 1023 1022; 1783 243 1020 1024 284; 1785 1020 1021 1025 1024; 1787 1021 1022 1026 1025; 1788 1022 1023 288 1026; 1790 287 1027 1028 1014; 1792 1027 1029 1030 1028; 1794 1029 1031 1032 1030; 1796 1031 289 1033 1032;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 453: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444888]]] 1797 1014 1028 1034 1019; 1798 1028 1030 1035 1034; 1799 1030 1032 1036 1035; 1801 1032 1033 1037 1036; 1802 1019 1034 1038 1023; 1803 1034 1035 1039 1038; 1804 1035 1036 1040 1039; 1806 1036 1037 1041 1040; 1808 1023 1038 1042 288; 1810 1038 1039 1043 1042; 1812 1039 1040 1044 1043; 1813 1040 1041 290 1044; 1815 289 1045 1046 1033; 1817 1045 1047 1048 1046; 1819 1047 1049 1050 1048; 1821 1049 201 1051 1050; 1822 1033 1046 1052 1037; 1823 1046 1048 1053 1052; 1824 1048 1050 1054 1053; 1826 1050 1051 1055 1054; 1827 1037 1052 1056 1041; 1828 1052 1053 1057 1056; 1829 1053 1054 1058 1057; 1830 1054 1055 294 1058; 1832 1041 1056 1059 290; 1834 1056 1057 1060 1059; 1836 1057 1058 1061 1060; 1837 1058 294 283 1061; 1840 284 1062 1063 1064; 1842 1062 1065 1066 1063; 1844 1065 1067 1068 1066; 1846 1067 286 1069 1068; 1848 1064 1063 1070 1071; 1849 1063 1066 1072 1070; 1850 1066 1068 1073 1072; 1852 1068 1069 1074 1073; 1854 1071 1070 1075 1076; 1855 1070 1072 1077 1075; 1856 1072 1073 1078 1077; 1858 1073 1074 1079 1078; 1860 1076 1075 1080 229; 1862 1075 1077 1081 1080; 1864 1077 1078 1082 1081; 1865 1078 1079 285 1082; 1867 286 1083 1084 1069; 1869 1083 1085 1086 1084; 1871 1085 1087 1088 1086; 1873 1087 344 1089 1088; 1874 1069 1084 1090 1074; 1875 1084 1086 1091 1090; 1876 1086 1088 1092 1091; 1878 1088 1089 1093 1092; 1879 1074 1090 1094 1079; 1880 1090 1091 1095 1094; 1881 1091 1092 1096 1095; 1883 1092 1093 1097 1096; 1885 1079 1094 1098 285; 1887 1094 1095 1099 1098; 1889 1095 1096 1100 1099; 1890 1096 1097 345 1100; 1892 344 1101 1102 1089; 1894 1101 1103 1104 1102; 1896 1103 1105 1106 1104; 1898 1105 283 1107 1106; 1899 1089 1102 1108 1093; 1900 1102 1104 1109 1108; 1901 1104 1106 1110 1109; 1903 1106 1107 1111 1110; 1904 1093 1108 1112 1097; 1905 1108 1109 1113 1112; 1906 1109 1110 1114 1113; 1908 1110 1111 1115 1114; 1910 1097 1112 1116 345; 1912 1112 1113 1117 1116; 1914 1113 1114 1118 1117; 1915 1114 1115 231 1118; 1918 347 1119 1120 1121; 1920 1119 1122 1123 1120; 1922 1122 1124 1125 1123; 1924 1124 349 1126 1125; 1926 1121 1120 1127 1128; 1927 1120 1123 1129 1127; 1928 1123 1125 1130 1129; 1930 1125 1126 1131 1130; 1932 1128 1127 1132 1133; 1933 1127 1129 1134 1132; 1934 1129 1130 1135 1134; 1936 1130 1131 1136 1135; 1938 1133 1132 1137 202; 1939 1132 1134 346 1137; 1941 1134 1135 1138 346; 1942 1135 1136 203 1138; 1944 349 1139 1140 1126;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 454: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444444999]]] 1946 1139 1141 1142 1140; 1948 1141 1143 1144 1142; 1950 1143 350 1145 1144; 1951 1126 1140 1146 1131; 1952 1140 1142 1147 1146; 1953 1142 1144 1148 1147; 1955 1144 1145 1149 1148; 1956 1131 1146 1150 1136; 1957 1146 1147 1151 1150; 1958 1147 1148 1152 1151; 1960 1148 1149 1153 1152; 1962 1136 1150 1154 203; 1963 1150 1151 295 1154; 1965 1151 1152 1155 295; 1966 1152 1153 204 1155; 1968 350 1156 1157 1145; 1970 1156 1158 1159 1157; 1972 1158 1160 1161 1159; 1974 1160 348 1162 1161; 1975 1145 1157 1163 1149; 1976 1157 1159 1164 1163; 1977 1159 1161 1165 1164; 1979 1161 1162 1166 1165; 1980 1149 1163 1167 1153; 1981 1163 1164 1168 1167; 1982 1164 1165 1169 1168; 1984 1165 1166 1170 1169; 1986 1153 1167 1171 204; 1987 1167 1168 296 1171; 1989 1168 1169 1172 296; 1990 1169 1170 205 1172; 1992 348 1173 1174 1162; 1994 1173 1175 1176 1174; 1996 1175 1177 1178 1176; 1998 1177 355 1179 1178; 1999 1162 1174 1180 1166; 2000 1174 1176 1181 1180; 2001 1176 1178 1182 1181; 2003 1178 1179 1183 1182; 2004 1166 1180 1184 1170; 2005 1180 1181 1185 1184; 2006 1181 1182 1186 1185; 2008 1182 1183 1187 1186; 2010 1170 1184 1188 205; 2012 1184 1185 1189 1188; 2014 1185 1186 1190 1189; 2015 1186 1187 351 1190; 2018 209 1191 1192 1193; 2019 1191 275 1194 1192; 2021 275 1195 1196 1194; 2023 1195 208 1197 1196; 2025 1193 1192 1198 1199; 2026 1192 1194 1200 1198; 2027 1194 1196 1201 1200; 2029 1196 1197 1202 1201; 2031 1199 1198 1203 1204; 2032 1198 1200 1205 1203; 2033 1200 1201 1206 1205; 2035 1201 1202 1207 1206; 2037 1204 1203 1208 323; 2039 1203 1205 1209 1208; 2041 1205 1206 1210 1209; 2042 1206 1207 326 1210; 2044 208 1211 1212 1197; 2045 1211 276 1213 1212; 2047 276 1214 1215 1213; 2049 1214 207 1216 1215; 2050 1197 1212 1217 1202; 2051 1212 1213 1218 1217; 2052 1213 1215 1219 1218; 2054 1215 1216 1220 1219; 2055 1202 1217 1221 1207; 2056 1217 1218 1222 1221; 2057 1218 1219 1223 1222; 2059 1219 1220 1224 1223; 2061 1207 1221 1225 326; 2063 1221 1222 1226 1225; 2065 1222 1223 1227 1226; 2066 1223 1224 319 1227; 2068 207 1228 1229 1216; 2070 1228 1230 1231 1229; 2072 1230 1232 1233 1231; 2074 1232 353 1234 1233; 2075 1216 1229 1235 1220; 2076 1229 1231 1236 1235; 2077 1231 1233 1237 1236; 2079 1233 1234 1238 1237; 2080 1220 1235 1239 1224; 2081 1235 1236 1240 1239; 2082 1236 1237 1241 1240; 2084 1237 1238 1242 1241; 2086 1224 1239 1243 319; 2088 1239 1240 1244 1243;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 455: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555000]]] 2090 1240 1241 1245 1244; 2091 1241 1242 354 1245; 2093 206 1246 1247 257; 2095 1246 1248 1249 1247; 2097 1248 1250 1251 1249; 2099 1250 352 1252 1251; 2101 257 1247 1253 1254; 2102 1247 1249 1255 1253; 2103 1249 1251 1256 1255; 2105 1251 1252 1257 1256; 2107 1254 1253 1258 1259; 2108 1253 1255 1260 1258; 2109 1255 1256 1261 1260; 2111 1256 1257 1262 1261; 2112 1259 1258 1228 207; 2113 1258 1260 1230 1228; 2114 1260 1261 1232 1230; 2115 1261 1262 353 1232; 2117 205 1188 1263 1264; 2118 1188 1189 1265 1263; 2119 1189 1190 1266 1265; 2121 1190 351 1267 1266; 2123 1264 1263 1268 1269; 2124 1263 1265 1270 1268; 2125 1265 1266 1271 1270; 2127 1266 1267 1272 1271; 2128 1269 1268 1273 242; 2129 1268 1270 1274 1273; 2130 1270 1271 1275 1274; 2132 1271 1272 1276 1275; 2133 242 1273 1246 206; 2134 1273 1274 1248 1246; 2135 1274 1275 1250 1248; 2136 1275 1276 352 1250; 2139 306 1277 1278 1279; 2141 1277 1280 1281 1278; 2143 1280 1282 1283 1281; 2145 1282 304 1284 1283; 2147 1279 1278 1285 1286; 2148 1278 1281 1287 1285; 2149 1281 1283 1288 1287; 2150 1283 1284 499 1288; 2152 1286 1285 1289 1290; 2153 1285 1287 1291 1289; 2154 1287 1288 1292 1291; 2156 1288 499 1293 1292; 2158 1290 1289 1294 307; 2160 1289 1291 1295 1294; 2162 1291 1292 1296 1295; 2163 1292 1293 305 1296; 2166 468 1297 1298 1299; 2168 1297 1300 1301 1298; 2170 1300 1302 1303 1301; 2172 1302 461 1304 1303; 2174 1299 1298 1305 1306; 2175 1298 1301 1307 1305; 2176 1301 1303 1308 1307; 2178 1303 1304 1309 1308; 2180 1306 1305 1310 1311; 2181 1305 1307 1312 1310; 2182 1307 1308 1313 1312; 2184 1308 1309 1314 1313; 2186 1311 1310 1315 466; 2188 1310 1312 1316 1315; 2190 1312 1313 1317 1316; 2191 1313 1314 378 1317; 2193 461 1318 1319 1304; 2195 1318 1320 1321 1319; 2197 1320 1322 1323 1321; 2199 1322 462 1324 1323; 2200 1304 1319 1325 1309; 2201 1319 1321 1326 1325; 2202 1321 1323 1327 1326; 2204 1323 1324 1328 1327; 2205 1309 1325 1329 1314; 2206 1325 1326 1330 1329; 2207 1326 1327 1331 1330; 2209 1327 1328 1332 1331; 2211 1314 1329 1333 378; 2212 1329 1330 398 1333; 2214 1330 1331 1334 398; 2215 1331 1332 379 1334; 2217 462 1335 1336 1324; 2219 1335 1337 1338 1336; 2221 1337 1339 1340 1338; 2223 1339 449 1341 1340; 2224 1324 1336 1342 1328; 2225 1336 1338 1343 1342; 2226 1338 1340 1344 1343; 2228 1340 1341 1345 1344; 2229 1328 1342 1346 1332; 2230 1342 1343 1347 1346; 2231 1343 1344 1348 1347;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 456: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555111]]] 2233 1344 1345 1349 1348; 2235 1332 1346 1350 379; 2236 1346 1347 361 1350; 2238 1347 1348 1351 361; 2239 1348 1349 362 1351; 2241 449 1352 1353 1341; 2243 1352 1354 1355 1353; 2245 1354 1356 1357 1355; 2247 1356 448 1358 1357; 2248 1341 1353 1359 1345; 2249 1353 1355 1360 1359; 2250 1355 1357 1361 1360; 2252 1357 1358 1362 1361; 2253 1345 1359 1363 1349; 2254 1359 1360 1364 1363; 2255 1360 1361 1365 1364; 2257 1361 1362 1366 1365; 2259 1349 1363 1367 362; 2261 1363 1364 1368 1367; 2263 1364 1365 1369 1368; 2264 1365 1366 363 1369; 2267 362 1370 1371 1372; 2269 1370 1373 1374 1371; 2271 1373 1375 1376 1374; 2273 1375 418 1377 1376; 2275 1372 1371 1378 1379; 2276 1371 1374 1380 1378; 2277 1374 1376 1381 1380; 2279 1376 1377 1382 1381; 2280 1379 1378 1383 394; 2281 1378 1380 1384 1383; 2282 1380 1381 1385 1384; 2284 1381 1382 1386 1385; 2286 394 1383 1387 415; 2288 1383 1384 1388 1387; 2290 1384 1385 1389 1388; 2291 1385 1386 419 1389; 2293 418 1390 1391 1377; 2295 1390 1392 1393 1391; 2297 1392 1394 1395 1393; 2299 1394 420 1396 1395; 2300 1377 1391 1397 1382; 2301 1391 1393 1398 1397; 2302 1393 1395 1399 1398; 2304 1395 1396 1400 1399; 2305 1382 1397 1401 1386; 2306 1397 1398 1402 1401; 2307 1398 1399 1403 1402; 2309 1399 1400 1404 1403; 2311 1386 1401 1405 419; 2313 1401 1402 1406 1405; 2315 1402 1403 1407 1406; 2316 1403 1404 421 1407; 2318 420 1408 1409 1396; 2320 1408 1410 1411 1409; 2322 1410 1412 1413 1411; 2324 1412 363 1414 1413; 2325 1396 1409 1415 1400; 2326 1409 1411 1416 1415; 2327 1411 1413 1417 1416; 2329 1413 1414 1418 1417; 2330 1400 1415 1419 1404; 2331 1415 1416 1420 1419; 2332 1416 1417 1421 1420; 2333 1417 1418 423 1421; 2335 1404 1419 1422 421; 2337 1419 1420 1423 1422; 2339 1420 1421 1424 1423; 2340 1421 423 414 1424; 2343 415 1425 1426 1427; 2345 1425 1428 1429 1426; 2347 1428 1430 1431 1429; 2349 1430 417 1432 1431; 2351 1427 1426 1433 1434; 2352 1426 1429 1435 1433; 2353 1429 1431 1436 1435; 2355 1431 1432 1437 1436; 2357 1434 1433 1438 1439; 2358 1433 1435 1440 1438; 2359 1435 1436 1441 1440; 2361 1436 1437 1442 1441; 2363 1439 1438 1443 383; 2365 1438 1440 1444 1443; 2367 1440 1441 1445 1444; 2368 1441 1442 416 1445; 2370 417 1446 1447 1432; 2372 1446 1448 1449 1447; 2374 1448 1450 1451 1449; 2376 1450 450 1452 1451; 2377 1432 1447 1453 1437; 2378 1447 1449 1454 1453; 2379 1449 1451 1455 1454; 2381 1451 1452 1456 1455;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 457: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555222]]] 2382 1437 1453 1457 1442; 2383 1453 1454 1458 1457; 2384 1454 1455 1459 1458; 2386 1455 1456 1460 1459; 2388 1442 1457 1461 416; 2390 1457 1458 1462 1461; 2392 1458 1459 1463 1462; 2393 1459 1460 451 1463; 2395 450 1464 1465 1452; 2397 1464 1466 1467 1465; 2399 1466 1468 1469 1467; 2401 1468 414 1470 1469; 2402 1452 1465 1471 1456; 2403 1465 1467 1472 1471; 2404 1467 1469 1473 1472; 2406 1469 1470 1474 1473; 2407 1456 1471 1475 1460; 2408 1471 1472 1476 1475; 2409 1472 1473 1477 1476; 2411 1473 1474 1478 1477; 2413 1460 1475 1479 451; 2415 1475 1476 1480 1479; 2417 1476 1477 1481 1480; 2418 1477 1478 385 1481; 2420 466 1315 1482 1483; 2421 1315 1316 1484 1482; 2422 1316 1317 1485 1484; 2424 1317 378 1486 1485; 2426 1483 1482 1487 1488; 2427 1482 1484 1489 1487; 2428 1484 1485 1490 1489; 2430 1485 1486 1491 1490; 2432 1488 1487 1492 1493; 2433 1487 1489 1494 1492; 2434 1489 1490 1495 1494; 2436 1490 1491 1496 1495; 2438 1493 1492 1497 465; 2440 1492 1494 1498 1497; 2442 1494 1495 1499 1498; 2443 1495 1496 377 1499; 2445 465 1497 1500 1501; 2446 1497 1498 1502 1500; 2447 1498 1499 1503 1502; 2449 1499 377 1504 1503; 2451 1501 1500 1505 1506; 2452 1500 1502 1507 1505; 2453 1502 1503 1508 1507; 2455 1503 1504 1509 1508; 2457 1506 1505 1510 1511; 2458 1505 1507 1512 1510; 2459 1507 1508 1513 1512; 2461 1508 1509 1514 1513; 2463 1511 1510 1515 464; 2465 1510 1512 1516 1515; 2467 1512 1513 1517 1516; 2468 1513 1514 376 1517; 2470 464 1515 1518 1519; 2471 1515 1516 1520 1518; 2472 1516 1517 1521 1520; 2474 1517 376 1522 1521; 2476 1519 1518 1523 1524; 2477 1518 1520 1525 1523; 2478 1520 1521 1526 1525; 2479 1521 1522 447 1526; 2481 1524 1523 1527 1528; 2482 1523 1525 1529 1527; 2483 1525 1526 1530 1529; 2485 1526 447 1531 1530; 2487 1528 1527 1532 463; 2489 1527 1529 1533 1532; 2491 1529 1530 1534 1533; 2492 1530 1531 375 1534; 2494 463 1532 1535 1536; 2495 1532 1533 1537 1535; 2496 1533 1534 1538 1537; 2498 1534 375 1539 1538; 2500 1536 1535 1540 1541; 2501 1535 1537 1542 1540; 2502 1537 1538 1543 1542; 2504 1538 1539 1544 1543; 2506 1541 1540 1545 1546; 2507 1540 1542 1547 1545; 2508 1542 1543 1548 1547; 2510 1543 1544 1549 1548; 2512 1546 1545 1550 467; 2514 1545 1547 1551 1550; 2516 1547 1548 1552 1551; 2517 1548 1549 437 1552; 2519 375 1553 1554 1539; 2520 1553 392 1555 1554; 2522 392 1556 1557 1555; 2524 1556 374 1558 1557; 2525 1539 1554 1559 1544;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 458: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555333]]] 2526 1554 1555 1560 1559; 2527 1555 1557 1561 1560; 2529 1557 1558 1562 1561; 2530 1544 1559 1563 1549; 2531 1559 1560 1564 1563; 2532 1560 1561 1565 1564; 2534 1561 1562 1566 1565; 2536 1549 1563 1567 437; 2538 1563 1564 1568 1567; 2540 1564 1565 1569 1568; 2541 1565 1566 441 1569; 2543 374 1570 1571 1558; 2544 1570 382 1572 1571; 2546 382 1573 1574 1572; 2548 1573 373 1575 1574; 2549 1558 1571 1576 1562; 2550 1571 1572 1577 1576; 2551 1572 1574 1578 1577; 2553 1574 1575 1579 1578; 2554 1562 1576 1580 1566; 2555 1576 1577 1581 1580; 2556 1577 1578 1582 1581; 2558 1578 1579 1583 1582; 2560 1566 1580 1584 441; 2562 1580 1581 1585 1584; 2564 1581 1582 1586 1585; 2565 1582 1583 442 1586; 2567 373 1587 1588 1575; 2568 1587 407 1589 1588; 2570 407 1590 1591 1589; 2572 1590 372 1592 1591; 2573 1575 1588 1593 1579; 2574 1588 1589 1594 1593; 2575 1589 1591 1595 1594; 2577 1591 1592 1596 1595; 2578 1579 1593 1597 1583; 2579 1593 1594 1598 1597; 2580 1594 1595 1599 1598; 2582 1595 1596 1600 1599; 2584 1583 1597 1601 442; 2586 1597 1598 1602 1601; 2588 1598 1599 1603 1602; 2589 1599 1600 439 1603; 2591 372 1604 1605 1592; 2592 1604 408 1606 1605; 2594 408 1607 1608 1606; 2596 1607 371 1609 1608; 2597 1592 1605 1610 1596; 2598 1605 1606 1611 1610; 2599 1606 1608 1612 1611; 2601 1608 1609 1613 1612; 2602 1596 1610 1614 1600; 2603 1610 1611 1615 1614; 2604 1611 1612 1616 1615; 2606 1612 1613 1617 1616; 2608 1600 1614 1618 439; 2610 1614 1615 1619 1618; 2612 1615 1616 1620 1619; 2613 1616 1617 440 1620; 2615 371 1621 1622 1609; 2616 1621 412 1623 1622; 2618 412 1624 1625 1623; 2620 1624 370 1626 1625; 2621 1609 1622 1627 1613; 2622 1622 1623 1628 1627; 2623 1623 1625 1629 1628; 2625 1625 1626 1630 1629; 2626 1613 1627 1631 1617; 2627 1627 1628 1632 1631; 2628 1628 1629 1633 1632; 2630 1629 1630 1634 1633; 2632 1617 1631 1635 440; 2634 1631 1632 1636 1635; 2636 1632 1633 1637 1636; 2637 1633 1634 443 1637; 2639 370 1638 1639 1626; 2640 1638 413 1640 1639; 2642 413 1641 1642 1640; 2644 1641 369 1643 1642; 2645 1626 1639 1644 1630; 2646 1639 1640 1645 1644; 2647 1640 1642 1646 1645; 2649 1642 1643 1647 1646; 2650 1630 1644 1648 1634; 2651 1644 1645 1649 1648; 2652 1645 1646 1650 1649; 2654 1646 1647 1651 1650; 2656 1634 1648 1652 443; 2658 1648 1649 1653 1652; 2660 1649 1650 1654 1653; 2661 1650 1651 438 1654; 2663 369 1655 1656 1643; 2665 1655 1657 1658 1656;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 459: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555444]]] 2667 1657 1659 1660 1658; 2669 1659 458 1661 1660; 2670 1643 1656 1662 1647; 2671 1656 1658 1663 1662; 2672 1658 1660 1664 1663; 2674 1660 1661 1665 1664; 2675 1647 1662 1666 1651; 2676 1662 1663 1667 1666; 2677 1663 1664 1668 1667; 2679 1664 1665 1669 1668; 2681 1651 1666 1670 438; 2683 1666 1667 1671 1670; 2685 1667 1668 1672 1671; 2686 1668 1669 459 1672; 2689 368 1673 1674 1675; 2691 1673 1676 1677 1674; 2693 1676 1678 1679 1677; 2695 1678 457 1680 1679; 2697 1675 1674 1681 1682; 2698 1674 1677 1683 1681; 2699 1677 1679 1684 1683; 2701 1679 1680 1685 1684; 2703 1682 1681 1686 489; 2705 1681 1683 1687 1686; 2707 1683 1684 1688 1687; 2708 1684 1685 495 1688; 2709 489 1686 1655 369; 2710 1686 1687 1657 1655; 2711 1687 1688 1659 1657; 2712 1688 495 458 1659; 2715 367 1689 1690 476; 2718 1689 1691 1692 1690; 2721 1691 1693 1694 1692; 2722 1693 456 492 1694; 2724 476 1690 1695 1696; 2725 1690 1692 1697 1695; 2726 1692 1694 1698 1697; 2728 1694 492 1699 1698; 2730 1696 1695 1700 1701; 2731 1695 1697 1702 1700; 2732 1697 1698 1703 1702; 2734 1698 1699 1704 1703; 2735 1701 1700 1673 368; 2736 1700 1702 1676 1673; 2737 1702 1703 1678 1676; 2738 1703 1704 457 1678; 2741 453 1705 1706 1707; 2743 1705 1708 1709 1706; 2745 1708 1710 1711 1709; 2747 1710 460 1712 1711; 2749 1707 1706 1713 1714; 2750 1706 1709 1715 1713; 2751 1709 1711 1716 1715; 2753 1711 1712 1717 1716; 2755 1714 1713 1718 1719; 2756 1713 1715 1720 1718; 2757 1715 1716 1721 1720; 2759 1716 1717 1722 1721; 2760 1719 1718 1689 367; 2761 1718 1720 1691 1689; 2762 1720 1721 1693 1691; 2763 1721 1722 456 1693; 2766 431 1723 1724 1725; 2768 1723 1726 1727 1724; 2770 1726 1728 1729 1727; 2772 1728 433 1730 1729; 2773 1725 1724 1731 501; 2774 1724 1727 1732 1731; 2775 1727 1729 1733 1732; 2777 1729 1730 1734 1733; 2779 501 1731 1735 1736; 2780 1731 1732 1737 1735; 2781 1732 1733 1738 1737; 2783 1733 1734 1739 1738; 2785 1736 1735 1740 432; 2787 1735 1737 1741 1740; 2789 1737 1738 1742 1741; 2790 1738 1739 434 1742; 2793 364 1743 1744 1745; 2795 1743 1746 1747 1744; 2797 1746 1748 1749 1747; 2799 1748 452 1750 1749; 2801 1745 1744 1751 1752; 2802 1744 1747 1753 1751; 2803 1747 1749 1754 1753; 2805 1749 1750 1755 1754; 2807 1752 1751 1756 1757; 2808 1751 1753 1758 1756; 2809 1753 1754 1759 1758; 2811 1754 1755 1760 1759; 2813 1757 1756 1761 365; 2815 1756 1758 1762 1761; 2817 1758 1759 1763 1762;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 460: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555555]]] 2818 1759 1760 454 1763; 2820 454 1764 1765 1763; 2822 1764 1766 1767 1765; 2824 1766 1768 1769 1767; 2826 1768 455 1770 1769; 2827 1763 1765 1771 1762; 2828 1765 1767 1772 1771; 2829 1767 1769 1773 1772; 2831 1769 1770 1774 1773; 2832 1762 1771 1775 1761; 2833 1771 1772 1776 1775; 2834 1772 1773 1777 1776; 2836 1773 1774 1778 1777; 2838 1761 1775 1779 365; 2839 1775 1776 424 1779; 2841 1776 1777 1780 424; 2842 1777 1778 366 1780; 2844 455 1781 1782 1770; 2846 1781 1783 1784 1782; 2848 1783 1785 1786 1784; 2850 1785 470 1787 1786; 2851 1770 1782 1788 1774; 2852 1782 1784 1789 1788; 2853 1784 1786 1790 1789; 2855 1786 1787 1791 1790; 2856 1774 1788 1792 1778; 2857 1788 1789 1793 1792; 2858 1789 1790 1794 1793; 2860 1790 1791 1795 1794; 2862 1778 1792 1796 366; 2864 1792 1793 1797 1796; 2866 1793 1794 1798 1797; 2867 1794 1795 469 1798; 2869 470 1799 1800 1787; 2871 1799 1801 1802 1800; 2873 1801 1803 1804 1802; 2874 1803 453 1707 1804; 2875 1787 1800 1805 1791; 2876 1800 1802 1806 1805; 2877 1802 1804 1807 1806; 2878 1804 1707 1714 1807; 2879 1791 1805 1808 1795; 2880 1805 1806 1809 1808; 2881 1806 1807 1810 1809; 2882 1807 1714 1719 1810; 2884 1795 1808 1811 469; 2886 1808 1809 1812 1811; 2888 1809 1810 1813 1812; 2889 1810 1719 367 1813; 2891 123 1814 1815 1816; 2892 1814 1817 1818 1815; 2893 1817 1819 1820 1818; 2895 1819 192 1821 1820; 2897 1816 1815 1822 1823; 2898 1815 1818 1824 1822; 2899 1818 1820 1825 1824; 2900 1820 1821 509 1825; 2902 1823 1822 1826 1827; 2903 1822 1824 1828 1826; 2904 1824 1825 1829 1828; 2906 1825 509 1830 1829; 2907 1827 1826 1831 496; 2908 1826 1828 1832 1831; 2909 1828 1829 1833 1832; 2910 1829 1830 497 1833; 2912 497 1834 1835 1836; 2913 1834 518 1837 1835; 2915 518 1838 1839 1837; 2916 1838 193 1840 1839; 2917 1836 1835 1841 1842; 2918 1835 1837 1843 1841; 2919 1837 1839 1844 1843; 2920 1839 1840 1845 1844; 2921 1842 1841 1846 1847; 2922 1841 1843 1848 1846; 2923 1843 1844 1849 1848; 2924 1844 1845 1850 1849; 2926 1847 1846 1851 498; 2928 1846 1848 1852 1851; 2930 1848 1849 1853 1852; 2931 1849 1850 300 1853; 2933 498 1854 1855 1856; 2935 1854 1857 1858 1855; 2937 1857 1859 1860 1858; 2938 1859 294 1861 1860; 2939 1856 1855 1862 1863; 2940 1855 1858 1864 1862; 2941 1858 1860 1865 1864; 2942 1860 1861 1866 1865; 2943 1863 1862 1867 1868; 2944 1862 1864 1869 1867; 2945 1864 1865 1870 1869; 2946 1865 1866 1871 1870;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 461: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555666]]] 2948 1868 1867 1872 499; 2949 1867 1869 1284 1872; 2951 1869 1870 1873 1284; 2952 1870 1871 304 1873; 2954 499 1874 1875 1876; 2955 1874 1293 1877 1875; 2957 1293 1878 1879 1877; 2958 1878 305 1880 1879; 2959 1876 1875 1881 1882; 2960 1875 1877 1883 1881; 2961 1877 1879 1884 1883; 2962 1879 1880 1885 1884; 2963 1882 1881 1886 1887; 2964 1881 1883 1888 1886; 2965 1883 1884 1889 1888; 2966 1884 1885 1890 1889; 2968 1887 1886 1891 500; 2970 1886 1888 1892 1891; 2972 1888 1889 1893 1892; 2973 1889 1890 427 1893; 2975 500 1894 1895 1896; 2977 1894 1897 1898 1895; 2979 1897 1899 1900 1898; 2980 1899 423 1901 1900; 2981 1896 1895 1902 1903; 2982 1895 1898 1904 1902; 2983 1898 1900 1905 1904; 2984 1900 1901 1906 1905; 2985 1903 1902 1907 1908; 2986 1902 1904 1909 1907; 2987 1904 1905 1910 1909; 2988 1905 1906 1911 1910; 2990 1908 1907 1912 501; 2991 1907 1909 1725 1912; 2993 1909 1910 1913 1725; 2994 1910 1911 431 1913; ELEMENT PROPERTY 1068 1070 1072 1074 1076 TO 1079 1081 TO 1083 1085 1087 1089 1091 1092 1095 - 1097 1099 1101 1103 TO 1105 1107 1109 TO 1111 1113 1115 1117 1119 1120 1123 - 1125 1127 1129 1131 TO 1133 1135 1137 TO 1139 1141 1143 1145 1147 1148 1150 - 1152 1154 1156 TO 1159 1161 TO 1164 1166 1168 1170 1172 1173 1175 1177 1179 - 1181 TO 1184 1186 TO 1189 1191 1192 1194 1196 1197 1200 1202 1204 1206 1208 - 1209 TO 1210 1212 1214 TO 1216 1218 1220 1221 1223 1224 1227 1229 1230 1232 - 1234 TO 1236 1238 1240 TO 1242 1244 1246 1248 1250 1251 1253 1255 1257 1259 - 1260 TO 1262 1264 TO 1267 1269 1271 1273 1275 1276 1278 1280 1282 - 1284 TO 1287 1289 TO 1293 1295 1297 1299 1300 1303 1305 1307 1309 - 1311 TO 1313 1315 1317 TO 1319 1321 1323 1325 1327 1328 1330 1332 1334 1336 - 1337 TO 1339 1341 TO 1344 1346 1348 1350 1352 1353 1355 1357 1359 TO 1368 - 1370 1372 1374 1375 1377 1379 1381 1383 TO 1386 1388 TO 1391 1393 1395 1397 - 1399 1400 1402 1404 1406 TO 1415 1417 1419 1421 1422 1424 1426 1428 1430 - 1431 TO 1433 1435 TO 1438 1440 1442 1444 1446 1447 1450 1452 1454 1456 1458 - 1459 TO 1460 1462 1464 TO 1466 1468 1470 1472 1474 1475 1477 1479 - 1481 TO 1485 1487 TO 1490 1492 1494 1496 1498 1499 1501 1503 1505 - 1507 TO 1510 1512 TO 1515 1517 1519 1521 1523 1524 1526 1528 1530 - 1532 TO 1535 1537 TO 1540 1542 TO 1546 1548 1550 1552 1554 TO 1557 -

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 462: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555777]]] 1559 TO 1562 1564 1566 1568 1570 1571 1573 THICKNESS 0.1 1575 1577 TO 1588 1591 TO 1594 1596 1599 TO 1601 1603 TO 1608 1611 1613 1615 - 1617 1619 TO 1622 1624 TO 1626 1628 1630 1632 1634 1635 1637 1639 1641 1643 - 1644 TO 1646 1648 TO 1651 1653 1655 1656 1658 1659 1661 1662 1664 - 1666 TO 1669 1671 TO 1674 1676 1678 1680 1682 1683 1686 1688 1690 1692 1694 - 1695 TO 1696 1698 1700 TO 1702 1704 1706 1708 1710 1711 1713 1715 1717 1719 - 1720 TO 1722 1724 TO 1727 1729 1731 1733 1735 1736 1738 TO 1740 1742 1744 - 1745 TO 1746 1748 1750 TO 1752 1754 1756 1758 1760 1761 1764 1766 1768 1770 - 1772 TO 1774 1776 TO 1779 1781 1783 1785 1787 1788 1790 1792 1794 - 1796 TO 1799 1801 TO 1804 1806 1808 1810 1812 1813 1815 1817 1819 - 1821 TO 1824 1826 TO 1830 1832 1834 1836 1837 1840 1842 1844 1846 - 1848 TO 1850 1852 1854 TO 1856 1858 1860 1862 1864 1865 1867 1869 1871 1873 - 1874 TO 1876 1878 TO 1881 1883 1885 1887 1889 1890 1892 1894 1896 - 1898 TO 1901 1903 TO 1906 1908 1910 1912 1914 1915 1918 1920 1922 1924 1926 - 1927 TO 1928 1930 1932 TO 1934 1936 1938 1939 1941 1942 1944 1946 1948 1950 - 1951 TO 1953 1955 TO 1958 1960 1962 1963 1965 1966 1968 1970 1972 - 1974 TO 1977 1979 TO 1982 1984 1986 1987 1989 1990 1992 1994 1996 - 1998 TO 2001 2003 TO 2006 2008 2010 2012 2014 2015 2018 2019 2021 2023 2025 - 2026 TO 2027 2029 2031 TO 2033 2035 2037 2039 2041 2042 2044 2045 2047 2049 - 2050 TO 2052 2054 TO 2057 2059 2061 2063 2065 2066 2068 2070 - 2072 THICKNESS 0.1 2074 TO 2077 2079 TO 2082 2084 2086 2088 2090 2091 2093 2095 2097 2099 2101 - 2102 TO 2103 2105 2107 TO 2109 2111 TO 2115 2117 TO 2119 2121 2123 TO 2125 - 2127 TO 2130 2132 TO 2136 2139 2141 2143 2145 2147 TO 2150 2152 TO 2154 2156 - 2158 2160 2162 2163 2166 2168 2170 2172 2174 TO 2176 2178 2180 TO 2182 2184 - 2186 2188 2190 2191 2193 2195 2197 2199 TO 2202 2204 TO 2207 2209 2211 2212 - 2214 2215 2217 2219 2221 2223 TO 2226 2228 TO 2231 2233 2235 2236 2238 2239 - 2241 2243 2245 2247 TO 2250 2252 TO 2255 2257 2259 2261 2263 2264 2267 2269 - 2271 2273 2275 TO 2277 2279 TO 2282 2284 2286 2288 2290 2291 2293 2295 2297 - 2299 TO 2302 2304 TO 2307 2309 2311 2313 2315 2316 2318 2320 2322 - 2324 TO 2327 2329 TO 2333 2335 2337 2339 2340 2343 2345 2347 2349 -

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 463: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555888]]] 2351 TO 2353 2355 2357 TO 2359 2361 2363 2365 2367 2368 2370 2372 2374 2376 - 2377 TO 2379 2381 TO 2384 2386 2388 2390 2392 2393 2395 2397 2399 - 2401 TO 2404 2406 TO 2409 2411 2413 2415 2417 2418 2420 TO 2422 2424 2426 - 2427 TO 2428 2430 2432 TO 2434 2436 2438 2440 2442 2443 2445 TO 2447 2449 - 2451 TO 2453 2455 2457 TO 2459 2461 2463 2465 2467 2468 2470 TO 2472 2474 - 2476 TO 2479 2481 TO 2483 2485 2487 2489 2491 2492 2494 TO 2496 2498 2500 - 2501 TO 2502 2504 2506 TO 2508 2510 2512 2514 2516 2517 2519 2520 2522 2524 - 2525 TO 2527 2529 TO 2532 2534 2536 2538 2540 2541 2543 2544 2546 - 2548 TO 2551 THICKNESS 0.1 2553 TO 2556 2558 2560 2562 2564 2565 2567 2568 2570 2572 TO 2575 - 2577 TO 2580 2582 2584 2586 2588 2589 2591 2592 2594 2596 TO 2599 - 2601 TO 2604 2606 2608 2610 2612 2613 2615 2616 2618 2620 TO 2623 - 2625 TO 2628 2630 2632 2634 2636 2637 2639 2640 2642 2644 TO 2647 - 2649 TO 2652 2654 2656 2658 2660 2661 2663 2665 2667 2669 TO 2672 - 2674 TO 2677 2679 2681 2683 2685 2686 2689 2691 2693 2695 2697 TO 2699 2701 - 2703 2705 2707 TO 2712 2715 2718 2721 2722 2724 TO 2726 2728 2730 TO 2732 - 2734 TO 2738 2741 2743 2745 2747 2749 TO 2751 2753 2755 TO 2757 2759 TO 2763 - 2766 2768 2770 2772 TO 2775 2777 2779 TO 2781 2783 2785 2787 2789 2790 2793 - 2795 2797 2799 2801 TO 2803 2805 2807 TO 2809 2811 2813 2815 2817 2818 2820 - 2822 2824 2826 TO 2829 2831 TO 2834 2836 2838 2839 2841 2842 2844 2846 2848 - 2850 TO 2853 2855 TO 2858 2860 2862 2864 2866 2867 2869 2871 2873 TO 2882 - 2884 2886 2888 2889 THICKNESS 0.1 2891 TO 2893 2895 2897 TO 2900 2902 TO 2904 2906 TO 2910 2912 2913 - 2915 TO 2924 2926 2928 2930 2931 2933 2935 2937 TO 2946 2948 2949 2951 2952 - 2954 2955 2957 TO 2966 2968 2970 2972 2973 2975 2977 2979 TO 2988 2990 2991 - 2993 2994 THICKNESS 0.15 DEFINE MATERIAL START ISOTROPIC CONCRETE E 2.21467e+009 POISSON 0.17 DENSITY 2402.62

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 464: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444555999]]] ALPHA 1e-005 DAMP 0.05 ISOTROPIC STEEL E 2.09042e+010 POISSON 0.3 DENSITY 7833.41 ALPHA 1.2e-005 DAMP 0.03 END DEFINE MATERIAL CONSTANTS MATERIAL CONCRETE MEMB 1 TO 1068 1070 1072 1074 1076 TO 1079 1081 TO 1083 - 1085 1087 1089 1091 1092 1095 1097 1099 1101 1103 TO 1105 1107 1109 TO 1111 - 1113 1115 1117 1119 1120 1123 1125 1127 1129 1131 TO 1133 1135 1137 TO 1139 - 1141 1143 1145 1147 1148 1150 1152 1154 1156 TO 1159 1161 TO 1164 1166 1168 - 1170 1172 1173 1175 1177 1179 1181 TO 1184 1186 TO 1189 1191 1192 1194 1196 - 1197 1200 1202 1204 1206 1208 TO 1210 1212 1214 TO 1216 1218 1220 1221 1223 - 1224 1227 1229 1230 1232 1234 TO 1236 1238 1240 TO 1242 1244 1246 1248 1250 - 1251 1253 1255 1257 1259 TO 1262 1264 TO 1267 1269 1271 1273 1275 1276 1278 - 1280 1282 1284 TO 1287 1289 TO 1293 1295 1297 1299 1300 1303 1305 1307 1309 - 1311 TO 1313 1315 1317 TO 1319 1321 1323 1325 1327 1328 1330 1332 1334 1336 - 1337 TO 1339 1341 TO 1344 1346 1348 1350 1352 1353 1355 1357 1359 TO 1368 - 1370 1372 1374 1375 1377 1379 1381 1383 TO 1386 1388 TO 1391 1393 1395 1397 - 1399 1400 1402 1404 1406 TO 1415 1417 1419 1421 1422 1424 1426 1428 1430 - 1431 TO 1433 1435 TO 1438 1440 1442 1444 1446 1447 1450 1452 1454 1456 1458 - 1459 TO 1460 1462 1464 TO 1466 1468 1470 1472 1474 1475 1477 1479 - 1481 TO 1485 1487 TO 1490 1492 1494 1496 1498 1499 1501 1503 1505 - 1507 TO 1510 1512 TO 1515 1517 1519 1521 1523 1524 1526 1528 1530 - 1532 TO 1535 1537 TO 1540 1542 TO 1546 1548 1550 1552 1554 TO 1557 - 1559 TO 1562 1564 1566 1568 1570 MATERIAL CONCRETE MEMB 1571 1573 1575 1577 TO 1588 1591 TO 1594 1596 1599 - 1600 TO 1601 1603 TO 1608 1611 1613 1615 1617 1619 TO 1622 1624 TO 1626 1628 -

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 465: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666000]]] 1630 1632 1634 1635 1637 1639 1641 1643 TO 1646 1648 TO 1651 1653 1655 1656 - 1658 1659 1661 1662 1664 1666 TO 1669 1671 TO 1674 1676 1678 1680 1682 1683 - 1686 1688 1690 1692 1694 TO 1696 1698 1700 TO 1702 1704 1706 1708 1710 1711 - 1713 1715 1717 1719 TO 1722 1724 TO 1727 1729 1731 1733 1735 1736 - 1738 TO 1740 1742 1744 TO 1746 1748 1750 TO 1752 1754 1756 1758 1760 1761 - 1764 1766 1768 1770 1772 TO 1774 1776 TO 1779 1781 1783 1785 1787 1788 1790 - 1792 1794 1796 TO 1799 1801 TO 1804 1806 1808 1810 1812 1813 1815 1817 1819 - 1821 TO 1824 1826 TO 1830 1832 1834 1836 1837 1840 1842 1844 1846 - 1848 TO 1850 1852 1854 TO 1856 1858 1860 1862 1864 1865 1867 1869 1871 1873 - 1874 TO 1876 1878 TO 1881 1883 1885 1887 1889 1890 1892 1894 1896 - 1898 TO 1901 1903 TO 1906 1908 1910 1912 1914 1915 1918 1920 1922 1924 1926 - 1927 TO 1928 1930 1932 TO 1934 1936 1938 1939 1941 1942 1944 1946 1948 1950 - 1951 TO 1953 1955 TO 1958 1960 1962 1963 1965 1966 1968 1970 1972 - 1974 TO 1977 1979 TO 1982 1984 1986 1987 1989 1990 1992 1994 1996 - 1998 TO 2001 2003 TO 2006 2008 2010 2012 2014 2015 2018 2019 2021 2023 2025 - 2026 TO 2027 2029 2031 TO 2033 2035 2037 2039 2041 2042 2044 2045 2047 2049 - 2050 TO 2052 2054 TO 2057 2059 2061 2063 2065 2066 2068 MATERIAL CONCRETE MEMB 2070 2072 2074 TO 2077 2079 TO 2082 2084 2086 2088 - 2090 2091 2093 2095 2097 2099 2101 TO 2103 2105 2107 TO 2109 2111 TO 2115 - 2117 TO 2119 2121 2123 TO 2125 2127 TO 2130 2132 TO 2136 2139 2141 2143 2145 - 2147 TO 2150 2152 TO 2154 2156 2158 2160 2162 2163 2166 2168 2170 2172 2174 - 2175 TO 2176 2178 2180 TO 2182 2184 2186 2188 2190 2191 2193 2195 2197 2199 - 2200 TO 2202 2204 TO 2207 2209 2211 2212 2214 2215 2217 2219 2221 - 2223 TO 2226 2228 TO 2231 2233 2235 2236 2238 2239 2241 2243 2245 - 2247 TO 2250 2252 TO 2255 2257 2259 2261 2263 2264 2267 2269 2271 2273 2275 - 2276 TO 2277 2279 TO 2282 2284 2286 2288 2290 2291 2293 2295 2297 - 2299 TO 2302 2304 TO 2307 2309 2311 2313 2315 2316 2318 2320 2322 - 2324 TO 2327 2329 TO 2333 2335 2337 2339 2340 2343 2345 2347 2349 - 2351 TO 2353 2355 2357 TO 2359 2361 2363 2365 2367 2368 2370 2372 2374 2376 - 2377 TO 2379 2381 TO 2384 2386 2388 2390 2392 2393 2395 2397 2399 - 2401 TO 2404 2406 TO 2409 2411 2413 2415 2417 2418 2420 TO 2422 2424 2426 -

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 466: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666111]]] 2427 TO 2428 2430 2432 TO 2434 2436 2438 2440 2442 2443 2445 TO 2447 2449 - 2451 TO 2453 2455 2457 TO 2459 2461 2463 2465 2467 2468 2470 TO 2472 2474 - 2476 TO 2479 2481 TO 2483 2485 2487 2489 2491 2492 2494 TO 2496 2498 2500 - 2501 TO 2502 2504 2506 TO 2508 2510 2512 2514 2516 2517 2519 2520 2522 2524 - 2525 TO 2527 2529 TO 2532 2534 2536 2538 2540 2541 2543 2544 2546 2548 MATERIAL CONCRETE MEMB 2549 TO 2551 2553 TO 2556 2558 2560 2562 2564 2565 2567 - 2568 2570 2572 TO 2575 2577 TO 2580 2582 2584 2586 2588 2589 2591 2592 2594 - 2596 TO 2599 2601 TO 2604 2606 2608 2610 2612 2613 2615 2616 2618 - 2620 TO 2623 2625 TO 2628 2630 2632 2634 2636 2637 2639 2640 2642 - 2644 TO 2647 2649 TO 2652 2654 2656 2658 2660 2661 2663 2665 2667 - 2669 TO 2672 2674 TO 2677 2679 2681 2683 2685 2686 2689 2691 2693 2695 2697 - 2698 TO 2699 2701 2703 2705 2707 TO 2712 2715 2718 2721 2722 2724 TO 2726 - 2728 2730 TO 2732 2734 TO 2738 2741 2743 2745 2747 2749 TO 2751 2753 2755 - 2756 TO 2757 2759 TO 2763 2766 2768 2770 2772 TO 2775 2777 2779 TO 2781 2783 - 2785 2787 2789 2790 2793 2795 2797 2799 2801 TO 2803 2805 2807 TO 2809 2811 - 2813 2815 2817 2818 2820 2822 2824 2826 TO 2829 2831 TO 2834 2836 2838 2839 - 2841 2842 2844 2846 2848 2850 TO 2853 2855 TO 2858 2860 2862 2864 2866 2867 - 2869 2871 2873 TO 2882 2884 2886 2888 2889 2891 TO 2893 2895 2897 TO 2900 - 2902 TO 2904 2906 TO 2910 2912 2913 2915 TO 2924 2926 2928 2930 2931 2933 - 2935 2937 TO 2946 2948 2949 2951 2952 2954 2955 2957 TO 2966 2968 2970 2972 - 2973 2975 2977 2979 TO 2988 2990 2991 2993 2994 2997 TO 3498 MEMBER PROPERTY JAPANESE 1 TO 235 284 TO 558 560 TO 562 610 612 614 617 TO 786 789 TO 850 883 TO 1067 - 2997 TO 3013 3497 3498 PRIS YD 0.7 ZD 0.3 3014 TO 3293 PRIS YD 0.7 ZD 0.3 3294 TO 3496 PRIS YD 0.7 ZD 0.3 MEMBER PROPERTY JAPANESE 236 TO 283 559 563 TO 609 611 613 615 616 787 788 851 TO 882 PRIS YD 0.3 ZD 0.3 SUPPORTS 16 25 139 142 144 TO 191 356 PINNED

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 467: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666222]]] LOAD 1 SW SELFWEIGHT Y -1 MEMBER LOAD 1 TO 14 16 TO 24 27 35 36 38 TO 41 43 44 46 47 49 52 54 TO 65 67 69 - 71 TO 73 76 82 TO 85 87 89 92 99 105 TO 112 114 TO 117 119 TO 122 127 130 - 131 TO 133 136 138 140 142 TO 144 146 148 149 151 157 159 163 164 166 TO 168 - 171 172 175 TO 177 179 TO 191 196 197 201 202 210 212 213 215 TO 223 284 - 285 TO 286 883 TO 886 888 889 891 TO 985 989 TO 994 3497 UNI GY -550 1 2 4 10 11 17 TO 19 27 39 47 48 58 59 62 63 67 80 82 83 87 103 106 110 117 - 121 142 146 156 159 178 187 189 191 227 229 230 233 236 237 239 242 - 244 TO 246 248 TO 251 256 257 259 266 268 270 272 281 563 564 567 572 574 - 575 TO 576 578 TO 581 586 587 589 597 599 602 611 894 896 897 907 911 913 - 924 TO 926 933 934 939 941 943 945 983 TO 988 1004 TO 1006 1019 TO 1020 - 1021 UNI GY -1330 4 TO 7 27 49 50 54 60 TO 62 64 65 70 72 TO 74 78 TO 80 82 83 86 87 - 100 TO 104 106 110 113 TO 116 118 119 123 124 129 131 132 137 139 141 143 - 144 154 TO 158 164 TO 166 178 181 184 188 191 195 TO 200 203 TO 205 208 211 - 214 216 218 219 221 222 287 845 846 887 890 903 TO 905 907 911 913 - 924 TO 926 933 TO 935 937 938 944 945 947 950 952 957 TO 959 965 TO 968 983 - 984 TO 988 992 3472 TO 3478 3498 UNI GY -2660 LOAD 2 LL ELEMENT LOAD 1095 1097 1099 1101 1103 TO 1105 1107 1109 TO 1111 1113 1115 1117 1119 1120 - 1123 1125 1127 1129 1131 TO 1133 1135 1137 TO 1139 1141 1143 1145 1147 1148 - 1150 1152 1154 1156 TO 1159 1161 TO 1164 1166 1168 1170 1172 1173 1175 1177 - 1179 1181 TO 1184 1186 TO 1189 1191 1192 1194 1196 1197 1200 1202 1204 1206 - 1208 TO 1210 1212 1214 TO 1216 1218 1220 1221 1223 1224 1227 1229 1230 1232 - 1234 TO 1236 1238 1240 TO 1242 1244 1246 1248 1250 1251 1253 1255 1257 1259 - 1260 TO 1262 1264 TO 1267 1269 1271 1273 1275 1276 1278 1280 1282 - 1284 TO 1287 1289 TO 1293 1295 1297 1299 1300 1303 1305 1307 1309 - 1311 TO 1313 1315 1317 TO 1319 1321 1323 1325 1327 1328 1330 1332 1334 1336 -

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 468: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666333]]] 1337 TO 1339 1341 TO 1344 1346 1348 1350 1352 1353 1450 1452 1454 1456 1458 - 1459 TO 1460 1462 1464 TO 1466 1468 1470 1472 1474 1475 1477 1479 - 1481 TO 1485 1487 TO 1490 1492 1494 1496 1498 1499 1501 1503 1505 - 1507 TO 1510 1512 TO 1515 1517 1519 1521 1523 1524 1526 1528 1530 - 1532 TO 1535 1537 TO 1540 1542 TO 1546 1548 1550 1552 1554 TO 1557 - 1559 TO 1562 1564 1566 1568 1570 1571 1573 1575 1577 TO 1588 1591 TO 1594 - 1596 1599 TO 1601 1603 TO 1608 1611 1613 1615 1617 1619 TO 1622 1624 TO 1626 - 1628 1630 1632 1634 1635 1637 1639 1641 1643 TO 1646 1648 TO 1651 1653 1655 - 1656 1658 1659 1661 1662 1664 1666 TO 1669 1671 TO 1674 1676 1678 1680 1682 - 1683 1686 1688 1690 1692 PR GY -400 1694 TO 1696 1698 1700 TO 1702 1704 1706 1708 1710 1711 1713 1715 1717 1719 - 1720 TO 1722 1724 TO 1727 1729 1731 1733 1735 1736 1738 TO 1740 1742 1744 - 1745 TO 1746 1748 1750 TO 1752 1754 1756 1758 1760 1761 1764 1766 1768 1770 - 1772 TO 1774 1776 TO 1779 1781 1783 1785 1787 1788 1790 1792 1794 - 1796 TO 1799 1801 TO 1804 1806 1808 1810 1812 1813 1815 1817 1819 - 1821 TO 1824 1826 TO 1830 1832 1834 1836 1837 1840 1842 1844 1846 - 1848 TO 1850 1852 1854 TO 1856 1858 1860 1862 1864 1865 1867 1869 1871 1873 - 1874 TO 1876 1878 TO 1881 1883 1885 1887 1889 1890 1892 1894 1896 - 1899 TO 1901 1904 TO 1906 1910 1912 1914 1918 1920 1922 1924 1926 TO 1928 - 1930 1932 TO 1934 1936 1938 1939 1941 1942 1944 1946 1948 1950 TO 1953 1955 - 1956 TO 1958 1960 1962 1963 1965 1966 1968 1970 1972 1974 TO 1977 - 1979 TO 1982 1984 1986 1987 1989 1990 1992 1994 1996 1998 TO 2001 - 2003 TO 2006 2008 2010 2012 2014 2015 2018 2019 2021 2023 2025 TO 2027 2029 - 2031 TO 2033 2035 2037 2039 2041 2042 2044 2045 2047 2049 TO 2052 - 2054 TO 2057 2059 2061 2063 2065 2066 2068 2070 2072 2074 TO 2077 - 2079 TO 2082 2084 2086 2088 2090 2091 2093 2095 2097 2099 2101 TO 2103 2105 - 2107 TO 2109 2111 TO 2115 2117 TO 2119 2121 2123 TO 2125 2127 TO 2130 2132 - 2133 TO 2136 2166 2168 2170 2172 2174 TO 2176 2178 2180 TO 2182 2184 2186 - 2188 2190 2191 2193 2195 2197 2199 TO 2202 2204 TO 2207 PR GY -400 2209 2211 2212 2214 2215 2217 2219 2221 2223 TO 2226 2228 TO 2231 2233 2235 - 2236 2238 2239 2241 2243 2245 2247 TO 2250 2252 TO 2255 2257 2259 2261 2263 -

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 469: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666444]]] 2264 2267 2269 2271 2273 2275 TO 2277 2279 TO 2282 2284 2286 2288 2290 2291 - 2293 2295 2297 2299 TO 2302 2304 TO 2307 2309 2311 2313 2315 2316 2318 2320 - 2322 2324 TO 2327 2329 TO 2333 2335 2337 2339 2340 2343 2345 2347 2349 2351 - 2352 TO 2353 2355 2357 TO 2359 2361 2363 2365 2367 2368 2370 2372 2374 2376 - 2377 TO 2379 2381 TO 2384 2386 2388 2390 2392 2393 2395 2397 2399 - 2402 TO 2404 2407 TO 2409 2413 2415 2417 2420 TO 2422 2424 2426 TO 2428 2430 - 2432 TO 2434 2436 2438 2440 2442 2443 2445 TO 2447 2449 2451 TO 2453 2455 - 2457 TO 2459 2461 2463 2465 2467 2468 2470 TO 2472 2474 2476 TO 2479 2481 - 2482 TO 2483 2485 2487 2489 2491 2492 2494 TO 2496 2498 2500 TO 2502 2504 - 2506 TO 2508 2510 2512 2514 2516 2517 2519 2520 2522 2524 TO 2527 - 2529 TO 2532 2534 2536 2538 2540 2541 2543 2544 2546 2548 TO 2551 - 2553 TO 2556 2558 2560 2562 2564 2565 2567 2568 2570 2572 TO 2575 - 2577 TO 2580 2582 2584 2586 2588 2589 2594 2596 2599 2601 2604 2606 2612 - 2613 2615 2616 2618 2620 TO 2623 2625 TO 2628 2630 2632 2634 2636 2637 2639 - 2640 2642 2644 TO 2647 2649 TO 2652 2654 2656 2658 2660 2661 2663 2665 2667 - 2669 TO 2672 2674 TO 2677 2679 2681 2683 2685 2686 2689 2691 2693 2695 2697 - 2698 TO 2699 2701 PR GY -400 2703 2705 2707 TO 2712 2715 2718 2721 2722 2724 TO 2726 2728 2730 TO 2732 - 2734 TO 2738 2741 2743 2745 2747 2749 TO 2751 2753 2755 TO 2757 2759 TO 2763 - 2793 2795 2797 2799 2801 TO 2803 2805 2807 TO 2809 2811 2813 2815 2817 2818 - 2820 2822 2824 2826 TO 2829 2831 TO 2834 2836 2838 2839 2841 2842 2844 2846 - 2848 2850 TO 2853 2855 TO 2858 2860 2862 2864 2866 2867 2869 2871 - 2873 TO 2882 2884 2886 2888 2889 PR GY -400 LOAD COMB 3 SW+DL+Wall+LL 1 1.0 2 1.0 PERFORM ANALYSIS PRINT PROBLEM STATISTICS LOAD LIST 1 2 PRINT ANALYSIS RESULTS FINISH

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 470: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666555]]]

ตัวอยางงานวิเคราะหและออกแบบงานจริง

ผลการวิเคราะหโครงสราง (ใชเวลา 42 วินาที)

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 471: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666666]]]

Axial ForceLoad 5 :

Axial Force

DisplacemenLoad 5 :

Deflextion

รูปแบบของคาํสั่ง (Command File) ท่ีตัวโปรแกรมสรางเมื่อจําลองโครงสราง STAAD TRUSS START JOB INFORMATION ENGINEER DATE 21-May-05 END JOB INFORMATION INPUT WIDTH 79

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 472: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666777]]] UNIT METER KG JOINT COORDINATES 1 0 16 0; 2 0 18 0; 3 8 18 0; 4 8 16 0; 5 2 18 0; 6 4 18 0; 7 6 18 0; 8 6 16 0; 9 4 16 0; 10 2 16 0; 11 0 16 1.5; 12 0 18 1.5; 13 8 18 1.5; 14 8 16 1.5; 15 2 18 1.5; 16 4 18 1.5; 17 6 18 1.5; 18 6 16 1.5; 19 4 16 1.5; 20 2 16 1.5; 21 9 18 0; 22 9 16 0; 23 9 18 1.5; 24 9 16 1.5; 25 20 16 0; 26 20 18 0; 27 12 18 0; 28 12 16 0; 29 18 18 0; 30 16 18 0; 31 14 18 0; 32 14 16 0; 33 16 16 0; 34 18 16 0; 35 20 16 1.5; 36 20 18 1.5; 37 12 18 1.5; 38 12 16 1.5; 39 18 18 1.5; 40 16 18 1.5; 41 14 18 1.5; 42 14 16 1.5; 43 16 16 1.5; 44 18 16 1.5; 45 11 18 0; 46 11 16 0; 47 11 18 1.5; 48 11 16 1.5; 49 9 0 0; 50 9 2 0; 51 11 2 0; 52 11 0 0; 53 9 0 1.5; 54 9 2 1.5; 55 11 2 1.5; 56 11 0 1.5; 57 9 4 0; 58 11 4 0; 59 9 4 1.5; 60 11 4 1.5; 61 9 6 0; 62 11 6 0; 63 9 6 1.5; 64 11 6 1.5; 65 9 8 0; 66 11 8 0; 67 9 8 1.5; 68 11 8 1.5; 69 9 10 0; 70 11 10 0; 71 9 10 1.5; 72 11 10 1.5; 73 9 12 0; 74 11 12 0; 75 9 12 1.5; 76 11 12 1.5; 77 9 14 0; 78 11 14 0; 79 9 14 1.5; 80 11 14 1.5; 81 9 20 0; 82 11 20 0; 83 9 20 1.5; 84 11 20 1.5; 85 9 22 0; 86 11 22 0; 87 9 22 1.5; 88 11 22 1.5; 89 9 24 0; 90 11 24 0; 91 9 24 1.5; 92 11 24 1.5; 93 9 26 0; 94 11 26 0; 95 9 26 1.5; 96 11 26 1.5; 97 0 20 0; 98 8 20 0; 99 2 20 0; 100 4 20 0; 101 6 20 0; 102 0 20 1.5; 103 8 20 1.5; 104 2 20 1.5; 105 4 20 1.5; 106 6 20 1.5; 107 20 20 0; 108 12 20 0; 109 18 20 0; 110 16 20 0; 111 14 20 0; 112 20 20 1.5; 113 12 20 1.5; 114 18 20 1.5; 115 16 20 1.5; 116 14 20 1.5; 117 0 22 0; 118 8 22 0; 119 2 22 0; 120 4 22 0; 121 6 22 0; 122 0 22 1.5; 123 8 22 1.5; 124 2 22 1.5; 125 4 22 1.5; 126 6 22 1.5; 127 20 22 0; 128 12 22 0; 129 18 22 0; 130 16 22 0; 131 14 22 0; 132 20 22 1.5; 133 12 22 1.5; 134 18 22 1.5; 135 16 22 1.5; 136 14 22 1.5; 137 0 24 0; 138 8 24 0; 139 2 24 0; 140 4 24 0; 141 6 24 0; 142 0 24 1.5; 143 8 24 1.5; 144 2 24 1.5; 145 4 24 1.5; 146 6 24 1.5; 147 20 24 0; 148 12 24 0; 149 18 24 0; 150 16 24 0; 151 14 24 0; 152 20 24 1.5; 153 12 24 1.5; 154 18 24 1.5; 155 16 24 1.5; 156 14 24 1.5; 157 0 26 0; 158 8 26 0; 159 2 26 0; 160 4 26 0; 161 6 26 0; 162 0 26 1.5; 163 8 26 1.5; 164 2 26 1.5; 165 4 26 1.5; 166 6 26 1.5; 167 20 26 0; 168 12 26 0; 169 18 26 0; 170 16 26 0;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 473: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666888]]] 171 14 26 0; 172 20 26 1.5; 173 12 26 1.5; 174 18 26 1.5; 175 16 26 1.5; 176 14 26 1.5; MEMBER INCIDENCES 1 1 2; 2 2 5; 3 3 4; 4 4 8; 5 5 6; 6 6 7; 7 7 3; 8 8 9; 9 9 10; 10 10 1; 11 2 10; 12 10 6; 13 6 8; 14 8 3; 15 4 7; 16 7 9; 17 9 5; 18 5 1; 19 5 10; 20 6 9; 21 7 8; 22 1 11; 23 2 12; 24 3 13; 25 4 14; 26 5 15; 27 6 16; 28 7 17; 29 8 18; 30 9 19; 31 10 20; 32 11 12; 33 12 15; 34 13 14; 35 14 18; 36 15 16; 37 16 17; 38 17 13; 39 18 19; 40 19 20; 41 20 11; 42 12 20; 43 20 16; 44 16 18; 45 18 13; 46 14 17; 47 17 19; 48 19 15; 49 15 11; 50 15 20; 51 16 19; 52 17 18; 53 2 11; 54 6 19; 55 3 14; 56 17 8; 57 15 10; 58 2 15; 59 15 6; 60 6 17; 61 17 3; 62 11 10; 63 10 19; 64 19 8; 65 8 14; 66 3 21; 67 22 4; 68 4 21; 69 3 22; 70 13 23; 71 24 14; 72 14 23; 73 13 24; 74 3 23; 75 14 22; 76 25 26; 77 26 29; 78 27 28; 79 28 32; 80 29 30; 81 30 31; 82 31 27; 83 32 33; 84 33 34; 85 34 25; 86 26 34; 87 34 30; 88 30 32; 89 32 27; 90 28 31; 91 31 33; 92 33 29; 93 29 25; 94 29 34; 95 30 33; 96 31 32; 97 25 35; 98 26 36; 99 27 37; 100 28 38; 101 29 39; 102 30 40; 103 31 41; 104 32 42; 105 33 43; 106 34 44; 107 35 36; 108 36 39; 109 37 38; 110 38 42; 111 39 40; 112 40 41; 113 41 37; 114 42 43; 115 43 44; 116 44 35; 117 36 44; 118 44 40; 119 40 42; 120 42 37; 121 38 41; 122 41 43; 123 43 39; 124 39 35; 125 39 44; 126 40 43; 127 41 42; 128 26 35; 129 30 43; 130 27 38; 131 41 32; 132 39 34; 133 35 34; 134 34 43; 135 43 32; 136 32 38; 137 27 45; 138 46 28; 139 28 45; 140 27 46; 141 37 47; 142 48 38; 143 38 47; 144 37 48; 145 38 46; 146 49 50; 147 50 51; 148 51 52; 149 52 49; 150 49 51; 151 50 52; 152 49 53; 153 50 54; 154 51 55; 155 52 56; 156 53 54; 157 54 55; 158 55 56; 159 56 53; 160 53 55; 161 54 56; 162 53 50; 163 52 55; 164 50 55; 165 53 52; 166 50 57; 167 51 58; 168 54 59; 169 55 60; 170 57 58; 171 50 58; 172 57 51; 173 57 59; 174 58 60; 175 59 60; 176 54 60; 177 59 55; 178 54 57; 179 51 60; 180 57 60; 181 57 61; 182 58 62; 183 59 63; 184 60 64; 185 61 62; 186 57 62; 187 61 58; 188 61 63; 189 62 64; 190 63 64; 191 59 64; 192 63 60; 193 59 61; 194 58 64; 195 61 64; 196 61 65; 197 62 66; 198 63 67; 199 64 68; 200 65 66; 201 61 66; 202 65 62; 203 65 67; 204 66 68; 205 67 68; 206 63 68; 207 67 64; 208 63 65; 209 62 68; 210 65 68; 211 65 69;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 474: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444666999]]] 212 66 70; 213 67 71; 214 68 72; 215 69 70; 216 65 70; 217 69 66; 218 69 71; 219 70 72; 220 71 72; 221 67 72; 222 71 68; 223 67 69; 224 66 72; 225 69 72; 226 69 73; 227 70 74; 228 71 75; 229 72 76; 230 73 74; 231 69 74; 232 73 70; 233 73 75; 234 74 76; 235 75 76; 236 71 76; 237 75 72; 238 71 73; 239 70 76; 240 73 76; 241 73 77; 242 74 78; 243 75 79; 244 76 80; 245 77 78; 246 73 78; 247 77 74; 248 77 79; 249 78 80; 250 79 80; 251 75 80; 252 79 76; 253 75 77; 254 74 80; 255 77 80; 256 77 22; 257 78 46; 258 79 24; 259 80 48; 260 22 46; 261 77 46; 262 22 78; 263 22 24; 264 46 48; 265 24 48; 266 79 48; 267 24 80; 268 79 22; 269 78 48; 270 22 48; 271 22 21; 272 46 45; 273 24 23; 274 48 47; 275 21 45; 276 22 45; 277 21 46; 278 21 23; 279 45 47; 280 23 47; 281 24 47; 282 23 48; 283 24 21; 284 46 47; 285 21 47; 286 21 81; 287 45 82; 288 23 83; 289 47 84; 290 81 82; 291 21 82; 292 81 45; 293 81 83; 294 82 84; 295 83 84; 296 23 84; 297 83 47; 298 23 81; 299 45 84; 300 81 84; 301 81 85; 302 82 86; 303 83 87; 304 84 88; 305 85 86; 306 81 86; 307 85 82; 308 85 87; 309 86 88; 310 87 88; 311 83 88; 312 87 84; 313 83 85; 314 82 88; 315 85 88; 316 85 89; 317 86 90; 318 87 91; 319 88 92; 320 89 90; 321 85 90; 322 89 86; 323 89 91; 324 90 92; 325 91 92; 326 87 92; 327 91 88; 328 87 89; 329 86 92; 330 89 92; 331 89 93; 332 90 94; 333 91 95; 334 92 96; 335 93 94; 336 89 94; 337 93 90; 338 93 95; 339 94 96; 340 95 96; 341 91 96; 342 95 92; 343 91 93; 344 90 96; 345 93 96; 346 2 97; 347 3 98; 348 5 99; 349 6 100; 350 7 101; 351 12 102; 352 13 103; 353 15 104; 354 16 105; 355 17 106; 356 26 107; 357 27 108; 358 29 109; 359 30 110; 360 31 111; 361 36 112; 362 37 113; 363 39 114; 364 40 115; 365 41 116; 366 97 99; 367 99 100; 368 100 101; 369 101 98; 370 97 5; 371 5 100; 372 100 7; 373 7 98; 374 3 101; 375 101 6; 376 6 99; 377 99 2; 378 97 102; 379 98 103; 380 99 104; 381 100 105; 382 101 106; 383 102 104; 384 104 105; 385 105 106; 386 106 103; 387 102 15; 388 15 105; 389 105 17; 390 17 103; 391 13 106; 392 106 16; 393 16 104; 394 104 12; 395 97 12; 396 100 16; 397 98 13; 398 106 7; 399 104 5; 400 98 81; 401 3 81; 402 98 21; 403 103 83; 404 13 83; 405 103 23; 406 107 109; 407 109 110; 408 110 111; 409 111 108; 410 107 29; 411 29 110; 412 110 31; 413 31 108; 414 27 111; 415 111 30; 416 30 109; 417 109 26; 418 107 112; 419 108 113;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 475: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444777000]]] 420 109 114; 421 110 115; 422 111 116; 423 112 114; 424 114 115; 425 115 116; 426 116 113; 427 112 39; 428 39 115; 429 115 41; 430 41 113; 431 37 116; 432 116 40; 433 40 114; 434 114 36; 435 107 36; 436 110 40; 437 108 37; 438 116 31; 439 114 29; 440 107 114; 441 114 110; 442 110 116; 443 116 108; 444 36 29; 445 29 40; 446 40 31; 447 31 37; 448 108 82; 449 27 82; 450 108 45; 451 113 84; 452 37 84; 453 113 47; 454 108 84; 455 37 45; 456 97 117; 457 98 118; 458 99 119; 459 100 120; 460 101 121; 461 102 122; 462 103 123; 463 104 124; 464 105 125; 465 106 126; 466 107 127; 467 108 128; 468 109 129; 469 110 130; 470 111 131; 471 112 132; 472 113 133; 473 114 134; 474 115 135; 475 116 136; 476 117 119; 477 119 120; 478 120 121; 479 121 118; 480 117 99; 481 99 120; 482 120 101; 483 101 118; 484 98 121; 485 121 100; 486 100 119; 487 119 97; 488 117 122; 489 118 123; 490 119 124; 491 120 125; 492 121 126; 493 122 124; 494 124 125; 495 125 126; 496 126 123; 497 122 104; 498 104 125; 499 125 106; 500 106 123; 501 103 126; 502 126 105; 503 105 124; 504 124 102; 505 117 102; 506 120 105; 507 118 103; 508 126 101; 509 124 99; 510 117 124; 511 124 120; 512 120 126; 513 126 118; 514 102 99; 515 99 105; 516 105 101; 517 101 103; 518 118 85; 519 98 85; 520 118 81; 521 123 87; 522 103 87; 523 123 83; 524 118 87; 525 103 81; 526 127 129; 527 129 130; 528 130 131; 529 131 128; 530 127 109; 531 109 130; 532 130 111; 533 111 128; 534 108 131; 535 131 110; 536 110 129; 537 129 107; 538 127 132; 539 128 133; 540 129 134; 541 130 135; 542 131 136; 543 132 134; 544 134 135; 545 135 136; 546 136 133; 547 132 114; 548 114 135; 549 135 116; 550 116 133; 551 113 136; 552 136 115; 553 115 134; 554 134 112; 555 127 112; 556 130 115; 557 128 113; 558 136 111; 559 134 109; 560 128 86; 561 108 86; 562 128 82; 563 133 88; 564 113 88; 565 133 84; 566 117 137; 567 118 138; 568 119 139; 569 120 140; 570 121 141; 571 122 142; 572 123 143; 573 124 144; 574 125 145; 575 126 146; 576 127 147; 577 128 148; 578 129 149; 579 130 150; 580 131 151; 581 132 152; 582 133 153; 583 134 154; 584 135 155; 585 136 156; 586 137 139; 587 139 140; 588 140 141; 589 141 138; 590 137 119; 591 119 140; 592 140 121; 593 121 138; 594 118 141; 595 141 120; 596 120 139; 597 139 117; 598 137 142; 599 138 143; 600 139 144; 601 140 145; 602 141 146; 603 142 144; 604 144 145; 605 145 146; 606 146 143;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 476: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444777111]]] 607 142 124; 608 124 145; 609 145 126; 610 126 143; 611 123 146; 612 146 125; 613 125 144; 614 144 122; 615 137 122; 616 140 125; 617 138 123; 618 146 121; 619 144 119; 620 138 89; 621 118 89; 622 138 85; 623 143 91; 624 123 91; 625 143 87; 626 147 149; 627 149 150; 628 150 151; 629 151 148; 630 147 129; 631 129 150; 632 150 131; 633 131 148; 634 128 151; 635 151 130; 636 130 149; 637 149 127; 638 147 152; 639 148 153; 640 149 154; 641 150 155; 642 151 156; 643 152 154; 644 154 155; 645 155 156; 646 156 153; 647 152 134; 648 134 155; 649 155 136; 650 136 153; 651 133 156; 652 156 135; 653 135 154; 654 154 132; 655 147 132; 656 150 135; 657 148 133; 658 156 131; 659 154 129; 660 147 154; 661 154 150; 662 150 156; 663 156 148; 664 132 129; 665 129 135; 666 135 131; 667 131 133; 668 148 90; 669 128 90; 670 148 86; 671 153 92; 672 133 92; 673 153 88; 674 148 92; 675 133 86; 676 137 157; 677 138 158; 678 139 159; 679 140 160; 680 141 161; 681 142 162; 682 143 163; 683 144 164; 684 145 165; 685 146 166; 686 147 167; 687 148 168; 688 149 169; 689 150 170; 690 151 171; 691 152 172; 692 153 173; 693 154 174; 694 155 175; 695 156 176; 696 157 159; 697 159 160; 698 160 161; 699 161 158; 700 157 139; 701 139 160; 702 160 141; 703 141 158; 704 138 161; 705 161 140; 706 140 159; 707 159 137; 708 157 162; 709 158 163; 710 159 164; 711 160 165; 712 161 166; 713 162 164; 714 164 165; 715 165 166; 716 166 163; 717 162 144; 718 144 165; 719 165 146; 720 146 163; 721 143 166; 722 166 145; 723 145 164; 724 164 142; 725 157 142; 726 160 145; 727 158 143; 728 166 141; 729 164 139; 730 157 164; 731 164 160; 732 160 166; 733 166 158; 734 142 139; 735 139 145; 736 145 141; 737 141 143; 738 158 93; 739 138 93; 740 158 89; 741 163 95; 742 143 95; 743 163 91; 744 158 95; 745 143 89; 746 167 169; 747 169 170; 748 170 171; 749 171 168; 750 167 149; 751 149 170; 752 170 151; 753 151 168; 754 148 171; 755 171 150; 756 150 169; 757 169 147; 758 167 172; 759 168 173; 760 169 174; 761 170 175; 762 171 176; 763 172 174; 764 174 175; 765 175 176; 766 176 173; 767 172 154; 768 154 175; 769 175 156; 770 156 173; 771 153 176; 772 176 155; 773 155 174; 774 174 152; 775 167 152; 776 170 155; 777 168 153; 778 176 151; 779 174 149; 780 167 174; 781 174 170; 782 170 176; 783 176 168; 784 168 94; 785 148 94; 786 168 90; 787 173 96; 788 153 96; 789 173 92; 790 168 96;

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 477: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444777222]]] START GROUP DEFINITION MEMBER _COLUMN1 146 148 156 158 166 TO 169 181 TO 184 196 TO 199 211 TO 214 - 226 TO 229 241 TO 244 256 TO 259 271 TO 274 286 TO 289 301 TO 304 - 316 TO 319 331 TO 334 _COLUMN2 147 149 152 TO 155 157 159 170 173 TO 175 185 188 TO 190 200 203 - 204 TO 205 215 218 TO 220 230 233 TO 235 245 248 TO 250 260 263 TO 265 275 - 278 TO 280 290 293 TO 295 305 308 TO 310 320 323 TO 325 335 338 TO 340 _COLUMN3 150 151 160 TO 165 171 172 176 TO 180 186 187 191 TO 195 201 202 - 206 TO 210 216 217 221 TO 225 231 232 236 TO 240 246 247 251 TO 255 261 262 - 266 TO 270 276 277 281 TO 285 291 292 296 TO 300 306 307 311 TO 315 321 322 - 326 TO 330 336 337 341 TO 345 _BEAM1 2 4 TO 10 33 35 TO 41 66 67 70 71 77 79 TO 85 108 110 TO 116 137 138 - 141 142 _BEAM2 1 3 11 TO 32 34 42 TO 65 68 69 72 TO 76 78 86 TO 107 109 117 TO 136 - 139 140 143 TO 145 444 TO 447 455 _WALL1 346 TO 365 456 TO 475 566 TO 585 676 TO 695 _WALL2 366 TO 443 448 TO 454 476 TO 565 586 TO 675 696 TO 790 JOINT END GROUP DEFINITION DEFINE MATERIAL START ISOTROPIC STEEL E 2.09042e+010 POISSON 0.3 DENSITY 7833.41 ALPHA 1.2e-005 DAMP 0.03 END DEFINE MATERIAL MEMBER PROPERTY JAPANESE 146 148 156 158 166 TO 169 181 TO 184 196 TO 199 211 TO 214 226 TO 229 241 - 242 TO 244 256 TO 259 271 TO 274 286 TO 289 301 TO 304 316 TO 319 331 TO 333 -

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 478: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444777333]]] 334 TABLE ST H600X200X11 147 149 152 TO 155 157 159 170 173 TO 175 185 188 TO 190 200 203 TO 205 215 - 218 TO 220 230 233 TO 235 245 248 TO 250 260 263 TO 265 275 278 TO 280 290 - 293 TO 295 305 308 TO 310 320 323 TO 325 335 338 TO 340 TABLE ST C100X50X5 2 4 TO 10 33 35 TO 41 66 67 70 71 77 79 TO 85 108 110 TO 116 137 138 141 - 142 TABLE ST C125X65X6 1 3 11 TO 32 34 42 TO 65 68 69 72 TO 76 78 86 TO 107 109 117 TO 136 139 140 - 143 TO 145 444 TO 447 455 TABLE ST C100X50X5 346 TO 365 456 TO 475 566 TO 585 676 TO 695 TABLE ST L60X60X5 366 TO 443 448 TO 454 476 TO 565 586 TO 675 696 TO 790 TABLE ST L75X75X6 150 151 160 TO 165 171 172 176 TO 180 186 187 191 TO 195 201 202 206 TO 210 - 216 217 221 TO 225 231 232 236 TO 240 246 247 251 TO 255 261 262 266 TO 270 - 276 277 281 TO 285 291 292 296 TO 300 306 307 311 TO 315 321 322 326 TO 330 - 336 337 341 TO 345 TABLE ST C100X50X5 CONSTANTS BETA 90 MEMB 146 148 156 158 166 TO 169 181 TO 184 196 TO 199 211 TO 214 226 - 227 TO 229 241 TO 244 256 TO 259 271 TO 274 286 TO 289 301 TO 304 316 TO 319 - 331 TO 334 MATERIAL STEEL MEMB 1 TO 790 SUPPORTS 49 52 53 56 PINNED UNIT CM KG MEMBER TRUSS 1 TO 145 147 149 TO 155 157 159 TO 165 170 TO 180 185 TO 195 200 TO 210 215 - 216 TO 225 230 TO 240 245 TO 255 260 TO 270 275 TO 285 290 TO 300 305 TO 315 - 320 TO 330 335 TO 790 UNIT METER KG LOAD 1 DL JOINT LOAD 11 TO 20 23 24 35 TO 44 47 48 83 84 87 88 91 92 95 96 102 TO 106 112 TO 116 - 122 TO 126 132 TO 136 142 TO 146 152 TO 156 162 TO 166 172 TO 176 FY -20

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 479: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444777444]]] LOAD 2 SW SELFWEIGHT Y -1 LOAD 3 WL JOINT LOAD 13 15 TO 17 23 37 39 TO 41 47 83 84 87 88 91 92 103 TO 106 113 TO 116 123 - 124 TO 126 133 TO 136 143 TO 146 153 TO 156 FZ -480 12 14 18 TO 20 24 36 38 42 TO 44 48 95 96 102 112 122 132 142 152 163 TO 166 - 173 TO 176 FZ -240 11 35 162 172 FZ -120 53 TO 56 59 60 63 64 67 68 71 72 75 76 79 80 FZ -60 LOAD 4 LL JOINT LOAD 3 5 TO 7 13 15 TO 17 21 23 27 29 TO 31 37 39 TO 41 45 47 81 TO 92 98 TO 101 - 103 TO 106 108 TO 111 113 TO 116 118 TO 121 123 TO 126 128 TO 131 - 133 TO 136 138 TO 141 143 TO 146 148 TO 151 153 TO 156 FY -120 2 4 8 TO 10 12 14 18 TO 20 22 24 26 28 32 TO 34 36 38 42 TO 44 46 48 - 93 TO 97 102 107 112 117 122 127 132 137 142 147 152 158 TO 161 163 TO 166 - 168 TO 171 173 TO 176 FY -60 1 11 25 35 157 162 167 172 FY -30 49 TO 80 FY -45 LOAD COMB 5 .75[DL+SW+LL+WL] 1 0.75 2 0.75 3 0.75 4 0.75 PERFORM ANALYSIS PRINT PROBLEM STATISTICS PRINT MEMBER PROPERTIES ALL LOAD LIST ALL PRINT ANALYSIS RESULTS PRINT MEMBER FORCES ALL PRINT SUPPORT REACTION LIST 49 52 53 56 UNIT CM KG PARAMETER

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 480: 9378161 staad pro

เรียบเรียงและบรรยายโดย อ.เสริมพันธ เอี่ยมจะบก (ว.ศม.)

ตัวอยางตัวอยางตัวอยางการใชงานการใชงานการใชงานจริงจริงจริง [[[444777555]]] CODE AISC FU 4100 ALL FYLD 2400 ALL MAIN 0 ALL NSF 1 ALL CHECK CODE ALL PARAMETER CODE AISC SELECT WELD ALL PARAMETER CODE AISC SELECT WELD TRUSS ALL PARAMETER CODE AISC STEEL TAKE OFF ALL PARAMETER CODE AISC STEEL MEMBER TAKE OFF ALL PARAMETER CODE AISC SELECT OPTIMIZED FINISH

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 481: 9378161 staad pro

476

บรรณานุกรม American Concrete Institute. (1970). Models for Concrete Structures. Michigan, USA : ACI.S Chen, W.E. (1997). Handbook of Structural Engineer. USA : CRC Press LLC. Hanaor, A. (1998). Principles Of Structures. UK. : Blackwell Science Ltd. Lin, T.Y., and Stotesbury, S.D. (1981). Structural Concepts and Systems for Architects

and Engineers. USA. : John Wiley & Sons. Lwin, M.M., and Lee, C.S. (2001). Structural Engineering. USA. : McGraw-Hill Companies. Macleod, I.A. (1990). Analytical Modelling of Structural Systems. West Sussex,

England : Ellis Horwood Limited. Onouye, B., and Kane, K. (202). Statics and Strength of Materials for Architecture

and Building Construction. New Jersey : Prentice-Hall. Preece, B.W., and Davies, J.D. (1964). Model for Structural Concrete. London ,

England : CR Books Limited. Schodek, D.L. (2004). Structures. New Jersey : Prentice-Hall.

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training

Page 482: 9378161 staad pro

TumCivil.com Training Center

Download at www.tumcivil.com

STAAD.Pro 2005 Training