a study of effective factor on vegetable oil pressing with ... · แบบเกลียวคู...

6
การประชุมวิชาการขายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจําป .. 2556 16-18 ตุลาคม 2556 พัทยา ชลบุรี การศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการบีบอัดน้ํามันจากเมล็ดพืชดวยเครื่องบีบอัด แบบเกลียวคูโดยการออกแบบการทดลอง A Study of Effective Factor on Vegetable Oil Pressing with Twin Screw Press Machine by Using Design of Experiment Technique ฐานันดร อรกิจ 1* ชลิตต มธุรสมนตรี 2 กุลชาติ จุลเพ็ญ 3 1,2,3 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี E-mail: [email protected]* Thanandorn Orakij 1* , Chalit Mathurosemontri 2 Kunlachart Junlapen 3 1,2,3 Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Pathumthani E-mail: [email protected]* บทคัดยอ งานวิจัยนี้เปนการหาปจจัยที่มีอิทธิพลและระดับปจจัยที่เหมาะสมตอการบีบอัดน้ํามันจากเมล็ดพืชดวยเครื่องบีบอัด น้ํามันแบบเกลียวคู โดยประยุกตใชการออกแบบและวิเคราะหการทดลองแบบ 3 k แฟคทอเรียลแบบ 3 ระดับ ทําการทดลองซ้ําจํานวน 3 ครั้งปจจัยที่มีผลตอการบีบอัดน้ํามันจํานวน 2 ปจจัย คือ ความเร็วรอบและขนาดชอง คายกาก เมล็ดพืชที่ใชทําการทดลอง 5 ชนิดคือ เมล็ดทานตะวัน, เมล็ดงาขาว, เมล็ดฟกทอง, เมล็ดถั่วลิสง และ เมล็ดถั่วเหลือง ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบวา เมล็ดทานตะวันมีปริมาณน้ํามันเฉลี่ยสูงสุด 53 เปอรเซ็นตตอ น้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 25 รอบตอนาทีและขนาดชองคายกาก 10 มิลลิเมตร เมล็ดงาขาวมีปริมาณน้ํามันเฉลี่ย สูงสุด 83 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 25 รอบตอนาทีและขนาดชองคายกาก 10 มิลลิเมตร เมล็ดฟกทองปริมาณน้ํามันเฉลี่ยสูงสุด 52 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 15 รอบตอนาทีและขนาดชอง คายกาก 15 มิลลิเมตร เมล็ดถั่วลิสงปริมาณน้ํามันเฉลี่ยสูงสุด 52 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 25 รอบตอนาที และขนาดชองคายกาก 10 มิลลิเมตร เมล็ดถั่วเหลืองปริมาณน้ํามันเฉลี่ยสูงสุด 14 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 20 รอบตอนาทีและขนาดชองคายกาก 10 มิลลิเมตร จึงสรุปไดวาเมื่อความเร็วรอบเพิ่มขึ้น ทําให อัตราการผลิตสูงขึ้นสําหรับเมล็ดงานขาวและถั่วเหลือง สวนขนาดชองคายกากมีอิทธิพลตอปริมาณน้ํามัน คือ ชองคายกากเล็กลง ทําใหไดปริมาณน้ํามันสูงขึ้นสําหรับเมล็ดงาขาว,เมล็ดฟกทอง,เมล็ดถั่วลิสงและเมล็ดถั่วเหลือง นอกจากนั้น ปจจัยรวม (Interaction) ของความเร็วรอบและขนาดชองคายกากมีอิทธิพลตอปริมาณน้ํามันสําหรับ เมล็ดงาขาว คําหลัก พืชน้ํามันการบีบอัดน้ํามันเครื่องบีบอัดน้ํามันแบบเกลียวคูการทดลองแบบ 3 k Abstract The objective of this research is to study the effective processing factor in the oil pressing process of crop seeds by using the twin screws pressing machine. The 3 k method in the design of experiment was used in this research by indicating two factors that influence the pressing process: the speed of feeding screw and the diameter of waste disposal gate. The design of experiment with using 3 2 -factorial

Upload: others

Post on 16-Oct-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: A Study of Effective Factor on Vegetable Oil Pressing with ... · แบบเกลียวคู โดยการออกแบบการทดลอง A Study of Effective

การประชุมวิชาการขายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจําป พ.ศ. 2556 16-18 ตุลาคม 2556 พัทยา ชลบุรี

การศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการบีบอัดน้ํามันจากเมล็ดพืชดวยเครื่องบีบอัดแบบเกลียวคูโดยการออกแบบการทดลอง

A Study of Effective Factor on Vegetable Oil Pressing with Twin Screw Press Machine by Using Design of Experiment Technique

ฐานันดร อรกิจ1* ชลิตต มธุรสมนตรี2 กุลชาติ จุลเพ็ญ3

1,2,3ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี E-mail: [email protected]*

Thanandorn Orakij1*, Chalit Mathurosemontri2 Kunlachart Junlapen3

1,2,3Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Pathumthani

E-mail: [email protected]*

บทคัดยอ งานวิจัยนี้เปนการหาปจจัยที่มีอิทธิพลและระดับปจจัยที่เหมาะสมตอการบีบอัดน้ํามันจากเมล็ดพืชดวยเครื่องบีบอัดน้ํามันแบบเกลียวคู โดยประยุกตใชการออกแบบและวิเคราะหการทดลองแบบ 3kแฟคทอเรียลแบบ 3 ระดับ ทําการทดลองซ้ําจํานวน 3 ครั้งปจจัยที่มีผลตอการบีบอัดน้ํามันจํานวน 2 ปจจัย คือ ความเร็วรอบและขนาดชองคายกาก เมล็ดพืชที่ใชทําการทดลอง 5 ชนิดคือ เมล็ดทานตะวัน, เมล็ดงาขาว, เมล็ดฟกทอง, เมล็ดถ่ัวลิสง และ เมล็ดถ่ัวเหลือง ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบวา เมล็ดทานตะวันมีปริมาณน้ํามันเฉลี่ยสูงสุด 53 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 25 รอบตอนาทีและขนาดชองคายกาก 10 มิลลิเมตร เมล็ดงาขาวมีปริมาณน้ํามันเฉล่ียสูงสุด 83 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 25 รอบตอนาทีและขนาดชองคายกาก 10 มิลลิเมตร เมล็ดฟกทองปริมาณน้ํามันเฉล่ียสูงสุด 52 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 15 รอบตอนาทีและขนาดชองคายกาก 15 มิลลิเมตร เมล็ดถ่ัวลิสงปริมาณน้ํามันเฉล่ียสูงสุด 52 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 25 รอบตอนาที และขนาดชองคายกาก 10 มิลลิเมตร เมล็ดถ่ัวเหลืองปริมาณน้ํามันเฉล่ียสูงสุด 14 เปอรเซ็นตตอน้ําหนัก ที่ความเร็วรอบ 20 รอบตอนาทีและขนาดชองคายกาก 10 มิลลิเมตร จึงสรุปไดวาเมื่อความเร็วรอบเพ่ิมขึ้น ทําใหอัตราการผลิตสูงขึ้นสําหรับเมล็ดงานขาวและถั่วเหลือง สวนขนาดชองคายกากมีอิทธิพลตอปริมาณน้ํามัน คือ ชองคายกากเล็กลง ทําใหไดปริมาณน้ํามันสูงขึ้นสําหรับเมล็ดงาขาว,เมล็ดฟกทอง,เมล็ดถ่ัวลิสงและเมล็ดถ่ัวเหลือง นอกจากนั้น ปจจัยรวม (Interaction) ของความเร็วรอบและขนาดชองคายกากมีอิทธิพลตอปริมาณน้ํามันสําหรับเมล็ดงาขาว คําหลัก พืชน้ํามันการบีบอัดน้ํามันเครื่องบีบอัดน้ํามันแบบเกลียวคูการทดลองแบบ 3k

Abstract The objective of this research is to study the effective processing factor in the oil pressing process of crop seeds by using the twin screws pressing machine. The 3k method in the design of experiment was used in this research by indicating two factors that influence the pressing process: the speed of feeding screw and the diameter of waste disposal gate. The design of experiment with using 32-factorial

Page 2: A Study of Effective Factor on Vegetable Oil Pressing with ... · แบบเกลียวคู โดยการออกแบบการทดลอง A Study of Effective

การประชุมวิชาการขายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจําป พ.ศ. 2556 16-18 ตุลาคม 2556 พัทยา ชลบุรี

methodology with 3 discontinuous value of each factor was applied in this research. In this experiment, there are 5 selected kinds of crop seed, which are sun flower, white sesame, pumpkin, and soy bean seeds, repeated for three times with the statistical significance 95%, at the speed of 25 rpm and 10 mm diameter gate, oil was produced at 53 weight percentage from Sun flower seed. At 83 weight percentage, White sesame oil was produced by using the speed at 25 rpm and the gate at 10-mm diameter. In Pumpkin oil extracting process, the oil was produced at 52.33 weight percentage when setting at 15 rpm and 15 mm for speed and gate, respectively. In the Peanut seed producing, at the speed of 25 rpm and 10- mm gate diameter, the oil was extracted at 52.67 weight percentage. Soy bean oil was produced at 14 weight percentage at the speed of 20 rpm and 10-mm gate diameter. When increasing the feeding speed, the weight percentage of produced oil was also increased in white sesame and soy bean cases. Whereas, in white sesame seed, pumpkin seed, peanut seed and soy bean seed cases, the weight percentage of produced was increased when the disposal gate was decreased. Furthermore, the interaction of the speed of feeding screw and the diameter of waste disposal gate influenced the white sesame seed case. Keywords: vegetable oil oil pressing process twin screws press machine 3k factorial methodology 1. บทนํา ในปจจุบันกรรมวิธีการผลิตน้ํามันพืชสวนใหญจะผลิตโดยวิธีการสกัดน้ํามันออกจากเมล็ดพืชซึ่งเปนวิธีที่ใชเงินลงทุนสูงเหมาะกับอุตสาหกรรมขนาดใหญผลิตครั้งละมากๆ แตจะมีสารตกคางอยู และยังมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมจากกากของเสีย และสารเคมีอันตรายที่ใชในกระบวนการผลิต น้ํามันที่ไดจากการบีบอัดโดยวิธีทางธรรมชาติจะมีความบริ สุทธิ์ สะอาด ปราศจากสารปนเปอนหรือสารเคมีตกคางอื่น ๆ ไมสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและไมมีการใชสารเคมีอันตรายในระหวาง การผลิต จากปญหาดังกลาวจึงไดออกแบบและสรางเครื่องบีบอัดน้ํามันจากเมล็ดพืชแบบเกลียวคู [1] และหาระดับปจจัยที่เหมาะสมในการบีบอัดน้ํามัน ซึ่งคณะวิจัยไดประยุกตใชการออกแบบและวิเคราะหการทดลองแบบ 3k

โดยกําหนดปจจัยที่มีผลตอการบีบอัดน้ํามันจํานวน 2 ปจจัย คือ ความเร็วรอบและขนาดเสนผานศูนยกลางชองคายกาก 2. ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 2.1 กระบวนการบีบหรือใชแรงอัดนํ้ามันจากพืช กระบวนการบีบหรือใชแรงอัดน้ํามันจากเมล็ดพืช (Mechanical expression)แบงออกเปน 3 วิธี ไดแก

เครื่องบีบอัดโดยใชแรงดันอัดเครื่องบีบอัดแบบใชลูกกล้ิงและการบีบอัดแบบใชเกลียวอัดโดยการบีบอัดแบบใชเกลียวอัดนี้ วัสดุจะถูกคั้นดวยแรงผานเกลียวเกลียวจะเปนตัวบดอัดเพ่ือบีบเอาของเหลวออก ของเหลวท่ีไดจะไหลผานชองตะแกรง สวนกากจะถูกลําเลียงออกทางทายเครื่อง ซึ่งเหมาะที่จะใชบีบอัดผลไมและการรีดน้ํามันออกจากเมล็ด การสงกําลังจากเพลาสูเกลียวเปนวิธีที่ทําใหเกิดการอัดสูง โดยที่ลักษณะของเกลียว ความหางของเกลียว การลดลงของพื้นที่หนาตัดเกลียวจะมีผลกระทบตอการบีบหรือบดอัดเมื่อใชหลักการนี้ การอัดจะเกิดขึ้นระหวางเกลียวกับผนังกระบอกจึงทําใหมีความเสียดทานสูงระหวางการบีบคั้น เปนผลใหเกิดความรอนเพ่ิมขึ้น ซึ่งความรอนนี้จะชวยลดความหนืดของน้ํามัน เครื่องสกัดน้ํามันบางชนิดอาจติดตั้งเครื่องทําความรอนกับตัวเครื่องเพ่ือเพ่ิมผลผลิตจากการสกัด ความจุในการทํางานของเ ค รื่ อ ง อยู ใ น ร ะดั บ 4 0 -8 0 0 กิ โ ลก รั ม ต อ ชั่ ว โ ม ง กากหลังจากบีบอัดน้ํามันจะมีปริมาณคางอยูประมาณ 5-18 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักกาก [2]

2.2 การออกแบบการทดลอง การออกแบบการทดลอง (Design and Analysis of Experiment : DOE) มีจุดประสงคที่จะหาวิธีควบคุม การเปลี่ยนแปลงตัวแปรอิสระ ซึ่งตอไปนี้จะเรียกวาปจจัย (Factors) ของกระบวนการใดกระบวนการหนึ่งแลวดู

Page 3: A Study of Effective Factor on Vegetable Oil Pressing with ... · แบบเกลียวคู โดยการออกแบบการทดลอง A Study of Effective

การประชุมวิชาการขายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจําป พ.ศ. 2556 16-18 ตุลาคม 2556 พัทยา ชลบุรี

ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับตัวแปรตอบสนอง (Response) ของกระบวนการนั้น ซึ่งมีขอดีคือใหผลความแมนยําและความถูกตองในการวิเคราะหขอมูลไดสูง โดยสามารถระบุออกมาเปนคาตั ว เลขทางสถิ ติที่ แสดงถึงค าระดับความสํ าคัญของตั วแปรที่ ส งผลต อกระบวนการ นอกจากนี้ยังมีความรวดเร็วในการดําเนินการตรวจสอบสาเหตุของปญหา[3] งานวิจัยนี้ใชทฤษฎีเชิงแฟคทอเรียล(Factorial Experiment) ซึ่งแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ การทดลองแฟคทอเรียลแบบเต็มรูป(Full Factorial Experiment) และการทดลองแฟคทอเรียลบางสวน (Fractional Factorial Experiment) ซึ่งการทดลองแฟคทอเรียลแบบเต็มรูป )เปนการทดลองที่ทํ าขึ้น เพ่ือศึกษาผลกระทบระหวางปจจัยตั้งแต 2 ปจจัยขึ้นไป (k≥2) โดยมี วัต ถุประสงคห ลัก คือ ตองการศึกษาผลกระทบรวม ผูทดลองจะใชจํานวนระดับของปจจัยกี่ระดับนั้นขึ้นกับความสําคัญของปจจัย ปจจัยที่ วิกฤต (Critical Factor) หรือปจจัยที่ตองการศึกษาละเอียดจะใชจํานวนระดับที่มีคามาก (ในการทดลองเดียวกัน) ผูทดลองไมจําเปนจะตองทําการศึกษาปจจัยแตละปจจัยที่จํ านวนระดับเทากัน คาจํานวนระดับที่ ระบุจะตองสอดคลองกับวัตถุประสงคในการทดลอง โดยแบงออกเปนแบบ 2 ระดับ (2k) และ 3 ระดับ (3k)หมายถึง การออกแบบเชิงแฟคทอเรียลที่มีระดับของแตละปจจัย 2 และ 3 ระดับตามลําดับ 2kมีการกําหนดคาของปจจัยเปน สูงและต่ํา สวนแบบ 3k ระดับทั้งสามของแตละปจจัยมี คาเปน สูง ปานกลาง และตํ่า นอกจากที่ผูวิจัยทําการศึกษาถึงทฤษฎีที่เกี่ยวของกับงานวิจัยแลว ยังไดทํ าการสํ ารวจงานวิจัยที่ ใช การออกแบบการทดลองดวยทฤษฎีเชิงแฟคทอเรียล คือ เอาไปแกปญหาของเสียจากการพนสีไมไดมาตรฐานในการผลิตเฟอรนิเจอรไม [4] ใชในการหาคาที่เหมาะสมของปจจัยในการเชื่อมมิกสําหรับขาเบรครถยนต [5] ศึกษาปจจัยที่เหมาะสมในการขึ้นรูปดวยระบบสุญญากาศ [6] หาคาปจจัยที่เหมาะสมเพ่ือลดปญหาในการเจาะแผนวงจรอิเล็กทรอนิกส [7]

3.วิธีการดําเนินงานวิจัย 3.1 การออกแบบการทดลอง การทดลองเชิงแฟคทอเรียลแบบ 32 เมล็ดพืชที่นํามาศึกษามีทั้งหมด 5 ชนิดคือเมล็ดทานตะวัน, เมล็ดงาขาว, เมล็ดฟกทอง, เมล็ดถ่ัวลิสง และ เมล็ดถ่ัวเหลือง ปจจัยที่ ใช ในการศึกษามีทั้ งหมด 2 ปจจัย และไดกําหนดคาของปจจัยไว 3 ระดับ แสดงดังตารางที่ 1 รูปแบบการทดลองถูกสรางขึ้นโดยโปรแกรม Minitab15 ซึ่งเปนโปรแกรมดานการวิเคราะหทางสถิติ จึงไดรูปแบบการทดสอบแบงเปนเมล็ดพืชชนิดละ 27 ชุด ทําซ้ํา 3 ครั้ง ตารางที่ 1 ปจจัยและระดับปจจัยที่ใชในการวิจัย

ปจจัยที่ศึกษา ระดับ สัญลักษณ

สูง กลาง ต่ํา ความเร็วรอบ 15 20 25 A เสนผานศูนยกลางชองคายกาก 10 15 20 B

3.2 วิธีการทดลอง งานวิจัยนี้ ใช เครื่ องบีบอัดน้ํ ามันแบบเกลียวคู ดังแสดงในรูปที่ 1 และใชเมล็ดพืชที่กะเทาะเปลือกแลว ทําการตากแดดใหแหง โดยมีขั้นตอนการทดลองดังนี้ 1) ทําการชั่งวัตถุดิบครั้งละ 500 กรัม 2) ติดตั้งชองคายกากตามขนาดที่จะทดลองมีทั้ง หมด3ขนาด คือ 10, 15, และ 20 มิลลิเมตร 3) ปรับความเร็วรอบมอเตอรที่ 15, 20 และ 25 รอบตอนาที โดยมีพืชที่จะทําการทดลองคือ เมล็ดทานตะวัน เมล็ดงาขาว เมล็ดฟกทองเมล็ด ถ่ัวลิสง และเมล็ด ถ่ัวเหลือง เปดเครื่องปรับอุณหภูมิฮีทเตอรประมาณ 60 องศาเซลเซียสและทําการอุนเครื่องไมนอยกวา 15 นาที เพ่ือปองกันการอุดตันของชองคายกาก และ ใหเครื่องอยูในสภาพพรอมใชงาน 4) เมื่อน้ํามัน และกากออกมาทําการวัดอุณหภูมิของนํ้ามันทันทีนําน้ํามัน และกากที่ไดไปชั่งน้ําหนัก และบันทึกผล

Page 4: A Study of Effective Factor on Vegetable Oil Pressing with ... · แบบเกลียวคู โดยการออกแบบการทดลอง A Study of Effective

4. ผลการ ผลกดวยเครื่อง ตารางที่ 2

ลํา ดับที่

A

1 12 13 14 25 26 27 28 29 210 111 112 113 214 215 216 217 218 219 120 121 122 223 224 225 226 227 2

จากรูปแบบกาดวยโปรแ

รูปที่ 1 เครื่อง

รทดลอง การทดลองบีบงบีบอัดแบบเก

ผลการทดลองขอ

A B ทานตะวัน

15 10 25515 15 24515 20 25520 10 25520 15 26020 20 24525 10 26525 15 24525 20 25015 10 23015 15 24515 20 25020 10 26520 15 24520 20 23025 10 26025 15 26025 20 20515 10 26015 15 24015 20 20020 10 25520 15 26020 20 24025 10 27025 15 24025 20 275

กนั้นจึงนําผลที่ไารทดลอง (Moแกรม Minitab1

บีบอัดน้ํามันแบบ

อัดน้ํามันจากเกลียวคู แสดงดั

องเมล็ดพืช 5 ชนิน ัน

งาขาว

ฟกทอ

5 250 5 195 265 175 245 345 0 200 255 150 255 415 5 215 260 140 240 300 5 180 270 170 255 305 5 170 250 160 250 430 0 150 245 140 250 315 0 180 250 180 255 365 0 155 240 155 250 400 0 245 265 145 25

ไดไปตรวจสอodel Adequ5 แสดงดังรูปที

บเกลียวคู

เมล็ดพืชแตละังตารางที่ 2

นด ก อง

ถ่ัวลิสง

ถเห

0 235 60 220 45 180 0 230

50 200 50 250 0 290

65 190 40 210 0 235

75 210 50 200 0 230

50 185 50 190 0 250

40 200 50 200 0 240

50 220 50 250 0 245

45 200 50 220 0 250

60 200 50 220

บความถูกตอuacy Checที่ 2-6

การประช

ะชนิด

ถ่ัวหลือง 70 70 60 70 60 55 70 60 55 70 70 60 70 70 65 70 65 55 70 60 60 70 65 60 65 60 55

งของcking)

รูป

รู

รู

รู

รูป

99

90

50

10

1

Per

cent

8

6

4

2

0

Freq

uenc

y

ชุมวิชาการขายง

ปที่ 2 Residual P

รูปที่ 3 Residual

รูปที่ 4 Residual

รูปที่ 5 Residual

ปที่ 6 Residual P

0-1-2Standardized Res

0-1-2Standardized Res

Normal Probabili

Histogram

Re

านวิศวกรรมอุตส16-1

Plot จากผลการท

l Plot จากผลการ

Plot จากผลการ

Plot จากผลการ

Plot จากผลการท

21sidual

2

1

0

-1

-2

Stan

dard

ized

Res

idua

l

21sidual

2

1

0

-1

-2

Stan

dard

ized

Res

idua

l

ity Plot

m

esidual Plots for ปรมิ

สาหการ ประจําป 18 ตุลาคม 2556

ทดลองของเมล็ดท

รทดลองของเมล็ด

รทดลองของเมล็ด

รทดลองของเมล็ด

ทดลองของเมล็ดถ

250240Fitted Value

1161412108642Observation Ord

Versus Fits

Versus Orde

มาณนํ้ามัน

ป พ.ศ. 2556 พัทยา ชลบุรี

ทานตะวัน

ดงาขาว

ดฟกทอง

ดถ่ัวลิสง

ถ่ัวเหลือง

260

2624222018der

s

er

Page 5: A Study of Effective Factor on Vegetable Oil Pressing with ... · แบบเกลียวคู โดยการออกแบบการทดลอง A Study of Effective

จากแบบแจกความแปร

นัยสําคัญรอบ และเตัวแปรตอ ตารางที่ 3 of Variance

Source A B A*B Error Total

ตารางที่ 4 Variance fo

Source A B A*B Error Total

ตารางที่ 5 วิVariance fo

Source

A B A*B

Error

Total

ตารางที่ 6 วิVariance fo

Source

A

B

A*B

Error

Total

รูปที่ 2-6 แสดกแจงปกติ มีครปรวน โดยเป

α= 0.05 ดังตเสนผานศูนยกอบสนอง

วิเคราะหความแe for ปริมาณนํ้าม DF Seq SS 2 516.7 2 1516.7 4 216.7 18 5500.0 26 7750.0

วิเคราะหความแor ปริมาณนํ้ามัน DF Seq SS 2 7091 2 187369 4 20259 18 10667 1 26 225385

วิเคราะหความแปor ปริมาณนํ้ามัน DF Seq SS

2 72 2 380217 4 211

18 767

26 381267

วิเคราะหความแปor ปริมาณนํ้ามัน DF Seq SS

2 207.4

2 8690.7

4 2381.5

18 6116.7

26 17396.3

งใหเห็นวาขอมวามเปนอิสระ

ปรียบเทียบกับ

ตารางที่ 2-6 พกลางชองคายก

แปรปรวนของเมล็มัน, using Adjus Adj SS Adj M 516.7 258.3 1516.7 758.3 216.7 54.2 5500.0 305.6

แปรปรวนของเมล็น, using Adjusted Adj SS Adj M 7091 3545 187369 9368420259 5065 10667 593

ปรปรวนของเมลด็น, using AdjustedS Adj SS Adj MS

72 36 380217 190108 211 53

767 43

ปรปรวนของเมลด็น, using AdjustedS Adj SS Adj M

207.4 103.7

8690.7 4345.4

2381.5 595.4

6116.7 339.8

มูลมีการกระจาะตอกัน การหคาP-Value

บวาปจจัยควาากตางมีอิทธิพ

ล็ดทานตะวัน Ansted SS for TestS F P 0.85 0.446 2.48 0.112 0.18 0.947

ล็ดงาขาว Analysd SS for Tests

MS F 5.98 0.0

4 158.09 0.00 8.55 0.00

ดฟกทองAnalysid SS for Tests S F P

0.85 0.448 4463.41 0.000 1.24 0.330

ดถ่ัวลิสงAnalysisd SS for Tests

MS F P

0.31 0.741

12.79 0.000

1.75 0.183

การประช

ายตัวหาคาที่คา

ามเร็วพลตอ

nalysis ts

6

sis of

P 10 00 00

is of

5 0 0

s of

ตาราof Va

SouA B A*BErroTot

ของดังรปู

รูปที

รูป

รูป

รูปท

ชุมวิชาการขายง

งที่ 7 วิเคราะหคariance for ปริมาurce DF 2 7 2 5B 4 1or 18 20tal 26 8

จากนั้นจึงใช ปจจัยในการบีปที่ 7-11

ที่ 7 Main Effects

ปที่ 8 Main Effec

ที่ 9 Main Effect

ที่ 10 Main Effec

านวิศวกรรมอุตส16-1

วามแปรปรวนขอาณนํ้ามัน, using Seq SS Adj SS79.63 79.63 57.41 557.41 4.81 14.81 00.00 200.00 151.85

Factorial deบีบน้ํามันจากเม

s Plot จากผลการ

cts Plot จากผลก

ts Plot จากผลกา

cts Plot จากผลก

สาหการ ประจําป 18 ตุลาคม 2556

องเมล็ดถั่วเหลือง Adjusted SS foS Adj MS F 39.81 3.58 278.70 25.08 3.70 0.33 11.11

esign หาคาทีมล็ดพืชทั้ง 5 ช

รทดลองของเมลด็

การทดลองของเม

ารทดลองของเมล็

การทดลองของเม

ป พ.ศ. 2556 พัทยา ชลบุรี

ง Analysis or Tests P 0.049 0.000 0.852

ที่เหมาะสมชนิด แสดง

ดทานตะวัน

ล็ดงาขาว

ลด็ฟกทอง

มล็ดถั่วลิสง

Page 6: A Study of Effective Factor on Vegetable Oil Pressing with ... · แบบเกลียวคู โดยการออกแบบการทดลอง A Study of Effective

รูปที่ 11

จากงายขึ้น แส ตารางที่ 8

เมล็ดพืช

ทานตะวัน งาขาว ฟกทอง ถั่วลิสง ถั่วเหลือง

5. สรุปผล จากแฟคทอเรีอัดน้ํามันจ 1. เกับขนาดเมีปริมาณน 2. เกับขนาดปริมาณน้ํา 3. เมขนาดเสนปริมาณน้ํา 4. เกับขนาดปริมาณน้ํา 5. เกับขนาดปริมาณน้ํา ทั้ งนีกลาวคือเสูงขึ้นสําหผานศูนย

Main Effects Plo

กรูปที่ 7-11 สาสดงดังตารางที

คาปจจัยที่เหมาะความเร็วรอบ

25 25 15 25 20

ลการทดลอง กการประยุกตรียลแบบ 32 ทําจากเมล็ดพืชแตมล็ดทานตะวันเสนผานศูนยกน้ํามันที่ไดเฉล่ีเมล็ดงาขาว ใเสนผานศูนยก้ามันที่ไดเฉล่ียมล็ดฟกทอง ในผานศูนยกล้ามันที่ไดเฉล่ียเมล็ดถั่วลิสง เสนผานศูนยก้ามันที่ไดเฉล่ียมล็ดถั่วเหลืองเสนผานศูนยก้ามันที่ไดเฉล่ียนี้ความเร็วรอเมื่อความเร็วรหรับเมล็ดงานขกลางชองคาย

ot จากผลการทด

ามารถทําเปนตที่ 8

ะสมในการบีบอัดนเสนผานศูนยกล

ชองคายกาก10 10 15 10 10

ใชการออกแบาใหทราบคาที่ตละชนิดดังนี้คืน ใชความเร็วลางชองคายกายสูงสุด 53 เปใชความเร็วรกลางชองคายสูงสุด 83 เปอรชความเร็วรอบลางชองคายกสูงสุด 52 เปอรใชความเร็วรกลางชองคายสูงสุด 52 เปอรง ใชความเร็วกลางชองคายสูงสุด 14 เปอรอบมีอิทธิพลตรอบเพิ่มขึ้น ทํขาวและถั่วเหลืยกากมีอิทธิพ

ดลองของเมล็ดเห

ตารางเพ่ือใหเ

นํ้ามัน ลางก

%น้ํามันที่ไดตอน้ําห

53 83 52 52 14

บบการทดลอเหมาะสมในกาคอื วรอบ 25 รอบ/าก คือ10 มิลลิอรเซ็นตตอน้ําหรอบ 25 รอบ/กาก 10 มิลลิรเซ็นตตอน้ําหบ 15 รอบ/นาทีกาก 15 มิลลิเรเซ็นตตอน้ําหรอบ 25 รอบ/กาก 10 มิลลิรเซ็นตตอน้ําหรอบ 20 รอบ/กาก 10 มิลลิรเซ็นตตอน้ําหตออัตราการทําใหอัตราการลือง สวนขนาดลตอปริมาณน้ํ

การประช

ลือง

ขาใจ

ทีผ่ลิตหนัก

งเชิงารบีบ

/นาที เมตรหนัก /นาที เมตร นัก ที กับเมตร นัก /นาที เมตร นัก /นาที เมตรนัก รผลิต รผลิตดเสนน้ํามัน

กลาวเมล็ดเหลือของกาก กิตติ แหง เอก[1] ช

ตเร

[2] ชแเค

[3] MEU

[4] เใกวิเ

[5] เขกเส

[6 ] ปเพก

[7] จแวิ

ชุมวิชาการขายง

วคือชองคายกดงาขาว เมอง นอกจากนั้ความเร็วรอบมีอิทธิพลตอปริ

ติกรรมประกาคณะวิจัยขอขชาติที่ใหการส

สารอางอิง ชลิตต มธุรสมนตา และ กุลชาติเครื่องบีบอัดรายงานการวิจัชลิตต มธุรสมและสรางเครื่อเ ก ลี ย ว เ ดี่ ย วคณะกรรมการวิMontgomery, Experiments. United States เปมิกาสุวรรณมในกระบวนการการทดลอง กรวิทยานิพนธวิเทคโนโลยีพระเอก มณีคํา,ชุมเพ่ือกําหนดเงื่อขา เบรกรถยกรณีศึกษาในโเฟอรนิเจอร.วทิสถาบันเทคโนโประเสิรฐ ชุมเหมาะสมในกาพลาสติกชนิดโการวิจัย มทร.พจาตุรนต จันทรแผนวงจรอิเล็วชิาการขายงา

านวิศวกรรมอุตส16-1

ากเล็กลงทําใหมล็ดฟกทอง เมั้น อิทธิพลของและขนาดเสนริมาณน้ํามันสํา

าศ ขอบคุณสํานักนับสนุนทุนวิจั

นตรี, ศิวกร อาติ จุลเพ็ญ2553น้ํามัน จากเัยสํานักงานคณมนตรี และคณองบีบอัดน้ํามันว . ร า ย ง า นวจิัยแหงชาติ D.C. 2005. DJohn Wiley

of America. มณี 2548. การพนสีเฟอรนิเรณีศึกษา: โศวกรรมศาสตจอมเกลาพระนมพล ยวงใย 2อนไขที่เหมาะสนต โดยการโรงงานอุตสาทยานิพนธวิศวโลยีพระจอมเกมปญญา 255ารขึ้นรูปดวยรโพลิไวนิลคลอไพระนคร รดี2554. การวิล็คทรอนิกสเฟนวิศวกรรมอตุ

สาหการ ประจําป 18 ตุลาคม 2556

หไดปริมาณสูงมล็ดถั่วลิสงแลงปจจัยรวม (Inนผานศูนยกลาาหรับเมล็ดงาข

กงานคณะกรรัยสําหรับการสร

างทอง ประจัก3. การออกแบบมล็ดพืชแบบณะกรรมการวจิัณะ 2545. การนเมล็ดทานตะวน ก า ร วิ จั ย สํ า

Design and A & Sons, I รศึกษาปจจัยทีจอรไมโดยกาโรงงานผลิตเฟตรมหาบัณฑินครเหนือ 554. การวิเครสมในการเชื่อมออกแบบกาหกรรมชิ้นสวกรรมศาสตรมกลาพระนครเห54. การศึกษระบบสุญญากาไรด. วารสารวิช

เคราะหปจจัยใฟอรนิเจอร.กาตสาหการ ประจ

ป พ.ศ. 2556 พัทยา ชลบุรี

ขึ้นสําหรับละเมล็ดถั่วnteraction) างชองคายขาว

รมการวิจัยรางเครื่อง

กษ อางบุญบและสรางเกลียวคู .

จัยแหงชาติ รออกแบบวันแบบใชา นั ก ง า น

Analysis of NC., The

ที่เหมาะสมรออกแบบฟอรนิเจอร.ต สถาบัน

ราะหปจจัยมิกสําหรับารทดลอง นรถยนต.

มหาบัณฑิต นือ

ษาปจจัยที่าศ สําหรับชาการและ

ในการเจาะารประชุมจําป 2554