ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561...

22

Upload: others

Post on 27-Dec-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส
Page 2: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

สามารถดาวน์โหลดสิ่งที่ส่งมาด้วย ได้ที่โปรแกรมสารบรรณสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

ที่ ชม 0032.003.1/ว 152 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 (โรงพยาบยาล) ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 (ส านักงานสาธารณสุข)

หรือ ทาง http://www.chiangmaihealth.go.th/

หัวข้อ ข่าวสารตามกลุม่งาน สสจ.เชียงใหม ่กลุ่มงาน ควบคุมโรค หัวข้อดาวน์โหลด

เอกสารประกอบขอแจง้ปรับตัวชี้วัดและเก็บข้อมูลการวดัความดันโลหิตที่บ้าน

(http://bit.ly/homebp61)

ประสานงานได้ที่ งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มงานควบคุมโรค โทร 0 5321 1048 – 50 ต่อ 113

Page 3: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

ตัวชี้วัดงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 2

หมวด Promotion, Prevention & Protection Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ)

แผนที่ 3. การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โครงการที่ 3. โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ ลักษณะ เชิงปริมาณ ระดับการวัดผล จังหวัด ตัวช้ีวัด 19. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตราผู้ป่วยความ

ดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ค านิยาม 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน

1. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (Pre-DM) หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับ FBS 100 – 125 mg/dl ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ 2. ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ หมายถึง ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ ในปีงบประมาณ โดยการวินิจฉัยของแพทย์ และได้รับการขึ้นทะเบียนในคลินิกโรคเรื้อรัง 2. อัตราความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ผู้ป่วยที่อาศัยในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคความดันโลหิตสูง (I10-I15) ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลเดิม เขตพิจารณาจัดท าข้อมูลพื้นฐานตั้งต้น การวัดความดันโลหิตท่ีบ้าน ผู้สงสัยป่วยความดันโลหิตสูง หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต > 140/90 mmHg ในเขตรับผิดชอบ และรอการวินิจฉัยของแพทย์ ในปีงบประมาณ การวัดความดันโลหิตท่ีบ้าน หมายถึง กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจความดันโลหิตซ้ าอีกครั้งที่บ้าน โดย อสม.หรือด้วยตนเอง (กรณีที่วัดความดันโลหิตเป็น) ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน** หลังจากมารับบริการการคัดกรองที่โรงพยาบาลแล้ว

Page 4: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

ตัวชี้วัดงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 3

เกณฑ์เป้าหมาย : ปีงบประมาณ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

2561 ไม่เกินร้อยละ 2.40 ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5

และ อัตราประชากรสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่รับผิดชอบได้รับ

การวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 10

2562 ไม่เกินร้อยละ 2.40 ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5

และ อัตราประชากรสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่รับผิดชอบได้รับ

การวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 20

2563 ไม่เกินร้อยละ 2.28 ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5

และ อัตราประชากรสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่รับผิดชอบได้รับ

การวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ ร้อยละ 30

2564 ไม่เกินร้อยละ 2.16 ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5

และ อัตราประชากรสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่รับผิดชอบได้รับ

การวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 40

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือลดผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 2. เพ่ือลดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดัน

โลหิตสูง

Page 5: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

ตัวชี้วัดงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 4

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย

1. ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณท่ีผ่านมา

วิธีการจัดเก็บข้อมูล

บันทึกผ่านโปรแกรมพ้ืนฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เข้าส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

แหล่งข้อมูล ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข รายการข้อมูล 1

A = จ านวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วย เบาหวานรายใหม่ และข้ึนทะเบียนในปีงบประมาณ

รายการข้อมูล 2

B = จ านวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง เบาหวานในปีงบประมาณท่ีผ่านมา

รายการข้อมูล 3

C = จ านวนผู้ป่วยในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าด้วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) ในปีงบประมาณปัจจุบัน

รายการข้อมูล 4

D = จ านวนผู้ป่วยในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าด้วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) ในปีงบประมาณที่ผ่านมา

สูตรค านวณตัวช้ีวัด (เบาหวาน)

1. (A/B) x 100

สูตรค านวณตัวช้ีวัด (ความดันโลหิตสูง)

2. ((C – D)/C) x 100

ระยะเวลาประเมินผล ไตรมาส 4 หมายเหตุ : ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม ของปีงบประมาณท่ีวิเคราะห์

เกณฑ์การประเมิน : ปี 2561 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน DM อัตราประชากร

Pre-DM ในพ้ืนที่รับผิดชอบของปีที่ผ่าน

มาได้รับการตรวจน้ าตาลซ้ าและได้รับ

ค าแนะน าเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

≥ ร้อยละ 30

อัตราประชากร Pre-DM ในพ้ืนที่

รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจ

น้ าตาลซ้ าและได้รับค าแนะน าเพ่ือ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ≥ ร้อยละ 80

อัตราประชากร Pre-DM ในพ้ืนที่

รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจ

น้ าตาลซ้ าและได้รับค าแนะน าเพ่ือ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ≥ร้อยละ 90

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จาก Pre-DM ไม่เกินร้อยละ 2.40

HT มีการเตรียมความพร้อมและแผนงานในการด าเนินงานส าหรับการวัดความดันโลหิต

ที่บ้าน

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่

รับผิดชอบได้รับการวัดความดนัโลหิต

ที่บ้าน ≥ร้อยละ 5

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่

รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิต

ที่บ้าน ≥ ร้อยละ 8

ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5 และ อัตราประชากร

กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่

รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิต

ที่บ้าน ≥ รอ้ยละ 10

Page 6: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

ตัวชี้วัดงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 5

หมายเหตุ : ค าแนะน าเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นระบบ 1. งดสูบบุหรี่ และดมควันบุหรี่ อย่างน้อย 6 เดือน 2. ถ้าดัชนีมวลกายมากกว่า 30.0 กก./ม2 ให้ลดน้ าหนักลง 5% ของน้ าหนักเดิม ภายใน 1 ปี ด้วยวิธีการออกก าลังกายและควบคุมการบริโภคอาหาร (โดยเฉพาะการลดเกลือและโซเดียม) 3. งดการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อย่างน้อย 6 เดือน ** วิธีการวัดความดันโลหิตที่บ้าน รายละเอียดตามเอกสารแนบ

วิธีการประเมินผล ติดตามจากระบบรายงานใน HDC เอกสารสนับสนุน - คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยท างานแบบบูรณาการ 2558

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน

Baseline data หน่วยวัด ผลการดาเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2559 2560

อัตราผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง

เบาหวาน (ไม่เกินร้อยละ 2.40)

ร้อยละ - 3.25 1.97

อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

(ลดลงจากปีงบประมาณ ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5)

ร้อยละ - - -

ที่มา : ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข (ข้อมูล ณ 29 ตุลาคม 2560) ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

นางนันท์ลภัส ขันตี นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ โทรศัพท์ :08-6672-3937

หน่วยงานประมวลผลและจัดท าข้อมูล

งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

ผู้รับผิดชอบรายงาน ผลการด าเนินงาน

นางนันท์ลภัส ขันตี นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ โทรศัพท์ :08-6672-3937

ผู้ก ากับตัวชี้วัด นางกลุวดี สวัสดี นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ กลุ่มงานควบคุมโรค ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่โทรศัพท์ : 0 5321 1048-50 ต่อ 114

Page 7: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

แนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน 1. เครื่องวัดความดันโลหิตเป็นเครื่องเดิมทุกครั้ง 2. ผู้วัดความดันโลหิตต้องเป็นบุคคลเดิมทุกครั้ง 3. สิ่งแวดล้อมในการวัดความดันโลหิต 3.1 วัดความดันโลหิตในที่เงียบสงบ 3.2 นั่งวัดเก้าอ้ีที่มีพนักพิงหลังและไม่นั่งไขว่ห้าง และนั่งพัก 1 - 2 นาท ีก่อนวัดความดันโลหิต 3.3 ระหว่างวัดความดันโลหิต ไม่พูดหรือออกเสียงใดๆ 3.4 งดสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ก่อนมาวัดความดันโลหิต ไม่น้อยกว่า 1 ชัว่โมง 3.5 แผ่นผ้าที่พับต้นแขน (Upper-arm cuff) ให้วางอยู่ในระดับเดียวกับหัวใจ 3.6 ผู้ที่ใส่แขนเสื้อที่หนา ควรถอดเสื้อให้แผ่นพับต้นแขนติดกับผิวหนังต้นแขนโดยไม่มีแขนเสื้อคั้นกลาง 4. การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน หลังตื่นนอนตอนเช้าให้วัดภายใน 1 ชั่วโมง (หลังจากอุจจาระ ปัสสาวะแล้ว ไม่วัดความดันโลหิตขณะกลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ โดยวัดก่อนกินยา และกินอาหารเช้า) ส่วนการวัดความดันโลหิตสูงก่อนนอนเวลากลางคืน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการวัดความดันโลหิตหลังตื่นนอนตอนเช้า

แบบบันทึกค่าความดันโลหิตที่บ้าน ชื่อ อายุ ปี สถานบริการ อ าเภอ จังหวัดเชียงใหม่

ที ่ วัน/เดือน/ปี

เช้า ครั้งที่ 1

เช้า ครั้งที่ 2

ก่อนนอน ครั้งที่ 1

ก่อนนอน ครั้งที่ 2

ตัวบน/ตัวล่าง mmHg

HR (ครั้งต่อนาที)

ตัวบน/ตัวล่าง mmHg

HR (ครั้งต่อนาที)

ตัวบน/ตัวล่าง mmHg

HR (ครั้งต่อนาที)

ตัวบน/ตัวล่าง mmHg

HR (ครั้งต่อนาที)

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. ค่าความดันโลหิต เฉลี่ย 7 วัน = ………………………………………. mmHg ที่มา : รูปแบบการบริการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ส าหรับสนับสนุนการด าเนินงาน NCD Clinic Plus ปี 2560 (หน้า 84 – 86)

Page 8: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

แนวทางจัดเก็บข้อมูลประชากรสงสัยป่วยความดันสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันที่บ้าน ลงในระบบ HDC

สถานบริการฯ บันทึกผลค่าความดันโลหิตเฉลี่ย 7 วัน ในระบบ HDC กระทรวง (รอบ 6 เดือน เป้าหมาย 5% ,รอบ 9 เดือน เป้าหมาย 8% ,

และ รอบ 12 เดือน เปา้หมาย 10%)

สถานบริการฯ Export กลุ่มสงสัยป่วยความดันสงู เพ่ือน ามาวัดความดันโลหิตสูงทีบ่้านตามแนวทางการวัดความดันที่บ้าน

สถานบริการฯ ลงชื่อเข้าใช้งานในระบบ HDC (โดยใช้ Username และ Password ของสถานบริการฯ)

เพ่ือดูข้อมูลกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง

Page 9: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

แนวทางการบันทึกข้อมูลการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

วัดความดันโลหิตทีบ่้าน 7 วัน (หลังตืน่นอนตอนเช้า 2 ครั้ง , ก่อนนอน 2 ครั้ง)

แล้วคิดค่าเฉลี่ย (วัดเครือ่งเดิม , คนเดิม)

ระบุคนที่จะท า HBPM (10%)

ได้รายชื่อกลุ่มสงสัยป่วย

รายงานกลับเข้าระบบ HDC (ไม่ผ่าน 43 แฟ้ม) และส่งแบบรายงาน แบบบันทึกค่าความดันโลหิตที่บ้าน

ไปยังงานโรคไม่ติดต่อกลุ่มงานควบคุมโรค เป็นรายไตรมาส (ไตรมาส 1 ธค. 60 , ไตรมาส 2 มีค. 61 , ไตรมาส 3 มิย. 61 , ไตรมาส 4 กย. 61)

Page 10: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

0

แนวทางการบันทึกข้อมูลการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ในระบบ HDC (Health Data Center)

(ระบบบันทึกข้อมูลนอกเหนือจาก 43 แฟ้ม)

โดย งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มงานควบคุมโรค

ส านักงานสาธารณสุขจังหวดัเชียงใหม่

รวบรวมโดย นายศุภฤกษ์ โนสุ งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มงานควบคุมโรค โทร. 0 5321 1048 ต่อ 113

Page 11: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

1

หมวด Promotion, Prevention & Protection Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ)

แผนที่ 3. การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โครงการที่ 3. โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ ลักษณะ เชิงปริมาณ ระดับการวัดผล จังหวัด ตัวช้ีวัด อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ค านิยาม อัตราความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

ผู้ป่วยที่อาศัยในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคความดันโลหิตสูง ( I10-I15) ในกรณีที่ ไม่มีข้อมูลเดิม เขตพิจารณาจัดท าข้อมูลพื้นฐานตั้งต้น การวัดความดันโลหิตท่ีบ้าน ผู้สงสัยป่วยความดันโลหิตสูง หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต > 140/90 mmHg ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ และรอการวินิจฉัยของแพทย์ การวัดความดันโลหิตท่ีบ้าน หมายถึง กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจความดันโลหิตซ้ าอีกครั้งที่บ้าน โดย อสม.หรือด้วยตนเอง (กรณีที่วัดความดันโลหิตเป็น ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน) ** หลังจากมารับบริการการคัดกรองที่โรงพยาบาลแล้ว

วัตถุประสงค์

เพ่ือลดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย

ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็น กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณท่ีผ่านมา

วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ระบบบันทึกข้อมูลนอกเหนือจาก 43 แฟ้ม การบันทึกข้อมูลการวัดความดันโลหิตที่บ้าน HDC กระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข รายการข้อมูล 1

C = จ านวนผู้ป่วยในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าด้วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) ในปีงบประมาณปัจจุบัน

รายการข้อมูล 2

D = จ านวนผู้ป่วยในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าด้วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) ในปีงบประมาณท่ีผ่านมา

สูตรค านวณตัวช้ีวัด (ความดันโลหิตสูง)

2. ((C – D)/C) x 100

ระยะเวลาประเมินผล ไตรมาส 4 หมายเหตุ : ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม ของปีงบประมาณท่ีวิเคราะห์

Page 12: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

2

เกณฑ์การประเมิน : ปี 2561 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน HT มีการเตรียมความ

พร้อมและแผนงานในการด าเนินงานส าหรับการวัดความดันโลหิต

ที่บ้าน

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่

รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิต ที่บ้าน ≥ร้อยละ 5

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่

รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิต

ที่บ้าน ≥ ร้อยละ 8

ลดลงจากปีงบประมาณท่ีผ่านมา

ร้อยละ 2.5 และ อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพ้ืนที่

รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิต

ที่บ้าน ≥ รอ้ยละ 10 หมายเหตุ : ค าแนะน าเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นระบบ 1. งดสูบบุหรี่ และดมควันบุหรี่ อย่างน้อย 6 เดือน 2. ถ้าดัชนีมวลกายมากกว่า 30.0 กก./ม2 ให้ลดน้ าหนักลง 5% ของน้ าหนักเดิม ภายใน 1 ปี ด้วยวิธีการออกก าลังกายและควบคุมการบริโภคอาหาร (โดยเฉพาะการลดเกลือและโซเดียม) 3. งดการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อย่างน้อย 6 เดือน ** วิธีการวัดความดันโลหิตที่บ้าน รายละเอียดตามเอกสารแนบ วิธีการประเมินผล ติดตามจากระบบรายงานใน HDC เอกสารสนับสนุน - คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยท างานแบบบูรณาการ 2558 รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน

Baseline data หน่วยวัด ผลการดาเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2559 2560

อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

(ลดลงจากปีงบประมาณ ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5)

ร้อยละ - - -

ที่มา : ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข

Page 13: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

3

แผนปฏิบัติการด าเนินงานป้องกันและควบคมุโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 หมายเหตุ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1. ส ารวจข้อมูลและข้ึนทะเบียนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในพ้ืนที่รับผิดชอบ

2. ก าหนดค่าเป้าหมายประชากร (Refesh) โดยการท าการคัดเลือกเป้าหมายเฉพาะประชากรที่อาศัยอยู่จริง (Type area=1,3)

3. ด าเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป โดยการตรวจวัดระดับน้ าตาลในเลือดและวัดระดับความดันโลหิต (QOF)

4. ด าเนินการจัดบริการลดเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงขึ้นไป

5. ด าเนินงานคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (CKD CVD ตา เท้า) ร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงขึ้นไป

6. บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม 43 แฟ้ม (QOF) 7. สรุปและวิเคราะห์การคัดกรอง 9. การประเมินตนเองกระบวนการพัฒนาคุณภาพ NCD Clinic Plus

คร้ังท่ี 1 คร้ังท่ี 2

Page 14: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

4

แนวทางจัดเก็บข้อมูลประชากรสงสัยป่วยความดันสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันที่บ้าน ลงในระบบ HDC

สถานบริการฯ บันทึกผลค่าความดันโลหิตเฉลี่ย 7 วัน ในระบบ HDC กระทรวง

(รอบ 6 เดือน เป้าหมาย 5% ,รอบ 9 เดือน เป้าหมาย 8% , และ รอบ 12 เดือน เป้าหมาย 10%)

สถานบริการฯ Export กลุ่มสงสัยป่วยความดันสูง เพื่อน ามาวัดความดันโลหิตสูงที่บ้านตามแนวทางการวัดความดันท่ีบ้าน

สถานบริการฯ ลงชื่อเข้าใช้งานในระบบ HDC (โดยใช ้Username และ Password ของสถานบริการฯ)

เพื่อดขู้อมูลกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง

Page 15: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

5

แนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน 1. เครื่องวัดความดันโลหิตเป็นเครื่องเดิมทุกครั้ง 2. ผู้วัดความดันโลหิตต้องเป็นบุคคลเดิมทุกครั้ง 3. สิ่งแวดล้อมในการวัดความดันโลหิต 3.1 วัดความดันโลหิตในที่เงียบสงบ 3.2 นั่งวัดเก้าอ้ีที่มีพนักพิงหลังและไม่นั่งไขว่ห้าง และนั่งพัก 1 - 2 นาท ีก่อนวัดความดันโลหิต 3.3 ระหว่างวัดความดันโลหิต ไม่พูดหรือออกเสียงใดๆ 3.4 งดสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ก่อนมาวัดความดันโลหิต ไม่น้อยกว่า 1 ชัว่โมง 3.5 แผ่นผ้าที่พับต้นแขน (Upper-arm cuff) ให้วางอยู่ในระดับเดียวกับหัวใจ 3.6 ผู้ที่ใส่แขนเสื้อที่หนา ควรถอดเสื้อให้แผ่นพับต้นแขนติดกับผิวหนังต้นแขนโดยไม่มีแขนเสื้อคั้นกลาง 4. การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน หลังตื่นนอนตอนเช้าให้วัดภายใน 1 ชั่วโมง (หลังจากอุจจาระ ปัสสาวะแล้ว ไม่วัดความดันโลหิตขณะกลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ โดยวัดก่อนกินยา และกินอาหารเช้า) ส่วนการวัดความดันโลหิตสูงก่อนนอนเวลากลางคืน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการวัดความดันโลหิตหลังตื่นนอนตอนเช้า

แบบบันทึกค่าความดันโลหิตที่บ้าน

ที ่ วัน/เดือน/ปี

เช้า ครั้งที่ 1

เช้า ครั้งที่ 2

ก่อนนอน ครั้งที่ 1

ก่อนนอน ครั้งที่ 2

ตัวบน/ตัวล่าง mmHg

HR (ครั้งต่อนาที)

ตัวบน/ตัวล่าง mmHg

HR (ครั้งต่อนาที)

ตัวบน/ตัวล่าง mmHg

HR (ครั้งต่อนาที)

ตัวบน/ตัวล่าง mmHg

HR (ครั้งต่อนาที)

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. ค่าความดันโลหิต เฉลี่ย 7 วัน = ………………………………………. mmHg ที่มา : รูปแบบการบริการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ส าหรับสนับสนุนการด าเนินงาน NCD Clinic Plus ปี 2560 (หน้า 84 – 86)

Page 16: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

6

แนวทางการบันทึกข้อมูลการวัดความดันโลหติที่บ้าน

วัดความดันโลหิตทีบ่้าน 7 วัน (หลังตืน่นอนตอนเช้า 2 ครั้ง , ก่อนนอน 2 ครั้ง)

แล้วคิดค่าเฉลี่ย (วัดเครือ่งเดิม , คนเดิม)

ระบุคนที่จะท า HBPM (10%)

ได้รายชื่อกลุ่มสงสัยป่วย

รายงานกลับเข้าระบบ HDC (ไม่ผ่าน 43 แฟ้ม) และส่งแบบรายงาน แบบบันทึกค่าความดันโลหิตที่บ้าน

ไปยังงานโรคไม่ติดต่อกลุ่มงานควบคุมโรค เป็นรายไตรมาส (ไตรมาส 1 ธค. 60 , ไตรมาส 2 มีค. 61 , ไตรมาส 3 มิย. 61 , ไตรมาส 4 กย. 61)

Page 17: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

7

1. เข้าเว็บไซต์ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ http://www.chiangmaihealth.go.th

2. คลิก เลือก ระบบ HDC (Health Data Center)

Page 18: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

8

3. หน้าจอ แสดงผลเข้าสู่ ระบบ HDC (Health Data Center) ให้คลิกเพ่ือลงชื่อเข้าระบบ

- คลิก สวัสดี Guest - คลิก ลงชื่อเข้าใช้งาน

4. โดยใช้ Username และ Password ของสถานบริการฯ แล้วคลิก

Uxxxxx XXXXXX

Username ขึ้นต้นด้วย U แล้วตามด้วยรหัสของสถานบริการฯ Password ขึ้นต้นด้วย P แล้วตามด้วยรหัสของสถานบริการฯ หรือ อาจจะแล้วแต่สถานบริการที่มีกี่เปลี่ยน Username และ Password ของการเข้าระบบ HDC

Page 19: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

9

5. หน้าจอ แสดงผล เข้าสู่หน้าของแต่ละสถานบริการฯ

6. ให้คลิกเลือก - น าเข้า/ส่งออกข้อมูล - ระบบบันทึกข้อมูลนอกเหนือ 43 แฟ้ม

- บันทึกข้อมูลการวัดความดันโลหิตทีบ่้าน

Page 20: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

10

6. หน้าจอ แสดงผล ระบบบันทึกข้อมลูนอกเหนือจาก 43 แฟ้ม >> บันทึกการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

หน้าจอจะแสดงรายชื่อกลุ่มสงสัยป่วย ทั้งหมดและจ านวนเป้าหมายที่ 10% ในเขตรับผิดชอบ ให้สถานบริการฯ ตรวจสอบรายชื่อ พร้อมคัดเลือกเป้าหมาย ระบุคนที่จะท า HBPM (10%) (ตัวอย่างรูป : กลุ่มสงสัยป่วยทั้งหมด 113 case และจ านวนที่ 10% = 11 case)

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

Page 21: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

11

7. ให้กดเลือกเป้าหมายคนที่จะท า HBPM ที่อยู่ดา้นหลังชื่อ คลิก หน้าจอ แสดงผล ดังนี้

ให้คลิกเลือก เป้าหมาย - แล้ว เปลี่ยน ตัวเลือกจาก ไม่ใช่เป้าหมาย เป็น เป้าหมาย - แล้วกดบันทกึ

- รายชื่อก็จะถูกบันทึกเป็นเป้าหมายในการวัดความดันโลหิตทีบ่้าน

จากวงกลมสีแดง เปน็วงกลมสีเขียว - เลือกเป้าหมายในการวัดความดันโลหิตที่บ้านให้ครบตามจ านวน หรือ มากกว่า

ที่ก าหนด และ บันทึกผลการวัดความดันโลหิตที่บา้น 7 วัน (วัดเคร่ืองเดิม , คนเดิม) ตามแนวทางการวัดความดันโลหติที่บ้าน แล้วคิดค่าเฉลี่ยเพ่ือน ามาบันทึกผล

XXXXX-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้าน........................................ XXXXXXXXXXXXX ค า มีเงินทอง

Page 22: ที่ ชม 0032.003.1/1669 ลงวันที่ 23 มกราคม 2561 ...61.19.145.141/archives/archivesImages/imgarchives/17198...สามารถดาวน โหลดส

12

8. หลังจากบันทึกผลการวัดความดันโลหิตที่บ้าน 7 วัน (วัดเคร่ืองเดิม , คนเดิม) ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน แล้วคิดค่าเฉลี่ยเพ่ือน ามาบันทึกผล รายงานกลับเข้าระบบ HDC ให้คลิก หลังรายชื่อที่ต้องการบันทึกค่า HBPM (ค่าเฉลี่ย) แล้วกรองในช่อง HOME SBP และ HOME DBP และคลิกบันทึก

9. หลังจากรายงานกลับเข้าระบบ HDC ผลการวัดความดันโลหิตทีบ่้านจะแสดงผล ในหน้าหลัก บันทึกจนครบตามจ านวนเป้าหมาย (10% หรือ มากกว่า)

ขอบคุณครับ