บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป...

109
รายงานฉบับสมบูรณ (Final Report) โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นทีในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย หนา 2 -1 บทที2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน

Upload: others

Post on 23-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

รายงานฉบับสมบูรณ (Final Report) โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -1

บทที่ 2 สภาพส่ิงแวดลอมปจจุบัน

Page 2: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -2

บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน

จังหวัดเชียงรายมีพ้ืนที่ทั้งหมดประมาณ 11,578 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูทางตอนเหนือสุดของประเทศไทย ประกอบขึ้นดวย 16 อําเภอ และ 2 ก่ิงอําเภอ ไดแก อําเภอเมืองเชียงราย อําเภอ แมลาว อําเภอแมสรวย อําเภอเวียงปาเปา อําเภอแมสาย อําเภอแมจัน อําเภอเชียงแสน อําเภอ-เวียงเชียงรุง อําเภอเวียงชัย อําเภอพาน อําเภอพญาเม็งราย อําเภอเชียงของ อําเภอเวียงแกน อําเภอปาแดด อําเภอเทิง อําเภอขุนตาล ก่ิงอําเภอดอนหลวง และก่ิงอําเภอแมฟาหลวง

พ้ืนที่ราบของจังหวัดเชียงรายเกิดจากการไหลผานของลําน้ํา และจะมีภูเขาเทือกขนาดเล็กก้ันระหวางที่ราบเหลานี้ ชุมชนสวนใหญอาศัยอยูตามที่ราบลุมของแมน้ํา ในขณะที่บางสวนจะอาศัยอยูบนภูเขาสูง

รูปที่ 2.1-1 แสดงขอบเขตพื้นที่ศึกษาครอบคลุม 3 อําเภอในเขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงรายคือ

อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอเชียงของ พ้ืนที่ศึกษาของโครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมในระดบัพื้นที ่ ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงรายนี้ ครอบคลุม 3 อําเภอ คือ อําเภอเชียงของ อําเภอเชียงแสน และอําเภอแมสาย ซึ่งเปนพืน้ที่กลุมอําเภอทางตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดเชียงราย โดยมีแมน้ําโขงเปนพรมแดนธรรมชาติก้ันไทยกับสปป. ลาวในเขตอาํเภอเชียงของและเชียงแสน และมีแมน้าํแมสายกั้นระหวางไทยกับประเทศสหภาพเมียนมารในเขตอาํเภอเชียงแสนและแมสายเปนหลัก ในรายงานการศึกษานี ้ จะใหความสําคัญเฉพาะในพื้นที่ศกึษา เพ่ือประกอบการวิเคราะหฐานขอมูลในลําดับตอไป

Page 3: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -3

2.1 ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ

2.1.1 สภาพภูมิศาสตรและการปกครอง สภาพภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษาผลกระทบที่คาดวาอาจจะเกิดขึ้นในระดับพื้นที่เขต

เศรษฐกิจชายแดนจังหวัดเชียงรายนี้ ครอบคลุมพื้นที่ 3 อําเภอ คือ อําเภอเชียงของ อําเภอเชียงแสน และอําเภอแมสาย มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเปนที่ราบลุมสลับกับที่สูง โดยมีที่ราบอยูระหวางกลางของเทือกเขา ทางฝงตะวันตกของอําเภอแมสาย ฝงตะวันออกของอําเภอเชียงแสน และทางตะวันออกเฉียงใตของอําเภอเชียงของ ซึ่งเปนการแบงระดับความหนาแนนของชุมชนภายในพื้นทีศ่กึษา อันเนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศ ( ดูรูปที่ 2.1-2 และ 2.1-3 ประกอบ)

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา

รูปที่ 2.1-2 แสดงสภาพภมูิประเทศตามเสนระดับความสูง

Page 4: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -4

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา

รูปที่ 2.1-3 แสดงขอบเขตพื้นที่ปกครองของพื้นที่ศึกษา สําหรับสภาพภูมิประเทศและการปกครองในระดับอําเภอ มีรายละเอียด ดังนี้

อําเภอเชียงของ อําเภอเชียงของเปนอําเภอชายแดน ตั้งอยูทางทิศตะวนัออกเฉียงเหนือของจังหวัดเชียงราย มีอาณาเขตติดตอกับ สปป.ลาว โดยมีแมน้าํโขงเปนเสนกัน้อาณาเขต ระยะทางยาวประมาณ 42 กิโลเมตร บนพื้นทีป่ระมาณ 800.46 ตารางกโิลเมตร หรือประมาณ 500,287.5 ไร มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้ ทิศเหนือ จรดกับประเทศ สปป.ลาว ดานเมืองหวยทราย แขวงบอแกว โดยมีแมน้ําโขง

เปนเสนกั้นอาณาเขต ทิศตะวนัออก จรดกับประเทศ สปป.ลาว ดานเมืองหวยทราย แขวงบอแกวลาว โดยมี

แมน้ําโขงเปนเสนกั้นอาณาเขต และตดิตอกับอําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย

ทิศใต จรดกับตําบลยางฮอม อําเภอขุนตาล และตําบลแมต๋าํ อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย

ทิศตะวนัตก จรดกับตําบลแมต๋ํา อําเภอพญาเม็งราย ตําบลบอนอย ก่ิงอําเภอดอยหลวง และตาํบลบานแซว ตําบลแมเงิน อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

Page 5: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -5

สภาพภูมิประเทศของอําเภอเชียงของ มีสภาพเปนภูเขาทางตอนเหนอื ทางตะวันออกและทาง-ตะวันตก โดยมีลักษณะเปนพื้นที่ราบลุมตรงกลาง ที่เปนที่ราบเชิงเขาและที่ราบลุมของลําน้ํา ที่สําคัญไดแกที่ราบลุมลําน้ําแมน้ําโขง และท่ีราบลุมแมน้ําอิง พ้ืนที่สวนใหญยังอุดมสมบูรณดวยปาไมและภูเขาสูงลอมรอบ มีความสูงของพื้นที่ตั้งแต 340 เมตรถึง 1,420 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง (ดังรูปที่ 2.1-4 ประกอบ) การปกครองของอําเภอเชียงของ แบงเปน 7 ตําบล 98 หมูบาน ประกอบดวย 1. ตําบลเวียง 2. ตําบลบญุเรือง 3. ตําบลสถาน 4. ตําบลครึ่ง 5. ตําบลหวยซอ 6. ตําบลศรีดอนชัย 7. ตําบลริมโขง

Page 6: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -6

ท่ีมา : โครงการวางและจัดทําผังพื้นที่เฉพาะชุมชนชายแดนเชียงของ จังหวัดเชียงราย, กรกฎาคม 2547

รูปที่ 2.1-4 ลักษณะภูมปิระเทศอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

Page 7: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -7

อําเภอเชียงแสน อําเภอเชียงแสน เปนอําเภอช้ัน 1 ตั้งอยูริมฝงแมน้ําโขง ระหวางเสนรุงที่ 20 องศา 4 ลิปดา

เหนือ ถึงเสนรุงที่ 20 องศา 18 ลิปดาเหนือ และเสนแวงที่ 99 องศา 57 ลิปดาตะวันออก ถึงเสนแวงที่ 100 องศา 19 ลิปดาตะวันออก โดยอยูหางจากจังหวัดเชียงรายไปทางทิศตะวนัออก ประมาณ 62 กิโลเมตร ตามเสนทางหลวงแผนดนิหมายเลข 110 เช่ือมตอกับทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1016 มีพ้ืนที่ทั้งส้ิน 565.54 ตารางกิโลเมตร หรือ 353,720 ไร มีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ชายแดนระหวางประเทศ ไดแก สหภาพเมียนมาร ระยะทาง 17 กิโลเมตร และ สปป.ลาว ระยะทาง 40 กิโลเมตร

ทิศเหนือ จรดจังหวัดทาข้ีเหล็ก รัฐฉาน สหภาพเมียนมาร มีลําน้ํารวกเปนเสนกั้นพรมแดน และเมืองตนผึ้ง แขวงบอแกว (หลวงน้ําทา) สปป.ลาว โดยมีแมน้ําโขงเปนเสนกั้นพรมแดน

ทิศตะวนัออก จรด อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ทิศใต จรด อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย ทิศตะวนัตก จรด อําเภอแมจัน และอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

ลักษณะภูมปิระเทศโดยทั่วไปของอําเภอเชียงแสน ประกอบดวยพืน้ที่ราบลุมตอนกลาง และตะวันออกมีความสูงของพื้นที่ในระดบัต่ําสุด 360 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง และระดบัความสูง 1,340 เมตรจากระดบัน้าํทะเลปานกลาง และบริเวณเนินเขาอยูทางตะวันออกของอําเภอ เปนพืน้ที่ราบสลับภูเขา โดยมีพ้ืนที่ราบประมาณรอยละ 55 พ้ืนที่ภเูขาประมาณรอยละ 33 และพ้ืนที่น้ําประมาณ รอยละ 12 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมแีมน้ําโขง และแมน้ํารวกไหลผานทางตอนบน มแีมน้ําแมจนั แมน้ํากก และแมน้ําคาํ ไหลผานทางตอนกลางของพื้นที่ ( ดูรูปที่ 2.1-5 ประกอบ)

การปกครองของอําเภอเชียงแสน แบงเปน 6 ตาํบล ประกอบดวย

1. ตําบลเวียง

2. ตําบลบานแซว

3. ตําบลศรีดอนมูล

4. ตําบลปาสัก

5. ตําบลแมเงิน

6. ตําบลโยนก

Page 8: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -8

ท่ีมา : โครงการวางและจัดทําผังพื้นที่เฉพาะชุมชนชายแดนเชียงแสน จังหวัดเชียงราย, ตุลาคม 2547

รูปที่ 2.1-5 ลักษณะภูมปิระเทศอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

Page 9: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -9

อําเภอแมสาย

อําเภอแมสาย ตั้งอยูเหนือสุดของประเทศไทย ระหวางเสนรุงที่ 20 องศา 26 ลิปดาเหนือ ถึง 27 ลิปดาเหนือ และเสนแวงที่ 99 องศา 52 ลิปดาตะวนัออก ถึง 99 องศา 54 ลิปดาตะวันออก โดยหางจากจังหวัดเชยีงรายประมาณ 63 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ทั้งส้ิน 302.25 ตารางกโิลเมตร หรือ 188,912.28 ไร มีอาณาเขตติดตอกับพืน้ที่โดยรอบดังนี้ ทิศเหนือ จรด ประเทศสหภาพเมียนมาร โดยมีแมน้ํารวกกั้นพรมแดน ทิศตะวันออก จรด อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ทิศใต จรด อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย ทิศตะวนัตก จรด ประเทศสหภาพเมียนมารโดยมีเทือกเขาแดนลาวกัน้

พรมแดน ลักษณะภูมปิระเทศโดยภาพรวมของอําเภอแมสายเปนที่ราบสูงและภเูขา มีพ้ืนที่ราบประมาณ รอยละ 78.4 พ้ืนที่ราบสูงและภูเขารอยละ 12.47 และพ้ืนที่ปาสงวนแหงชาติรอยละ 9.13 ของพื้นที่ทั้งหมด และสภาพโดยทั่วไป พบวา ในดานทิศตะวนัตกมีลักษณะเปนเทือกเขา ไดแก เทือกเขาแดนลาว หรือดอยนางนอน มีความสูงของพื้นที่ในระดบัต่าํสุด 380 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง และระดับสูงสุด 1,520 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง สวนทางตอนกลางและทางทิศตะวนัออกของอําเภอ มีลักษณะเปนทีร่าบริมฝงแมน้ํา มีทศิทางความลาดเอียงของพื้นที่ไปทางทิศตะวันออก แผนที่ลักษณะภมูิประเทศอําเภอแมสาย ดังแสดงในรูปที่ 2.1-6 การปกครองของอําเภอแมสาย แบงเปน 8 ตําบล ประกอบดวย 1. ตําบลแมสาย

2. ตําบลเกาะชาง 3. ตําบลโปงผา 4. ตําบลหวยไคร 5. ตําบลศรีเมอืงชุม 6. ตําบลเวียงพางคํา 7. ตําบลบานดาย 8. ตําบลโปงขาม

Page 10: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -10

ท่ีมา : โครงการวางและจัดทําผังพื้นที่เฉพาะชุมชนชายแดนเชียงแสน จังหวัดเชียงราย, ตุลาคม 2547 รูปที่ 2.1-6 แผนที่แสดงลกัษณะภูมปิระเทศอําเภอแมสาย จังหวัดเชยีงราย

Page 11: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -11

2.1.2 ธรณีวิทยาและแหลงแร

สภาพธรณีวิทยา ประกอบดวย หินพื้นฐานยุคพาลีโอโซอิกตอนลาง สวนใหญจะเปน หินตะกอน-ภูเขาไฟ ซึ่งมกีารแปรสภาพในระดบัต่ํา หินชุดนี้ประกอบดวยหินฟลไลต ควอรตไซต ซีสต และหินภูเขาไฟรวมทั้งหินอัคนีแทรกชนิดอัลตราเมฟก หินที่ปดทบัดานบนเปนหินยุคพาลี- ไอโซอิกตอนบน ประกอบดวยหินตะกอนชนิดเมด็ หินคารบอเนต และหินภูเขาไฟ ตามดวยหนิตะกอนสีแดง และหินภูเขาไฟยุคมโีซโซอิก ซึ่งพบในเขตพื้นทีท่ั้ง 3 อําเภอ สภาพทางธรณีวิทยาทั่วไปของ พ้ืนที่สวนใหญเปนตะกอนน้าํพา (Alluvial Deposits) ซึ่งประกอบไปดวย กรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว มอีายุในชวงไพลสโตซนี (Pleistocene) ถึงชวงโฮโลซนี (Holocene) ของยุคควอเทอรนารี (Quaternary) นอกจากนี้พบหินอคันแีทรกซอนในบริเวณสามเหลี่ยมทองคํา แนวถนนเชียงแสน-แมจันและทางตอนลางของอําเภอเชยีงแสน ดูรูปที ่ 2.1-7 แสดงลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่ศึกษาประกอบ ในสวนของทรัพยากรแหลงแร ในอาํเภอเชียงของมีการสํารวจและพบแรธาตุหลายชนิด เชน ดินขาว หินสบู ฟลูออไรท และไพโรฟลไลท เปนตน ซึ่งมีกระจายอยูเกือบทุกหมูบานในเขตตําบลบุญเรือง นอกจากนี้กรมทรัพยากรธรณีไดมีการสํารวจแรทองคําในเขตทองที่ตําบลหวยซอ สวนในอําเภอแมสายและเชียงแสน ไมพบแหลงแรที่มีศักยภาพพัฒนาเชิงเศรษฐกิจที่สําคญั

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา รูปที่ 2.1-7 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่ศึกษา

Page 12: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -12

2.1.3 ทรัพยากรดิน ลักษณะทางสณัฐานและทรพัยากรดินของพื้นที่ศึกษา ประกอบดวยกลุมพื้นที่หลักๆ ดังนี ้ 1) ดินบริเวณที่ราบน้ําทวมถึง ซึ่งน้ําทวมเปนครั้งคราว พ้ืนที่เปนสนัดินริมน้ํา ดินลึก เนื้อดินละเอียดปานกลาง การระบายน้ําดี แตในบริเวณที่ราบจะเปนดนิเหนียว การระบายน้ําเลว มักมีน้ําทวมขัง ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่โครงการบริเวณที่ราบลุมจัดเปนดนิในกลุม Alluvial soils ซึ่งเปนดินใหมอายุนอยเกิดจากการทับถมโดยน้าํตามที่ราบลุมแมน้ํา ทะเลสาบ พ้ืนที่สวนใหญ จะประกอบดวย ชุดดนิเชียงรายที่มีความลาดชัน 0-1 เปอรเซ็นต สภาพพ้ืนที่ราบเรียบ เนื้อดินเปน ดินรวนปนทรายแปงหรือดนิรวนเหนียวปนทรายแปง การระบายน้ําเลว สวนทางดานทศิตะวนัตก เฉียงเหนือเปนชุดดนิบานฉางประเภทที่มสีภาพเปนลูกคลื่นลอนลาดมีความลาดชนั 2-8 เปอรเซ็นต สภาพพ้ืนทีค่อนขางราบเรยีบจนถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด เนื้อดนิเปนดนิรวน ดินรวนเหนียวปนทราย และดินรวนเหนียว การระบายน้ําด ี สวนดานทิศใตเปนดินชดุทาเมอืง/สรรพญา มีความลาดชัน 1-3 เปอรเซ็นต สภาพพ้ืนที่ราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย เนือ้ดินเปนดนิรวนหยาบและละเอียด และมีช้ันของดินทรายบางๆ ปนอยู ทางทิศตะวันตกเฉยีงใตเปนชุดดินแมสาย มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต สภาพพ้ืนที่ราบเรียบ เนื้อดินเปนดนิรวนปนทรายแปง หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง และดินที่มีการแบงช้ันดินไมชัดเจน สวนใหญใชประโยชนในการปลกูขาว ดินชนดินี้จดัอยูในชดุแมอิง อยูใน Order Entisols

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา รูปที่ 2.1-8 แสดงลักษณะชุดดนิในพื้นที่ศึกษา

Page 13: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -13

2) ดินบริเวณตะพักน้ํากลางเกา-กลางใหม ซึ่งเปนบริเวณที่ราบเรียบ ดินลึก เนือ้ดิน-ละเอียดถึงละเอียดปานกลาง การระบายน้ําคอนขางเลว สวนดินบริเวณสันดินรมิน้ํามีสภาพพ้ืนที่เปน ลูกคลื่น ดนิทรายเนื้อละเอียด การระบายน้าํด ี และน้ําทวมขังในบางชวง พบในบริเวณ ตาํบลแมเงิน และ ตําบลเวยีง ในอาํเภอเชียงแสนและบริเวณตําบลบานดาย, ศรีเมืองชุม, เกาะชาง, ดานตะวันออกตําบลโปงผาโปงงาม, หวยไคร และแมสาย ในอาํเภอแมสาย 3) ดินบริเวณภูเขาและเทือกเขา มีลักษณะทั้งลึกและตื้น ลักษณะของเนื้อดินและ ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติแตกตางกัน ลักษณะดนิตามชนิดของหินตนกาํเนดิ แตมีความลาดชันของพื้นที่ตั้งแต 35 เปอรเซน็ตข้ึนไป และในบางพื้นที่จะมีหินโผลข้ึนมาเปนหยอมๆ ซึ่งไมเหมาะ ที่จะใชทําการเกษตร มักมีเศษหิน กอนหนิหรือหินโผลกระจัดกระจายทั่วไป สวนใหญยังปกคลุม ดวยปาไมประเภทปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง หรือปาดงดิบชื้น หลายแหงมีการทําไรเล่ือนลอยเปนผลใหเกิดการชะลางพังทลายของหนาดนิ ไดแก บริเวณตาํบลศรีดอนมูล ตาํบลเวียง ตําบลบานแซว และ ตําบลแมเงินของอําเภอเชียงแสน และบริเวณทิศตะวนัตกของอําเภอแมสาย ตารางที่ 2.1-1 แสดงทรัพยากรดินในพื้นที่ศึกษา ซึ่งจําแนกเปนขอมูลเชิงพ้ืนที่จากฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรในรายอําเภอไดดังนี้

Page 14: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -14

ตารางที่ 2.1-1 ขอมูลดินในพื้นทีศ่ึกษา อําเภอ ชุดดิน

ที่ ชุดดิน เน้ือที่

(ตร.กม.) รอยละของพื้นที่อําเภอ

รอยละของพื้นที่จังหวัด

เชียงของ 58 ดินชุดเชียงราย 129.93 16.23 1.13 157 ดินชุดลาํปาง 5.48 0.68 0.05 176 ดินชุดแมสาย 1.15 0.14 0.01 181 ดินชุดแมอิง 46.13 5.76 0.40 293 ดินชุดพาน 20.97 2.62 0.18 353 ดินชุดธาตุพนม 12.24 1.53 0.11 999 หนวยดินผสมระหวางดินตะกอนกับดิน

ดาดเชิงเขา 27.67 3.46 0.24

2667 ดินชุดสัมพนัธทายางและลาดหญาในสภาพพ้ืนที่ลูกคลื่นลอนชัน

2.71 0.34 0.02

2707 ดินชุดสัมพนัธทาเมืองและสรรพยา 3.58 0.45 0.03 2712 ดินชุดชดุสัมพนัธธาตุพนม 25.30 3.16 0.22 3132 ดินรวนเหนียวปนทรายแปงชุดหางดง 54.39 9.79 0.47 3505 ชุดดินธาตุพนมที่มีปฏิกิริยาเปนกลาง 15.52 1.94 0.13

4030 ดินชุดบานฉางในสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด

1.02 0.13 0.01

4031 ดินชุดบานฉางในสภาพพื้นที่ลูกคลื่น ลอนชัน

1.49 0.19 0.01

4063 ดินชุดเชียงของในสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด

13.27 1.66 0.12

4064 ดินชุดเชียงของในสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน

3.59 0.45 0.03

4138 ดินชุดหางดง ประเภทที่สูง 0.09 0.01 0.00 5281 สภาพพ้ืนที่ลาดชันเชิงซอน 431.30 53.88 3.74 พ้ืนที่น้ํา 4.63 0.58 รวม 800.46 100.00 6.90

ที่มา: ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรจัดทําจากขอมูลวิชาการกรมพัฒนาที่ดิน

Page 15: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -15

ตารางที่ 2.1-1 ขอมูลดินในพื้นที่ศึกษา (ตอ)

อําเภอ ชุดดินที่ ชุดดิน

เน้ือที่ (ตร.กม.)

รอยละของพื้นที่อําเภอ

รอยละของพื้นที่จังหวัด

58 ดินชุดเชียงราย 75.10 13.28 0.65999 หนวยดินผสมระหวางดินตะกอนกับดิน

ดาดเชิงเขา 7.11 1.26 0.06

2645 ดินชุดสัมพนัธทายางและบานชองในพื้นที่สภาพลูกคลืน่ลอนลาด

7.52 1.33 0.07

2712 ดินชุดสัมพนัธธาตุพนม 15.02 2.66 0.132748 ดินชุดสัมพนัธทายางและบานชองในพื้นที่

สภาพลูกคลืน่ลอนชัน 6.01 1.06 0.05

3132 ดินรวนเหนียวปนทรายแปงชุดหางดง 17.72 3.13 0.153505 ชุดดินธาตุพนมที่มีปฏิกิริยาเปนกลาง 18.42 3.26 0.164072 ดินชุดเชียงแสนในพืน้ที่สภาพลูกคลื่น

ลอนลาด 4.72 0.83 0.04

4073 ดินชุดเชียงแสนในพืน้ที่สภาพลูกคลื่นลอนชัน

35.94 6.35 0.31

4139 ดินชุดหางดง ประเภทถูกชะลาง 9.89 1.75 0.094285 ดินชุดหนองมดในพืน้ที่สภาพลูกคลื่น

ลอนชัน 2.50 0.44 0.02

5281 สภาพพ้ืนที่ลาดชันเชิงซอน 317.20 56.09 2.757006 ดินตะกอนการระบายน้ําเลว 4.44 0.79 0.047007 ดินตะกอนลาํน้ําที่ไมสามารถจําแนกความ

แตกตางได 14.07 2.49 0.12

พ้ืนที่น้ํา 29.88 5.29

เชียงแสน

รวม 565.54 100.00 4.64ที่มา: ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรจัดทําจากขอมูลวิชาการกรมพัฒนาที่ดิน

Page 16: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -16

ตารางที่ 2.1-1 ขอมูลดินในพื้นที่ศึกษา (ตอ)

อําเภอ ชุดดินที่ ชุดดิน เน้ือที่

(ตร.กม.)

รอยละของพื้นที่อําเภอ

รอยละของพื้นที่จังหวัด

แมสาย 58 ดินชุดเชียงราย 18.15 6.00 0.16 176 ดินชุดแมสาย 33.37 11.04 0.29 240 ดินชุดพิมาย 30.52 10.10 0.27 3131 ดินเหนียวปนทรายแปงชุดหางดง 19.43 6.43 0.17 3132 ดินรวนเหนียวปนทรายแปงชุดหางดง 67.74 22.41 0.59 4030 ดินชุดบานฉางในพื้นที่สภาพลูกคลื่นลอน

ลาด 23.35 7.73 0.20

4031 ดินชุดบานฉางในพื้นที่สภาพลูกคลื่นลอนชัน

5.84 1.93 0.05

5281 สภาพพ้ืนที่ลาดชันเชิงซอน 25.39 8.40 0.22 7006 ดินตะกอน การระบายน้าํเลว 27.76 9.18 0.24 7271 พ้ืนดิน หินปนูโผลลอย 40.77 13.49 0.35 พ้ืนที่น้ํา 9.93 3.29

รวม 302.25 100.00 2.53 ที่มา: ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรจัดทําจากขอมูลวิชาการกรมพัฒนาที่ดิน

2.1.4 อุทกวิทยาน้ําผิวดิน

จังหวัดเชียงราย มีแมน้ําสายสําคัญ 7 สาย ไดแก แมน้ํากก แมน้ําโขง แมน้ําอิง แมน้ําคาํ แมน้ําลาว แมน้ําสาย และแมน้ํารวก ปริมาณน้าํมีมากในหนาฝน และตื้นเขินในหนาแลง นอกจากนี้ยังม ีหนองน้ํา รองน้ํา ลําน้ําเล็กๆ เชน แมน้าํจัน แมน้ําปรุง และอางเก็บน้ําอีกมากมาย ประมาณวา ทั้ง 16 อําเภอ และ 2 ก่ิงอําเภอมีแหลงน้ํารวมไมนอยกวา 1,179 แหง รวมเปนพื้นที่ผิวน้ําทั้งส้ิน 167,657.75 ไร แหลงน้าํเพ่ือการเกษตรประกอบดวย บอบาดาลสวนตัว 20,184 บอ บอบาดาลสาธารณะ 2,215 บอ แหลงน้ําธรรมชาติ มีแมน้ํา หวย ลําธาร คลอง 1,087 สาย หนอง บึง 461 แหง น้ําพุ น้ําซบั 38 แหง แหลงน้ําผิวดนิของพื้นที่ศึกษาทั้งในอําเภอแมสาย เชียงแสน และเชียงของมีลําน้ํา และแมน้ําที่สําคัญ เปนแหลงน้าํที่มีน้ําตลอดป ใชประโยชนทางดานการประมง และการเกษตรกรรมเปนหลัก โดยขอมูลแหลงน้ําจากทางตอนเหนือของพื้นที่ลงมาทางใต ดังรูปที่ 2.1-9 และตารางที ่2.1-2 แหลงน้ําผิวดินหลักใน 3 อําเภอ ประกอบดวย

Page 17: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -17

ตารางที่ 2.1-2 จํานวนแหลงน้ํา จาํแนกตามประเภทแหลงน้ํา ใน 3 อําเภอ พ.ศ. 2546

อางเก็บนํ้า

อําเภอ รวม ขนาดกลาง

ขนาดเล็ก

ฝายคอนกรีต ทํานบ สระ,

หนอง,บึง คู

,คลอง บอ

บาดาล บอนํ้าตื้น

อื่นๆ (จัดหาแหลงนํ้า, อาคารแบงนํ้า, รางริน, คลองรับนํ้า, ทอระบายน้ํา)

เชียงของ 272 1 13 7 219 23 - - - 5 เชียงแสน 348 - 11 7 318 10 4 - - 2 แมสาย 49 2 9 9 3 31 - - - 4 ที่มา : สํานักงานชลประทานจังหวัดเชียงราย

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา

รูปที่ 2.1-9 แสดงเสนทางน้ําของลําน้าํภายในพืน้ที่ศึกษา แมนํ้าสาย ในอําเภอแมสาย มีตนกําเนิดมาจากสหภาพเมียนมาร เปนเขตกั้นพรมแดนตามธรรมชาติ และจะไหลไปบรรจบกับแมน้ํารวกที่อําเภอเชียงแสน ลํานํ้าเหมืองแดง ในอําเภอแมสาย เปนลําน้ําสาธารณะที่รับน้ําจากแมน้ําสาย ที่บริเวณดานตะวันตกเฉียงเหนือของเทศบาล โดยผานประตูน้ําและไหลจากดานตะวันตกไปยังดานตะวันออกของตัวเมือง เมื่อเขาสูคลองชลประทาน และใชประโยชนในพื้นที่ เกษตรกรรม รวมทั้งยังเปน แหลงรองรับการระบายน้ําจากอาคารหรือกิจกรรมโดยรอบ

Page 18: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -18

แมนํ้าโขง เปนแมน้ําที่เปนเสนกัน้อาณาเขตระหวางประเทศไทยกับประเทศสปป.ลาว โดย-ในพื้นทีศ่ึกษาแมน้าํโขงไหลผานเฉพาะในเขตอําเภอเชียงแสนและอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แมน้ําโขงมีตนน้ํามาจากประเทศธิเบตไหลผานประเทศตางๆ หลายประเทศ เชน จีน สหภาพเมียนมาร ประเทศไทย สปป.ลาว กัมพูชา และเวียดนาม รวมระยะทางที่ไหลผานจังหวัดเชียงราย 94 กิโลเมตร แมนํ้ากก มีตนน้าํมาจากสหภาพเมยีนมารไหลผานอําเภอแมสาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย อําเภอเวียงชัย อําเภอแมจนั ไหลลงสูแมน้ําโขงที่บานสบกก หมูที่ 7 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย รวมระยะทางที่ไหลผานจังหวัดเชียงราย 114.5 กิโลเมตร

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา

รูปที่ 2.1- 10 แสดงลักษณะลุมน้ําภายในพื้นทีศ่ึกษา แมนํ้ารวก มีตนน้าํมาจากสหภาพเมียนมาร เปนพรมแดนธรรมชาติระหวางประเทศไทยกับสหภาพเมยีนมาร ไหลลงสูแมน้ําโขงที่บานสบรวก หมูที่ 1 ตาํบลเวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีความยาวประมาณ 26.75 กิโลเมตร แมนํ้าคํา มีตนน้าํมาจากอาํเภอแมจนั บริเวณชายแดนตดิตอสหภาพเมียนมาร ไหลไปบรรจบแมน้าํจัน ในเขตอําเภอเชียงแสน และลงสูแมน้ําโขงที่บานสบคาํ หมูที่ 5 ตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีความยาวประมาณ 85.75 กิโลเมตร แมนํ้าจัน มีตนน้ํามาจากอาํเภอแมจัน ไหลไปบรรจบแมน้ําคาํ และลงสูแมน้ําโขง ที่บานสบคาํ หมูที่ 5 ตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีความยาวประมาณ 58.75 กิโลเมตร

Page 19: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -19

แมนํ้าอิง เปนแมน้าํที่มีตนน้ําที่อําเภอแมใจ จังหวัดพะเยา ไหลผานอําเภอเชียงของในเขตทองที่ตําบลหวยซอ ตําบลบุญเรือง ตําบลครึ่ง ตําบลศรีดอนชัย ตําบลสถาน และไหลลงสูแมน้ําโขงที่บานปากอิง หมูที่ 2 ตําบลศรีดอนชัย ระยะทางยาวประมาณ 50 กิโลเมตร

แหลงน้ําธรรมชาติ มีการใชประโยชนเพ่ือการพักผอนหยอนใจ การผลิตน้ําประปา เพาะเล้ียงสัตวน้ํา เชน ปลานิล แหลงน้ําธรรมชาติสายหลักที่ชาวจังหวัดเชียงรายใชประโยชน คือ แมน้ํากกและแมน้ําโขง ในอดีตน้ําในแมน้ํากก มีระดับสูง เคยลนทวมขึ้นพื้นที่ใกลเคียงกับลําน้ํา แตในปจจุบันมีระดับน้ําลดลงมาก ซึ่งสาเหตุสวนใหญเกิดมาจากการตัดไมทําลายปาในพ้ืนที่ตนน้ํา- ลําธาร กรวดทรายจํานวนมาก ไดถูกน้ําพัดพามาทับถมอยางรวดเร็ว ความตื้นเขินของแมน้ํากก จึงเกิดข้ึนในอัตราสูง ปญหาดังกลาวเกิดในพื้นที่ลุมน้ําโขงเชนเดียวกัน

สําหรับแหลงน้ําผิวดินที่สําคัญ แยกรายอาํเภอของพื้นทีศ่ึกษา มดีังนี ้

- แหลงน้ําผิวดินในอําเภอเชียงของ ประกอบดวย แมน้ําโขงและแมน้ําอิง

- แหลงน้ําผิวดนิในอาํเภอเชยีงแสน ประกอบดวย แมน้ํารวก แมน้าํโขง แมน้ําคาํ และแมน้ํากก

- แหลงน้ําผิวดนิในอาํเภอแมสาย ประกอบดวยแมน้ําสายหลัก คอื แมน้าํสาย

Page 20: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -20

การตรวจวัดคุณภาพน้ําผิวดิน คณะผูศึกษาไดเดนิทางไปสาํรวจคุณภาพน้ําผิวดิน ระหวางวันที่ 5-8 ธันวาคม 2547 จํานวนทั้งส้ิน 8 สถานี ครอบคลุมแหลงน้ําที่สําคัญของ 3 อําเภอในบริเวณพื้นที่โครงการ คือ - บริเวณอําเภอแมสาย 2 สถานี คือ แมน้ําแมสาย - บริเวณอําเภอเชียงแสน 4 สถานี คือ แมน้าํรวก แมน้าํโขง แมน้ําคํา และแมน้ํากก - บริเวณอําเภอเชียงของ 2 สถานี คือ แมน้าํโขง และแมน้ําอิง โดยมีผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําของแหลงน้ําที่ทําการศกึษา แยกตามรายอําเภอ มีรายละเอียดดังนี ้ 1) คุณภาพน้ําของแหลงนํ้าภายในอําเภอแมสาย ลักษณะทางกายภาพ ตั้งแตกอนไหลผานเมืองและหลังไหลผานอําเภอแมสาย มคีุณภาพ

อยูในเกณฑด ี โดยมีคาอุณหภูมิของน้ํา 18.0-18.3 องศาเซลเซียส มีคาความขุน ที่ 11.35-21.70 NTU มีคาของแข็งละลายน้ํานอยคอื 61.2-71.1 มก./ล และมีคา การนําไฟฟานอยเชนกัน คือ 90.04-104.50 ไมโครซีเมนสตอซม.

คุณสมบตัิทางเคมี พบวาคาความเปนกรด-ดางอยูในเกณฑปกติ คอื 7.4 คาออกซิเจน ที่ละลายน้ํามคีาสูงคือ 8.62-8.75 มก./ล. สวนคาอ่ืน ๆ เชน คาคลอไรด ไนเตรต-ไนโตรเจน นอยมาก อยูในเกณฑมาตรฐาน รวมทั้งปริมาณโลหะหนักและยาปราบศตัรูพืช ก็มีคานอยมาก อยูในเกณฑมาตรฐานทั้งส้ิน และคาการปนเปอนสารอินทรียคอนขางต่ําคือ คาบโีอด ี0.8-1.7 มก./ล.

คุณภาพน้ําทางดานจุลินทรีย พบวา คาโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด และคาฟคอลโคลิฟอรม คอนขางสูง คือ (คาโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด 5,000-9,000 MPN/ 100 ml และฟคอลโคลิฟอรม 1,600-5,000 MPN/ 100 ml) ซึ่งแสดงวามกีารปนเปอนจากน้ําทิ้งในชุมชน

2) คุณภาพของแมนํ้ารวก แมนํ้าโขง แมนํ้าคํา และแมนํ้ากก ที่ผานอําเภอเชียงแสน ผลการตรวจวเิคราะหคุณภาพน้ําคอนขางดี คณุภาพทางดานกายภาพ เคมี และจุลินทรีย

อยูในเกณฑมาตรฐานของน้าํผิวดนิ โดยเฉพาะโลหะหนักมีคานอยมาก และจากการตรวจไมพบวามียาปราบศัตรูพืช (Organochloride) แตอยางใด

3) คุณภาพน้ําของแมนํ้าโขง และแมนํ้าอิง ที่ผานอําเภอเชียงของ ผลการตรวจวเิคราะหคุณภาพน้ําทางดานกายภาพ เชน อุณหภูม ิ ของแข็งละลายน้ํา อยูในเกณฑมาตรฐาน คณุสมบัติทางดานเคมี เชนคลอไรด ไนเตรต-ไนโตรเจน ออกซิเจนละลายน้ํา คาบีโอดี อยูในเกณฑมาตรฐาน โลหะหนักมีคานอยมาก รวมทั้ง ยาปราบศัตรพืูช (Organochlorine) ตรวจพบนอยมาก และอยูในเกณฑมาตรฐานของแหลงน้ําผิวดนิ

รายละเอียดผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําของพื้นทีศ่ึกษาแสดงไวในตารางที่ 2.1-3

Page 21: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -21

ตารางที่ 2.1-3 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําผิวดิน ณ จุดเก็บตัวอยาง 8 สถานี (เก็บตัวอยางเมื่อวันที่ 5-8 ธันวาคม 2547)

สถานีตรวจวดั ดัชนีตรวจวัด หนวย ST.1 ST.2 ST.3 ST.4 ST.5 ST.6 ST.7 ST.8

1. Temperature o C 18.3 18.0 20.3 19.8 21.3 21.8 18.9 23.3 2. pH 7.4 7.4 7.6 7.7 7.6 7.6 7.6 7.4 3. Turbidity NTU 21.70 11.35 42.20 96.80 105.00 120.00 106.00 90.30 4. Conductivity µmho/cm 90.04 104.50 95.01 205.90 87.34 112.30 230.90 108.90 5. TDS mg/l 61.2 71.1 64.6 140.0 59.4 76.3 157.0 74.0 6. DO mg/l 8.75 8.62 7.80 8.20 6.99 7.10 8.25 7.20 7. BOD mg/l 0.80 1.70 1.20 1.00 0.80 0.80 1.00 0.80 8. Chloride mg/l 0.50 0.50 0.50 1.00 0.50 1.50 7.50 2.50 9. Nitrate-N mg/l 0.30 0.26 0.48 1.44 1.20 1.43 1.58 1.79 10.Ammonia-N mg/l <0.10 <0.10 <0.10 <0.10 <0.10 0.20 0.10 0.20 11.Ca mg/l 3.05 4.04 4.13 9.21 4.03 5.36 9.90 4.59 12.Mg mg/l 1.87 1.66 1.60 3.39 2.55 2.60 3.86 1.60 13.Mn mg/l 0.050 0.014 0.043 0.090 0.093 0.015 0.154 0.090 14.Zn mg/l 0.046 0.014 0.042 0.029 0.027 0.027 0.024 0.028 15.Cr mg/l <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 16.Hg mg/l <0.001 <0.001 <0.001 0.001 0.002 0.001 0.001 0.001 17.Pb mg/l 0.008 0.005 0.006 0.006 0.012 0.003 0.009 0.007 18.Cd mg/l <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 19.As mg/l <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 <0.001 20.Fe mg/l 1.559 3.590 1.336 1.325 2.680 0.505 3.030 1.532 21.Total Coliform Bacteria MPN/100 ml 5,000 9,000 5,000 2,400 5,000 900 1,600 280 22. Fecal Coliform Bacteria MPN/100 ml 1,600 5,000 1,600 1,100 1,600 700 900 220 23.Organochloride - DDT µg/l ND ND ND ND ND ND ND ND - α BHC µg/l ND ND ND ND ND ND ND ND - Aldrin µg/l ND ND ND ND ND ND ND ND - Dieldrin µg/l ND ND ND ND ND ND ND ND - Endrin µg/l ND ND ND ND ND ND ND ND - Heptachlor& Heptachlor epoxide µg/l ND ND 0.02 ND ND ND 0.02 0.02

ND= Not Detectable (Less than 0.01 µg/l) สถานี จุดเก็บตัวอยาง จุดพิกัด GPS ST.1 แมน้ําแมสาย กอนไหลผานตัวเมือง (เก็บหนาทางเขาวัดผาจม ) อําเภอแมสาย E: 0591433, N: 2260547 ST.2 แมน้ําแมสาย หลังผานตัวเมือง (เก็บบริเวณสวนสุขภาพแมลุงขน) อําเภอแมสาย E: 0593462, N: 2260495 ST.3 แมน้ํารวก กอนบรรจบแมน้ําโขง อําเภอเชียงแสน E: 2251121, N: 0613265 ST.4 แมน้ําโขง บริเวณหนาทาเรือขนถายสินคา อําเภอเชียงแสน E: 2241761, N: 0614129 ST.5 แมน้ําคํา จุดตัดถนนหมายเลข 1129 อําเภอเชียงแสน E: 2239062, N: 0615536 ST.6 แมน้ํากก จุดตัดถนหมายเลข 1129 อําเภอเชียงแสน E: 2236800, N: 0618236 ST.7 แมน้ําโขง หนาทาเรือบั๊ค อ.เชียงของ E: 2242265, N: 0647225 ST.8 แมน้ําอิง จุดตัดถนหมายเลข 1020 อําเภอเชียงของ E: 2227051, N: 0648801

Page 22: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -22

การศึกษาดานแพลงตอน 1) ผลการศึกษาชนิดและปริมาณแพลงตอนพืช

จากการเก็บขอมูลคุณภาพน้ําผิวดิน เพ่ือทําการวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของน้ําผิวดนิ 8 จุดศึกษา เมื่อวันที่ 6 ธนัวาคม 2547 รวมทั้งปริมาณแพลงตอนพืช 7 จุดศึกษา ชนดิและปริมาณแพลงตอนพืชที่พบดังแสดงในตารางที่ 2.1-4 ตารางที่ 2.1-4 แสดงชนิดและปริมาณแพลงตอนพืช (เก็บตัวอยางเมื่อวันที่ 6 ธนัวาคม 2547)

ปริมาณความหนาแนน (unit/L) ลําดับ ชนิดแพลงตอน

St.2 St.3 St.4 St.5 St.6 St.7 St.8 Phylum Cyanophyta

1 Microcystis incerta 0 0 1 0 19 2 0

2 Oscillatoria splendida 1 0 0 2 0 0 0

3 Lyngbya contorta 1 1 3 1 0 6 0

4 Trichodesmium lacustre 0 1 1 0 0 0 0

5 Calothrip sp. 1 0 0 0 0 0 0

6 Aulosira sp. 1 0 0 0 0 0 0

Phylum Chrysophyta

7 Melosira granulata 0 1 0 8 2 1 0

8 Coscinodiscus sp. 0 0 0 0 1 0 1

9 Diatoma elongatum 6 6 7 2 2 4 0

10 Fragilaria sp. 0 0 0 1 1 0 1

11 Synedra tabulata 0 1 0 0 2 0 0

12 Synedra aeus 0 0 0 0 2 1 0

13 Gramatophora sp. 0 0 0 0 0 2 0

14 Navicula sp. 0 0 0 0 1 1 0

15 Surirella robusta 0 1 0 5 1 0 0

Phylum Chlorophyta

16 Pediastrum biradiatum 0 1 0 0 2 2 1

17 Pachycladon umbrinus 1 0 0 1 0 0 0

18 Mongeotia sp. 0 0 1 0 0 2 0

19 Spirogyra azygospora 2 0 1 1 0 0 0

20 Spirogyra ionia 0 0 1 0 0 0 0

21 Bambusina sp. 0 0 0 0 0 0 1

22 Closterium porrectum 0 0 1 1 0 1 0

Page 23: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -23

ตารางที่ 2.1-4 (ตอ) แสดงชนิดและปริมาณแพลงตอนพืช (เก็บตัวอยางเมื่อวันที่ 6 ธนัวาคม 2547) ปริมาณความหนาแนน (unit/L)

ลําดับ ชนิดแพลงตอน St.2 St.3 St.4 St.5 St.6 St.7 St.8

Phylum Chlorophyta

23 Micraterias torreyi 0 0 0 1 0 0 0

24 Staurastrum sp. 0 0 1 0 0 0 0

25 Microthamnian sp. 1 0 0 0 0 0 0

26 Chlorotylium sp. 0 0 0 0 0 4 0

27 Rhizoclonium sp. 0 0 4 0 0 0 0

Phylum Euglenophyta

28 Euglena sp. 0 0 0 0 1 0 0

Phylum Rhodophyta

29 Lemnacea sp. 0 0 1 1 0 0 0

Number of species (S) 8 7 11 11 11 11 4

Number of individual (N) 140 120 220 240 340 260 40

Shannon-weiner index (H’=∑plnlnp ) 1.772 1.589 2.070 2.034 1.677 2.205 1.386

Evenness (H’/lnS) 0.852 0.817 0.863 0.848 0.699 0.919 1 Units=natural units; colony, filament, cell

สถานี จุดเก็บตัวอยาง จุดพิกัด GPS ST.2 แมน้ําแมสาย หลังผานตัวเมือง (เก็บบริเวณสวนสุขภาพแมลุงขน) อําเภอแมสาย E: 0593462, N: 2260495 ST.3 แมน้ํารวก กอนบรรจบแมน้ําโขง อําเภอเชียงแสน E: 2251121, N: 0613265 ST.4 แมน้ําโขง บริเวณหนาทาเรือขนถายสินคา อําเภอเชียงแสน E: 2241761, N: 0614129 ST.5 แมน้ําคํา จุดตัดถนนหมายเลข 1129 อําเภอเชียงแสน E: 2239062, N: 0615536 ST.6 แมน้ํากก จุดตัดถนหมายเลข 1129 อําเภอเชียงแสน E: 2236800, N: 0618236 ST.7 แมน้ําโขง หนาทาเรือบั๊ค อ.เชียงของ E: 2242265, N: 0647225 ST.8 แมน้ําอิง จุดตัดถนหมายเลข 1020 อําเภอเชียงของ E: 2227051, N: 0648801

จุดเก็บตัวอยางที่ 2 บรเิวณแมน้ําสาย กอนไหลผานตัวเมือง บริเวณหนาวัดผาจม พบชนิดแพลงตอนพืชทั้งหมด 3 ไฟลัม ไดแก ไฟลัม Cyanophyta (Blue-green algae) ในไฟลัมนี้พบ 4 ชนิด ไดแก Oscillatoria splendida, Lyngbya contoria, Calothrip sp. และ Aulosira sp. ปริมาณที่พบนอยมาก ไฟลมั Chrysophyta (yellow-green algae) ในไฟลัมนี้พบ 1 ชนิด คือ Diatoma elongatum ปริมาณทีพ่บนอย ไฟลัม Chlorophyta (green algae) ในไฟลัมนี้ พบทั้งสิ้น 3 ชนิด คือ Pachycladon umbrinus , Spirogyra azygospora และ Microthamnian sp. ปริมาณที่พบนอยมากเชนกัน

Page 24: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -24

จุดเก็บตัวอยางที่ 3 แมน้ํารวก แพลงตอนพืชที่พบจํานวน 3 ไฟลัมเชนเดียวกับจุดเกบ็ตัวอยางที่ 2 ไดแก ไฟลัม Cyanophyta ชนิดทีพ่บไดแก Lyngbya contorta, Trichodesmium lacustre ไฟลัม Chrysophyta ชนิดทีพ่บ Melosira granulate, Diatoma elongatum, Synedra tabulate, Surirella robusta ไฟลัม Chlorophyta พบเพียงชนิดเดียวไดแก Pediastrum biradiatum จุดเก็บตัวอยางที่ 4 บริเวณแมน้ําโขง อ.เชียงแสน แพลงตอนพืชพบทั้งหมด 4 ไฟลัม ไดแก ไฟลัม Cyanophyta ชนิดที่พบทั้งหมด 3 ชนิดไดแก Microcystis incerta, Lyngbya contoria และ Trichodesmium lacustre ไฟลัม Chrysophyta ชนิดที่พบทั้งหมด 1 ชนิดไดแก Diatoma elongatum พบในปริมาณมากที่สุด แตใกลเคียงกับจดุเก็บตัวอยางที่ 2 และ 3 ไฟลัม Chlorophyta พบทัง้ส้ิน 6 ชนิด ไดแก Mongeotia sp., Spirogyra azygospora, Spirogyra ionia, Closterium porrectum, Staurastrum sp. Rhizoclonium sp. และไฟลัม Rhodophyta พบ 1 ชนดิ ไดแก Lemnacea sp. จุดเก็บตัวอยางที่ 5 บริเวณแมน้ําคํา แพลงตอนพืชที่พบทั้งหมด 4 ไฟลัม ไดแก ไฟลัม Cyanophyta พบทั้งส้ิน 2 ชนิดไดแก Oscillatoria splendida และ Lyngbya contorta ไฟลัม Chrysophyta พบ 4 ชนดิไดแก Melosira granulate, Diatoma elongatum, Fragilaria sp. และ Surirella robusta ไฟลัม Chlorophyta พบแพลงตอนพชืทั้งส้ิน 4 ชนิดไดแก Pachycladon umbrinus, Spirogyra azygospora, Closterium porrectum และ Micraterias torreyi และไฟลัม Rhodophyta พบ 1 ชนดิไดแก Lemnacea sp. จุดเก็บตัวอยางที่ 6 บริเวณแมกก แพลงตอนพืชที่พบทั้งส้ิน 4 ไฟลัม ไดแก cyanophyta พบ 1 ชนิดคือ Microcystis incerta ในปริมาณที่คอนขางมากกวาจุดเกบ็ตัวอยางจุดอื่น ไฟลัม Chrysophyta พบทั้งส้ิน 8 ชนิด ไดแก Melosira granulate, Coscinodiscus sp., Diatoma elongatum, Fragilaria sp., Synedra tabulate, Synedra aeus, Navicula sp. และ Surirella robusta ไฟลัม Chlorophyta พบ 1 ชนิดไดแก Pediastrum biradiatum และ ไฟลัม Euglenophyta 1 ชนิดไดแก Euglena sp. จุดเก็บตัวอยางที่ 7 บริเวณแมน้ําโขง อ.เชียงของ พบแพลงตอนพืชทั้งส้ิน 3 ไฟลัม แก ไฟลัม Cyanophyta พบ 2 ชนดิไดแก Microcystis incerta และ Lyngbya contorta ไฟลัม Chrysophyta พบทั้งส้ิน 5 ชนิดไดแก Melosira granulate, Diatoma elongatum, Synedra aeus, Gramatophora sp. และ Navicula sp. ไฟลัม Chlorophyta พบทั้งส้ิน 4 ชนิด ไดแก Pediastrum biradiatum, Mongeotia sp., Closterium porrectum และ Chlorotylium sp.

จุดเก็บตัวอยางที่ 8 บริเวณแมน้ําอิง จดุตดัถนนหมายเลข 1020 อําเภอเชียงของ เปนจุดเกบ็ตัวอยางที่พบแพลงตอนพืชนอยที่สุด ไฟลัมที่พบไดแก Chrysophyta พบ 2 ชนิดไดแก Coscinodiscus sp. และ Fragilaria sp. และไฟลมั Chlorophyta พบ 1 ชนิดไดแก Pediastrum biradiatum

Page 25: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -25

2.1.5 อุทกธรณีวิทยาและแหลงนํ้าใตดิน พ้ืนที่จังหวัดเชียงรายประมาณรอยละ 60 มีหินใหน้าํบาดาลเปนตะกอนรวน ซึ่งเปนตะกอน-

ที่เกิดจากการน้ําพัดพา โดยพื้นที่รอยละ 25 เปนหินตะกอนและหนิตะกอนกึ่งหินแปร พ้ืนทีป่ระมาณรอยละ 10 เปนหินแปร สวนที่เหลือเปนหินอัคนี ประกอบไปดวยหินแกรนิต แหลงน้ําบาดาลที่มีศักยภาพสูงสุดในจังหวัด คือ แหลงน้าํบาดาลในชั้นตะกอนหนิรวน โดยสามารถพบกระจายตัวอยูในบริเวณแมน้ําสายตาง ๆ รวมถึงแองเวียงปาเปา แองแมสรวย แองแมจัน-เชียงแสน แองแมสาย แองเชียงราย และแองเชียงของ ซึ่งจะประกอบไปดวย

- แหลงน้ําบาดาลในชั้นตะกอนน้ําพา สามารถพัฒนาแหลงน้ําไดที่ระดับความลึกตั้งแต 15 – 60 เมตร มีปริมาณน้ําบาดาลอยูในเกณฑ 2 – 10 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง รวมทั้งตะกอนเศษหินตามที่ลุมน้ําทวมถึง ตะกอนบริเวณลานตะพักน้ําสูงและหินตะกอนกึ่งแข็งตัวอายุเทอรเชียรีสามารถพัฒนาแหลงน้ําไดที่ระดับความลึกระหวาง 20 – 29 เมตร ปริมาณน้ํา 2 – 10 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง คุณภาพน้ําบาดาลสวนใหญเปนน้ําจืดคุณภาพดีปริมาณของสารละลายอยูเกณฑที่เหมาะสม ดังแสดงในรูปที่ 2.1-11

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา รูปที่ 2.1-11 แผนที่แสดงการใหน้ําบาดาลในบริเวณพื้นที่ศึกษา

Page 26: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -26

ตารางที่ 2.1-5 ชนิดและความลึกของชั้นหินใหนํ้าบาดาล พื้นที่ (อําเภอ)

ชนิดของหินในนํ้า

AQUIFERS ความลึกเฉลีย่

(เมตร) ระดับนํ้าปกต ิ

(เมตร) อําเภอเชียงของ

- หินใหน้ําหนวย Qfd; ชั้นกรวด ทราย Aquifer Qfd; Gravel, Sand

30-50

3-8

- หินใหน้ําหนวย Vc; หินภูเขาไฟ ไรออไลต แอนดีไซต และหินเถาภูเขาไฟ Volcanices Aquifer Vc; Rhyolite, Andesite and Tuff

40-70 2-10

- หินใหน้ําหนวย PCms; หินชนวน ฟลไลต หินทรายแปรสภาพ Metasediments Aquifer PCms; PCms; Slate, Phyllite, Metasandstone

25-30 3-8

อําเภอเชียงแสน

- หินใหน้ําหนวย Qfd; ชั้นกรวด ทราย Aquifer Qfd; Gravel, Sand

15-40 1-6

- หินใหน้ําหนวย Qht; ชั้นกรวด ทราย Aquifer Qfd; Gravel, Sand

20-50 3-10

- หินใหน้ําหนวย Vc; หินภูเขาไฟ ไรออไลต แอนดีไซต และหินเถาภูเขาไฟ Volcanices Aquifer Vc; Rhyolite, Andesite and Tuff

40-60 5-10

- หินใหน้ําหนวย PCms; หินชนวน ฟลไลต หินทรายแปรสภาพ Metasediments Aquifer PCms; PCms; Slate, Phyllite, Metasandstone

35-50 3-10

- หินในน้ําหนวย Gr; หินแกรนิตผุ และมีรอยแตก Granite Aquifer Gr; Weathered granite and fractured

25-70 2-10

อําเภอแมสาย

- หินในน้ําหนวย Qfd; ชั้นกรวด ทราย Aquifer Qfd; Gravel, Sand

25 – 55 0 – 6

- หินใหน้ําหนวย Qht; ชั้นกรวด ทราย Aquifer Qfd; Gravel, Sand

35 – 90 5 – 10

- หินใหน้ําหนวยชุดแมสอด Tms เปนหินชุดเทอรเชียรีรองรับอยูใตหินอุมน้ําเจาพระยาและหินใหน้ําเชียงใหม Mae Sot Aquifer Tms; Tertiary below Qfd and Qht

90 – 200 10 – 200

- หินใหน้ําหนวย Vc; หินภูเขาไฟ ไรออไลต แอนดีไซต และหินเถาภูเขาไฟ Volcanices Aquifer Vc; Rhyolite, Andesite and Tuff

30 - 35 8 - 12

- หินใหน้ําหนวย PCms; หินชนวน ฟลไลต หินทรายแปรสภาพ Metasediments Aquifer PCms; PCms; Slate, Phyllite, Metasandstone

30 – 80 10 - 12

ที่มา: กรมทรัพยากรน้ําบาดาล โดยวิเคราะหรวมกันกับขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร

Page 27: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -27

- แหลงน้ําบาดาลที่มีศักยภาพสูงในพ้ืนที่อีกชนิดหนึ่งคือแหลงน้ําบาดาลในชั้นหินปูนของ กลุมหินราชบุรี สามารถพัฒนาแหลงน้ําไดที่ระดับความลึก 25 – 65 เมตร มีปริมาณน้ําบาดาลอยูในเกณฑระหวาง 2 – 10 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง บางแหงสามารถพบ ปริมาณน้ําไดถึง 100 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง คุณภาพดี

- แหลงน้ําบาดาลที่มีศักยภาพรองลงมาไดแก แหลงน้ําบาดาลในชั้นหินตะกอนชุดโคราชตอนกลาง, ตอนลาง, หินตะกอนชุดลําปาง, หินใหน้ําก่ึงหินแปรอายุตั้งแตยุคเปอรโม คารบอนิเฟอรัส จนถึงหินแปรสภาพยุคพรีแคมเบียน ความลึก ของช้ันน้ําบาดาล อยูในชวง 30 – 50 เมตร ปริมาณน้ําสวนใหญนอยกวา 2 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง ยกเวนบางพื้นที่ที่มีรอยเลื่อน, รอยแยกและรอยแตก อาจจะใหปริมาณน้ําสูงถึง 50 ลูกบาศก-เมตรตอช่ัวโมง คุณภาพดี สารละลายอยูในเกณฑต่ํา

โดยมีรายละเอียดของชั้นหินอุมน้ํา แยกรายอําเภอไดดังนี้ (ดูรูปที่ 2.1-12 ประกอบ )

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา รูปที่ 2.1-12 แผนที่แสดงชั้นหินอุมน้ําภายในบริเวณพื้นที่ศึกษา

Page 28: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -28

อําเภอเชียงของ พ้ืนที่ของอําเภอเชียงของ สวนใหญจะตั้งอยูในที่ลุมแมน้ําอิงตอนเหนือ สองฝงของลุมแมน้ําอิง

ประกอบดวยหินแข็งของชั้นหินใหน้ําเถาภูเขาไฟและชั้นหินใหน้ําหินแปรชั้นต่ํา หินเหลานี้ใหน้ําบาดาลในรอยแตกและรอยเลื่อนมีปริมาณน้ํานอยแตคุณภาพดี สวนตะกอนรวนของชั้นหินในน้ําตะกอนน้ําพา (Qfd) ใหน้ําบาดาลมีคุณภาพดีและปริมาณมาก ในระดับความลึกตั้งแต 30 – 50 เมตร และระดับน้ําบาดาลปกติอยูในระดับ 3 – 8 เมตร แมน้ําอิงไหลตามแนวเลื่อนใหญทําใหเกิดที่ราบตามลําน้ํา ซึ่งไมมีช้ันหินใหน้ําลานตะพักสูง (Qht) สะสมตามขอบของแองทั้งสองขาง ช้ันหินใหน้ําตะกอนน้ําพาวางตัวอยูบนหินแข็งของเถาภูเขาไฟและหินแปรชั้นต่ํา โดยจะมีปริมาณน้ํา 2 – 10 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง จากการรวบรวมขอมูลใบอนุญาตใชน้ําบาดาลจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาล จังหวัดเชียงราย ป พ.ศ. 2548 พบวา ในอําเภอเชียงของมีการขออนุญาตใชน้ําบาดาล จํานวน 10 บอ โดยปริมาณการใชน้ําที่สูบไดรวม 114 ลูกบาศกเมตร/วัน อําเภอเชียงแสน

พ้ืนที่เชียงแสน ตั้งอยูริมฝงแมน้ําโขง มีที่ราบตดิตอกับเวียงหนอง โดยมีภูเขาเตี้ยๆ วางโดยรอบเวียงหนอง ตามที่ราบเหลานี้ประกอบขึ้นดวยชัน้หินใหน้ําตะกอนน้ําพา(Qfd) ช้ันหินใหน้ําลาน-ตะพักต่าํ (Qlt) และช้ันหนิใหน้าํลานตะพักสูง (Qht) ภูเขาท่ีอยูรอบ ๆ สวนใหญจะเปนหนิแกรนติ น้ําในลําแมน้ําโขงจะอัดน้าํลงสูน้ําบาดาลในชั้นของชั้นหินใหน้าํ Qfd และ Qht น้าํบาดาลในบริเวณนี ้มีคุณภาพดี และมีปริมาณมาก โดยปรมิาณน้าํอยูในชวง 10 – 20 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง

จากการรวบรวมขอมูลใบอนุญาตใชน้ําบาดาลจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาล จังหวัดเชียงราย ปพ.ศ. 2548 พบวา ในอาํเภอเชียงแสนมีการขออนุญาตใชน้าํบาดาล จํานวน 9 บอ โดยปริมาณการใชน้ําที่สูบไดรวม 516 ลูกบาศกเมตรตอวนั อําเภอแมสาย

พ้ืนที่อําเภอแมสายอยูทางตอนเหนือของจังหวัดเชียงราย เปนอําเภอที่ตั้งอยูในที่ราบของลุมแองแมสาย ซึ่งเปนแองเทอรเชียรี สวนหนึ่งของแองเทอรเชียรีย่ืนเขาไปในประเทศสหภาพเมียนมาร แองแมสายลอมรอบดวยภเูขาสูงทางดานตะวันตก ประกอบดวยชั้นหินใหน้าํแกรนิต และช้ันหนิใหน้าํ PCms สวนทางดานตะวันออกเปนเทือกเขาไมสูงตดิตอกับอําเภอเชียงแสน ในที่ราบแองแมสายปกคลุมดวยชั้นกรวดทรายของชั้นหินใหน้าํตะกอนน้าํพา (Qfd) และช้ันหินใหน้าํตะพกัสูง (Qht) ใตช้ันนี้ลงไป จะเปนชัน้หินใหน้ําตะกอนกึ่งแข็งตัว (Tsc) ของหินชุดเทอรเชียรี ซึ่งไดขอมูลมาจากการเจาะสํารวจน้ํามัน พบวามีหินดินดานและหินทราย แตไมมหิีนชุดนีโ้ผลบนผิวดนิเพราะถูกปกคลุมดวยชั้นหินใหน้าํตะกอนน้ําพา ช้ันหินใหน้าํที่อยูตามขอบแองแมสายเปนชัน้หินใหน้ําแกรนิต (Gr) ช้ันหินใหน้ําภูเขาไฟ (Vc) และช้ันหินใหน้ําชุดหินแปรชั้นต่ํา (PCms) ใหน้ําบาดาลตั้งแตระดบัความลึก 30-80 เมตร และมีปริมาณนอย น้ําบาดาลสวนใหญจะไดจากชั้นกรวดทรายของชั้นหินใหน้ําตะกอนน้ําพา

Page 29: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -29

และช้ันหินใหน้ําตะพักสูง (Qht) ซึ่งสวนใหญจะอยูในแหลงชุมชน ปริมาณน้ําอยูในชวง 2-10 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง การใชน้ําบาดาลในอาํเภอแมสาย จากการรวบรวมขอมูลใบอนญุาตใชน้ําบาดาลจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาล จังหวัดเชียงราย ป พ.ศ. 2548 พบวา ในอาํเภอแมสายมีการขออนุญาตใชน้ําบาดาล จํานวน 40 บอ โดยปริมาณการใชน้ําที่สูบไดรวม 3,331 ลูกบาศกเมตรตอวัน ตารางที่ 2.1-6 ขอมูลช้ันหินอุมน้ําในพ้ืนที่ศึกษา

อําเภอ ชั้นหินอุมนํ้า เน้ือที่ (ตร.กม.)

รอยละของพื้นที่อําเภอ

รอยละของพื้นที่จังหวัด

เชียงของ ชั้นหินอุมน้ําตะกอนตะพักน้ํายุคเกา 3.39 0.42 0.03 ชั้นหินอุมน้ําตะกอนตะพักน้ํายุคใหม 208.18 26.01 1.80 ชั้นหินอุมน้ําตะกอนน้าํพา 138.35 17.28 1.20 ชั้นหินอุมน้ําหินแกรนิต 29.18 3.65 0.25 ชั้นหินอุมน้ําหินชดุลําปาง 157.80 19.71 1.37 ชั้นหินอุมน้ําหินแปร 23.78 2.97 0.21 ชั้นหินอุมน้ําหินภูเขาไฟ 239.75 29.95 2.08 รวม 800.42 100.00 6.94

เชียงแสน ชั้นหินอุมน้ําตะกอนตะพักน้ํายุคเกา 22.11 3.91 0.19 ชั้นหินอุมน้ําตะกอนตะพักน้ํายุคใหม 54.01 9.55 0.47 ชั้นหินอุมน้ําตะกอนน้าํพา 133.09 23.53 1.15 ชั้นหินอุมน้ําหินแกรนิต 106.00 18.74 0.92 ชั้นหินอุมน้ําหินชัน้กึ่งแปร 1.55 0.27 0.01 ชั้นหินอุมน้ําหินชดุลําปาง 150.77 26.66 1.31 ชั้นหินอุมน้ําหินแปร 10.21 1.81 0.09 ชั้นหินอุมน้ําหินภูเขาไฟ 87.73 15.51 0.76 รวม 565.47 100.00 4.90

แมสาย ชั้นหินอุมน้ําตะกอนตะพักน้ํายุคเกา 24.73 8.18 1.21 ชั้นหินอุมน้ําตะกอนน้าํพา 222.86 73.73 1.93 ชั้นหินอุมน้ําหินแกรนิต 20.94 6.93 0.18 ชั้นหินอุมน้ําหินภูเขาไฟ 3.89 1.29 0.04 ชั้นหินอุมน้ําหินคารบอเนตอายุเพอรเมียน 29.62 9.80 0.26 รวม 302.04 100.00 6.62

ที่มา: ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรจัดทําจากขอมูลวิชาการกรมทรัพยากรน้ําบาดาล

Page 30: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -30

2.1.6 ภูมิอากาศ อุตุนิยมวิทยา และคุณภาพอากาศ 1) ภูมิอากาศ และอุตุนิยมวิทยา

พ้ืนที่ศึกษาครอบคลุมพื้นที่อําเภอ 3 อําเภอ ของจังหวัดเชียงราย จากการทบทวนขอมูล ภูมิอากาศที่สถานีตรวจอากาศอําเภอเมืองเชียงราย เฉล่ียในคาบ 30 ป (ป พ.ศ. 2514-2543) วิเคราะหลักษณะภูมิอากาศ ดังตารางที่ 2.1-7 ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

ตารางที่ 2.1-7 ขอมูลภูมิอากาศ ลุมน้าํสาขาแมน้าํอิงตอนลาง

เดือน ปริมาณน้ําฝน (มม.)

จํานวนวันที่ฝนตก

อุณหภูมิ (oซ.)

ความชื้นสัมพันธ (%)

ความเร็วลม (นอต)

ระยะยาวนานของแสงแดด

(ชม.)

การระเหย1/

และคายน้ํา (มม.)

ปริมาณ1/

น้ําฝนที่เปนประโยชน(มม.)

มกราคม 11.2 1.5 19.1 76 0.8 8.3 74.4 0.0

กุมภาพันธ 12.2 1.4 21.2 68 1.1 8.8 84.0 0.0

มีนาคม 20.9 2.8 24.4 62 1.3 7.6 111.6 2.5

เมษายน 94.6 10.1 26.9 65 1.7 8.0 129.0 50.7

พฤษภาคม 194.7 17.5 27.0 75 1.7 7.0 133.3 130.8

มิถุนายน 194.8 18.7 27.1 80 1.7 5.1 114.0 130.8

กรกฎาคม 319.1 22.4 26.5 82 1.6 4.2 108.5 230.3

สิงหาคม 377.7 23.5 26.2 84 1.4 4.4 105.4 277.2

กันยายน 271.2 17.5 25.9 84 1.2 5.4 102.0 192.0

ตุลาคม 130.7 11.0 24.7 82 1.3 6.3 96.1 79.6

พฤศจิกายน 56.6 5.1 22.0 80 1.2 6.9 78.0 24.0

ธันวาคม 18.5 2.1 18.9 78 1.1 7.3 71.3 1.1

รวม/เฉลี่ยตลอดป 1702.2 133.6 24.2 76 1.3 6.6 1207.6 1119.0 ที่มา : ขอมูลภูมิอากาศสถานีตรวจอากาศ อาํเภอเมืองเชียงราย ป 1971-2000 กรมอุตุนิยมวิทยา

1/ : คํานวณโดยโปรแกรม CROPWAT ของ FAO (1992)

Page 31: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -31

ภูมิอากาศในพื้นที่ศึกษาเปนแบบฝนเมืองรอนเฉพาะฤดู (Tropical Savannah Climate: Aw) ตามระบบของ Koppen ซึ่งมีลักษณะภูมิอากาศ ดังนี้

(1) ฤดูกาลแบงออกเปน 3 ฤดู คือ

ฤดูฝน จะอยูระหวางเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม เนื่องจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งพัดมาจากทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย และพายุดีเปรสชั่น ซึ่งพัดมาจากทะเลจีนใต ในชวงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน ทําใหมีฝนตกชุก

ฤดูหนาว จะอยูระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ เนื่องจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัดพาเอาความหนาวเย็นมาจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน จึงทําใหอากาศหนาวเย็น

ฤดูรอน จะอยูระหวางเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน เนื่องจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงใตที่พัดมาจากทะเลจีนใต จึงทําใหอากาศรอนและอบอาว

(2) ปริมาณน้ําฝน มีปริมาณฝนตลอดป 1,702.2 มิลลิเมตร จํานวนวันที่ฝนตกประมาณ 133.6 วัน

(3) อุณหภูมิ มีอุณหภูมิเฉล่ียตลอดป 24.2 องศาเซลเซียส

(4) ความชื้นสัมพันธ มีความชื้นสัมพันธเฉล่ียตลอดป 76 เปอรเซ็นต

(5) ลมและความเร็วลม มีความเร็วลมระหวาง 0.8-1.7 นอต

(6) ระยะยาวนานของแสงแดด มีระยะยาวนานของแสงแดด เฉล่ีย 6.6 ช่ัวโมง

Page 32: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -32

ตารางที่ 2.1-8 ปริมาณน้าํฝน อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ เปนรายเดือน พ.ศ. 2546 อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ความชื้นสัมพัทธ (%)

เดือน ปริมาณน้ําฝนรวมตลอดเดือน

(มม.)

จํานวนวันที่ฝนตก ต่ําสดุ สูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ยสูงสุด

ทั้งป 1,404.1 125 10.5 36.5 51 93 มกราคม 60.5 4 11.5 29.9 51 95 กุมภาพันธ 35.7 6 12.4 33.2 41 94 มีนาคม 53.8 9 13.5 34.4 42 92 เมษายน 58.5 9 18.9 36.5 45 91 พฤษภาคม 107.0 10 19.9 38.8 46 90 มิถุนายน 142.8 23 23.1 33.8 62 93 กรกฎาคม 287.3 19 22.7 35.6 62 93 สิงหาคม 235.3 21 21.2 34.3 65 94 กันยายน 360.5 15 21.7 33.6 60 95 ตุลาคม 62.7 9 19.5 34.2 55 94 พฤศจิกายน 0.0 - 14.0 32.5 44 94 ธันวาคม 0.0 - 10.5 30.9 41 93 ที่มา : สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดเชียงราย

อําเภอเชียงของ

สภาพภูมิอากาศของอําเภอเชียงของ อยูภายใตอิทธพิลของลมมรสุมตะวันตกเฉยีงใต และ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ยังไดรับอทิธิพลจากความกดอากาศต่าํ และพายุเขตรอน ที่พัดมาจากทะเลจีนใต ทาํใหเกิดฝนตกหนักในพืน้ที่ในชวงเดือนสิงหาคมถึงเดือนกนัยายน ประกอบกับภูมิประเทศสวนใหญเปนภูเขา และปาไม ทําใหอุณหภูมิและฤดูกาลแตกตางกันมาก โดยทั่วไปมี 3 ฤดูกาล คือ ฤดรูอน เร่ิมประมาณเดือนมีนาคม ถึงกลางเดือนพฤษภาคม จะมีอากาศรอน อุณหภูมิสูงสุด 36 องศาเซลเซียส ฤดูฝน เร่ิมประมาณเดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดอืนตุลาคม จะมีฝนตกชุก ปริมาณน้ําฝนสูงสุดประมาณ 168 มิลลิเมตร ปริมาณน้าํฝนเฉลี่ย 1,853 มิลลิเมตร/ป ฤดูหนาว เร่ิมประมาณกลางเดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ จะมีอากาศหนาว โดยอุณหภูมิต่าํสุดประมาณ 2 องศาเซลเซียส

Page 33: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -33

อําเภอเชียงแสน

สภาพภูมิอากาศของอําเภอเชียงแสนโดยทัว่ไป พบวา มภีูมิอากาศแบบมรสุมเมืองรอน จากขอมูลสภาพภูมิอากาศในคาบ 30 ป (พ.ศ.2514-2543) กรมอุตุนิยมวิทยาทําการสํารวจ ณ สถานตีรวจวัดอากาศจังหวัดเชียงราย พบวา มีอุณหภูมิเฉล่ียตลอดป 24.2 องศาเซลเซียส แบงออกเปน 3 ฤดู คือ ฤดูฝน เร่ิมประมาณเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม โดยไดรับอิทธพิลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตเปนสวนใหญ ปริมาณน้ําฝนโดยเฉลี่ย 1,702.2 มิลลิเมตรตอป ฝนตกมากที่สุดใน เดือนสิงหาคม ฤดูหนาว เร่ิมประมาณเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ โดยไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิเฉล่ียต่ําสุดเทากับ 12.1 องศาเซลเซยีส ในเดือนมกราคม ฤดูรอน เร่ิมประมาณเดือนมีนาคม-พฤษภาคม อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุดเทากับ 34.8 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน

อําเภอแมสาย

สภาพภูมิอากาศของอําเภอแมสาย โดยทั่วไป พบวา มีภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองรอนมีอุณหภูมิเฉล่ีย 25 องศาเซลเซียส แบงออกเปน 3 ฤดู คือ ฤดูฝน เร่ิมประมาณกลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม โดยไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตเปนสวนใหญ ปริมาณน้ําฝนโดยเฉลี่ย 1,774.1 มิลลิเมตรตอป ฝนตกมากที่สุดในเดือนกันยายน ฤดูหนาว เร่ิมประมาณกลางเดือนตุลาคม-กลางเดือนกมุภาพันธ โดยไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมติ่ําสุดประมาณ 6 องศาเซลเซียสในเดือนมกราคม ฤดูรอน เร่ิมประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ-กลางเดือนพฤษภาคม อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 39 องศาเซลเซียสในเดือนเมษายน

Page 34: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -34

2) คุณภาพอากาศ 2.1) อําเภอเชียงของ

(1) แหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศ

จากการจราจร ในพื้นที่อําเภอเชียงของ มีแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศ สวนใหญมาจากยวดยานพาหนะ ที่วิ่งผานพืน้ที่ภายในอาํเภอเชียงของ ซึ่งมีถนนสายหลัก คือ

- เสนทางหลวงหมายเลข 1020 จากอําเภอเทิงมายังอําเภอเชียงของ ระยะทาง 73 กม.

- เสนทางหลวงสายพหลโยธนิ จากอําเภอเชียงแสนถึงอําเภอเชียงของ ระยะทาง 55 กม.

ในปจจบุันปริมาณการจราจรอยูในระดับคลองตัว ไมมีปญหาการติดขดั มลพิษทางอากาศจากทอไอเสียรถยนตจะแพรกระจายไดด ี แหลงกําเนิดมลพิษจากการคมนาคมอีกดานหนึ่งคือ การจราจรทางน้ํา ในแมน้าํโขง ซึ่งจะมีเรือที่สัญจรในแมน้ําโขงจากภายในประเทศเอง และตางประเทศไดแก สาธารณรัฐประชาชนจีน สหภาพเมยีนมาร และสปป.ลาว ซึ่งมีทาเรือขนาดใหญ 3 แหง ไดแก ทาเรือบั๊ก ทาเรือน้ําลึก และทาเรือศุลกากร มลพิษทางอากาศบริเวณนี้ จะมาจากเรือบรรทุกสินคาเปนหลกั และจากรถที่วิ่งเขา-ออกทาเรือ

จากโรงงานอุตสาหกรรม ในพื้นที่อําเภอเชียงของมีโรงงานอุตสาหกรรมทั้งส้ิน 45 แหง ตามประกาศของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยแยกออกเปนประเภทโรงงานทั้ง 3 จําพวกดังนี ้ ประเภทที่ 1 จํานวน 41 โรง ประเภทที่ 2 จํานวน 3 โรง ประเภทที่ 3 จํานวน 1 โรง ซึ่งพบวาโดยสวนใหญแลวเปนโรงงานประเภทสีขาว ที่มีเครื่องจักรนอยกวา 20 แรงมา ที่มีปญหามลพษิทางอากาศอยูบางในระดบัหนึ่ง ซึ่งมีการปลอยมลสารบางตัวอาทิ ฝุนละอองออกสูบรรยากาศ

(2)คุณภาพอากาศ จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพ้ืนที่อําเภอเชียงของ ณ ที่วาการอาํเภอเชียงของ (มีจุดพิกัดที่ E: 0647248, N: 2240732) ระหวางวันที่ 29 พฤศจกิายน – 2 ธันวาคม 2547 โดยมีพารามิเตอรทีต่รวจวัดและผลการตรวจวัดในแตละชวงเวลา ดังตารางที่ 2.1-9

Page 35: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -35

รูปที่ 2.1-13 แสดงการเก็บอากาศ เสียงและความสัน่สะเทือน ณ ที่วาการอําเภอเชียงของ ระหวาง วันที่ 29 พฤศจิกายน –2 ธันวาคม 2547

ที่วาการอําเภอเชียงของ

Page 36: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -36

ตารางที่ 2.1-9 ผลการตรวจวัดมลพิษทางอากาศ ณ ที่วาการอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ผลการตรวจวัด พารามิเตอร วิธีการตรวจวดั/วิเคราะห มาตรฐาน*

พิสัย คาเฉลี่ย หนวย

NO2 (1 hr.) วันที่ 29-30 พ.ย. 2547 30 พ.ย.-1ธ.ค. 2547 1- 2 ธ.ค. 2547

Chemiluminescence 0.17

0.002-0.012 0.002-0.010

0-0.009

0.005 0.005 0.005

ppm ppm ppm

SO2 (1 hr.) วันที่ 29-30 พ.ย. 2547 30 พ.ย.-1ธ.ค. 2547 1- 2 ธ.ค. 2547

UV Fluorescence 0.30

0.002-0.006 0.002-0.005 0.002-0.004

0.004 0.004 0.003

ppm ppm ppm

O3 (1 hr.) วันที่ 29-30 พ.ย. 2547 30 พ.ย.-1ธ.ค. 2547 1- 2 ธ.ค. 2547

Chemiluminescence 0.10

0.001-0.007

0-0.009 0-0.009

0.003 0.004 0.003

ppm ppm ppm

CO (1 hr.) วันที่ 29-30 พ.ย. 2547 30 พ.ย.-1ธ.ค. 2547 1- 2 ธ.ค. 2547

Non-Dispersive Infrared Detection (NDIR) 30

0.09-2.42 0.07-0.47 0.09-0.37

0.34 0.13 0.18

ppm ppm ppm

TSP (1 hr.) วันที่ 29-30 พ.ย. 2547 30 พ.ย.-1ธ.ค. 2547 1- 2 ธ.ค. 2547

Gravimetric-High Volume 0.330

- - -

0.032 0.040 0.049

mg/m3

mg/m3

mg/m3

PM10 (1 hr.) วันที่ 29-30 พ.ย. 2547 30 พ.ย.-1ธ.ค. 2547 1- 2 ธ.ค. 2547

Gravimetric-High Volume 0.120

- - -

0.020 0.026 0.028

mg/m3 mg/m3 mg/m3

* มาตรฐานคณุภาพอากาศในบรรยากาศของกรมควบคุมมลพิษ เมื่อพิจารณาจากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศของอําเภอเชียงของอยูในเกณฑด ีกลาวคือ ทุกพารามิเตอรดานคุณภาพอากาศ อยูในเกณฑมาตรฐานของกรมควบคมุมลพิษ

Page 37: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -37

2.2) อําเภอเชียงแสน (1) แหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศ

จากการจราจรทางบก เสนทางการจราจรสายหลักของอําเภอเชียงแสน ประกอบดวย - เสนทางหลวงหมายเลข 1129 เช่ือมระหวางอําเภอเชียงแสนไปอาํเภอแมสาย – อําเภอเชียงของ

- เสนทางหลวงหมายเลข 1016 เช่ือมระหวางอําเภอเชียงแสน-อําเภอแมจัน สภาพโดยรวมปริมาณการจราจรในเขตอาํเภอเชียงแสน ยังมีไมมาก จงึสงผลในแงดีตอคุณภาพอากาศโดยรวมที่จะเกิดจากการจราจร

จากการจราจรทางน้ํา เชนเดียวกับอาํเภอเชียงของ การคมนาคมทางน้ําหลัก คือ แมน้าํโขง เช่ือมตอกับประเทศเพื่อนบาน มีทาเทียบเรือหลักของการทาเรือแหงประเทศไทย 1 แหง อยางไรก็ตาม เนือ่งจากสภาพทีต่ั้งของทาเรือเอง และปริมาณเรือที่ยังมีไมมาก มลพิษที่ออกมาจากเรือ จึงถูกพัดพาไปตามกระแสลม

จากโรงงานอุตสาหกรรม จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่รับผดิชอบของอําเภอเชียงแสนมีจํานวนทั้งส้ิน 85 โรงงาน ประกอบดวย ประเภทที่ 1 จํานวน 82 โรง ไมพบวามโีรงงานประเภทที ่2 ประเภทที่ 3 จํานวน 3 โรง โรงงานสวนใหญเปนกลุมทีก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศอยูในระดบัต่าํ

(2) คุณภาพอากาศ มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ณ ที่วาการอําเภอเชียงแสน (มีจดุพิกัดที่ E: 0613940, N: 2242012) ระหวางวันที่ 2-5 ธันวาคม 2547(รูปที่ 2.1-14)มีผลการตรวจวัด ดังตารางที่ 2.1-10

Page 38: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -38

รูปที่ 2.1-14 แสดงการเก็บอากาศ เสียงและความสัน่สะเทือน ณ ที่วาการอําเภอเชียงแสน ระหวาง

วันที่ 2 -5 ธันวาคม 2547

ที่วาการอําเภอเชียงแสน

Page 39: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -39

ตารางที่ 2.1-10 ผลการตรวจวัดมลพิษทางอากาศ ณ ที่วาการอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ผลการตรวจวัด พารามิเตอร วิธีการตรวจวดั/วิเคราะห มาตรฐาน*

พิสัย คาเฉลี่ย หนวย

NO2 (1 hr.) วันที่ 2-3 ธ.ค. 2547 3-4 ธ.ค. 2547 4-5 ธ.ค. 2547

Chemiluminescence 0.17

0.003-0.029 0.003-0.029 0.003-0.036

0.013 0.012 0.015

ppm ppm ppm

SO2 (1 hr.) วันที่ 2-3 ธ.ค. 2547 3-4 ธ.ค. 2547 4-5 ธ.ค. 2547

UV Fluorescence 0.30

0.001-0.007 0.005-0.008 0.004-0.007

0.005 0.006 0.006

ppm ppm ppm

O3 (1 hr.) วันที่ 2-3 ธ.ค. 2547 3-4 ธ.ค. 2547 4-5 ธ.ค. 2547

Chemiluminescence 0.10

0.001-0.008

0-0.013 0.001-0.013

0.003 0.004 0.004

ppm ppm ppm

CO (1 hr.) วันที่ 2-3 ธ.ค. 2547 3-4 ธ.ค. 2547 4-5 ธ.ค. 2547

Non-Dispersive Infrared Detection (NDIR) 30

0.13-1.34 0.08-0.94 0.10-1.52

0.51 0.28 0.39

ppm ppm ppm

TSP (1 hr.) วันที่ 2-3 ธ.ค. 2547 3-4 ธ.ค. 2547 4-5 ธ.ค. 2547

Gravimetric-High Volume 0.33

- - -

0.068 0.066 0.086

mg/m3

mg/m3

mg/m3

PM10 (1 hr.) วันที่ 2-3 ธ.ค. 2547 3-4 ธ.ค. 2547 4-5 ธ.ค. 2547

Gravimetric-High Volume 0.12

- - -

0.049 0.044 0.060

mg/m3 mg/m3 mg/m3

* มาตรฐานคณุภาพอากาศในบรรยากาศของกรมควบคุมมลพิษ ทุกพารามิเตอรดานคุณภาพอากาศท่ีตรวจวัดอยูในเกณฑมาตรฐาน เมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพอากาศของอําเภอเชียงของ พบวา คาความเขมขนของ CO, TSP และ PM10 ที่ตรวจวัด ณ ที่วาการอําเภอเชียงแสนมีคาสูงกวาอําเภอเชียงของ แตยังอยูในเกณฑที่ยอมรับได

Page 40: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -40

2.3) อําเภอแมสาย (1)แหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศในอําเภอแมสาย

จากการจราจรทางบก เสนทางหลักที่เปนแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศแหงหนึ่งของพื้นที่อําเภอแมสายที่มาจากการจราจรสายหลักไดแก

- เสนทางหลวงหมายเลข 110 เช่ือมระหวางจังหวัดเชียงราย-อําเภอแมสาย - เสนทางหลวงหมายเลข 1129 เช่ือมระหวางอําเภอแมสาย-อําเภอเชียงแสน

จากการจราจรทางน้ํา สวนทางน้ํา ไดแก ทาเรือขนาดเล็กที่เปนทาเรือของนักทองเที่ยว ลองชมความงามของ

สามเหลี่ยมทองคํา โดยสวนใหญเปนเรือโดยสารขนาดเล็ก แหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศจากการจราจร จึงมีไมมากนัก

จากโรงงานอุตสาหกรรม ในอําเภอแมสายมีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม จํานวนทั้งส้ิน 159 โรงงาน

ประกอบดวย ประเภทที่ 1 จํานวน 147 โรง

ประเภทที่ 2 จํานวน 8 โรง ประเภทที่ 3 จํานวน 4 โรง อุตสาหกรรมสวนใหญ เปนอุตสาหกรรมซึ่งมีมลพิษทางอากาศคอนขางนอย โรงงานจําพวกที่ 3 จะเปนกลุมที่รับอบเมล็ดพนัธุพืชที่มีเครื่องจักรแรงมามากกวา 50 HP

(2)คุณภาพอากาศ คุณภาพอากาศโดยสวนใหญ ในทุกพารามิเตอรทีต่รวจวัดในบรเิวณที่วาการอําเภอ แมสาย อยูในเกณฑที่ยอมรับได ซึ่งไมแตกตางไปจาก 2 อําเภอขางตน โดยภาพรวมแลวคุณภาพอากาศในพื้นที่ทั้ง 3 อําเภอมีคุณภาพทีด่ี โดยมีการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ณ ที่วาการอําเภอแมสาย (มีจุดพิกัดที่ E: 0592310, N: 2260124) ระหวางวันที่ 6-9 ธันวาคม 2547 (รูปที่ 2.1-15) มีผลการตรวจวัด ดังตารางที่ 2.1-11

Page 41: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -41

รูปที่ 2.1-15 แสดงการเก็บอากาศ เสียงและความสัน่สะเทือน ณ ที่วาการอําเภอแมสาย ระหวางวันที่

6-9 ธันวาคม 2547

ที่วาการอําเภอแมสาย

Page 42: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -42

ตารางที่ 2.1-11 ผลการตรวจวัดมลพิษทางอากาศ ณ ที่วาการอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ผลการตรวจวัด

พารามิเตอร วิธีการตรวจวัด/วิเคราะห มาตรฐาน* พิสัย คาเฉลี่ย

หนวย

NO2 (1 hr.) วันที่ 6-7 ธ.ค. 2547 7-8 ธ.ค. 2547 8-9 ธ.ค. 2547

Chemiluminescence 0.17

0.004-0.016 0.004-0.021 0.004-0.023

0.010 0.010 0.012

ppm ppm ppm

SO2 (1 hr.) วันที่ 6-7 ธ.ค. 2547 7-8 ธ.ค. 2547 8-9 ธ.ค. 2547

UV Fluorescence 0.30

0.004-0.009 0.000-0.007 0.005-0.008

0.006 0.006 0.006

ppm ppm ppm

O3 (1 hr.) วันที่ 6-7 ธ.ค. 2547 7-8 ธ.ค. 2547 8-9 ธ.ค. 2547

Chemiluminescence 0.10

0.000-0.015 0.001-0.020 0.000-0.022

0.005 0.008 0.009

ppm ppm ppm

CO (1 hr.) วันที่ 6-7 ธ.ค. 2547 7-8 ธ.ค. 2547 8-9 ธ.ค. 2547

Non-Dispersive Infrared Detection (NDIR) 30

0.16-1.16 0.14-1.65 0.15-2.22

0.047 0.51 0.65

ppm ppm ppm

TSP (1 hr.) วันที่ 6-7 ธ.ค. 2547 7-8 ธ.ค. 2547 8-9 ธ.ค. 2547

Gravimetric-High Volume 0.33

- - -

0.069 0.078 0.079

mg/m3

mg/m3

mg/m3

PM10 (1 hr.) วันที่ 6-7 ธ.ค. 2547 7-8 ธ.ค. 2547 8-9 ธ.ค. 2547

Gravimetric-High Volume 0.12

- - -

0.050 0.058 0.059

mg/m3 mg/m3 mg/m3

* มาตรฐานคณุภาพอากาศในบรรยากาศของกรมควบคุมมลพิษ

Page 43: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -43

2.1.7 เสียง

อําเภอเชียงของ การตรวจวัดระดับเสียงและความสั่นสะเทอืนดาํเนินการตรวจวัด ณ จุดเดียวกันคือ ที่วาการอําเภอเชียงของ โดยตรวจวัด 4 พารามิเตอร คือ Leq, Lmax, Ldn และ L90 ระหวางวันที่ 29 พฤศจิกายน – 2 ธันวาคม 2547 โดยใช Integrating Sound Level Meter Type II (Rion NL-04) พบวา คาระดบัเสียงสูงสุดที่ตรวจวัดไดคือ 90.3 dB(A) ในชวงเวลา 1 ช่ัวโมง คาระดบัเสียงพื้นฐานปจจุบนั (L90) มีคาอยูที่ 44.5 – 46.6 dB(A) และระดับเสียงเฉลี่ย (Leq 24 hr.) อยูในชวง 52.6-54.9 dB(A) ระดับเสียงกลางวันกลางคืน (Ldn) อยูที่ 54.1-56.6 dB(A) ดังรายละเอียดในตารางที่ 2.1-12 ตารางที่ 2.1-12 ผลการตรวจวัดระดับเสียง บริเวณที่วาการอําเภอเชียงของ

ผลการตรวจวัดระดับเสียง ,เดซิเบล เอ 29-30 พฤศจิกายน 2547 30 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม

2547 1 – 2 ธันวาคม 2547

เวลา

Leq Lmax L90 Leq Lmax L90 Leq Lmax L90 10.00 53.9 68.5 46.9 58.6 82.3 49.4 58.3 90.3 48.6 11.00 53.2 70.4 46.5 58.3 81.8 50.0 55.1 84.3 49.4 12.00 51.5 68.6 46.2 56.3 82.7 48.2 53.4 77.2 47.8 13.00 51.9 71.1 45.8 54.7 74.3 47.4 55.0 75.2 47.4 14.00 50.8 67.2 45.2 53.9 77.9 48.5 54.4 72.4 47.3 15.00 50.9 71.7 45.6 55.3 80.3 46.7 51.6 72.8 46.1 16.00 52.7 77.8 45.3 57.4 89.9 48.9 52.5 71.1 45.2 17.00 57.8 72.0 47.1 54.0 81.1 46.0 53.6 74.0 46.8 18.00 57.5 70.6 50.5 52.8 69.6 45.9 54.1 75.7 46.2 19.00 53.8 72.5 46.0 62.0 73.1 49.4 63.2 76.4 47.2 20.00 49.9 64.4 42.7 48.5 68.5 42.2 52.0 83.9 51.8 21.00 46.6 63.3 39.6 49.8 69.6 42.1 49.6 73.5 43.7 22.00 43.8 64.1 39.1 50.6 76.6 42.1 47.7 80.3 41.4 23.00 43.0 63.3 39.3 46.0 78.5 41.5 43.4 67.2 39.9 24.00 41.3 64.1 38.4 43.6 66.5 40.0 43.2 63.1 39.6 1.00 41.6 66.1 38.7 43.5 61.7 40.5 44.2 61.8 39.2 2.00 42.2 60.7 38.8 45.4 71.1 40.2 42.0 68.3 39.5 3.00 42.1 61.8 38.9 44.4 70.7 39.8 42.7 57.7 39.1 4.00 43.6 61.2 39.2 42.4 65.8 39.4 42.1 64.6 38.6 5.00 43.8 62.5 38.9 43.2 58.5 39.6 42.7 63.8 38.5 6.00 46.5 59.5 39.2 43.8 66.6 39.5 43.4 65.1 38.5 7.00 56.1 62.3 38.9 47.7 73.9 39.7 48.8 61.7 38.8 8.00 57.3 69.4 39.3 57.3 73.5 40.2 57.1 75.5 39.9 9.00 56.6 75.3 48.7 60.3 90.3 53.6 59.8 72.7 53.6

ผลการตรวจวดั ชวงเวลา 24 ชั่วโมง

52.6 77.8 44.5 54.9 90.3 46.4 54.5 90.3 46.4

Ldn 54.1 56.6 55.9

Page 44: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -44

อําเภอเชียงแสน การตรวจวัดระดับเสียงดาํเนินการตรวจวัด ณ จุดเดียวกัน คือ ที่วาการอําเภอเชียงแสน ระหวางวันที่ 2-5 ธันวาคม 2547 พบวา คาระดบัเสียงสูงสุดที่ตรวจวัดไดคือ 82.6 dB(A) ในชวงเวลา 1 ช่ัวโมง คาระดับเสียงพื้นฐานปจจบุัน (L90) มีคาอยูที่ 40.8-41.5 dB(A) และระดับเสียงเฉลี่ย อยูในชวง 50.5-51.8 dB(A) ระดับเสียงกลางวันกลางคนื (Ldn) อยูที่ 53.8-55.0 dB(A) จะเห็นไดวาระดับเสียงที่เชียงแสนไมแตกตางจากพืน้ที่ของเชียงของ ดังรายละเอียดในตารางที่ 2.1-13 ตารางที่ 2.1-13 ผลการตรวจวัดระดับเสียง ณ ที่วาการอําเภอเชียงแสน

ผลการตรวจวัดระดับเสียง ,เดซิเบล เอ

2 - 3 ธันวาคม 2547 3 - 4 ธันวาคม 2547 4 - 5 ธันวาคม 2547 เวลา Leq Lmax L90 Leq Lmax L90 Leq Lmax L90

15.00 51.8 78.4 42.7 50.2 70.4 41.8 51.4 76.1 42.2 16.00 50.7 80.3 41.3 53.6 76.7 42.6 51.7 86.2 43.1 17.00 51.7 77.9 42.5 52.4 79.0 42.8 52.2 84.3 42.8 18.00 51.3 71.2 42.1 50.7 74.1 41.6 52.1 79.2 42.5 19.00 50.1 69.6 41.3 50.3 71.8 41.3 51.1 80.2 41.7 20.00 49.6 68.4 40.7 49.6 70.3 40.9 48.6 67.6 40.2 21.00 49.4 70.8 40.2 49.2 71.1 40.6 47.6 68.3 38.6 22.00 48.7 64.3 39.6 48.5 68.4 39.9 46.2 66.5 38.3 23.00 46.3 68.1 37.8 46.3 69.3 38.1 45.9 69.5 36.8 24.00 44.6 62.0 37.9 44.7 65.2 38.5 40.7 61.7 36.3 1.00 44.3 63.7 37.8 44.1 66.1 38.3 42.1 64.6 35.8 2.00 43.2 66.3 37.7 42.9 65.8 38.1 40.9 60.0 35.7 3.00 43.1 61.8 37.2 43.6 61.2 38.0 41.5 62.4 35.6 4.00 43.9 65.9 35.9 46.9 62.3 37.8 45.4 62.7 36.0 5.00 44.5 71.6 34.3 48.7 62.7 36.5 49.2 65.6 36.0 6.00 48.4 65.2 38.1 50.6 68.4 39.7 52.2 66.1 37.6 7.00 50.9 76.2 40.6 52.3 70.2 41.9 53.4 78.3 39.4 8.00 51.8 72.8 41.9 54.1 74.9 43.2 53.4 77.0 42.5 9.00 54.7 75.1 42.8 55.9 76.8 43.8 52.8 78.5 42.0 10.00 50.4 71.4 40.8 55.1 74.3 43.5 53.0 73.0 42.2 11.00 52.9 77.0 42.1 56.4 78.2 44.2 53.3 76.3 42.9 12.00 53.9 71.6 43.2 54.3 76.1 43.6 52.8 75.1 42.7 13.00 53.6 73.7 43.8 52.7 74.0 43.3 52.5 70.1 43.4 14.00 52.3 74.9 43.1 52.2 77.2 43.1 59.6 74.5 43.0

ผลการตรวจวดั ชวงเวลา 24 ชั่วโมง

50.5 80.3 40.9 51.7 79.0 41.5 51.8 86.2 40.8

Ldn 53.8 55.0 54.9

Page 45: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -45

อําเภอแมสาย การตรวจวัดระดับเสียงดาํเนินการตรวจวัด ณ จดุเดียวกันคือ ที่วาการอําเภอแมสาย ระหวางวันที่ 6-9 ธนัวาคม 2547 พบวา คา คาระดบัเสียงสูงสุดที่ตรวจวัดไดคือ 84.8 dB(A) ในชวงเวลา 1 ช่ัวโมง คาระดับเสียงพื้นฐานปจจบุัน (L90) มีคาอยูที่ 50.0-50.7 dB(A) และระดบัเสียงเฉลี่ย อยูในชวง 53.6-57.8 dB(A) ระดับเสียงกลางวันกลางคืนอยูที่ 58.1-61.1 dB(A) จะเห็นไดวาระดับเสียงที่แมสายคอนขางจะมากกวาทั้งสองอําเภอขางตนทัง้ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง L90 และ Ldn แตพบวาระดบัเสียงสูงสุดมีคานอยกวา แสดงวาในพ้ืนที่แมสายระดับเสียงคอนขางจะมีคาทีเ่บี่ยงเบนหรือมีความแตกตางกันนอยกวาเมื่อเทียบกับทั้งสองพ้ืนที่ขางตน ดังรายละเอียดในตารางที่ 2.1-14 ตารางที่ 2.1-14 ผลการตรวจวัดระดบัเสียง ณ ที่วาการอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

ผลการตรวจวัดระดับเสียง ,เดซิเบล เอ 6 - 7 ธันวาคม 2547 7 – 8 ธันวาคม 2547 8 - 9 ธันวาคม 2547 เวลา

Leq Lmax L90 Leq Lmax L90 Leq Lmax L90 11.00 54.7 78.4 51.3 55.0 76.0 52.5 55.5 70.8 52.1 12.00 55.8 79.6 51.9 55.0 74.4 51.9 55.4 83.5 51.9 13.00 56.9 71.2 52.1 54.8 70.6 51.6 54.5 69.8 51.1 14.00 55.6 74.6 51.2 55.4 70.2 51.4 67.3 74.7 53.8 15.00 51.8 70.2 48.0 55.3 70.9 51.6 66.3 80.7 52.6 16.00 51.6 76.8 48.2 56.2 72.5 51.8 51.4 67.0 47.9 17.00 54.7 83.2 52.5 53.7 71.3 49.6 50.8 77.9 46.8 18.00 55.4 81.4 52.6 53.2 70.9 49.5 49.4 67.9 46.0 19.00 55.8 73.7 51.1 55.4 74.1 50.9 49.2 73.0 46.0 20.00 52.7 67.9 46.9 53.1 72.8 49.2 47.6 62.4 45.6 21.00 48.1 63.3 45.8 51.7 68.6 48.1 47.8 74.6 45.6 22.00 47.9 68.7 45.8 50.4 73.2 46.9 47.2 60.6 45.6 23.00 47.6 64.7 45.8 50.7 68.5 47.0 47.6 62.3 45.7 24.00 47.6 60.5 45.8 49.7 66.0 46.2 47.7 65.3 45.8 1.00 47.8 64.0 45.9 48.4 67.6 45.9 48.3 68.2 45.9 2.00 48.6 65.8 46.2 55.1 71.8 51.1 50.1 64.0 46.4 3.00 49.9 67.5 46.7 54.6 70.3 50.8 51.6 69.2 47.6 4.00 51.9 73.6 47.8 55.9 67.9 52.0 58.1 73.7 51.6 5.00 52.1 68.3 48.2 55.1 69.3 51.7 55.8 69.8 51.6 6.00 55.9 71.1 51.4 54.8 65.2 51.3 55.3 70.6 51.7 7.00 54.9 70.4 51.1 55.7 69.7 52.3 56.0 71.4 52.0 8.00 55.7 73.3 51.8 56.8 73.6 53.1 55.9 74.2 52.4 9.00 55.1 75.1 51.7 57.4 84.8 52.1 55.0 71.9 51.2 10.00 55.3 71.9 51.8 51.8 76.0 48.4 56.1 73.0 52.2

ผลการตรวจวัด ชวงเวลา 24 ชั่วโมง 53.6 83.2 50.0 54.5 84.8 50.7 57.8 83.5 50.1

Ldn 58.1 60.2 61.1

Page 46: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -46

2.1.8 ความสั่นสะเทือน

อําเภอเชียงของ การตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือน จะวัดในรูปแบบทัง้แนวดิ่งและแกนใดๆ ทั้งอนุภาคของความเร็ว (Velocity) และในรูปของความถี ่ (Frequency) โดยตรวจวัดระหวางวันที่ 5-8 ธันวาคม 2547 ตรวจวัด ณ บริเวณ ขางพระอุโบสถ วดัศรีดอนชัย หางจากทางหลวงหมายเลข 1129 เปนระยะทาง 7 เมตร ซึง่พบวาสาเหตสุวนใหญมาจากยวดยานพาหนะที่วิ่งผานไปมาบนถนนดงักลาว ระดับคาของอนุภาคความเร็วที่ตรวจวัดได นอยกวา 0.250 mm/sec ดังแสดงในตารางที่ 2.1-15 ซึ่งคาดังกลาวไมสงผลกระทบตอโครงสรางอาคารทั้งสมัยใหมและสถาปตยกรรมโบราณ รวมทั้งการรับรูของมนุษย (ตารางที่ 2.1-15) ตารางที่ 2.1-15 ผลการบนัทึกคาความสั่นสะเทือนสูงสุด ณ อําเภอเชียงของ

วันที่ 5 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.250 mm/sec : <0.250 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

วันที่ 6 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.250 mm/sec : <0.250 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

วันที่ 7 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.250 mm/sec : <0.250 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

วันที่ 8 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.250 mm/sec : <0.250 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

Page 47: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -47

อําเภอเชียงแสน การตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนในอาํเภอเชียงแสน ระหวางวันที่ 2-5 ธนัวาคม 2547 ตรวจวัด ณ บริเวณสนามหนาสํานกังานสาธารณสุขอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย หางจากทางหลวงหมายเลข 1290 เปนระยะทาง 3 เมตร ซึ่งพบวาสาเหตุสวนใหญมาจากยวดยานพาหนะทีว่ิ่งผานไปมาบนถนนดังกลาว โดยเฉพาะรถโดยสารขนาดใหญ ระดับคาของอนุภาคความเร็วที่ตรวจวัดได สูงสุด 0.603 mm/sec ดังตารางที่ 2.1-16 ซึ่งคาดังกลาวไมสงผลกระทบตอโครงสรางอาคาร ทั้งสมยัใหมและสถาปตยกรรมโบราณ รวมทั้งการรับรูของมนุษย ตารางที่ 2.1-16 ผลการบันทึกคาความสั่นสะเทือนสูงสุด ณ สนามหนาสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ เชียงแสน

วันที่ 2 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.500 mm/sec : <0.500 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

วันที่ 3 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : 12:01 : 12:01 Velocity : 0.603 mm/sec : 0.603 mm/sec Frequency : 16 Hz : 16 Hz

วันที่ 4 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : 18:25 : 18:25 Velocity : 0.603 mm/sec : 0.603 mm/sec Frequency : 13 Hz : 13 Hz

วันที่ 5 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.500 mm/sec : <0.500 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

Page 48: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -48

อําเภอแมสาย การตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนในอาํเภอแมสาย ระหวางวันที่ 6-9 ธันวาคม 2547 ตรวจวัด ณ สนามหนาสํานกังานสาธารณสุขอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงรายหางจากทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนสายเอเชีย) 5 เมตร ซึ่งพบวาสาเหตุสวนใหญมาจากยวดยานพาหนะทีว่ิ่งผานไปมาบน ถนนดังกลาว โดยเฉพาะรถโดยสารขนาดใหญ ระดบัคาของอนภุาคความเร็วที่ตรวจวัดได นอยกวา 0.250 mm/sec ดังตารางที ่2.1-17 ซึ่งคาดังกลาวไมสงผลกระทบตอโครงสรางอาคารทั้งสมัยใหมและสถาปตยกรรมโบราณ รวมทั้งการรับรูของมนุษย ตารางที่ 2.1-17 ผลการบนัทึกคาความสั่นสะเทือนสูงสุด ณ สนามหนาสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ

แมสาย จังหวดัเชียงราย

วันที่ 6 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.250 mm/sec : <0.250 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

วันที่ 7 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.250 mm/sec : <0.250 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

วันที่ 8 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.250 mm/sec : <0.250 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

วันที่ 9 ธันวาคม 2547

แกนใดๆ แกนดิ่ง (Vertical)

เวลา : - :- Velocity : <0.250 mm/sec : <0.250 mm/sec Frequency : - Hz : - Hz

Page 49: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -49

2.2 ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ

2.2.1 ทรัพยากรปาไมและสัตวปา จังหวัดเชียงรายมีพ้ืนที่ทั้งหมด 11,678.37 ตารางกโิลเมตร ซึ่งแบงเปนเนื้อที่ปาสงวนแหงชาติ ทั้งส้ิน 10,433.10 ตารางกโิลเมตร (ที่มา: www.forest.go.th/stat41/tab1.htm)

รูปที่ 2.2-1 แสดงตาํแหนงปาสงวนแหงชาติ ในจังหวดัเชียงราย (ที่มา: http://www.forest.go.th/zoning/north.htm)

จากการทบทวนขอมูลการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมในจังหวัดเชียงรายโดยกรมปาไม ชวง พ.ศ. 2519-2545 พบวาพ้ืนที่ปาไมลดลงอยางตอเนื่อง และเพ่ิมมากขึ้นชวงหลังป พ.ศ. 2542 ที่มีการปลูกปาเพ่ิมเติมเปนจํานวนมาก ดังแสดงไดในรูปที่ 2.2-2

Page 50: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -50

เนื้อท่ีปาไมท่ีเหลืออยู(ไร)

0

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

3000000

3500000

4000000

4500000

2519 2525 2528 2531 2532 2534 2536 2538 2541 2545

เนื้อที่ปาไมที่เหลืออยู

รูปที่ 2.2-2 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมในจังหวัดเชียงราย

สําหรับรายละเอียดขอมูลดานปาไมแยกรายอําเภอ แสดงไวในรูปที่ 2.2-3

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา รูปที่ 2.2-3 แผนที่แสดงพืน้ที่ปาไมภายในบริเวณพื้นทีศ่ึกษา

Page 51: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -51

อําเภอเชียงของ

อําเภอเชียงของมีพ้ืนที่ปาไมซึ่งสวนใหญเปนปาไมกระยาเลย โดยมีพ้ืนที่ปาสงวนแหงชาติจํานวน 5 แหง ไดแก - ปาแมโขงฝงขวา - ปาดอยขมิ้น และปาน้ําแหยง - ปาน้าํมาและปาน้ําชาง - ปาดอยหลวง ปาน้าํยาว และ ปาน้ําซอ - ปาแมอิงฝงขวา-ปาแมงาว (พ้ืนที่บางสวนคาบเกี่ยวอําเภอเวียงแกน) อําเภอเชียงของมีพ้ืนที่ปาไมประมาณ 201,083.74 ไร หรือคิดเปนรอยละ 47.41 ของพื้นที่ทั้งหมด สวนใหญเปนปาไมกระยาเลย พบวา พ้ืนที่ปาไมในอําเภอเชียงของมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงลดลง โดยมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมเปนพื้นที่เกษตรกรรม เนื่องจากจํานวนประชากรที่เพ่ิมขึ้น พ้ืนที่ปาไมในอําเภอเชียงของแสดงดังตารางที่ 2.2-1

ตารางที่ 2.2-1 พ้ืนที่ปาไมในแตละตาํบลของอําเภอเชียงของ

ตําบล พื้นที่ปา (ไร) พื้นที่ตําบล (ไร) รอยละ

เวียง 35,461.73 84,262.03 42.09 ครึ่ง 39,832.69 56,182.70 70.90

บุญเรือง 20,324.11 28,909.92 70.30 สถาน 12,880.26 43,689.66 29.48 หวยซอ 35,958.65 159,275.50 22.58

ศรีดอนชัย 23,850.74 75,590.06 31.55 ริมโขง 32,775.56 51,804.09 63.27 รวม 201,083.74 424,123.90 47.41

(ที่มา : โครงการวางและจัดทําผังพ้ืนที่เฉพาะชุมชนชายแดนเชียงของ จังหวัดเชียงราย ; กรกฎาคม 2547)

อําเภอเชียงแสน

ปาไมเปนทรพัยากรสําคัญของอําเภอเชียงแสน เนื่องจากลักษณะภูมปิระเทศบางสวนเปนที่สูงและภูเขา จึงมีปาไมในทุกตําบลของอําเภอ มีไมเต็ง ไมรัง ไมประดู ไมสัก ไมไผ พ้ืนที่ปาไมทั้งหมด 151,137.54ไร หรือคิดเปนรอยละ 42.90 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้พบสตัวประเภท ลิง คาง เกง กวาง และกระตายปา ของปา ไดแก น้าํผึ้ง หวาย กลวยปา หนอไม และเห็ด โดยมีพ้ืนที่ปาในแตละตําบล ดังตารางที่ 2.2-2

Page 52: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -52

ตารางที่ 2.2-2 พ้ืนที่ปาไมในแตละตาํบลของอําเภอเชียงแสน ตําบล พื้นที่ปา (ไร) พื้นที่ตําบล (ไร) รอยละ

เวียง 14,420.93 42,652.20 33.81 บานแซว 101,442.44 163,070.50 62.21 ศรีดอนมูล 8,122.68 37,609.50 21.60 ปาสัก 454.84 32,483.53 1.40 แมเงิน 24,741.20 44,961.02 55.03 โยนก 1,955.45 31,520.68 6.20 รวม 151,137.54 352,297.43 42.90

(ที่มา : โครงการวางและจัดทําผังพ้ืนที่เฉพาะชุมชนชายแดนเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ; ตุลาคม 2547)

โดยมีพ้ืนที่ปาที่สําคญั ไดแก - ปาสงวนแหงชาติปาน้ํามะ-ปาสบรวก ตัง้อยูในเขตตาํบลปาสัก และตําบลเวียง พ้ืนที่ปาไม 12,028 ไร - ปาสบกกฝงขวา ตั้งอยูในเขตตําบลปาสัก และตาํบลบานแซว พ้ืนทีป่าไม 265,725 ไร - ปาแมโขงฝงขวา - เขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย (หรือหนองบงกาย)

อําเภอแมสาย ปาไมเปนปาเบญจพรรณทีค่อนขางอุดมสมบูรณ พันธุไมที่พบไดแก สัก เต็ง รัง เหียง พลวง

ประดู มะคา ตะเคียน ยอปา และมีไมไผข้ึนตลอดทางตามแนวลําหวยและลําธาร พ้ืนที่ปาไมของอําเภอแมสาย รวมทั้งส้ิน 17,017.00 ไร หรือคดิเปนรอยละ 9.13 ของพื้นที่ทั้งหมด ขนาดพื้นที่ปาไมในแตละตําบล แสดงดงัตารางที่ 2.2-3 สัตวปาที่พบไดแก ชาง เสือดาว กวาง อีเกง หมูปา อีเห็น กระรอก นกกระยาง นกกะปูด พังพอน กระตายปา คางคาว นกกระจบิคอดํา เปนตน ( ที่มา: http://www.dnp.go.th/parkreserve/park.asp?lg=1)

ตารางที่ 2.2-3 พ้ืนที่ปาไมในแตละตาํบลของอําเภอแมสาย ตําบล พื้นที่ปา (ไร) พื้นที่ตําบล (ไร) รอยละ

แมสาย 0.00 17,472.28 0.00 เกาะชาง 0.00 26,345.82 0.00 โปงผา 1,658.58 31,191.58 5.32 หวยไคร 7,441.48 22,460.22 33.13 ศรีเมืองชุม 0.00 28,297.42 0.00 เวียงพางคํา 1,784.33 12,564.46 14.20 บานดาย 0.00 15,478.91 0.00 โปงงาม 6,132.60 32,430.72 18.91 รวม 17,017.00 186,241.41 9.13

Page 53: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -53

2.2.2 พื้นที่ชุมนํ้า อําเภอเชียงของและอําเภอเชยีงแสน เปนพืน้ที่ที่มีแมน้ําโขงไหลผาน ในเบื้องตนถือไดวาเปนพ้ืนที่ชุมน้ําที่มคีวามหลากหลายของชนิดปลามากเปนอนัดบั 3 ของโลก โดยพบชนิดพันธุปลาในแมน้าํ-โขง ไดแก ปลาบึก ปลาซิวแคระสามจดุ บางชนิดเปนปลาเฉพาะถิ่น เชน ปลาย่ีสกทอง ปลาสะอ ี บางชนดิอยูในสถานภาพใกลสูญพันธุ ไดแก ปลาตองลาย ปลากะทิ ปลาแขยงหิน ปลาเทพา บางชนิดอยูในสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุ ไดแก ปลากระเบนราหู ปลายี่สกทอง ปลาดุกดาน ปลาบูกุดทิง เปนตน พ้ืนที่ชุมน้ําทีสํ่าคัญภายในพื้นที่ศึกษา คอื หนองบงคาย (ออกเสียงสําเนียงตามภาษาถิน่วา หนองบงกาย) หรือ พ้ืนที่ชุมน้ําเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย จ.เชียงราย ถือเปนพื้นที่ชุมน้ําลําดับที ่5 ของประเทศไทย และลําดบัที่ 1101 ในทะเบียนพื้นที่ชุมน้ําที่มคีวามสําคัญระหวางประเทศ ตั้งอยูในเขตอําเภอเชียงแสน อําเภอแมจัน ในตําแหนงที่ 200 10-18 N และ 990 57 ถึง 100 0 11 E มีเนื้อที่ 2,712.5 ไร มีความสูงจากระดบัน้าํทะเล โดยเฉลี่ยประมาณ 350 เมตร ลักษณะทั่วไปพื้นที่ชุมนํ้าหนองบงคาย

เปนบึงน้าํจดืขนาดเล็กที่งดงามอยูทามกลางภูเขาเขตหามลาสัตว ปาหนองบงคายเปนสวนหนึ่งของลุมน้ําเชียงแสนและทะเลสาบเชียงแสน(หนองบงคาย) พ้ืนที่แองเชียงแสนเปนที่ราบลอมรอบดวยเนินเขา ยกเวนดานตะวนัออกเฉยีงเหนือเปนที่ราบเปดโลงออกสูแมน้ําโขง มีอาณาเขตตั้งแตสามเหลี่ยมทองคําที่อยูทางดานเหนือของอําเภอเชียงแสนขึ้นไปประมาณ 10 กิโลเมตรลงมาตามแมน้าํโขงถึงบานสวนดอกซึ่งอยูใตบริเวณที่แมน้ํากกไหลลงสูแมน้ําโขง และแผจากเชียงแสนไปทางตะวันตกเฉียงใต ครอบคลุมพื้นที่ของอําเภอเชียงแสน อําเภอแมจัน ไปตามแมน้ํากกประมาณ 18 กิโลเมตร แองเชียงแสนมีความกวางประมาณ 10 กิโลเมตร และความยาวประมาณ 18 กิโลเมตร ดานลางเปนแองหนองเวียงซึ่งเปนหนองน้ํา และเปนบริเวณที่ลุมต่าํกวางใหญ รับน้ําหลากจากแมน้ําโขงในฤดูฝน สวนใหญในฤดูแลงจะลดขนาดลงเปนหนองน้ําเล็กๆ ถัดขึ้นไปเปนหนองบงคายหรือทะเลสาบเชียงแสน ซึ่งเปนบึงน้าํขนาด ใหญ ขนาด 2 ตารางกโิลเมตร (1,250 ไร) มีน้ําตลอดป มีเกาะขนาดเล็กสองเกาะ

บริเวณโดยรอบเปนพืน้ที่ที่มีความสําคัญตอนกประจําถ่ินและนกอพยพ โดยเฉพาะนกที่อยูในสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุของโลก เชน เปดดาํหัวดํา ( Aythya baeri ) และสถานภาพใกลสูญพันธุของประเทศไทย เชน นกกาน้าํใหญ (Phalacrocorax carbo) นกกระสาแดง (Ardea purpurea) และเหยี่ยวดํา (Milvus migrans )

บริเวณเขตหามลาสัตวปาหนองบงคายพบนก 121 ชนดิ เปนนกที่ทํารังวางไขบริเวณนี ้อยางนอย 15 ชนิด เชน นกยางไฟธรรมดา (Ixobrychus cinnanomeus) นกตบยุงยักษ (Eurostopodus macrotis) เปดแดง (Dendrocygna javanica) และนกอีลุม (Gallicrex cinerea) เปนตน พบปลา 21 ชนิด ไดแก ปลากัดไทย (Betta splender) ปลากริม (Trichopsis vittatus ) ปลานิล (Oreochromis miloticus ) ปลาแปนหรือเขาเมา (Pristolepis fasciatus) เปนตน

Page 54: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -54

รูปที่ 2.2-4 แสดงพื้นที่ชุมน้ํา หนองบงคาย (หนองบงกาย)

Page 55: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -55

2.3 คุณคาการใชประโยชนของมนุษย

2.3.1 การใชประโยชนที่ดินในระดับอําเภอ

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา

รูปที่ 2.3-1 แผนที่แสดงการใชประโยชนที่ดินภายในบรเิวณพื้นที่ศึกษา

อําเภอเชียงของ อําเภอเชียงของมีพ้ืนที่รวม 800.46 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่เกษตรกรรม และพ้ืนที่ปาไม มีสัดสวนการใชพ้ืนที่ ไดแก พ้ืนที่เกษตรกรรม 472.66 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 59.05) พ้ืนที่ปาไม 285.36 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 35.65) พ้ืนที่ชุมชนและที่อยูอาศัย 20.42 ตารางกโิลเมตร (รอยละ 2.55) พ้ืนที่อุตสาหกรรม 0.33 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 0.04) พ้ืนที ่แหลงน้ํา 0.87 ตารางกโิลเมตร (รอยละ 0.11) และพื้นที่อ่ืน ๆ 20.83 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 2.60) แสดงรายละเอียดดงัตารางที่ 2.3-1 และรูปที่ 2.3-1

Page 56: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -56

อําเภอเชียงแสน อําเภอเชียงแสนมีพ้ืนที่รวม 565.54 ตารางกิโลเมตร แบงการใชพ้ืนที่เปน 2 สวน ประกอบดวย ที่ราบลุมตอนกลาง และตะวันตกของอําเภอ และบรเิวณเนินเขาทางทิศตะวันออกของอําเภอ พ้ืนที ่สวนใหญเปนพื้นที่เกษตรกรรม และพ้ืนที่ปาไม มีสัดสวนการใชพ้ืนที่ ไดแก พ้ืนที่เกษตรกรรม 401.29 ตารางกโิลเมตร (รอยละ 70.96) พ้ืนที่ปาไม 118.75 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 21.00) พ้ืนที่ชุมชนและท่ีอยูอาศยั 21.33 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 3.77) พ้ืนที่แหลงน้ํา 7.98 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 1.41) และพ้ืนที่อ่ืน ๆ 16.19 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 2.86)

อําเภอแมสาย อําเภอแมสายมีพ้ืนที่รวม 302.25 ตารางกิโลเมตร โดยพืน้ที่สวนใหญเปนพืน้ที่เกษตรกรรม มีสัดสวนการใชพ้ืนที่ ไดแก พ้ืนที่เกษตรกรรม 216.39 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 71.59) พ้ืนที่ปาไม 27.58 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 9.13) พ้ืนที่ชุมชนและที่อยูอาศัย 22.45 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 7.43) พ้ืนที่อุตสาหกรรม 0.26ตารางกิโลเมตร (รอยละ 0.08) พ้ืนที่แหลงน้ํา 1.45 ตารางกโิลเมตร (รอยละ 0.48) และพ้ืนที่อ่ืน ๆ 24.78 ตารางกโิลเมตร (รอยละ 11.29) ตารางที่ 2.3-1 ลักษณะการใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ศึกษา

อําเภอ พื้นที่ เน้ือที่ (ตาราง กม.) รอยละของพื้นที่อําเภอ

แมสาย พื้นที่เกษตรกรรม 216.39 71.59 พื้นที่ปาไม 27.58 9.13 พื้นที่ชุมชนและที่อยูอาศัย 22.45 7.43 พื้นที่อุตสาหกรรม 0.27 0.08 พื้นที่แหลงน้ํา 1.45 0.48 พื้นที่อื่นๆ 34.11 11.29

รวม 302.25 100.00 เชียงแสน พื้นที่เกษตรกรรม 401.29 70.96 พื้นที่ปาไม 118.75 21.00 พื้นที่ชุมชนและที่อยูอาศัย 21.33 3.77 พื้นที่อุตสาหกรรม - 0.00 พื้นที่แหลงน้ํา 7.98 1.41 พื้นที่อื่นๆ 16.19 2.86 รวม 565.54 100.00 เชียงของ พื้นที่เกษตรกรรม 472.66 59.05 พื้นที่ปาไม 285.36 35.65 พื้นที่ชุมชนและที่อยูอาศัย 20.42 2.55 พื้นที่อุตสาหกรรม 0.33 0.04 พื้นที่แหลงน้ํา 0.87 0.11 พื้นที่อื่นๆ 20.83 2.60 รวม 800.46 100.00

ที่มา: ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรจดัทําจากขอมูลวชิาการกรมพัฒนาที่ดนิ

Page 57: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -57

2.3.2 การใชนํ้าเพื่อการอุปโภคและบริโภค 1) แหลงนํ้าตามธรรมชาติ อําเภอเชียงของ

อําเภอเชียงของมีแหลงน้ําตามธรรมชาติ ประกอบดวยแมน้ําสายหลักจํานวน 2 สาย ไดแก แมน้ําโขง และแมน้ําอิง ซึ่งเปนแหลงน้าํผวิดินที่มีใชตลอดป ยังมีแหลงน้ําที่ประกอบดวย อางเกบ็น้ํา 10 แหง หนองน้าํ 35 แหง ฝายขนาดเล็ก 35 แหง และฝายขนาดใหญ 5 แหง นอกจากนี้ยังมโีครงการพัฒนาแหลงน้าํอ่ืนๆ เพ่ือใชในการอุปโภค-บริโภค และทําเกษตรกรรม แสดงดังตารางที่ 2.3-2 และตารางที่ 2.3-3

ตารางที่ 2.3-2 โครงการพัฒนาแหลงน้าํในเขตอาํเภอเชียงของ

ช่ือโครงการ สถานที่ตั้ง ปริมาณเก็บกกั (ลานลูกบาศกเมตร)

พ้ืนที่ไดรับประโยชน (ไร)

โครงการพัฒนาแหลงน้าํเพ่ือการเกษตร และอุปโภคบริโภค บานหาดปาย

ต.ริมโขง 0.063 400

โครงการพัฒนาแหลงน้าํเพ่ือการเกษตร และอุปโภค-บริโภค บานเมืองกาญจน

ต.ริมโขง 0.060 250

โครงการพัฒนาแหลงน้าํเพ่ือการเกษตร และอุปโภค-บริโภค บานดอนที่

ต.ริมโขง 0.005 300

พัฒนาแหลงน้าํบานสองพี่นอง ต.ริมโขง 0.001 -

ที่มา : กรมพัฒนาทีด่ิน (2545) ตารางที่ 2.3-3 โครงการพัฒนาแหลงน้าํในอนาคตของอําเภอเชียงของ

ช่ือโครงการ สถานที่ตั้ง พื้นที่ไดรับประโยชน (ไร)

พัฒนาแหลงน้าํบานผากุบ ต.ริมโขง 600 อางเก็บน้าํทุงคุก ต.เวียง 800 พัฒนาแหลงน้าํบานหาดปาย ต.ริมโขง แหลงน้ําเพ่ือการ

อุปโภค บริโภค

ที่มา : กรมพัฒนาทีด่ิน (2545) อําเภอเชียงแสน แหลงน้ําตามธรรมชาติของอําเภอเชียงแสน ประกอบดวย แมน้ําสายหลัก 5 สาย ไดแก แมน้ําโขง แมน้ํากก แมน้ํารวก แมน้ําคํา และแมน้าํจัน นอกจากนี้ยังมีลําหวย 14 สาย หนองน้ํา 12 แหง อางเก็บน้ํา ฝาย ทํานบ 15 แหง บอน้ําตื้น และ บอบาดาล ซึ่งเพียงพอสําหรับใชในอุปโภค บริโภค และการเกษตร ดังตารางที่ 2.3-4 และ 2.3-5

Page 58: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -58

ตารางที่ 2.3-4 โครงการพัฒนาแหลงน้าํในเขตอาํเภอเชียงแสน

ช่ือโครงการ สถานที่ตั้ง ปริมาณเก็บกกั (ลานลูกบาศกเมตร)

พ้ืนที่ไดรับประโยชน (ไร)

โครงการพัฒนาแหลงน้าํหวยทราย ต.แมเงิน 0.009 1,000 ฝายรองขุน ต.แมเงิน - แหลงน้ําเพ่ือการ

อุปโภค-บริโภค

ฝายน้ําขวาก ต.แมเงิน 0.002 1,500 อางเก็บน้าํหวยทราย ต.แมเงิน 0.955 3,000 อางเก็บน้าํหวยชัยมงคล ต.แมเงิน 0.492 4,000 อางเก็บน้าํหวยกวาน ต.บานแซว - แหลงน้ําเพ่ือการ

อุปโภค-บริโภค

อางเก็บน้าํหวยหมาตาย ต.ศรีดอนมูล 1.360 100 อางเก็บน้าํหวยเหลา ต.ศรีดอนมูล 0.390 200 อางเก็บน้าํบานวังกลาง ต.เวียง 0.126 500 ที่มา : กรมพัฒนาทีด่ิน (2545) หมายเหตุ - ไมมีขอมูล

ตารางที่ 2.3-5 โครงการพัฒนาแหลงน้าํในอนาคตของเขตอําเภอเชียงแสน

ช่ือโครงการ สถานที่ตั้ง พื้นที่ไดรับประโยชน (ไร)

ฝายหวยปาขวากพรอมระบบ ต.แมเงิน 600 พัฒนาแหลงน้าํบานสวนดอก ต.บานแซว 600 ฝายรองขุนพรอมระบบสงน้าํ ต.แมเงิน 1,000 พัฒนาแหลงน้าํบานแซว ต.บานแซว 600

ที่มา : กรมพัฒนาทีด่ิน (2545)

Page 59: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -59

อําเภอแมสาย แหลงน้ําตามธรรมชาติของอําเภอแมสาย ประกอบดวย แมน้ําสายหลักคือ แมน้ําสาย มีคลองชลประทาน เปนแหลงน้ําที่สําคญัที่ใชในการอปุโภค บริโภคในอาํเภอแมสาย โครงการพัฒนาแหลงน้ําในอําเภอแมสาย แสดงดังตารางที่ 2.3-6

ตารางที่ 2.3-6 โครงการพัฒนาแหลงน้าํในเขตอาํเภอแมสาย

ช่ือโครงการ สถานที่ตั้ง ปริมาณเก็บกกั (ลานลูกบาศก

เมตร)

พื้นที่ไดรับประโยชน

(ไร) ฝายน้ําจดื ต.แมสาย - 1,000 อางเก็บน้าํถํ้าเสาหินพญานาค ต.โปงผา 0.186 1,000 ทรบ.ปากเหมอืงแดง ต.แมสาย - 3,000 ฝายน้ําจอง ต.แมสาย - 1,000 ที่มา : กรมพัฒนาทีด่ิน (2545)

2) แหลงนํ้าบาดาล

จากการรวบรวมขอมูล กชช.2ค. พบวามีจํานวนบอน้ําใตดินกระจายอยูตามหมูบานตาง ๆ ในพ้ืนที่ลุมน้ําทั้งหมด 13,421 บอ แบงเปนบอน้ําตื้น 13,078 บอ บอน้ําบาดาล 137 บอ รวมทั้งมีบอบาดาลที่เจาะโดยหนวยงานราชการตาง ๆ ไดแก กรมทรัพยากรธรณี กรมโยธาธิการ รพช. กรมอนามัย และหนวยงานอื่นๆ อีกประมาณ 206 บอ บอบาดาลที่เจาะในลุมน้ําสวนใหญมีปริมาณน้ําประมาณ 2-5 ลบ.ม. ซึ่งเปนปริมาณที่เพียงพอสําหรับอุปโภค บริโภคเทานั้น ดังนั้น จึงไมมีศักยภาพพอที่จะใชเปนแหลงน้ําเพ่ือการเกษตร

อําเภอเชียงของ

การใชน้ําบาดาลในอาํเภอเชยีงของ จากการรวบรวมขอมูลใบอนญุาตใชน้าํบาดาลจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาล จังหวัดเชียงราย ปพ.ศ.2548 พบวา ในอําเภอเชียงของมีการขออนุญาตใชน้ําบาดาล จํานวน 10 บอ โดยปริมาณการใชน้ําที่สูบไดรวม 114 ลูกบาศกเมตร/วัน แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 2.3-7

Page 60: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -60

ตารางที่ 2.3-7 รายชื่อผูขอรับใบอนุญาตใชน้าํบาดาล ในอาํเภอเชียงของ

รายช่ือ รายละเอียด เลขที ่ หมูที่ ตําบล ขนาดบอ

(มม.)

ความลึก

(ม.)

ปริมาณการใชนํ้า

ลบ.ม/วัน

อายุบอนํ้า

บาดาล (ป)

ประเภท

1. สนง.ปศุสัตวจังหวดัเชียงราย

6 ครึ่ง 150 35 40 10 อุปโภคบริโภค

2. นายสุรเดช มานะสวัสดิ ์ 231/2 2 เวียง 100 35 2 3 ธุรกิจ (บริการ) 3. ศูนยศึกษาคริสเตียนเชียง

ของ 2 11 หวยซอ 100 80 10 5 อุปโภคบริโภค

4. โรงแรมบานในสระ 286 5 ครึ่ง 100 36.65 10 3 ธุรกิจ (บริการ) 5. องคการบริหารสวนตําบล

ครึ่ง (บานมวงชุม) 7 ครึ่ง 100 72 10 5 อุปโภคบริโภค

6. หจก. พ. เจริญบานแกนปโตรเลียม

253 12 ครึ่ง 125 36 3 3 ธุรกิจ (บริการ)

7. นายสุรพล ภักดียนตเจริญ 101 4 เวียง 100 54 10 5 เกษตรกรรม 8. องคการบริหารสวนตําบล

ครึ่ง 2 ครึ่ง 100 90 20 5 อุปโภคบริโภค

9. นางรัตนา ไฮเดอร 141 7 ครึ่ง 100 64 6 10 อุปโภคบริโภค 10. นางบัวศรี ไชยทน 37/1 2 ศรีดอนชัย 100 43 3 10 อุปโภคบริโภค

อําเภอเชียงแสน การใชน้ําบาดาลในอาํเภอเชยีงแสน จากการรวบรวมขอมูลใบอนญุาตใชน้ําบาดาลจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาล จังหวดัเชียงราย ; 2548 พบวา ในอําเภอเชียงแสนมีการขออนุญาตใชน้าํบาดาล จํานวน 9 บอ โดยปริมาณการใชน้ําที่สูบไดรวม 516 ลูกบาศกเมตรตอวัน แสดงรายละเอียดดังตาราง ที่ 2.3-8 ตารางที่ 2.3-8 รายชื่อผูขอรับใบอนุญาตใชน้ําบาดาล ในเขตอําเภอเชียงแสน

รายช่ือ รายละเอียด เลขที ่ หมูที่ ตําบล ขนาดบอ

(มม.)

ความลึก

(ม.)

ปริมาณการใชนํ้า

ลบ.ม/วัน

อายุบอนํ้า

บาดาล (ป)

ประเภท

1. นายหงษคํา หงษสวรรค (น้ําดื่มหงสสวรรค)

237 1 เวียง 150 58 300 10 ธุรกิจ (การคา)

2. การไฟฟาสวนภูมิภาค (สถานีไฟฟายอย)

2 เวียง 100 48 100 10 อุปโภคบริโภค

3. หจก.นครโยนกปโตรเลียม 158 3 โยนก 100 60 30 3 ธุรกิจ (บริการ) 4. นางลัดดา หลวงบาน

(น้ําดื่มฟอรยู) 230 10 บานแซว 125 35 10 3 ธุรกิจ (การคา)

5. น.ส.เฉลิม คงสมบรูณ (น้ําดื่มโสพิน)

147 8 ศรีดอนมูล

100 31 3 3 ธุรกิจ (การคา)

6. นายสัณฐาน สุริยคํา 202 3 โยนก 150 36 3 3 อุปโภคบริโภค 7. เชียงแสนเลคฮิลล รีสอรท 166 3 โยนก 150 36 10 3 ธุรกิจ (บริการ) 8. บ.บานโบราณเชียงราย จก. 229 1 เวียง 150 98 50 3 ธุรกิจ (บริการ) 9. นายสิทธิชัย กวีวาทิต 10 บานแซว 100 63 10 5 เกษตรกรรม

Page 61: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -61

อําเภอแมสาย การใชน้ําบาดาลในอําเภอแมสาย จากการรวบรวมขอมูลใบอนุญาตใชน้ําบาดาลจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาล จังหวัดเชียงราย ; 2548 พบวา ในอําเภอแมสายมีการขออนุญาตใชน้ําบาดาล จํานวน 40 บอ โดยปริมาณการใชน้ําที่สูบไดรวม 3,331 ลูกบาศกเมตรตอวัน แสดงรายละเอียด ดังตารางที่ 2.3-9 ตารางที่ 2.3-9 รายชื่อผูขอรับใบอนุญาตใชน้าํบาดาล ในเขตอาํเภอแมสาย

รายชื่อ รายละเอียด เลขที่ หมูที่ ตําบล ขนาดบอ (มม.)

ความลึก(ม.)

ปริมาณการใชน้ํา ลบ.ม/วัน

อายุบอน้ําบาดาล (ป)

ประเภท

1. บ.ผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จํากัด โปงผา 150 70 50 10 ธุรกิจ (อุตสาหกรรม)

2. โรงแรมไทยทอง 6 แมสาย 50 62 50 10 ธุรกิจ (บริการ) 3. บ.ยอดเหนือปโตรเลียม จํากัด (สาขาแม

สาย) 7/2 4 เวียงพางคํา 150 60 300 10 ธุรกิจ (บริการ)

4. บ.โปงผาการเดนท ซิต้ี จํากัด 1 โปงผา 150 97 120 10 อุปโภคบริโภค 5. บ.โปงผาการเดนท ซิต้ี จํากัด 1 โปงผา 150 78 120 10 อุปโภคบริโภค 6. หจก.มิตชูเชียงราย (สาขาแมสาย) 332 9 เวียงพางคํา 100 100 30 10 ธุรกิจ (บริการ) 7. หจก.ปยะพรเจริญกิจ 129 4 เวียงพางคํา 150 50 100 10 ธุรกิจ (บริการ) 8. นายสมเพชร มงคลดี 114 3 โปงงาม 100 60 50 10 ธุรกิจ (บริการ) 9. หจก.อาณาจักรรมทอง 235/2 1 โปงผา 100 70 100 10 ธุรกิจ (บริการ) 10. นายเจริญ รัตนวิมล 44 4 แมสาย 150 60 10 10 อุปโภคบริโภค 11. นายมงคล รัตนวิมล 220 10 เวียงพางคํา 150 60 50 10 เกษตรกรรม 12. บ.รอยัลคราฟท จํากัด 201 11 เกาะชาง 150 80 300 10 ธุรกิจ

(อุตสาหกรรม) 13. บ.เชียงรายคอนกรีต จก. (สาขาแมสาย) 222 4 เวียงพางคํา 150 75 300 10 ธุรกิจ

(อุตสาหกรรม) 14. รานสายรุงพาณิชย (นายสมบูรณ เจริญ

ดี) 233 10 เวียงพางคํา 150 50 200 10 ธุรกิจ (การคา)

15. บ.เค.ดี.พีออยลเซอรวิส จก. 4 1 เวียงพางคํา 100 60 300 10 ธุรกิจ (บริการ) 16. บ.เอสโซ (ประเทศไทย) จํากัด

(มหาชน) 267 5 โปงผา 150 62 300 10 ธุรกิจ (บริการ)

17. บ.บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 273 5 โปงผา 100 52 200 10 ธุรกิจ (บริการ) 18. นายทวีชัย สดศรีวิบูลย 190 5 โปงผา 100 50 30 10 เกษตรกรรม 19. การไฟฟาสวนภูมิภาค (สถานีไฟฟา

ยอย) 8 เวียงพางคํา 100 76 100 10 อุปโภคบริโภค

20. บ.คิงสมาเบิ้ลแอนดแกรนิต จํากัด 89 5 หวยไคร 150 99 300 3 ธุรกิจ (อุตสาหกรรม)

21. นางกุสุมาลย อนุรักษ 184 4 เวียงพางคํา 150 76 5 3 อุปโภคบริโภค 22. นายสุทัศน ไชยวรศิลป (น้ําด่ืมโปงผา) 111 ซ2 โปงผา 100 52 2 3 ธุรกิจ (การคา) 23. นางวาสนา ไชยชมภู (น้ําด่ืมวาสนา) 150 7 เกาะชาง 100 30 10 3 ธุรกิจ (การคา) 24. บ.พี.เค ออยลเซอรวิส จก. 208 7 เกาะชาง 150 50 2 3 ธุรกิจ (บริการ) 25. นายสุวัฒน พงษดา (น้ําด่ืมโปงผา) 339/1 9 โปงงาม 100 70 5 3 ธุรกิจ (การคา) 26. หจก.โตโยตาเชียงราย (สาขาแมสาย) 281 5 โปงผา 100 45 5 3 อุปโภคบริโภค 27. บ.บุญทิพยฟูดสโปรดักส จก. 206 7 เกาะชาง 100 40 50 3 ธุรกิจ

(อุตสาหกรรม)

Page 62: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -62

ตารางที่ 2.3-9 (ตอ) รายชื่อผูขอรับใบอนุญาตใชน้ําบาดาล ในเขตอําเภอแมสาย

รายชื่อ รายละเอียด เลขที่ หมูที่ ตําบล ขนาดบอ (มม.)

ความลึก(ม.)

ปริมาณการใชน้ํา ลบ.ม/วัน

อายุบอน้ําบาดาล (ป)

ประเภท

28. บ.ดี.ที.คอนกรีต (1997) จํากัด 55 5 หวยไคร 125 45 50 3 ธุรกิจ (อุตสาหกรรม)

29. บ.รอยัลคราฟท จํากัด (สาขาแมสาย) 201 11 เกาะชาง 150 50 150 3 ธุรกิจ (อุตสาหกรรม)

30. บ.รอยัลคราฟท จํากัด (สาขาแมสาย) 201 11 เกาะชาง 150 48 150 3 ธุรกิจ (อุตสาหกรรม)

31. นายปรีชา อภิชาติปยกุล 134/2 1 เวียงพางคํา 100 54 20 3 ธุรกิจ (การคา) 32. น.ส.ลดาวัลย พิพัฒนธราดล 243/2 9 เวียงพางคํา 243/2 9 12 3 ธุรกิจ (การคา) 33. นายเอ็ม แกวหลวง 11 3 เวียงพางคํา 11 3 10 5 เกษตรกรรม 34. ศูนยพระคริสตธรรมเบ็ญเอล 410 1 โปงผา 410 1 20 5 อุปโภคบริโภค 35. นายสัญชัย เดชวงศไพบูลย 161/1 1 โปงงาม 150 85 10 5 อุปโภคบริโภค 36. องคการบริหารสวนตําบลโปงผา 60 12 โปงผา 100 61 50 5 อุปโภคบริโภค 37. นายไพศาล เฮงตระกูล 242 6 ศรีเมืองชุม 100 57 10 5 อุปโภคบริโภค 38. นายปรีชา อภิชาติปยกุล (โรงน้ําแข็ง

ไมตรี) 134/2 1 เวียงพางคํา 100 90 20 10 ธุรกิจ (การคา)

39. น.ส.นงลักษณ คําต๋ัน 243/2 9 เวียงพางคํา 150 60 5 10 อุปโภคบริโภค 40. บ.สยามสหบริการ จํากัด (มหาชน) 93 11 หวยไคร 100 60 5 3 ธุรกิจ (บริการ)

3) ประปา อําเภอเชียงของ ในปจจบุันในอําเภอเชียงของมีระบบประปาในชุมชนระดับอาํเภอและหมูบาน การประปาในระดบัอําเภออยูในความรับผดิชอบของการประปาสวนภูมิภาค จํานวน 1 แหง คือการประปาภูมภิาคเชียงของ ซึ่งแหลงน้ําดบิที่ใชในการผลิตน้ําประปาคือแมน้ําโขง โดยมีอัตรากําลังผลิตประมาณ 1,920 ลบ.ม./วนั สําหรับการประปาหมูบานสวนใหญเปนประปาหมูบานขนาดกลางที่มีกําลังผลติประมาณ 7 ลบ.ม./ชม. อําเภอเชียงแสน แหลงน้ําเพ่ือการอุปโภค-บริโภค ไดมาจากแหลงน้ําธรรมชาติ ไดแก แมน้ําลําคลอง น้ําบอตืน้ น้าํบาดาล และน้าํประปา จากการประปาสวนภูมภิาคและประปาชนบท

อําเภอแมสาย ชุมชนในเขตเทศบาลใชบริการประปาสวนภูมิภาค ซึ่งอยูในสังกัดของสํานักงานประปาเขต 9 จังหวัดเชียงใหม และในอนาคตมีแผนการดําเนินการดานกิจการประปาดวยตนเอง เพ่ือใหบริการไดอยางทั่วถึง

Page 63: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -63

2.3.3 การควบคุมนํ้าทวมและการระบายน้ํา อําเภอเชียงของ เทศบาลตาํบลเวียงเชียงของตั้งอยูในบริเวณที่ลาดเนนิเขา ซึ่งเปนพื้นที่สูง ดังนัน้ปญหาน้ําทวมเนื่องจากการเออลนของแมน้ําโขงจึงมีโอกาสเกดิขึ้นไดยากมาก ประกอบกับระดบัผิวจราจรของทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020 ซึ่งเปนถนนสายหลักในพื้นที ่ มีระดับผิวจราจรเฉลี่ยประมาณ 359.74 เมตร ซึ่งเมื่อเทียบกับระดบัน้าํสูงสุดรอบการเกิด 100 ป ที่มีสถานีวดัน้าํทาเชียงของแลว พบวา พ้ืนที่เทศบาลตาํบลเวียงเชียงของมีระดับสูงกวาระดับน้ําสูงสุดรอบการเกิด 100 ป อยู 1.71 เมตร จึงสามารถสรุปไดวาเทศบาลตาํบลเวียงเชียงของจะมีโอกาสประสบปญหาน้าํทวมจากการเออลนจากแมน้าํโขงนอยมาก สําหรับระบบระบายน้าํและรวบรวมน้ําเสียของเทศบาลตําบลเวียงเชียงของเปนแบบทอรวม โดยแนวทอหลักตามทางหลวงหมายเลข 1020 และตามแนวถนนเลียบแมน้าํโขง เปน ทอคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) ขนาดเสนผานศนูยกลาง 0.6 เมตร และ 0.8 เมตร ปจจบุันกําลังกอสรางเพิ่มเติมตามแนวถนนสบสม-หาดไคร และถนนสายหลังอําเภอเปนทอ คสล. ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.6-1.2 เมตร และทอคสล.ขนาดเสนผานศนูยกลาง 1 เมตร เพ่ือเช่ือมตอการระบายน้ําเสีย และน้ําฝนจากแนวถนนทางหลวงหมายเลข 1020 แนวซอย 34 ซอย 32 และ ซอย 30 น้ําเสียและน้ําฝนจากเขตเทศบาลตําบลเวียงเชียงของจะถูกระบายลงสูแหลงรองรับน้ําทิ้งธรรมชาต ิ คือ หวยน้ําดุก หวยสบสม และแมน้าํโขง ดังนัน้หากการกอสรางระบบระบายน้ํา และรวบรวมน้ําเสียของเทศบาล เวียงเชียงของแลวเสร็จ การระบายน้ํา และการปองกันน้ําทวมของเทศบาลไดอยางมีประสิทธิภาพ และทั่วถึง เทศบาลตําบลบุญเรือง มีระบบระบายน้ําเสียรวบรวมน้ําเสียเฉพาะแนวถนนสายหลัก คือ ทางหลวงหมายเลข 1020 สําหรับชุมชนจะระบายน้ําลงทางระบายน้าํธรรมชาติ หรือพ้ืนที่วาง น้ําเสียและน้าํฝนของเทศบาลจะถูกระบายลงสูแหลงรองรับน้ําทิ้งธรรมชาติ หวยแดนเมือง หวยแกง และหวยหก สําหรับพื้นที่การปกครองอื่นๆในเขตอําเภอเชียงของ ยังไมมีรายงานเรือ่งการระบายน้ํา และปองกันน้าํทวม

อําเภอเชียงแสน เทศบาลตําบลเชียงแสนมีระบบระบายน้าํและรวบรวมน้ําเสีย โดยวางแนวทอคสล.เสนผานศูนยกลางขนาด 1.0 เมตร เพ่ือระบายน้าํในแนวถนนริมโขง (ทางหลวงแผนดินหมายเลข 1290 และ 1129) และถนนสาย 2 ซอย 2/1 ของเทศบาล นอกจากนี้ไดวางแนวทอ คสล. เสนผานศนูยกลางขนาด 0.8 เมตร ชวงถนนพหลโยธิน ที่เหลือเปนทอ คสล. ขนาดเสนผานศนูยกลาง 0.6 เมตร เพ่ือเช่ือมตอระบบการระบายน้ํา และรวบรวมน้ําเสียใหทั่วถึงทั้งเขตเทศบาลตาํบลเชียงแสน น้ําฝนและน้ําเสียของชุมชนจะถูกระบายผานทอ คสล. ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 เมตร ลอดใตถนนรมิโขงสู แหลงรองรับน้ําทิ้งธรรมชาติ คือ แมน้าํโขงในที่สุด

Page 64: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -64

อําเภอแมสาย เทศบาลตําบลแมสายมีระบบระบายน้ําและรวบรวมน้ําเสียเปนแบบทอรวม โดยมี แนวทอหลักตามถนนพหลโยธินเปนทอกลม คสล. ขนาดเสนผานศนูยกลาง 1.0 เมตร สําหรับการระบายน้าํจากซอยตางๆ ในชุมชนใชทอ คสล. เสนผานศูนยกลางขนาด 0.5 ถึง 0.6 เมตร ซึ่งการวางแนวทอดังกลาวเปนไปอยางทั่วถึง น้ําฝนและน้ําเสียที่เกิดขึ้นในเขตเทศบาลจะถูกระบายจากทศิตะวันตกไปยังทิศตะวันออกของเทศบาลลงสูแหลงรองรับน้ําทิ้ง คือ ลําเหมอืงแดง คลองชลประทาน และลําเหมืองในที่สุด เทศบาลตําบลหวยไคร มีระบบระบายน้ําและรวบรวมน้ําเสียเปนแบบทอ คสล. ฝาปด รูปตัวยู ในแนวถนนสายหลัก น้ําเสียและน้ําฝนจากเขตเทศบาลจะถูกระบายลงแหลงรองรับน้ําทิ้งธรรมชาติ คือ ลําเหมือง บรเิวณสะพานขาว

2.3.4 การคมนาคม

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา

รูปที่ 2.3-2 แผนที่แสดงเสนทางคมนาคมภายในพื้นที่ศึกษา

Page 65: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -65

อําเภอเชียงของ การคมนาคมสามารถแบงออกเปน 2 สวน ดังนี ้ 1) การคมนาคมทางบก มีเสนทางคมนาคมติดตอกับจังหวัดเชียงราย 4 เสนทางหลัก คือ - เสนทางหลวงหมายเลข 1020 จากจังหวดัเชียงราย ถึงอําเภอเทิงระยะทาง 64 กิโลเมตร และจากอาํเภอเทิงถึงอําเภอเชียงของ ตามทางหลวงหมายเลข 1020 ระยะทางอกี 73 กิโลเมตร รวมระยะทางทั้งส้ิน 137 กิโลเมตร - เสนทางหลวงสายพหลโยธนิ จากจงัหวัดเชียงรายผานอาํเภอแมจันถึงอําเภอเชียงแสน ระยะทาง 60 กิโลเมตร และจากอาํเภอเชียงแสนถึงอําเภอเชียงของ ตามทางหลวงหมายเลข 1129 ระยะทาง 55 กิโลเมตร รวมระยะทาง 115 กิโลเมตร หรือจากอําเภอแมจัน ถึงบานกิ่วพราวเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1098 ผานกิง่อําเภอดอยหลวง ถึงบานแกน เล้ียวซายไปตามทางหลวงหมายเลข 1174 ถึงบานสถานเลี้ยวซายไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 ถึงอําเภอเชียงของ ระยะทางรวม 118 กิโลเมตร - เสนทางหลวงหมายเลข 1020 จากจังหวัดเชียงรายถึงบานหัวดอยเลี้ยวซายไปตามทางหลวงหมายเลข 1152 ถึงอําเภอพญาเมง็ราย และจากอําเภอพญาเม็งราย ถึงบานตา เล้ียวซายไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 ระยะทาง 67 กิโลเมตร ถึงอําเภอเชียงของ รวมระยะทาง 114 กิโลเมตร หรือจากอําเภอพญาเม็งรายเลี้ยวซายไปตามทางหลวงหมายเลข 1174 ผานบานแกนถึงบานสถานแลวเล้ียวซายไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 ถึงอําเภอเชียงของ รวมระยะทาง 105 กิโลเมตร - เสนทางหลวงหมายเลข 1173 จากจังหวัดเชียงราย ผานอาํเภอเวียงชัยถึงอําเภอแมบง เล้ียวขวาไปตามเสนทาง 1098 ผานกิ่งอําเภอเวียงเชียงรุง และเขตกิ่งอําเภอดอยหลวง ถึงบานแกน เล้ียวซายไปตามเสนทาง 1174 ถึงบานสถาน เล้ียวซายไปตามเสนทาง 1020 ถึงอําเภอเชียงของ รวมระยะทาง 98 กิโลเมตร สภาพการจราจรของถนนสายหลักของอําเภอเชียงของ แสดงดังตารางที่ 2.3-10

Page 66: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -66

ตารางที่ 2.3-10 สภาพการจราจรของถนนสายหลักของอําเภอเชียงของ

ทางหลวงหมายเลข

จํานวนชองจราจร

ปริมาณยวดยาน (คัน)ตอชอง

การจราจรตอชั่วโมง คา V/C Ratio สภาพจราจร สภาพถนน

1. 1020 จังหวัดเชียงราย-อําเภอเทิง

2 - ขาเขา 166 - ขาออก 158

- ขาเขา 0.11 - ขาออก 0.11

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางดี ความกวางหนึ่งผิวชองการจราจร 6.00 เมตร

2. 1129 อําเภอเชียงของ-อําเภอเชียงแสน

2 - ขาเขา 118 - ขาออก 112

- ขาเขา 0.08 - ขาออก 0.07

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางด-ีพอใช ความกวางหน่ึงผิวชองการจราจร 5.50-7.00 เมตร

3. 1174 บานแมต๋ํานอยบรรจบทางหลวงหมายเลข 1020 (บานทุงง้ิว)

2 - ขาเขา 183 - ขาออก 186

- ขาเขา 0.12 - ขาออก 0.12

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางดี ความกวางหนึ่งผิวชองการจราจร 5.50 เมตร

4. 1174 บานแมต๋ํานอยบรรจบทางหลวงหมายเลข 1020 (บานชมภ)ู

2 - ขาเขา 227 - ขาออก 215

- ขาเขา 0.15 - ขาออก 0.14

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางดี ความกวางหนึ่งผิวชองการจราจร 5.50 เมตร

5. 1098 บานปงนอยบรรจบทางหลวงหมายเลข 1174

2 - ขาเขา 135 - ขาออก 124

- ขาเขา 0.09 - ขาออก 0.08

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางดี ความกวางหนึ่งผิวชองการจราจร 5.5-7.00 เมตร

2) การคมนาคมทางน้ํา มีเสนทางเดนิเรือระหวางอําเภอเชียงของกับเมืองตางๆ ตลอดริมฝงแมน้ําโขง โดยมีเสนทางเดินเรือระหวาง เมืองซือเหมา (สาธารณรัฐประชาชนจีน) เมืองเชียงลา เมืองกุยหลิง เมืองหลานปง (สหภาพเมียนมาร) เมืองเชียงกก เมืองบั้งเชียงกอ เมืองมอง เมืองตนผึ้ง เมอืงหวยทราย (สปป.ลาว) อําเภอเชียงของ (ไทย) โดยในอําเภอเชียงของมีทาเรือ 3 แหง ไดแก - ทาเรือบั๊ค ตั้งอยูบานหัวเวียง ตําบลเวียง เปนทาเรือรับสงนักทองเที่ยว และสินคา (บรรทุก

รถยนต) - ทาเรือน้ําลึก ตั้งอยูบานหัวเวียง ตําบลเวียง เปนทาเรือรับสงสินคา - ทาเรือศุลกากร ตั้งอยูบานวดัหลวง ตาํบลเวียง นอกจากนี้การคมนาคมขนสงของอําเภอเชียงของ เปนการสัญจรดวยเรือหางยาวของประชาชนในทองถ่ิน และนกัทองเที่ยวทั้งชาวไทย และตางประเทศ ขามฝงลําน้ําโขง และฝงไทย และขณะนี้จังหวัดเชียงรายไดแตงตั้งคณะทํางานพิจารณาจุดเหมาะสมในการกอสรางสะพานขามแมน้ําโขง ระหวางอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายกับเมืองหวยทราย แขวงบอแกว สปป.ลาว ตามคําส่ังจังหวัดที่

Page 67: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -67

1206/2547 ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2547 ไดเสนอจุดสมควรกอสรางสะพานขามแมน้าํโขง 2 แนว คือ แนวที่ 1 อยูบริเวณทาเรือขนสงแรลิกไนตของบริษทัแหลมทองลิกไนต และแนวที่ 2 อยูบริเวณดานใตทาเรือขนสงแรลิกไนตบรษิัทแหลมทองลิกไนต โดยทั้งสองแนวอยูบานดอนมหาวัน ต.เวียง อ.เชียงของ โดยความคืบหนาโครงการ ณ วันที ่7 กันยายน 2547 อยูระหวางการประสานงานกบัแขวงบอแกว โดยทางหลวงแจงวาตองรอรัฐบาลกลางอนุมัติ จึงจะแจงยืนยันพื้นที่กอสรางใหทราบได อําเภอเชียงแสน การเดินทางจากอําเภอเชยีงแสนไปยังอําเภอขางเคียงหรือตัวจังหวัด เปนถนนลาดยางประกอบดวยทางหลวงหมายเลข 1129 ไปอําเภอแมสาย-อําเภอเชียงของทางหลวงหมายเลข 1016 ไปอําเภอแมจนัทางหลวงหมายเลข 1271 แยกจากทางหลวงหมายเลข 1129 ไปกิง่อําเภอดอยหลวง มีถนนตดิตอถึงทุกตําบล หมูบาน และใชไดตลอดป รถโดยสารไปยังตัวจังหวัดมีเกือบตลอดทั้งวัน การเดินทางจาก กรุงเทพฯ -อําเภอเชียงแสน วันละ 2 เที่ยว กรุงเทพฯ-เชียงใหม วันละ 4 เที่ยว การคมนาคมทางน้ําของแมน้ําสายหลัก ไดแก แมน้าํโขง แมน้าํรวก เปนการคมนาคมทางเรือ เพ่ือการทองเที่ยว และการตดิตอทางการคาระหวางไทย-สหภาพเมียนมาร-สปป.ลาว-สปป.จีน และมีทาเทียบเรือของการทาเรือแหงประเทศไทย จํานวน 1 แหง และทาเทยีบเรือเอกชนสําหรับเทียบเรือพาณิชย จํานวน 17 แหง สภาพการจราจรของถนนสายหลักของอําเภอเชียงแสน แสดงดังตารางที่ 2.3-11 ตารางที่ 2.3-11 สภาพการจราจรของถนนสายหลักของอําเภอเชียงแสน

ทางหลวงหมายเลข

จํานวนชองจราจร

ปริมาณยวดยาน (คัน)ตอชองการจราจรตอ

ชั่วโมง คา V/C Ratio สภาพจราจร สภาพถนน

1. 1129 อําเภอแมสาย-อําเภอเชียงของ

2 - ขาเขา 118 - ขาออก 112

- ขาเขา 0.08 - ขาออก 0.07

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางด-ีพอใช ความกวางหน่ึงผิวชองการจราจร 5.50-7.00 เมตร

2. 1016 อําเภอเชียงแสน-อําเภอแมจัน

2 - ขาเขา 294 - ขาออก 292

- ขาเขา 0.20 - ขาออก 0.19

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางด-ีพอใช ความกวางหน่ึงผิวชองการจราจร 7.00 เมตร

3. 1271 บานปงนอย-บานสันทราย

2 - ขาเขา 42 - ขาออก 37

- ขาเขา 0.03 - ขาออก 0.25

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางด ีความกวางหน่ึงผิวชองการจราจร 6.00 เมตร

Page 68: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -68

อําเภอแมสาย การคมนาคมขนสงทางเดียว คือทางบก โดยผานทางหลวงหมายเลข 110 สายเชียงราย-อําเภอแมสาย และทางหลวงหมายเลข 1129 สายแมสาย-อําเภอเชียงแสน มีสถานขีนสงอําเภอแมสาย 1 แหง ตั้งหางจากเทศบาลประมาณ 2 กิโลเมตร สภาพการจราจรของถนนสายหลักของอําเภอแมสาย แสดงดังตารางที่ 2.3-12 ตารางที่ 2.3-12 สภาพการจราจรของถนนสายหลักของอําเภอแมสาย

ทางหลวงหมายเลข

จํานวนชองจราจร

ปริมาณยวดยาน (คัน)ตอชองการจราจรตอ

ชั่วโมง คา V/C Ratio สภาพจราจร สภาพถนน

1. 110 เชียงราย-อําเภอแมสาย

4 - ขาเขา 267 - ขาออก 214

- ขาเขา 0.18 - ขาออก 0.14

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางด ีความกวางหน่ึงผิวชองการจราจร 14 เมตร

2. 1129 อําเภอแมสาย-อําเภอเชียงแสน

2 - ขาเขา 118 - ขาออก 112

- ขาเขา 0.08 - ขาออก 0.07

การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรคลองตัวสูงมาก

ถนนลาดยาง สภาพทางด-ีพอใช ความกวางหน่ึงผิวชองการจราจร 5.50-7.00 เมตร

2.3.5 การไฟฟา

อําเภอเชียงของ อําเภอเชียงของมีหนวยบริการผูใชไฟฟาสังกัดการไฟฟาสวนภูมิภาคจงัหวัด จํานวน 1 แหง ไดแก สํานักงานการไฟฟาสวนภูมภิาคเชียงของ ซึ่งปจจุบนัสามารถจายกระแสไฟฟาครอบคลุมทุกหมูบาน อําเภอเชียงแสน อําเภอเชียงแสนมีหนวยบรกิารไฟฟาสังกัดการไฟฟาสวนภูมภิาคอาํเภอเชียงแสน จํานวน 1 แหง ซ่ึงสามารถจายกระแสไฟฟาครอบคลุมหมูบานในเขตอาํเภอเชียงแสน จํานวน 60 หมูบาน รวมทั้งรับผิดชอบเขตอําเภอแมจนั 6 หมูบาน เขตอําเภอแมสาย 7 หมูบาน มไีฟฟาใชและตดิตั้งไฟฟาสาธารณะ จํานวนรวม 73 หมูบาน อําเภอแมสาย อําเภอแมสายมีหนวยบริการไฟฟาสังกัดการไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอแมสาย จํานวน 1 แหง ทุกครัวเรือนในเขตเทศบาลมีไฟฟาใช

Page 69: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -69

2.3.6 การสื่อสารและการโทรคมนาคม

อําเภอเชียงของ ระบบไปรษณียโทรเลข อําเภอเชียงของมีที่ทําการไปรษณียโทรเลขจํานวน 1 แหง สามารถใหบริการครอบคลุมในทุกพ้ืนที่ของอําเภอ

อําเภอเชียงแสน ระบบไปรษณยีโทรเลข : มีที่ทําการไปรษณียโทรเลข จํานวน 1 แหง

โทรศัพท : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ไดดําเนนิการวางคูสายโทรศัพท 16คูสาย

วิทยุส่ือสาร : รับสงทุกตําบล ทุกหมูบาน อําเภอแมสาย

ระบบไปรษณยีโทรเลข : มีที่ทําการไปรษณียโทรเลข 1 แหง ในอาํเภอแมสาย วิทยุส่ือสาร : มศีูนยวิทยุส่ือสารประจําเทศบาล ความถี ่162.550 MHz กําลังสง 10 วัตต

2.3.7 การจัดการน้ําเสีย อําเภอเชียงของ

เทศบาลตําบลเวียงเชียงของ และภายในพื้นที่อําเภอเชยีงของ ยังไมมีการกอสรางระบบบําบัดน้าํเสียรวม แตทัง้นี้น้ําเสียจากชุมชนจากแหลงกําเนิดจะผานกระบวนการบําบดัเบื้องตนมากอน เชน น้าํเสียจากสวมจะผานบอเกรอะ บอซึม อําเภอเชียงแสน เทศบาลตําบลเชียงแสนยังไมมีการกอสรางระบบบาํบดัน้ําเสียรวม มีเพียงระบบทอระบายน้าํ และรางระบายน้าํธรรมชาติ ทําหนาที่ระบายน้ําเสีย และน้าํฝนภายในพืน้ที่ แตทั้งนีน้้าํเสียชุมชนจะมีการผานระบบบําบัดเบื้องตน ไดแก บอเกรอะ บอซึม และจะถกูปลอยลงสูรางระบายน้าํ หรือไหลซึมลงดนิ หรือไหลลงสูแหลงน้ําธรรมชาติขางเคียง

อําเภอแมสาย เทศบาลตําบลแมสาย และชุมชนนอกเขตเทศบาล ยังไมมีการกอสรางระบบบําบดัน้าํเสียมีเพียงรางระบายน้าํ แตทั้งนี้น้าํเสียชุมชนจะมีการผานระบบบําบัดเบื้องตน ไดแก บอเกรอะ บอซึม เพ่ือบําบัดน้ําเสียที่เกิดจากกิจกรรมอื่นๆ เชน การซักลาง การประกอบอาหาร จะถูกปลอยลงรางระบายน้าํหรือซึมลงดิน หรือไหลลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ ไดแก ลําเหมืองแดง คูเมือง และคลองสงน้าํชลประทาน โดยไมผานการบาํบดั

Page 70: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -70

2.3.8 การจัดการขยะมูลฝอย อําเภอเชียงของ

ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในอําเภอเชียงของ สวนใหญเปนขยะมูลฝอยทั่วไปจากชุมชน ปริมาณขยะมูลฝอยที่เทศบาลสามารถจดัเก็บไดมีจาํนวน 10 ตัน/วนั โดยใชรถบรรทุกขยะมูลฝอย 1 คัน ขนาด 12 ลูกบาศกเมตร ขนขยะมูลฝอยวันละ 4 เที่ยว มีพนักงานเก็บขนขยะมูลฝอย 5 คน เปนพนักงานขับรถ 1 คน สถานที่ทิง้ขยะมูลฝอยในปจจบุันเปนที่ดินสาธารณประโยชน จาํนวน 10 ไร ตั้งอยูหมู 1 บานหัวเวียง ตําบลเวยีง การกําจดัขยะมูลฝอยทางเทศบาลรวบรวมมาเผา และฝงกลบ เถาจากการเผาบริเวณพ้ืนที่ทิ้งขยะมูลฝอยดังกลาว เทศบาลตําบลบุญเรือง มีการจัดการขยะโดยใชวิธีฝงกลบในหลุม สถานที่กําจัดขยะตั้งอยูที่ หมู 2 ตําบลบญุเรือง มีระยะหางจากเทศบาลประมาณ 2 กิโลเมตร สามารถกําจัดขยะไดประมาณ 6.2 ตัน/วัน จากการวิเคราะหองคประกอบมูลฝอยที่เกิดขึ้นในสุขาภบิาลเวียงเชียงของ (โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบจดัการมลูฝอย สุขาภิบาลเวียงเชียงของ) (ปจจุบันสุขาภิบาลเวียงเชียงของคือเทศบาลเวียงเชียงของ) ผลการวิเคราะหองคประกอบ และรอยละ (น้ําหนักเปยก) ของมูลฝอย ใน 2 ชุมชน แสดงในตารางที่ 2.3-13 จากการวิเคราะหในตารางที ่ 2.3-13 พบวา องคประกอบขยะมูลฝอยของสุขาภิบาลเวียงเชียงของ สวนใหญเปนขยะมูลฝอยเปยกประเภทเศษอาหาร มีมากที่สุดเฉลี่ยคิดเปนรอยละ 73.62 และ 48.87 ของปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด ที่เกิดจากแหลงกําเนิดตลาดสด และชุมชน ตามลําดบั รองลงมาคือ กระดาษ พลาสติก โฟม เปนตน สําหรับความหนาแนนของขยะมูลฝอยจากตลาดมีคาเทากับ 217.54 กก./ลบ.ม. และความหนาแนนของขยะมูลฝอยของชุมชนเฉลี่ยเทากับ 162.09 กก./ลบ.ม. สําหรับคาความชื้นของขยะมูลฝอย พบวา ขยะมูลฝอยจากตลาดมีคาความชืน้เฉลี่ยรอยละ 68.0 สวนขยะมูลฝอยรวมจากชุมชนมีคาเฉล่ียรอยละ 43.65 โดยปริมาณขี้เถาจากมูลฝอยตลาดสด และมูลฝอยรวมจากชุมชน จะมีคาเฉล่ียรอยละ 12.25 และ 19.35 ตามลําดับ

Page 71: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -71

ตารางที่ 2.3-13 องคประกอบมูลฝอยสุขาภิบาลเวียงเชียงของ นํ้าหนักคิดเปนรอยละ (นํ้าหนักเปยก)

มูลฝอยรวมจากชุมชน องคประกอบ มูลฝอยจากตลาด

ชุมชน 1 ชุมชน 2 เฉล่ีย 1. เศษอาหาร 73.62 46.33 51.42 48.87 2. กระดาษ 12.41 21.32 8.97 15.15 3. แกว 0.00 1.37 3.48 2.43 4. โลหะ 0.35 0.00 0.80 0.40 5. พลาสติก/โฟม/กระปอง 12.10 26.96 24.79 25.88 6. ยาง 0.00 0.52 5.08 2.80 7. ใบไม/ก่ิงไม 1.53 0.60 4.17 2.39 8. เศษผา 0.00 2.91 1.20 2.05 9. กระดูก/เซรามิก 0.00 0.00 0.08 0.04 ความหนาแนน (กก./ลบ.ม.) 217.54 138.03 186.14 162.09 ที่มา : รายงานการศึกษาความเหมาะสม โครงการศกึษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบจัดการมลูฝอยสุขาภิบาลเวียงเชียงของ (2542)

อําเภอเชียงแสน ขยะที่เกิดขึ้นในอําเภอเชียงแสน สวนใหญเปนขยะมลูฝอยทั่วไปจากชุมชน ปรมิาณของขยะมูลฝอยที่เทศบาลสามารถจัดเก็บไดมีจํานวน 8.7 ตัน/วนั องคประกอบของมูลฝอยสวนใหญเปนขยะเปยกประเภทเศษอาหารรอยละ 45.92 รองลงมาเปนพลาสติก โฟม กระปอง และใบไม ก่ิงไม สําหรับความหนาแนนของขยะมูลฝอยชุมชนมีคาเฉล่ียเทากับ 195.05 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร (โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบศูนยจดัการมูลฝอยรวมแบบครบวงจร เทศบาลตําบลเวียงเชียงแสน จังหวัดเชียงราย, 2546) สําหรับการเก็บขนใชรถขยะชนิดปดขางเทขาง จํานวน 2 คนั ขนาด 11.5 ลูกบาศกเมตร ทําการขนยายขยะมูลฝอยวันละ 2 เที่ยวตอคัน มีพนกังานเก็บขนมลูฝอยทั้งส้ิน 10 คน ครอบคลุมพื้นที่เขตเทศบาล กําจดัขยะโดยวิธีเทกองและเผาในหลุมลึก 3.5 เมตร ไมมีการปูวัสดุกันซึมที่ผนัง และกนหลุม และไมมีระบบรวบรวมน้ําชะมูลฝอย ซึ่งเปนวิธกํีาจดัที่ไมถูกหลักสุขาภิบาล พ้ืนที่กําจัดขยะดังกลาวมีขนาด 100 ไร ตั้งอยูที่บานเวียงเหนือ หมู 2 ตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน ลักษณะเปนที่ดอนน้ําทวมไมถึง การระบายน้ําดี ไมมีแหลงตนน้ําลําธารที่สําคัญ ปจจบุันใชพ้ืนที่เพียง 5 ไร คาดวารองรับขยะไดไมต่ํากวา 20 ป

นอกจากเทศบาลตําบลเชียงแสนแลว อบต. แมเงิน อําเภอเชียงแสน ไดมีรายงานการจัดการขยะ โดยใชวิธีการเผา สถานที่กําจัดขยะตั้งอยูที่บานแมเงิน หมูที่ 6 ตําบลแมเงิน หางจากสํานักงาน อบต.ประมาณ 0.5 กิโลเมตร สามารถกําจดัขยะของชุมชนไดประมาณ 4.73 ตัน/วัน

อบต.บานแซว มีการจดัการขยะโดยใชวิธกีารเผาในเตาเผา สถานที่กําจดัขยะตั้งอยูที่บานแมแอบ หมูที่ 11 ตําบลบานแซว หางจากสํานักงาน อบต. ประมาณ 8 กิโลเมตร สามารถกําจดัขยะชุมชนไดประมาณ 7 ตัน/วัน องคประกอบมลูฝอยของเทศบาลตําบลเวียงเชียงแสน ทั้งจากตลาดสด และชุมชน สวนใหญเปน มูลฝอยเปยกประเภทเศษอาหาร คิดเปนรอยละ 44.95 และ 45.92 ของปริมาณ

Page 72: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -72

มูลฝอยทั้งหมด รองลงมาเปนมูลฝอยประเภทพลาสตกิ/โฟม และใบไมก่ิงไม (ใบตอง) ประมาณรอยละ 10-20 ของปริมาณมูลฝอยทั้งหมด สําหรับความหนาแนนมูลฝอยจากตลาดสดและชุมชน ที่วิเคราะหไดมีคาเฉล่ียเทากับ 310.72 กก./ลบ.ม. และ 195.5 กก./ลบ.ม. ตามลําดับ ตารางที่ 2.3-14 องคประกอบมูลฝอยเทศบาลตําบลเวียงเชียงแสน

นํ้าหนักคิดเปนรอยละ (นํ้าหนักเปยก) มูลฝอยรวมจากชุมชน องคประกอบ

มูลฝอยจากตลาด ชุมชน 1 ชุมชน 2 เฉล่ีย

1. เศษอาหาร 44.95 39.37 52.47 45.92 2. กระดาษ 6.04 7.62 10.86 9.24 3. แกว 1.23 4.03 4.52 4.28 4. โลหะ 0.62 4.92 0.97 2.95 5. พลาสติก/โฟม/กระปอง 7.99 18.20 13.01 15.61 6. ยาง 0.02 10.18 1.27 5.73 7. ใบไม/ก่ิงไม 20.81 8.95 11.22 10.08 8. เศษผา 0.00 0.22 4.23 2.23 9. กระดูก/เซรามิก 18.34 6.50 1.45 3.98 ความหนาแนน (กก./ลบ.ม.) 310.72 179.21 210.90 195.05 อําเภอแมสาย ขยะที่เกิดขึ้นในเขตเทศบาลตําบลแมสายสวนใหญเปนขยะชุมชน ปริมาณของขยะที่เทศบาลจดัเกบ็ไดมจีํานวน 54.2 ตัน/วัน โดยใชรถยนต จํานวน 5 คัน ขนาดความจุ 6 ตัน จาํนวน 3 คัน ความจุ 3 ตัน จํานวน 2 คัน ครอบคลมุพื้นที่เขตเทศบาล กําจดัขยะโดยวิธีฝงกลบบนพืน้ที ่10 ไร ที่บานผาหม ีหมูที่ 6 ตําบลเวยีงพางคํา มรีะยะหางจากเทศบาลตาํบลแมสาย 6 กิโลเมตร อบต.เวียงพางคํา มีการจัดการขยะ โดยใชวิธีการผสมผสานหลายวิธ ี คือ กองบนพื้น ฝงกลบอยางถูกหลักสุขลักษณะ และเผาในเตาเผา สถานที่กําจัดขยะตั้งอยูที่บานเหมอืดรุงเจริญ หมูที่ 5 ตําบลเวียงพางคํา มีระยะ หางจากสํานักงานอบต. ประมาณ 2 กิโลเมตร สามารถกําจัดขยะที่เกิดข้ึนในชุมชนไดประมาณ 6.25 ตนั/วัน เทศบาลตําบลหวยไคร มีการจัดการขยะโดยใชวิธีการฝงกลบแบบถูกสุขาภิบาล สถานที่กําจัดขยะตั้งอยูหมูที่ 11 ตําบลหวยไคร ซึ่งเปนพื้นที่เขตปาสงวนแหงชาตดิอยนางนอน เนื้อที ่ 63 ไร 2 งาน มีระยะหางจากสํานักงานเทศบาลตาํบลหวยไคร ประมาณ 2.5 กิโลเมตร มีหนวยงานราชการ และหนวยงานอื่นนาํขยะมากําจดัรวมดวย 3 แหง ไดแก โครงการพัฒนาดอยตุง ปริมาณขยะที่นํามาทิ้งประมาณ 1.5 ตนั/วัน ยกเวนชวงเทศกาลทองเที่ยว ปริมาณขยะจะเพิ่มขึ้น อบต.แมฟาหลวง ปริมาณขยะที่นํามาทิ้งประมาณ 5 ตัน/วนั และของเทศบาลตาํบลหวยไคร มีปริมาณขยะประมาณ 6 ตนั/วัน คาดการณวาพ้ืนที่ดังกลาวจะรองรับปริมาณขยะได 15-25 ป ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ในเขตเทศบาลตาํบลแมสาย พบวา มีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเฉลี่ย 25,371 กิโลกรัมตอวัน สําหรับพื้นที่ของเทศบาลตําบลแมสาย ซึ่งยกฐานะมาจากสุขาภบิาล และมีจํานวนประชากรแฝงมาก สวนในพืน้ที่นอกเขตเทศบาลฯ ประกอบดวย พ้ืนที่ในความดแูลรับผิดชอบ

Page 73: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -73

ขององคการบริหารสวนตําบล จํานวน 7 แหง อัตราการผลิตขยะมูลฝอย ของ อบต.เวียงพางคํา 5 ตัน/วัน อบต.แมสาย 4 ตัน/วัน อบต.โปงงาม 6 ตัน/วัน อบต.เกาะชาง 4 ตัน/วนั อบต.ศรีเมืองชุม 3 ตัน/วัน อบต.บานดาย 2 ตัน/วัน อบต.โปงผา 4 ตัน/วนั เฉล่ีย ปริมาณมูลฝอยเทากับ0.40 กิโลกรัมตอคนตอวัน จากการวิเคราะหองคประกอบทางกายภาพของขยะมูลฝอย (โครงการการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดศนูยกําจดัขยะมูลฝอย ของเทศบาลตาํบลแมสาย , 2547) ของเทศบาลตําบลแมสายพบวา องคประกอบที่พบในปรมิาณมาก คือ องคประกอบประเภทเศษผักผลไมและเศษอาหาร ซึ่งพบในปริมาณสงูถึงรอยละ 70.25 ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ศกึษามีลักษณะเปนพื้นที่เกษตรกรรมอยูโดยรอบ วถีิการดํารงชีวิตยังคงเปนแบบสังคมเกษตรกรรม องคประกอบทางกายภาพที่มีปริมาณรองลง ไดแก พลาสติก กระดาษ และอ่ืนๆ (ผาอนามัย/ผาออมสําเร็จรูป/กระดาษทิชชู) ซึง่มีสัดสวนเทากับรอยละ 17.99 6.68 และ 1.74 ตามลําดบั สวนของเสียอันตรายจากบานเรอืน มีพบในปริมาณเพียงเล็กนอย ประมาณรอยละ 0.15 องคประกอบทางกายภาพของขยะมูลฝอยสวนใหญของตําบลโปงงามและโปงผา คือ ผักผลไมและเศษอาหาร ซึ่งมีปริมาณสูงถึงรอยละ 54.35 สวนองคประกอบทางกายภาพทีม่ีปริมาณรองลงมาเปนขยะมูลฝอยประเภทพลาสติก กระดาษ และอ่ืนๆ (ผาอนามัย/ผาออมสําเร็จรูป/กระดาษทชิชู) ซึ่งมีสัดสวนเทากับรอยละ 26.29 7.46 และ 4.26 ตามลาํดบั สวนของเสียอันตรายจากบานเรือน มีพบในปริมาณเพียงเล็กนอย ประมาณรอยละ 0.18 ดังตารางที่ 2.3-15

Page 74: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -74

ตารางที่ 2.3-15 องคประกอบขยะมูลฝอยรวมของเทศบาลตาํบลแมสายและพื้นที่ใกลเคียง ชุมชน

ทต.แมสาย อบต. แมสาย

อบต.โปงงาม/อบต.โปงผา

เฉลีย่ ลําดับท่ี

องคประกอบ

รอยละโดยน้ําหนัก (เปยก) 1. เศษอาหาร 70.25 61.45 54.35 62.02 2. กระดาษ 6.68 7.65 7.46 7.26 3. พลาสตกิ 17.99 20.36 26.29 21.55 4. แกว 1.16 1.82 2.49 1.82 5. โลหะ 0.87 2.55 0.71 1.38 6. ยาง/หนัง - 1.45 1.42 0.96 7. ผา - 1.45 2.84 1.43 8. ไม 1.16 1.82 - 0.99 9. ของเสียอันตรายจากบานเรือน (หลอดไฟฟา/ถานไฟฉาย/แบตเตอรี่/

กระปองสารเคมี) 0.15 - 0.18 0.11

10. อื่นๆ (ผาอนามัย/ผาออมสาํเร็จรปู/กระดาษทิชชู)

1.74 1.45 4.26 2.48

รวม 100.00 100.00 100.00 100.00 ความหนาแนน (กก./ลบ.ม.) 214.00 191.43 188.57 198.00

ที่มา : โครงการการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดศูนยกําจัดขยะมูลฝอย ของเทศบาลตําบลแมสาย , 2547) 2.3.9 การศึกษาดานประชากรเพื่อประเมินปริมาณขยะ

1) ปริมาณประชากรในปจจุบัน จากขอมูลของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ไดรวบรวมขอมูลประชากรและ การเปลี่ยนแปลงของจังหวัดเชียงรายและในพื้นที่ศึกษา แสดงไดดังตารางที่ 2.3-16 ถึง 2.3-17 ดังนี ้ ตารางที่ 2.3-16 จํานวนประชากรจังหวัดเชียงราย

จํานวนประชากร ป พ.ศ.

ชาย หญิง รวม จํานวนบาน

2536 629,603 612,262 1,241,865 322,966 2537 633,154 618,427 1,251,581 336,029 2538 629,328 620,000 1,249,328 349,008 2539 629,677 623,525 1,253,202 357,523 2540 623,576 628,562 1,261,138 349,616 2541 635,654 632,915 1,268,569 355,963 2542 632,753 632338 1,265,091 361,545 2543 629,313 630,675 1,259,988 366,542 2544 630,324 632,845 1,263,169 373,623 2545 634,959 639,255 1,274,214 383,162 2546 605,123 609,790 1,214,913 394,085

Page 75: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -75

ตารางที่ 2.3-17 จํานวนประชากรอําเภอเชียงแสน จํานวนประชากร

ป พ.ศ. ชาย หญิง รวม จํานวนบาน

2536 27,619 26,908 54,527 14,050 2537 27,687 27,050 54,737 14,570 2538 27,780 27,583 55,363 15,345 2539 27,661 27,642 55,303 15,682 2540 27,504 27,592 55,096 15,729 2541 27,317 27,550 54,867 15,906 2542 27,170 27,492 54,662 16,156 2543 17,193 27,541 54,734 16,290 2544 24,840 25,065 49,905 14,623 2545 24,748 25,008 49,756 14,870 2546 24,334 24,593 48,927 15,441

ตารางที่ 2.3-18 จํานวนประชากรอําเภอเชียงของ

จํานวนประชากร ป พ.ศ.

ชาย หญิง รวม จํานวนบาน

2536 34,606 33,289 67,895 17,320 2537 34,708 33,513 68,221 17,858 2538 34,706 33,592 68,298 18,398 2539 34,788 33,822 68,610 18,868 2540 34,947 34,069 69,016 18,679 2541 35,095 34,176 69,271 19,021 2542 34,802 34,134 68,936 19,442 2543 34,467 33,908 68,375 19,678 2544 27,998 27,353 55,351 15,856 2545 27,918 27,252 55,170 15,959 2546 27,037 26,408 53,554 16,062

Page 76: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -76

ตารางที่ 2.3-19 จํานวนประชากรอําเภอแมสาย จํานวนประชากร

ป พ.ศ. ชาย หญิง รวม จํานวนบาน

2536 40,076 39,057 79,133 23,312 2537 40,800 40,241 81,041 27,248 2538 40,200 40,698 80,898 29,379 2539 40,176 41,109 81,285 30,247 2540 40,415 41,586 82,001 30,418 2541 40,749 42,017 82,766 31,141 2542 40,685 42,027 82,712 31,666 2543 40,836 42,423 83,259 32,232 2544 27,111 27,656 54,767 20,187 2545 27,878 28,773 56,651 21,162 2546 26,207 27,341 53,548 21,740

ตารางที่ 2.3-20 สถิติการยายเขา-ยายออกในพื้นทีศ่ึกษา

อําเภอ

เชียงแสน อําเภอ เชียงของ

อําเภอ แมสาย

ทั้งจังหวัด เชียงราย ป พ.ศ.

ยายเขา ยายออก ยายเขา ยายออก ยายเขา ยายออก ยายเขา ยายออก

2536 2,890 2,564 3,708 3,576 4,098 3,515 68,761 65,575 2537 2,865 2,547 3,175 3,038 4,635 3,893 62,129 58,656 2538 2,634 2,194 2,671 2,549 4,421 3,928 59,579 55,100 2539 2,595 2,023 2,617 2,253 3,876 3,040 58,597 49,408 2540 1,622 1,519 2,054 1,835 2,886 2,415 44,892 39,096 2541 2,134 1,639 2,222 1,775 3,466 2,643 50,780 43,512 2542 2,182 1,666 1,986 1,904 3,584 2,757 49,483 41,280 2543 1,543 1,560 1,941 2,203 3,918 3,689 46,329 44,320 2544 1,878 1,596 2,150 2,212 3,230 2,979 52,392 52,142 2545 1,376 1,454 1,814 2,195 2,631 2,203 51,323 49,827 2546 2,209 1,339 1,728 2,427 2,940 2,234 57,800 49,027

Page 77: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -77

ตารางที่ 2.3-21 สถิติการเกิด- การตายของประชากร

อําเภอ เชียงแสน

อําเภอ เชียงของ

อําเภอ แมสาย

ทั้งจังหวัด เชียงราย ป พ.ศ.

เกิด ตาย เกิด ตาย เกิด ตาย เกิด ตาย 2536 385 351 970 348 617 542 16,564 7,409 2537 443 413 882 418 708 801 16,029 8,441 2538 464 530 915 441 823 784 14,649 9,814 2539 435 574 837 555 633 967 15,838 12,056 2540 360 452 814 439 674 827 15,497 10,318 2541 428 623 705 590 657 977 14,505 11,845 2542 392 520 528 516 577 895 12,690 10,947 2543 347 370 468 421 586 688 10,959 8,303 2544 359 386 549 414 244 687 11,963 10,212 2545 310 421 570 387 13 492 11,279 9,908 2546 358 419 534 407 3 516 11,223 9,426

2) อัตราการเพิ่มของประชากร

ผลการคํานวณอัตราการเพิม่จํานวนประชากรอําเภอเชียงแสน จํานวนประชากร

ป พ.ศ. ชาย หญิง รวม อัตราเพิ่ม

2536 27,619 26,908 54,527 2537 27,687 27,050 54,737 0.39 2538 27,780 27,583 55,363 1.14 2539 27,661 27,642 55,303 -0.11 2540 27,504 27,592 55,096 -0.37 2541 27,317 27,550 54,867 -0.42 2542 27,170 27,492 54,662 -0.37 2543 17,193 27,541 54,734 0.13 2544 24,840 25,065 49,905 -8.82 2545 24,748 25,008 49,756 -0.30 2546 24,334 24,593 48,927 -1.67

รวม -10.40 อัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ -1.04

Page 78: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -78

อัตราการเพิ่มจํานวนประชากรอําเภอเชียงของ จํานวนประชากร

ป พ.ศ. ชาย หญิง รวม อัตราเพิ่ม

2536 34,606 33,289 67,895 2537 34,708 33,513 68,221 0.48 2538 34,706 33,592 68,298 0.11 2539 34,788 33,822 68,610 0.46 2540 34,947 34,069 69,016 0.59 2541 35,095 34,176 69,271 0.37 2542 34,802 34,134 68,936 -0.48 2543 34,467 33,908 68,375 -0.81 2544 27,998 27,353 55,351 -19.05 2545 27,918 27,252 55,170 -0.33 2546 27,037 26,408 53,554 -2.93

รวม -21.59 อัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ -2.16

อัตราการเพิ่มจํานวนประชากรอําเภอแมสาย

จํานวนประชากร ป พ.ศ.

ชาย หญิง รวม อัตราเพิ่ม

2536 40,076 39,057 79,133 2537 40,800 40,241 81,041 2.41 2538 40,200 40,698 80,898 -0.17 2539 40,176 41,109 81,285 0.47 2540 40,415 41,586 82,001 0.88 2541 40,749 42,017 82,766 0.93 2542 40,685 42,027 82,712 -0.06 2543 40,836 42,423 83,259 0.66 2544 27,111 27,656 54,767 -34.22 2545 27,878 28,773 56,651 3.44 2546 26,207 27,341 53,548 -5.47

รวม -31.13 อัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ -3.11

Page 79: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -79

3) ปริมาณประชากรและปริมาณขยะที่คาดวาจะเกดิขึ้นในอนาคต ผลการคาดการณปริมาณประชากรและปรมิาณขยะอําเภอเชียงแสน

ป พ.ศ. จํานวนประชากรรวม อัตราเพิ่มขยะ (กก./คน/วัน) ปริมาณขยะ (ตัน/วัน)

2546 48,927 - -

2547 49,040 0.826 40.51

2548 49,152 0.83 40.80

2549 49,265 0.834 41.09

2550 49,379 0.838 41.38

2551 49,492 0.843 41.72

2552 49,606 0.847 42.02

2553 49,720 0.851 42.31

2554 49,835 0.855 42.61

2555 49,949 0.86 42.96

2556 50,064 0.864 43.26

2557 50,179 0.868 43.56

2558 50,295 0.873 43.91

2559 50,410 0.877 44.21

2560 50,526 0.881 44.51

2561 50,642 0.886 44.87

2562 50,759 0.89 45.18

2563 50,876 0.895 45.53

2564 50,993 0.899 45.84

2565 51,110 0.904 46.20

2566 51,228 0.908 46.51

2567 51,345 0.913 46.88

หมายเหตุ : ประเมินปริมาณประชากร โดยคณะทํางานไดเทียบเคียงจากเทศบาลแมสายเนื่องเปนชุมชนขนาดกลางเชนเดียวกัน (ประชากรไมเกิน 50,000 คน) และลักษณะภูมิประเทศและการใชชีวิตคลายเคียงกัน และอัตราการเพิ่มประชากรรอยละ 0.23 ตอป

Page 80: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -80

ผลการคาดการณปริมาณประชากรและปรมิาณขยะอําเภอเชียงของ ป พ.ศ. ประชากร (คน) อัตราการเพิ่มขยะ (กก./คน/วัน) ปริมาณขยะ (ตัน/วัน)

2546 53,554 - -

2547 53,677 0.826 44.337

2548 53,801 0.830 44.655

2549 53,924 0.834 44.973

2550 54,048 0.838 45.293

2551 54,173 0.843 45.668

2552 54,297 0.847 45.990

2553 54,422 0.851 46.313

2554 54,547 0.855 46.638

2555 54,673 0.860 47.019

2556 54,799 0.864 47.346

2557 54,925 0.868 47.675

2558 55,051 0.873 48.059

2559 55,178 0.877 48.391

2560 55,304 0.881 48.723

2561 55,432 0.886 49.112

2562 55,559 0.890 49.448

2563 55,687 0.895 49.840

2564 55,815 0.899 50.178

2565 55,943 0.904 50.573

2566 56,072 0.908 50.913

2567 56,201 0.913 51.312

หมายเหตุ : ประเมินปริมาณประชากร โดยคณะทํางานไดเทียบเคียงจากเทศบาลแมสายเนื่องเปนชุมชนขนาดกลาง (ประชากรไมเกิน 50,000 คน) เชนเดียวกัน และลักษณะภูมิประเทศและการใชชีวิตคลายเคียงกัน และอัตราการเพิ่มประชากรรอยละ 0.23 ตอป

Page 81: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -81

ผลการคาดการณปริมาณประชากรและปรมิาณขยะเทศบาลตําบลแมสายและพื้นทีใ่กลเคียง

พ.ศ. อัตราการผลิต ขยะมูลฝอย

(กก./คน/วัน)

ประชากรรวม (คน)

ปริมาณขยะ มูลฝอย

(ตัน/วัน)

2547 0.826 30,148 24.90 2548 0.830 30,693 25.48 2549 0.834 31,247 26.07 2550 0.838 31,812 26.67 2551 0.843 32,386 27.29 2552 0.847 32,971 27.92 2553 0.851 33,566 28.57 2554 0.855 34,173 29.23 2555 0.860 34,790 29.91 2556 0.864 35,418 30.60 2557 0.868 36,058 31.31 2558 0.873 36,709 32.03 2559 0.877 37,372 32.77 2560 0.881 38,047 33.53 2561 0.886 38,734 34.31 2562 0.890 39,434 35.10 2563 0.895 40,146 35.92 2564 0.899 40,871 36.75 2565 0.904 41,609 37.60 2566 0.908 42,360 38.47

2.4 คุณคาคุณภาพชีวิต

2.4.1 สภาพเศรษฐกิจ

อําเภอเชียงของ

อําเภอเชียงของ ประกอบดวยคนหลายเชื้อชาติ เชน ชาวไทยพื้นเมืองเดิม ไทยลื้อ จนีฮอ และชาวไทยภูเขาเผาตางๆ เชน มง (แมว) เยา ลาหู (มูเซอ) ขมุ เปนตน รายไดเฉล่ียของประชาชนคดิเปน 21,016 บาทตอคนตอป โดยสามารถจําแนกรายไดเฉล่ียตอป โดยเรียงลําดบัจากนอยไปมาก ดังตารางที่ 2.4-1

Page 82: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -82

ตารางที่ 2.4-1 แสดงรายไดเฉล่ียตอปของตําบลตาง ๆ ของประชาชนในอาํเภอเชียงของ ลําดับ ตําบล รายไดเฉลี่ยตอคนตอป (บาท)

1 บุญเรือง 12,454

2 ริมโขง 13,864

3 หวยซอ 21,130

4 ศรีดอนชัย 21,665

5 ครึ่ง 21,848

6 สถาน 22,580

7 เวียง 24,497 ที่มา : ขอมูลความจําเปนพืน้ฐาน (2547)

ประชากรในอาํเภอเชียงของสวนใหญประกอบอาชีพดานเกษตรกรรมเปนหลัก นอกจากนี ้มีการทําปศุสัตว การประมง และการพาณิชยกรรมซึ่งเปนอาชีพหนึ่งที่มีสวนสําคัญตอระบบเศรษฐกิจของอําเภอเชียงของเนื่องจากอําเภอเชียงของไดถูกประกาศเปดเปนจุดผานแดนถาวร บริเวณทาเรือบั๊ก หมูที่ 1 (บานหัวเวียง) ตําบลเวียง ตั้งแตวันที่ 22 มกราคม 2532 เพ่ือทําการตดิตอคาขายธุรกจิ และการทองเที่ยว กับทาดานเมืองหวยทราย แขวงบอแกว ประเทศ สปป.ลาว ทําใหประเทศไทย ไดเปรียบดุลการคา ขอมูลแสดงดังตารางที่ 2.4-2 ตารางที่ 2.4-2 ขอมูลแสดงปริมาณมูลคาสินคานําเขา และสงออกบริเวณชายแดน ฯ อําเภอเชียงของ จ.เชียงราย เปรียบเทียบภาพรวมระหวางป 2544-2546

ป มูลคาสินคานําเขา

(บาท) มูลคาสินคาสงออก

(บาท) ดุลการคา (บาท)

2544 136,163,934.92 454,923,870.13 +318,759,935.21 2545 160,693,154.30 372,858,587.18 +212,165,432.88 2546 115,996,210.58 235,223,542.44 +119,227,331.86

สินคาหลักที่สงออกไปยัง สปป.ลาว 5 ลําดบัแรก ไดแก สินคาอุปโภค-บริโภค วัสดุกอสราง พาหนะ น้าํมันเชื้อเพลิง และเคร่ืองใชไฟฟา สินคาหลักที่นาํเขาจาก สปป.ลาว 5 ลําดับแรก ไดแก ไมและผลิตภณัฑจากไม ของปา ผลผลิตทางการเกษตร แรธาต ุและสัตวมีชีวติ (โค-กระบือ) อําเภอเชียงของมีธนาคาร 5 แหง ไดแก ธนาคารออมสนิ, ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารไทยพาณิชย, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร และธนาคารกรุงศรีอยุธยา มีโรงแรมและ เกสตเฮาส 9 แหง ไดแก โรงแรมปลาบึกรีสอรท โรงแรมเชียงของโฮเต็ล โรงแรมพักบานเพื่อน เชียงของรีสอรท ตํามิละเกสตเฮาส เรือนไทโสภาพรรณ โรงแรมบานในสระ โรงแรมบานริมน้ํา และโรงแรมเชียงของริเวอรวิว การทําเกษตรกรรมในเขตอําเภอเชียงของ พบวา เกษตรกรนิยมปลูกขาวมากที่สุด นอกจากนี้ มกีารปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นๆ ที่สําคัญไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตว, ยาสบู, พืชผัก, มะมวง, ลําไย และสมเขียวหวาน รวมพื้นทีท่ําการเกษตรทั้งหมด 221,221 ไร แบงเปน

Page 83: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -83

- พ้ืนที่นา 157,507 ไร

- พ้ืนที่ไร 48,455 ไร

- พ้ืนที่ปลูกไมผล ไมยืนตน 12,880 ไร

- พ้ืนที่ปลูกพืชผักและอ่ืนๆ 2,349 ไร จากการทาํเกษตรกรรมปจจุบนั พบปญหาราคาผลผลติทางการเกษตรตกต่าํ โดยเฉพาะสมเขียวหวานและขาวโพด และปญหาน้ําทวมพื้นที่การเกษตรบริเวณที่แมน้ําอิงไหลผาน ในเขตตําบลศรีดอนชัย ตําบลครึ่ง ตําบลบญุเรือง และตาํบลหวยซอ การปศุสัตวในอําเภอเชียงของเปนการเลี้ยงเพื่อการใชงานและบรโิภค ไดแก โค กระบือ สุกร เปด ไก เปนตน จาํนวนผูเล้ียงปศุสัตวรวม 7,977 ราย

การประมงมีเกษตรกรเลี้ยงปลา 929 ราย จํานวน 960 บอ ในพืน้ที่ 480.50 ไร ทําการ-ประมงในแมน้ําโขง 69 ราย (จับปลาบึก 40 ราย) นอกจากนี้อําเภอเชียงของยังไดดําเนนิโครงการ 1 ตาํบล 1 ผลิตภณัฑ ตามนโยบายของรัฐบาล ผลิตภัณฑของตําบล ไดแก รองเทาผาใบ จากตาํบลริมโขง และสาหรายแมน้ําโขง (ไก) ทรงเครื่อง จากตําบลเวียง เปนตน

Page 84: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -84

อําเภอเชียงแสน

อําเภอเชียงแสนมีประชากรสวนใหญเปนคนพื้นเมืองชนกลุมนอยประกอบดวยชาวเขาเผา-อีกอ เผามง (แมว) จีนฮอ ไทยใหญ และอพยพมาจากภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ รายไดเฉล่ียของประชาชนคดิเปน 22,643 บาทตอคนตอป โดยสามารถจําแนกรายไดเฉล่ียตอป โดยเรียงลําดบัจากนอยไปมาก ดังตารางที่ 2.4-3 ตารางที่ 2.4-3 จําแนกรายไดเฉล่ียตอคนตอป พ.ศ. 2547 จังหวัดเชียงราย อําเภอเชียงแสน ลําดับของอําเภอ ตําบล รายไดเฉลี่ยตอคนตอป (บาท)

1 แมเงิน 17,782 2 โยนก 21,188 3 เวียง 21,376 4 บานแซว 22,491 5 ศรีดอนมูล 24,476 6 ปาสัก 26,777

เฉล่ียรายไดตอคนตอปของคนในพื้นที่ 22,643 ที่มา : ขอมูลความจําเปนพืน้ฐาน (2547)

อาชีพหลักของประชาชน คอื อาชีพเกษตรกรรม โดยทํานา และปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นๆ เชน ลําไย ล้ินจี ่ เปนตน นอกจากนี้ชาวอําเภอเชียงแสน ยังมีรายไดจากการคาชายแดนระหวางประเทศไทย-ลาว-สหภาพเมียนมาร-จีน ในป 2547 มีสถิติการนําเขาสินคาเปนมูลคา 1,332.86 ลานบาท สถิติสงออกสินคาคิดเปนมลูคา 2,462.55 ลานบาท โดยมีการนาํเขาและสงออกสินคากับประเทศจีนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 93.30 และ 86.14 ตามลําดับ (ที่วาการอําเภอเชียงแสน, 2547) และอาชีพธุรกิจการทองเที่ยว โดยในแตละปจะมีนกัทองเทีย่วเดนิทางมาเที่ยวชมทัศนียภาพอันสวยงามของ แมน้ําโขง โบราณสถาน โบราณวัตถุอันล้ําคา และหาซ้ือสินคาพ้ืนเมืองเปนจํานวนมาก ประชากรมีการใชพ้ืนที่เพ่ือการเกษตร 137,837 ไร โดยทําการปลกูขาว 71,045 ไร พืชไร 40,829 ไร ปลูกไมผล/ไมยืนตน 23,142 ไร ไดแก สมเขียวหวาน ล้ินจี่ ลําไย พืชผัก 2,795 ไร (สํานักงานเกษตรจังหวัด/เกษตรอําเภอ, 2547) การปศุสัตวสวนใหญทาํเพ่ือการบริโภคในครอบครัว และจําหนายเปนรายไดเสริม โดยมีจํานวนผูเล้ียงปศุสัตวรวม 5,517 ราย มีพ้ืนที่ปลูกหญาหรือพืชอาหารสัตว 514 ไร จาํนวนปศุสัตว ที่เล้ียงแตละชนิดเปน โคเนือ้ 1,640 ตัว กระบือ 1,252 ตัว สุกร 6,435 ตัว แพะ 59 ตัว ไกพ้ืนเมือง 87,491 ตัว ไกเนื้อ 243,600 ตัว ไกไข 132,000 ตัว เปดเทศ 2,444 และหาน 89 ตัว การประมงโดยเฉพาะบริเวณทะเลสาบเชยีงแสน พบสตัวน้ําหลักไดแก ปลาชอน ปลาดุก ปลานิล ปลาบู ปลาหมอ และปลาสลาด มีผลผลิตเฉลีย่รายเดือนประมาณ 22-93 กิโลกรัม/ครัวเรือน ซึ่งมีปลานิลเปนผลผลติหลัก ครัวเรือนประมงมีรายไดสุทธิเฉล่ียจากการทําประมงประมาณ 31,023 บาท/ป/ครัวเรือน ดานพาณิชยกรรม การประกอบอาชีพคาขายและบริการในอําเภอเชียงแสน มีตลาดสด 15 แหง และรานคาจาํหนายสนิคาบรโิภคอปุโภคจะกระจายอยูทั่วไปตามตําบล หมูบานตางๆ แตสวนใหญจะรวมตัวกันอยูในเขตเทศบาล ซึ่งเปนศนูยกลางพาณิชยกรรม สถานบริการสําคญัของอําเภอเชียงแสน

Page 85: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -85

มีธนาคาร 4 แหง ไดแก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ, ธนาคารไทยพาณชิย (มหาชน) จํากัดธนาคารกรุงไทย (มหาชน) จํากัด และธนาคารออมสิน มีสถานีบริการน้ํามนัเชื้อเพลิงขนาดใหญ 9 แหง มีโรงแรม 10 แหง จาํนวนหองพัก 373 หอง มีบรเิวณนําเที่ยวทางเรือตามลําน้ําโขง 1 แหง และ ทาเทียบเรือ 18 แหง สินคาทีจ่ําหนายเปนรายไดหลักของประชาชน ไดแก สินคาที่เปนผลิตผล ทางการเกษตร นอกจากนี้เปนสินคาประเภทหัตถกรรมพื้นบาน เชน ผาทอพื้นเมอืง เครื่องปนดินเผา และของชํารวย อําเภอแมสาย

อําเภอแมสายมีประชากรสวนใหญเปนคนพื้นเมือง ชนกลุมนอยประกอบดวย ชาวไทยลื้อ ไทยใหญ จีนฮอ สหภาพเมียนมาร และชาวเขาเผาอาขา (อีกอ) ในป 2547 ประชาชนอาํเภอแมสายมีรายไดเฉล่ียคดิเปน 28,568 บาทตอคนตอป (พัฒนาชุมชน, 2547) โดยพบวา มีรายไดเพ่ิมขึ้นจากป 2546 ตารางที่ 2.4-4 จําแนกรายไดเฉล่ียตอคนตอป อําเภอแมสาย ลําดับของอําเภอ ตําบล รายไดเฉลี่ยตอคนตอป (บาท)

1 ศรีเมืองชุม 24,417 2 โปงงาม 25,182 3 บานดาย 25,299 4 เวียงพางคํา 27,475 5 หวยไคร 28,853 6 เกาะชาง 29,562 7 โปงผา 30,314 8 แมสาย 34,256

เนื่องจากแมสายเปนอําเภอที่มีการคาชายแดนสูงสุดของภาคเหนือ จงึมีมูลคาการสงออกในอัตราสูง สินคาที่สงออกหลัก ไดแก น้าํมนัเชื้อเพลิง ปูนซีเมนต อุปกรณกอสราง อุปกรณไฟฟา ผาทอ-ผาผนื รถยนต ยางรถยนต น้าํมันหลอล่ืน น้ํามนัพืช ยารักษาโรค ผงชูรส และสินคาเบ็ดเตล็ด สําหรับสินคานําเขา ไดแก อุปกรณเครื่องใชไฟฟา เปลือกไม เห็ดหอมแหง ผาทอ-ผาผืน เส้ือผา-สําเร็จรูป ดอกไมสด อัญมณี อุปกรณคอมพิวเตอร เสนดาย-ฝาย และสินคาเบ็ดเตล็ด นอกจากนี ้การทําโครงการ 1 ตาํบล 1 ผลติภณัฑตามนโยบายของรัฐบาลจึงมีผลิตภัณฑประจําตาํบล ไดแก บัวกระถาง จากตําบลแมสาย เส่ือกกจากตาํบลหวยไคร น้ําพริกแมลัดดา จากตําบลเกาะชาง น้ําสตรอเบอรี่ และล้ินจี่อบแหง จากตาํบลโปงผา และพานรองหวายจากตาํบลศรีเมืองชุม เปนตน การอุตสาหกรรมที่สําคัญ ไดแก โรงสขีาว โรงงานตะเกียบ สินคาหัตถกรรม อบพืช เมล็ดพืช และผลิตผลทางการเกษตร เจียระไนพลอย และหยก ผลิตกระดาษสา และทําน้ําแข็ง

ดานการเกษตร ประชากรมีการใชพ้ืนที่เพ่ือการเกษตรจาํนวน 118,335 ไร โดยมกีารปลูกขาว 80,141 ไร พืชไร 26,703 ไร ปลูกไมผล/ไมยืนตน 10,299 ไร ไมดอก/ไมประดับ 574 ไร และพืชผัก 618 ไร (สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย/เกษตรอําเภอ,2546/47) โดยมีแนวโนมทําการเกษตรกรรมลดลง เนื่องจากการขยายตัวของชุมชน และเศรษฐกิจ

Page 86: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -86

โครงสรางทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ยังเนนภาคเกษตรกรรมมาโดยตลอด สาขาการผลิตที่สําคัญมากที่สุด คือ สาขาเกษตรกรรม มีมูลคา 8,354 ลานบาท ซึ่งคดิเปนรอยละ 23.7 ของผลิตภณัฑจังหวัด และนอกภาคเกษตรกรรม มีการคาสงและคาปลีก มีมูลคา 8,198 ลานบาท เปนลําดบัที่ 1 และ 2 ของจังหวัดตามลําดับ (ขอมูล GPP at current market prices 2002p) และมีมูลคาผลิตภณัฑเฉล่ียตอวันตอหัว 31,448 บาท เปนลําดับที่ 14 ของภาคเหนือ และเปนลําดับที่ 57 ของประเทศ พืชทางเศรษฐกิจที่สําคัญของจงัหงวัดเชียงราย คือ ขาว ขาวโพด ถ่ัวเหลือง ขิง ไมผล ไดแก ลําไย ล้ินจี่ สมโอ สมเขียวหวาน ชา และพืชผัก

2.4.2 สังคม

อําเภอเชียงของ

จากขอมูล กชช.2ค ป 2546 จํานวนราษฎร 37,667 คน จํานวนครัวเรือน 9,916 ครัวเรือน ในทั้งหมด 83 หมูบาน ไมพบวามีหมูบานเรงรัดพัฒนาอนัดบัหนึ่ง พบหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดบัสอง 25 หมูบาน และอันดบัสาม 58 หมูบาน พบสภาพปญหาทางสังคมจําแนกตามตัวชี้วัดของอําเภอเชียงของ มีรายละเอียดดังนี ้

- ปญหาโครงสราง กรณีที่ดินทํากินมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือ ปญหาน้าํเพ่ือการเกษตร - ปญหาดานการประกอบอาชพี และมีงานทาํ กรณีผลผลิตทางการเกษตรมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือ ปญหาการมีงานทํา - ปญหาดานสุขภาพอนามัย กรณีดานการกีฬา (ไมมีสถานที่ออกกําลังกาย) มีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาความ

ปลอดภัยในการทํางาน - ปญหาดานความรูและการศกึษา กรณีดานระดบัการศึกษาของประชาชนมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาการไดรับ

การศึกษา - ปญหาดานความเขมแข็งของชุมชน กรณีดานการการเขาถึงแหลงเงินทุนของชุมชนมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาการ

เรียนรูโดยชุมชน - ปญหาดานทรัพยากร และส่ิงแวดลอม กรณีดานคุณภาพดินมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาการใชประโยชนที่ดนิ

Page 87: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -87

อําเภอเชียงแสน

จากขอมูล กชช.2ค ป 2546 จํานวนราษฎร 32,524 คน จํานวนครัวเรือน 9,088 ครัวเรือน ในทั้งหมด 67 หมูบาน ไมพบหมูบานเรงรัดพัฒนาอนัดบัหนึ่ง พบหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดบัสอง 16 หมูบาน และอันดบัสาม 51 หมูบาน พบสภาพปญหาทางสังคมจําแนกตามตัวชี้วัดของอําเภอเชียงแสน มีรายละเอียดดังนี ้

- ปญหาโครงสราง กรณทีี่ดินทํากินมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือ ปญหาน้าํเพ่ือการเกษตร - ปญหาดานการประกอบอาชพี และมีงานทาํ กรณีการไดรับประโยชนจากการมีสถานทีท่องเที่ยวมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือ ปญหา

ผลผลิตจากการทําไร - ปญหาดานสุขภาพอนามัย กรณีดานการกีฬา (ไมมีสถานที่ออกกําลังกาย) มีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาความ

ปลอดภัยในการทํางาน และการปองกันโรคตดิตอ

- ปญหาดานความรูและการศกึษา กรณีดานระดบัการศึกษาของประชาชนมีปญหามากที่สุด รองลงมาคอืปญหาการไดรับ

การศึกษา อัตราการเรียนตอประชากร - ปญหาดานความเขมแข็งของชุมชน กรณีดานการเรียนรูโดยชุมชนมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาการเขาถึงแหลงเงินทุน

ของชุมชน - ปญหาดานทรัพยากร และส่ิงแวดลอม กรณีดานคุณภาพดินมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาการใชประโยชนที่ดนิ

อําเภอแมสาย

จากขอมูล กชช.2ค ป 2546 จํานวนราษฎร 41,090 คน จาํนวนครวัเรือน 13,977 ครัวเรือน ในทั้งหมด 77 หมูบาน มีหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดบัหนึ่ง 2 หมูบาน อันดบัสอง 28 หมูบาน อันดบัสาม 47 หมูบาน พบสภาพปญหาทางสังคมจําแนกตามตัวชี้วดัของอําเภอเชียงแสน มีรายละเอียดดงันี้

- ปญหาโครงสราง กรณีการมีที่ดินทํากินมปีญหามากที่สุด รองลงมาคือ ปญหาน้าํเพ่ือการเกษตร - ปญหาดานการประกอบอาชพี และมีงานทาํ กรณีการมีงานทํามีปญหามากที่สุด รองลงมาคือ ปญหาผลผลิตจากการทําไร

Page 88: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -88

- ปญหาดานสุขภาพอนามัย กรณีดานการกีฬา (ไมมีสถานที่ออกกําลังกาย) มีปญหามากที่สุด รองลงมาคือการปองกัน

โรคตดิตอ

- ปญหาดานความรูและการศกึษา กรณีดานการไดรับการศึกษามีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาระดบัการศึกษาของ

ประชาชน

- ปญหาดานความเขมแข็งของชุมชน กรณีดานการเรียนรูโดยชุมชนมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาการเขาถึงแหลงเงินทุน

ของชุมชน - ปญหาดานทรัพยากร และส่ิงแวดลอม กรณีดานคุณภาพดินมีปญหามากที่สุด รองลงมาคือปญหาการใชประโยชนที่ดนิ

2.4.3 สาธารณสุข อาชีวอนามัย และความปลอดภัย อําเภอเชียงของ

หนวยงานดานสาธารณสุขของอําเภอเชียงของ ประกอบดวย - โรงพยาบาลชมุชน คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเชียงของ ซึ่งตั้งอยูเลขที่ 354 หมูที่ 10 ตาํบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย อยูหางจากตัวอําเภอประมาณ 2 กิโลเมตร เปดดาํเนนิการตั้งแตป 2522 ปจจุบันเปนโรงพยาบาลชุมชนขนาด 90 เตียง จากสถิติของโรงพยาบาลในป 2547 พบวา อัตราเฉลี่ยผูปวยในที่รับใหมตอวัน 32.65 คน อัตราการครองเตียง 74.72 เปอรเซ็นต บุคลากรทางสาธารณสุขประจําโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเวียงเชียงของ ประกอบดวยผูอํานวยการ 1 คน ฝายบริหารทั่วไป 4 คน แพทย 4 คน ทันตแพทย 3 คน เจาพนักงาน- ทันตสาธารณสุข 2 คน ผูชวยทันตแพทย 1 คน เจาพนักงานเภสัชกรรม 2 คน นกัเทคนิคการแพทย 1 คน เจาพนักงานวิทยาศาสตรการแพทย 1 คน เจาหนาที่รังสีการแพทย 1 คน เภสัชกร 5 คน พยาบาลวิชาชีพ 44 คน พยาบาลเทคนิค 10 คน เจาพนกังานสาธารณสุขชุมชน 1 คน และนกัวิชาการสาธารณสุข 1 คน

- สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 1 แหง คือ สาธารณสุขอําเภอเชียงของ - คลินิกทุกประเภท 12 แหง

- สถานบริการ ประกอบดวย สถานีอนามัย 17 แหง และสถานบริการสุขภาพชุมชน PCU 2 แหง รายละเอียดดังตารางที่ 2.4-5

Page 89: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -89

ตารางที่ 2.4-5 สถานบรกิารดานสาธารณสุข และรายละเอียด ของอําเภอเชียงของ จํานวนบุคคลากรปฏิบัติงาน (คน)

ท่ีต้ัง สถานบริการ

หมู ตําบล เจาหนาท่ีบริหาร

สาธารณสุข

เจาหนาท่ีสาธารณสุข

นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาล อื่น ๆ

1. สถานีอนามัยตําบลบุญเรือง 4 บุญเรือง 1 2 1 0 4 2. สถานีอนามัยตําบลสถาน 1 สถาน 0 1 1 0 3 3. สถานีอนามัยตําบลศรีดอนชัย 15 ศรีดอนชัย 0 0 1 1 3 4. สถานีอนามัยตําบลครึง่ 3 ครึ่ง 0 2 0 0 3 5. สถานีอนามัยตําบลหวยซอ 3 หวยซอ 1 2 0 1 3 6. สถานีอนามัยบานเมืองกาญจน 2 ริมโขง 1 0 1 0 2 7. สถานีอนามัยบานดงหลวง 8 ศรีดอนชัย 0 2 0 0 3 8. สถานีอนามัยบานมวงชุม 7 ครึ่ง 1 1 0 0 2 9. สถานีอนามัยบานเขียะ 5 ศรีดอนชัย 1 1 0 0 2 10.สถานีอนามัยบานศรีวิไล 7 หวยซอ 0 1 0 0 1 11.สถานีอนามัยบานใหมดอนแกว 9 หวยซอ 0 1 1 0 2 12.สถานีอนามัยบานซอเหนือ 1 หวยซอ 0 2 0 0 2 13.สถานีอนามัยบานหาดบาย 1 ริมโขง 1 0 1 0 2 14.สถานีอนามัยบานสองพ่ีนอง 5 ริมโขง 0 1 1 0 2 15.สถานีอนามัยบานน้าํมา 3 สถาน 1 1 0 0 2 16.สถานีอนามัยบานทุงอาง 6 สถาน 0 1 0 0 2 17.สถานีอนามัยบานทุงงิ้ว 2 สถาน 0 1 0 0 2

รวม 1 19 7 2 40 ท่ีมา : สาธารณสุขอําเภอเชียงของ (2548)

2) สรุปรายงานแบบ รง.506 ในพื้นที่อําเภอเชียงของ พบวา สถิติการเจ็บปวย 5 อันดบัแรก คอื 1. อุจจาระรวง 2. โรคปอดบวม 3. สุกใส 4. อาหารเปนพิษ 5. บดิ Dysentery, Unspecified ตามลาํดบั

อําเภอเชียงแสน หนวยงานดานสาธารณสุขของอําเภอเชียงแสน ประกอบดวย

- โรงพยาบาลชมุชน คือ โรงพยาบาลเชียงแสน เปนโรงพยาบาลขนาด 60 เตียง จากสถิติของโรงพยาบาลในป 2547 พบวา จํานวนผูปวยในเฉลี่ยตอวนั 16.72 คน โดยแผนกทีม่ีผูปวยเขารักษา 3 อันดบัแรก ไดแก อายุรกรรม, กุมารเวชกรรม (ไมรวมทารกแรกเกิดปกติ) และสูติกรรม อัตราการครองเตียง 74.78 เปอรเซ็นต

บุคลากรทางสาธารณสุขประจําโรงพยาบาลเชียงแสน (Full Time) ประกอบดวย แพทยเวชปฏิบัติทั่วไป 5 คน ทนัตแพทย 2 คน เภสัชกร 6 คน พยาบาลวชิาชีพ 33 คน พยาบาล

Page 90: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -90

เทคนิค 11 คน เทคนิคการแพทย 2 คน รังสีเทคนคิการแพทย 2 คน รังสีเทคนิค 2 คน ขาราชการแผนกอื่นๆ 21 คน ลูกจางช่ัวคราว 60 คน และลูกจางประจํา 24 คน (โรงพยาบาลเชียงแสน, 2548)

- สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 1 แหง คือ สาธารณสุขอําเภอเชียงแสน

- คลินิกทุกประเภท 10 แหง

- สถานบริการ ประกอบดวย สถานีอนามัย 9 แหง และสถานบริการสุขภาพชุมชน PCU 4 แหง รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 2.4-6 ตารางที่ 2.4-6 สถานบรกิารดานสาธารณสุข ของอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

จํานวนบุคคลากรปฏิบัติงาน (คน) ท่ีต้ัง

สถานบริการ หมู ตําบล

เจาหนาท่ีบริหาร

สาธารณสุข

เจาหนาท่ีสาธารณสุข

นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาล อื่นๆ

1. สถานีอนามัยตําบลศรีดอนมลู 13 ศรีดอนมลู 1 - - 1 1 2. สถานีอนามัยบานสนัสล ี 4 ศรีดอนมลู 1 1 - - - 3.สถานีอนามัยบานสะโง 7 ศรีดอนมลู - - - - 1 4.สถานีอนามัยบานเวียงแกว 5 ศรีดอนมลู 5. สถานีอนามัยตําบลแมเงิน 5 แมเงิน - 2 - - - 6.สถานีอนามัยบานไร 7 แมเงิน - 2 - - - 7. สถานีอนามัยตําบลปาสัก 13 ปาสัก 1 - - - - 8. สถานีอนามัยแมคํา 1 ปาสัก 1 - - 1 - 9. สถานีอนามัยตําบลแซว 10 บานแซว 1 - 1 2 - 10.สถานีอนามัยแมแอบ 11 บานแซว - 1 - - 1 11. สถานีอนามยัตําบลเวียง 2 เวียง - - - 3 - 12. สถานีอนามยัสบรวก 1 เวียง 1 1 1 - - 13. สถานีอนามยัตําบลโยนก 1 โยนก - 2 - - -

รวม 79 7 10 2 8 4 ท่ีมา : สาธารณสขุอําเภอเชียงแสน (2548)

2) สรุปรายงานแบบ รง.506 ในพื้นที่อําเภอเชียงแสน พบวาสถิติการเจ็บปวย 5 อันดบัแรก คือ 1. อุจจาระรวง 2. อาหารเปนพษิ 3. ไขหวดัไขไมทราบสาเหตุ 4. โรคปอดบวม 5. สุกใส ตามลาํดบั

อําเภอแมสาย หนวยงานดานสาธารณสุขอําเภอแมสาย ประกอบดวย

- โรงพยาบาลชมุชน คือ โรงพยาบาลแมสาย ซึ่งตั้งอยูหมู 10 ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย เปนโรงพยาบาลขนาด 90 เตียง

บุคลากรทางสาธารณสุขประจําโรงพยาบาลแมสาย ประกอบดวย แพทย 8 คน พยาบาลวิชาการวิชาชีพ 53 คน เจาหนาทีพ่ยาบาล 1 คน พยาบาลเทคนิค 4 คน โภชนาการ 1 คน นักเทคนิคการแพทย 2 คน เจาพนักงานวิทยาศาสตรการแพทย 2 คน เจาหนาทีรั่งสีการแพทย 2 คน

Page 91: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -91

เจาหนาทีบ่ริหาร 1 คน เภสัชกร 3 คน เจาพนักงานเภสชักรรม 3 คน ทันตแพทย 4 คน เจาพนักงานทันตกรรม 1 คน ผูชวยทันตแพทย 1 คน เจาพนักงานธุรการ 1 คน เจาพนักงานการเงินบัญชี 2 คน นายชางเทคนคิ 1 คน เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน 4 คน นักวิชาการสาธารณสุข 1 คน เจาหนาที่เวชสถิติ 1 คน ลูกจางประจํา 27 คน และลูกจางช่ัวคราว 83 คน (โรงพยาบาลแมสาย, 2548)

- สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 1 แหง คือ สาธารณสุขอําเภอแมสาย

- คลินิกทุกประเภท 38 แหง

- สถานบริการประกอบดวยสถานีอนามัย 10 แหงรายละเอียดแสดง ดังตารางที่ 2.4-7

ตารางที่ 2.4-7 สถานบริการดานสาธารณสุข ของอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย จํานวนบุคคลากรปฏิบัติงาน (คน)

ท่ีต้ัง สถานบริการ

หมู ตําบล

เจาหนาท่ีบริหาร

สาธารณสุข

เจาหนาท่ีสาธารณสุข

นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาล อื่น ๆ

1. สถานีอนามัยตําบลแมสาย 9 แมสาย 1 1 0 0 0 2. สถานีอนามัยตําบลเกาะชาง 7 เกาะชาง 0 2 1 0 0 3. สถานีอนามัยตําบลศรีเมืองชุม 2 ศรีเมืองชุม 1 0 1 1 0 4. สถานีอนามัยตําบลโปงผา 10 โปงผา 1 2 0 0 0 5. สถานีอนามัยผาหม ี 6 โปงผา 1 0 0 0 0 6. สถานีอนามัยตําบลโปงงาม 6 โปงงาม 2 1 0 0 0 7. สถานีอนามัยผาชี ้ 10 โปงงาม 1 0 0 0 0 8. สถานีอนามัยบานถ้ํา 1 โปงงาม 0 0 1 0 0 9. สถานีอนามัยตําบลหวยไคร 7 หวยไคร 1 2 1 1 0 10. สถานีอนามยัตําบลบานดาย 4 บานดาย 1 1 0 0 0

รวม 9 9 4 2 0

ที่มา : สาธารณสุขอาํเภอแมสาย (2548)

2) สรุปรายงานผูปวยแบบ รง.506 ในพื้นที่เขตอําเภอแมสาย พบวา สถิติการเจ็บปวย 5 อันดบัแรก คอื 1. อุจจาระรวง 2. อาหารเปนพิษ 3. โรคปอดบวม 4. ไขหรือไขไมทราบสาเหต ุ 5. สุกใส ตามลําดบั

Page 92: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -92

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา รูปที่ 2.4-1 แสดงที่ตั้งของโรงเรียน วัด และสถานพยาบาลภายในพื้นที่ศึกษา 2.4.4 โบราณคดี ศลิปกรรม และประวัติศาสตร อําเภอเชียงของ

เวียงเชียงของ ตั้งอยูที่ตําบลเวียง อําเภอเชียงของ ซึ่งเปนที่ตั้งของตัวอําเภอเชียงของปจจุบัน โดยอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดเชียงราย มีระยะทางหางประมาณ 137 กิโลเมตร พิกัดภูมศิาสตร ประมาณ รุง 20 องศา 16 ลิปดา 02 ฟลิปดา เหนือ และ แวง 100 องศา 24 ลิปดา 32 ฟลิปดา ตะวันออก (พิกัดคูเมืองช้ันในดานทิศเหนือ)

แหลงโบราณคดีเวียงเชียงของ มีลักษณะเปนเมืองโบราณที่มีคนู้ํา คันดนิลอมรอบสองชั้น วางตัวยาวตามแนวเหนือ-ใต ดานตะวันออกตดิกับแมน้ําโขง ดานตะวนัตกเปนที่ราบลุมและแนวเทือกเขาใหญ แนวคูเมืองทางดานเหนือตัดลงสูแมน้ําโขง และเนื่องจากเปนทีต่ั้งของสวนราชการ และบานเมืองราษฎรอําเภอเชียงของ จึงทําใหสภาพของเวยีงเชียงของถูกรบกวนเปลี่ยนแปลงอยางมาก แนวคูน้ําคันดินถูกเปล่ียนสภาพ ขาดหายเปนชวง ๆ เหลือใหเห็นเปนเพียงบางสวน

หลักฐานโบราณวัตถุที่พบไดแกเศษอิฐ แผนกระเบื้อง เศษภาชนะดนิเผาแบบเนื้อแกรง แบบเคลือบสีเขียวออน และเคร่ืองถวยจีน แตยังไมไดมีการสํารวจศึกษาทางดานโบราณคดีอยางจริงจงั

เวียงนํ้ามาหรือเมืองนํ้ามา ตั้งอยูในพื้นทีป่กครองบานน้ํามา ตาํบลสถาน อําเภอเชยีงของ การเดินทางจากอาํเภอเชียงของ ใชเสนทางหลวงหมายเลข 1020 (เชียงของ-เทิง) ไปเปนระยะทาง

Page 93: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -93

ประมาณ 7 กิโลเมตร มีทางแยกขวามือเขาเสนทางหลวงหมายเลข 1174 ไปอีกประมาณ 5 กิโลเมตรเศษ (ระหวางหลักกิโลเมตรที่ 5-6) จะถึงแหลงโบราณคดีเมืองน้าํมาอยูริมถนนดานซายมือ

แหลงโบราณคดีเมืองน้าํมา มีลักษณะเปนเมืองโบราณที่มีคูน้ํา คันดนิลอมรอบ ผงัเมืองเปนรูปวงรีสองวงติดกันตามแนวเหนือ-ใต ซึ่งลักษณะของเมืองโบราณตดิกันแบบนี้ คลายกับเวียงหนองปลาสะเด็ดในอาํเภอเชียงแสน โดยการกอสรางจะขุดคนู้ําดานนอกและทาํคันดินกาํแพงเมืองไวดานใน แตที่เมืองน้ํามา บางชวงพบรองรอยของคันดินสองชั้น และปอมประตูเมอืงดวย สภาพพ้ืนที่ ปจจบุันเปนพ้ืนที่เกษตรกรรม และบานเรือนราษฎรจํานวนหนึ่ง แมวาแนวคนู้ําคันดนิ บางสวนจะถูกรบกวนทําลายบาง แตก็ยังมสีวนที่คงสภาพอยูใหเห็นมากพอสมควร อําเภอเชียงแสน ผลการศึกษาสภาพปจจุบนัดานโบราณคดี ประวัตศิาสตร ทั้งจากขอมูลทุติยภูมิ และการสํารวจภาคสนามในพื้นที่ศึกษา 3 อําเภอเปาหมายของเขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวดัเชียงราย คือ อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอเชียงของ พบวา มีแหลงโบราณคด ี รองรอยชุมชนโบราณ เมืองประวัติศาสตร โบราณสถาน และสถานที่สําคัญทางประวตัิศาสตร ดังตอไปนี ้ เมืองเชียงแสน ตั้งอยูในพืน้ที่ปกครองของตําบลเวียง ซึ่งเปนทีต่ั้งของอําเภอเชียงแสนปจจบุัน หรือที่พิกัดภมูิศาสตร ระหวางรุง 20 องศา 15 ลิปดา 44 ฟลิปดา ถึง 20 องศา 17 ลิปดา 00 ฟลิปดา เหนือ และแวง 100 องศา 04 ลิปดา 58 ฟลิปดา ถึง 100 องศา 05 ลิปดา 42 ฟลิปดา ตะวนัออก อยูหางจากตัวเมอืงเชียงราย ตามเสนทางหลวงหมายเลข 1016 ระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร ดังรูปภาพที่ 2.4-2 เมืองเชียงแสน เปนเมืองที่สรางข้ึนในราวพุทธศตวรรษที่ 19 แตจากรองรอยหลักฐานทั้งทางดานเอกสารตํานานหรือพงศาวดาร และดานโบราณวัตถุนั้น พบวา ในระยะเวลากอนการสรางเมืองเชียงแสน ไดมีการตั้งถ่ินฐานชุมชนในบริเวณนี้ ตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร ยุคสมัยการตั้งถ่ินฐานในประวัติศาสตรของพื้นที่เมืองเชียงแสน อาจแบงออกได 3 สมัย คือสมัยกอนการสรางเมืองเชียงแสน (กอนกลางพุทธศตวรรษที่ 19) สมัยเมืองเชียงแสนของแควนลานนา (กลางพุทธศตวรรษที่ 19- พ.ศ. 2321) และสมัยเมืองเชียงแสนรวมเขาอยูในราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2321 เปนตนมา) โดยในสมัยแรกสุดนัน้ พบหลักฐานการตั้งถ่ินฐานของมนุษยจากเครื่องมือหินที่พบกระจายตัวตั้งแตบริเวณปากแมน้ํากกถึงปากแมน้าํรวกในระยะทางกวา 10 กิโลเมตร โดยเฉพาะบริเวณปากแมน้าํรวกหรือสบรวกนั้น พบในปรมิาณหนาแนนมาก สวนใหญเปนขวานหนิทั้งแบบกะเทาะดานเดียว และแบบกะเทาะสองดาน (Axe and Adze) ซึ่งเคร่ืองมือหินเหลานี้แสดงถงึประดิษฐกรรมของมนุษยในยุคกอนประวัตศิาสตร (Prehistory) โดยพบเมืองโบราณที่เปนคูน้าํคนัดิน ปรากฏอยูทั้งในพ้ืนที่อําเภอเชยีงแสน และอําเภออ่ืน ๆ ในจังหวัดเชียงราย สมัยที่สองเมืองเชียงแสนในความครอบครองของลานนา ที่เร่ิมจากการที่พญามังรายไดรวบรวมบานเมืองขยายอาณาเขตดินแดนลงมาทางใต โดยสามารถยึดเมืองหริภุญไชย ที่เปนศูนยกลางอํานาจในบริเวณที่ราบลุมแมน้ําปง และตอมาไดสถาปนาเมืองเชียงใหมข้ึนเปนราชธานี เมื่อพ.ศ. 1835 ในระยะใกลเคยีงกันนี้ ไดสงพญาแสนภ ู ผูเปนพระนัดดามาควบคุมดูแลบานเมืองบริเวณปากแมน้ํากก และแมน้าํโขง ระยะแรกพญาแสนภไูดสรางเมืองบริเวณปากแมน้ํากก (เมืองเชียงแสนนอย หรือเวียง

Page 94: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -94

ปรึกษา) กอน ตอมาจึงไดสรางเมืองเชียงแสนเพื่อเปนเมืองทาหนาดานที่สําคัญ เพ่ือควบคุมการคาขายตามเสนทางแมน้ําโขง โดยลักษณะของเมืองเชียงแสน มีขอบเขตเปนกําแพงเมอืง คูเมือง ลอมรอบทางดานทิศเหนือ ทิศตะวันตกและทิศใต สวนดานตะวันออกใชแนวแมน้ําโขงเปนขอบเขต โครงสรางกําแพงเมืองเปนกําแพงอิฐตั้งอยูบนคันดนิ ดานนอกเปนคูเมือง ขนาดของความยาวกําแพง ดานทิศเหนือ 900 เมตร ทิศตะวนัตก 2,500 เมตร ทิศใต 850 เมตร ทิศตะวนัออก (ติดลาํน้าํโขงปจจุบัน) ไมปรากฏหลกัฐานแนวกาํแพงประตูเมือง คงสภาพเพยีง 5 แหง คือ ประตูยางเทิงที่กําแพงทิศเหนือ ประตูหนองมตู ประตูเชียงแสน ประตูทพัมาน ที่กําแพงทิศตะวันตก และประตดูินขอที่กําแพงทิศใต ดานนอกของแตละประตูเปนที่ตั้งของปอมรูปโคงครึ่งวงกลม โดยเฉพาะประตูเชียงแสนที่อยูตอนกลางทิศตะวนัตกนัน้ ประกอบดวยปอมซอนกนั 2 ช้ัน พ้ืนที่ภายในเมืองประมาณ 1,240 ไร โบราณสถานที่นอกจากปอมประตู คูเมือง กําแพงเมืองแลว พบซากวดัรางภายในเมอืง 76 แหง และภายนอกเมือง 41 แหง (การสํารวจของโครงการอนุรักษเมืองประวัติศาสตรเชียงแสน กรมศิลปากร) สมัยสุดทายที่เมืองเชียงแสนรวมเขาเปนสวนหนึ่งของอาณาจักรไทย คือ หลังจากที่พระยาจาบาน (วิเชียรปราการ) กอบกูเมืองเชียงใหม สามารถขบัไลพมาออกไปไดสําเร็จในป พ.ศ. 2317 แลวฐานกําลังพมาไดมาตั้งมั่นที่เมืองเชียงแสน ตอมา ป พ.ศ. 2321 พระเจากาวิละ ไดยกกาํลังมาขับไลพมาออกไปจากเมืองเชียงแสนได แตพมายังกลับมายดึเมืองเชียงแสนไดอีกครั้งหนึ่ง โดยครัง้นี้ไดเผาเมือง ทําลายปอม กําแพงเมือง จนกระทัง่ พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา ฯ ไดโปรดใหพระเจาอินทวไิชยานนท เจาผูครองนครเชียงใหมขับไลพมา เขิน ล้ือ จากเมืองเชียงตุง ที่เขามาอาศัยเปนอิสระที่เมืองเชียงแสนออกไป แลวนาํเอาราษฎรจากเมืองลําพูนและเมืองเชียงใหม จํานวน 1,500 ครัว เขามาตั้งบานเรือนในเมืองเชียงแสนแทน โบราณสถานเมืองเชียงแสน กรมศิลปากรไดจาํแนกโบราณสถานของเมืองเชียงแสนเปนกลุมตาง ๆ ดังนี ้

1. โบราณสถานขึน้ทะเบียนแลว 1.1 กลุมโบราณสถานภายในเมืองเชียงแสน จํานวน 20 แหง 1.2 กลุมโบราณสถานภายนอกกําแพงเมือง จํานวน 6 แหง

2. โบราณสถานที่ยังไมไดข้ึนทะเบียน 2.1 กลุมโบราณสถานภายในกําแพงเมือง จํานวน 48 แหง 2.2 กลุมโบราณสถานนอกกาํแพงเมือง 2.2.1 กลุมโบราณสถานบนภูเขา จาํนวน 7 แหง 2.2.2 กลุมโบราณสถานดานทิศเหนือ จํานวน 4 แหง 2.2.3 กลุมโบราณสถานดานทิศตะวันตก จํานวน 12 แหง 2.2.4 กลุมโบราณสถานดานทิศใต จาํนวน 13 แหง

3. กลุมโบราณสถานภายในเมอืงที่หมดสภาพแลว 8 แหง

Page 95: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -95

ท่ีมา: โครงการอนุรักษนครประวัติศาสตรเชียงแสน กรมศิลปากร

รูปที่ 2.4-2 แสดงที่ตั้งเมอืงเชียงแสน

Page 96: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -96

เมืองเชียงแสนนอยหรือเวียงปรึกษา ตั้งอยูริมฝงแมน้ําโขงดานทศิใต ในเขตปกครองตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน พิกัดภูมศิาสตร อยูระหวางรุง 20 องศา 14 ลิปดา 25 ฟลิปดา ถึง 20 องศา 14 ลิปดา 45 ฟลิปดา เหนือ และแวง 100 องศา 07 ลิปดา 02 ฟลิปดา ถึง 100 องศา 07 ลิปดา 40 ฟลิปดา ตะวันออก ตั้งอยูหางจากเมืองเชียงแสนมาทางทิศตะวันออกเฉียงใตประมาณ 5 กิโลเมตร ดงัรูปภาพที่ 2.4-3

เมืองเชียงแสนนอย ตั้งอยูในบริเวณที่ราบลุมปากแมน้าํ กลาวคือทางทิศตะวันออก มีแมน้าํกกไหลมาบรรจบกับแมน้าํโขงทีบ่ริเวณสบกก สวนทิศตะวนัตกของเมืองมีแมน้ําคาํไหลมาบรรจบกบัแมน้าํโขงที่สบคํา แผนผังของเมืองเชียงแสนนอยเปนรูปรางคลายสี่เหล่ียมผืนผามุมโคง วางตัวยาวตามแนวตะวันออก-ตะวันตก กวางประมาณ 1,300 เมตร สวนดานเหนือ-ใต กวางประมาณ 700-800 เมตร มีคันดนิกอเปนกําแพงสองช้ันขนาบคูเมืองอยูตรงกลาง (กอสรางดวยการขุดเอาดินจากคูเมืองข้ึนมาพูนถมทั้งสองขาง โดยไมมีการนําเอาวัสดุอ่ืนมาชวยสรางเสริมความมั่นคงแข็งแรงของกําแพงเมือง) แนวคันดนิกําแพงเมืองมีสามดาน คือดานตะวันออก ดานใต และดานตะวันตก สวนดานทิศเหนือใชแมน้ําโขงเปนปราการ

ภูมหิลังทางประวัติศาสตรในตาํนาน พงศาวดาร และเอกสารทางประวัติศาสตร กลาวถึงพญาแสนภ ูพระราชนัดดาของพญามังราย ไดเขามาพํานักช่ัวคราวบริเวณเมืองเกา ปากแมน้ํากก ซึ่งก็คือเมืองเชียงแสนนอย ตอมาไดทรงสรางเมืองเชียงแสนขึ้น และนอกจากนั้นในพงศาวดารโยนกยงักลาวดวยวา เมื่อพญาแสนภูทรงประชวรทิวงคต พญาคาํฟู ผูราชบุตร ไดเชิญโกศพระศพ บรรจุไวในพระเจดีย ณ เวียงเกา เหนือปากแมน้ํากก ซึ่งก็คือเมืองเชียงแสนนอยแหงนี้ จึงกลาวไดวาเมืองเชียงแสนนอย มีความสาํคัญในฐานะของชุมชนโบราณทางประวัตศิาสตรทองถ่ินลานนามาตั้งแตอยางนอยราวพุทธศตวรรษที่ 19 โบราณสถานในพื้นทีเ่มืองเชียงแสนนอย ไดแก วัดพระธาตุสองพ่ีนอง วัดพระธาตุผาเงา วดัธาตโุขง วัดธาตุเขียว เปนตน

Page 97: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -97

ท่ีมา: กรมศิลปากร

รูปที่ 2.4-3 แสดงแผนที่ตัง้และขอบเขตเวียงปรึกษา (บานเชียงแสนนอย)

Page 98: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -98

เมืองเชียงเม่ียง หรือเวียงสบรวก ตั้งอยูในพื้นที่ปกครอบของตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน ทางฝงตะวันตกของแมน้ําโขงใกลกับบริเวณสามเหลี่ยมทองคํา พิกัดภมูิศาสตรที่ประมาณระหวาง รุง 20 องศา 20 ลิปดา 40 ฟลิปดา ถึง 20 องศา 21 ลิปดา 20 ฟลิปดา เหนือ และแวง 100 องศา 04 ลิปดา 30 ฟลิปดา ถึง 100 องศา 05 ลิปดา 00 ฟลิปดา ตะวนัออก หางจากที่ตั้งอําเภอเชียงแสนปจจบุันขึ้นไปทางทิศเหนือประมาณ 9 กิโลเมตร ดังรูปภาพที่ 2.4-4

เมืองเชียงเมี่ยงเปนเมืองโบราณที่ตั้งอยูบนดอยเชียงเมียง ดังนั้น รูปแบบของผังเมอืงจึงเปนไปตามสภาพภูมปิระเทศ โดยมีคูน้ํา คนัดนิกําแพง คดโคงลัดเลาะไปตามแนวดอย จากทางดานเหนือมาทางดานตะวันตกของดอย และตอเนื่องลงไปสูดานใต ลงสูพ้ืนราบเชิงดอยและตอเนื่องไปสูลําน้ําโขงทางดานทิศตะวันออก แตปจจุบนัแนวคนู้ํา คันดิน ถูกรบกวนเหลือใหเห็นเปนบางสวน ภายในบริเวณเมืองเชียงเมี่ยง มีโบราณสถานที่ยังคงสภาพใหเห็นชัด ไดแก พระธาตภุูเขา หรือพระธาตุปูเขา และวัดสามมุมเมือง

ท่ีมา: กรมศิลปากร

รูปที่ 2.4-4 แสดงที่ตั้งเมอืงเชียงเมี่ยง (สบรวก) สามเหลี่ยมทองคํา

Page 99: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -99

เวียงหนองลม ตั้งอยูหางจากเมืองเชียงแสนไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตประมาณ 25 กิโลเมตร ดังรูปภาพที ่ 2.4-5 มีลักษณะเปนหนองน้ําขนาดใหญ ตามตํานานกลาววา บริเวณนี้เคยเปนเมอืงโยนกนาคพนัธุสิงหนวัติที่ลมสลายกลายเปนหนองน้ําซึ่งทั้งลึกและกวาง แลวยังมีอาณาเขตติดตอกับหนองน้ําบริเวณใกลเคยีงดวย จึงไมสามารถหาขอบเขตที่แนนอนได ปจจบุันไดมีการสํารวจทางดานโบราณคดีบาง แตยังไมปรากฏพบหลกัฐานที่แนชัดพอที่จะนํามาสนับสนนุได อยางไรก็ตามจากการสํารวจ (ของกรมศิลปากร) ก็ยังพบซากโบราณสถานและโบราณวตัถ ุ ซึ่งมีทั้งขวานหิน ภาชนะดนิเผา และเครื่องมือเครื่องใชสําริด เปนตน

ท่ีมา:กรมศิลปากร

รูปที่ 2.4-5 แสดงที่ตั้งเวียงหนองลม เวียงแกว แหลงโบราณคดีเวียงแกว ตั้งอยูในพื้นที่ปกครองของบานเวียงแกว ตําบลศรีดอนมูล

อําเภอเชียงแสน พิกัดภูมศิาสตร ประมาณ รุง 20 องศา 23 ลิปดา 22 ฟลิปดา เหนือ และ แวง 100 องศา 01 ลิปดา 32 ฟลิปดา ตะวันออก (พิกัดคูเมืองทิศตะวันออกเฉียงเหนือ) ดังรูปภาพที่ 2.4-6 การเดินทางเขาสูแหลง ใชเสนทางหลวงหมายเลข 1290 (เชียงแสน-แมสาย) จากอําเภอเชียงแสนขึ้นไปทางเหนือประมาณ 15 กิโลเมตร ถึงบานเวียงแกวมีทางแยกเขาไปประมาณ 1 กิโลเมตร ถึงทีต่ั้งของ แหลงโบราณคด ี

Page 100: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -100

แหลงโบราณคดีเวียงแกว สภาพพ้ืนที่เปนเนนิเขา ทางดานทิศเหนือมีลําน้ํารวกไหลผาน สวนดานทิศตะวันออกมีน้ําแมมะไหลไปบรรจบกับลาํน้ํารวก ทาํใหพ้ืนที่บริเวณนี้คอนขางอุดมสมบูรณ และเหมาะสมตอการเกษตรมาก ซึ่งในปจจุบนัพื้นทีส่วนใหญเปนสวนสม ลักษณะผังเมืองเวียงแกว มีรูปแบบไมแนนอน โดยจะมีการขุดคูน้ําลัดเลาะไปตามที่ลาดเชงิเขา มีแนวคันดินใหเห็นเปน บางชวง และเนื่องจากพื้นทีน่ี้ถูกใชทําเกษตรกรรมติดตอกันมาเปนเวลานาน ทําใหสภาพของเมืองเส่ือมโทรมไปมาก รองรอยหลักฐานทางโบราณคดีพบนอยมาก

เวียงหนองปลาสะเดด็ ตัง้อยูในพื้นที่ปกครองบานหนองปลาสะเดด็ ตาํบลศรีดอนมูล อําเภอเชียงแสน พิกัดภูมศิาสตร ประมาณ รุง 20 องศา 19 ลิปดา 38 ฟลิปดา เหนือ และ แวง 100 องศา 00 ลิปดา 31 ฟลิปดา ตะวันออก การเดินทางเขาสูแหลงโบราณคดีแหงนี้ เร่ิมตนจากอําเภอเชียงแสน ใชเสนทางหลวงหมายเลข 1016 (แมจัน-เชียงแสน) ยอนกลับไปทางอําเภอแมจนั เปนระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร ถึงบานปางหมอปวงมีทางแยกขวามือเขาไปอีกประมาณ 5 กิโลเมตร ก็จะถึงบานหนองปลาสะเด็ด ซึ่งเปนที่ตั้งของแหลงโบราณคด ีดังรูปภาพที่ 2.4-6

เวียงหนองปลาสะเดด็ ตั้งอยูบนเนินเขาทางทิศใตของเทือกเขาคอยสะโง ลักษณะของผังเมืองจะเปนเมืองหรือเวียง สองเมืองติดกัน มีการขุดตัดรองเนนิเขาเปนคูน้าํแสดงขอบเขตของเมือง แตไมปรากฏลักษณะของคันดินกาํแพงเมืองใหเห็น เวียงทั้งสองมีขอบเขตตดิกันตามแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยที่เวียงทางดานตะวนัออกมขีนาดใหญกวาเวียงดานตะวนัตก สวนรูปรางของผังเมืองเปนไปตามลักษณะธรรมชาติของพื้นที่คือแนวคูน้าํจะลดัเลาะไปตามเนินเขา หลักฐานโบราณวตัถสุวนใหญ ชาวบานจะเก็บไดจากการไถพรวนดนิบริเวณรอยนอกเวียงหนองปลาสะเดด็ ไดแก เศษภาชนะดนิเผาประเภทตาง ๆ ลูกปดแกว ซึ่งจากการสันนิษฐานของนักโบราณคดีกรมศิลปากร โบราณวตัถดุังกลาว มีอายุในราวพทุธศตวรรษที่ 21-22

Page 101: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -101

ที่มา:กรมศิลปากร รูปที่ 2.4-6 แสดงตําแหนงเมืองเชียงแสน เมืองสบรวก เมืองเชียงแสนนอย และเมืองโบราณที่แมน้ํากก ในเขต สปป.ลาว

เวียงเชียงแสนนอย

เมืองเชียงแสน

เวียงหนองลม

เวียงหนองปลาสะเด็ด

เวียงสบรวก

เวียงแกว

Page 102: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -102

รูปที่ 2.4-7 แสดงสถานทีสํ่าคัญของแหลงวัฒนธรรม และแหลงประวัติศาสตรตาง ๆ ในบริเวณเขต

เศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

คันกําแพงเมืองเชียงแสน คันดนิกําแพงเวียงเชียงของ

คันดนิกําแพงเวียงมาน้ํา

คูน้ํากําแพงเวยีงพางคํา

คูน้าํคันดินเมอืงเวียงเชียงแสนนอย

Page 103: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -103

รูปที่ 2.4-7 แสดงสถานทีสํ่าคัญของแหลงวัฒนธรรม และแหลงประวัติศาสตรตาง ๆ ในบริเวณเขต

เศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย (ตอ)

ทางขึ้นดอยเวา

ธาตุภูเขา เวียงสบรวก

ธาตุเวียงแกว เชียงแสน

พระธาตจุอมกิตต ิ(เชียงแสน)

พระธาตุดอยเวา เวียงพางคํา

พระธาตุผาเงา เชียงแสน

Page 104: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -104

รูปที่ 2.4-7 แสดงสถานที่สําคัญของแหลงวัฒนธรรม และแหลงประวัติศาสตรตาง ๆ ในบรเิวณเขต

เศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย (ตอ)

วัดเจดียหลวง เมืองเชียงแสน

เวียงน้ํามา อําเภอเชียงของ

เวียงหนองปลาสะเดด็

วัดพระธาตุสองพ่ีนอง เมืองเชียงแสนนอย

หนองลม

Page 105: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -105

อําเภอแมสาย เวียงพางคํา ตั้งอยูในพื้นทีป่กครองของตําบลแมสาย อําเภอแมสาย พิกัดภูมศิาสตรประมาณ

ระหวาง รุง 22 องศา 25 ลิปดา 05 ฟลิปดา ถึง 22 องศา 26 ลิปดา 40 ฟลิปดา เหนือ และ แวง 99 องศา 52 ลิปดา 18 ฟลิปดา ถึง 99 องศา 53 ลิปดา 50 ฟลิปดา ตะวนัออก ซึ่งแหลงโบราณคดแีหงนี้ก็เปนที่ตั้งของอําเภอแมสายปจจุบัน

ผลการสํารวจของกรมศิลปากรตั้งขอสันนษิฐานเกี่ยวกับลักษณะของผงัเมืองเวียงพางคํา ออกเปน 2 สวนคือสวนที่เปนเวียงเดิม และสวนที่นาจะเปนเวยีงใหม ซึ่งขยายเพิ่มเติมในภายหลัง (คลายกับเวียงน้ํามา และเวยีงหนองปลาสะเด็ด)

เวียงเดิม ลักษณะผังเมืองนาจะเปนสี่เหล่ียมผืนผา วางตัวในแนวทศิเหนือ-ใต พ้ืนที่สวนใหญอยูบนเนินเขา มีความกวางในแนวทศิตะวันออก-ตะวันตก ประมาณ 350 เมตร และยาวประมาณ 1,500 เมตร มีคูเมืองช้ันเดียว กวางประมาณ 15 เมตร ลึก 3 เมตร แนวคันดนิกําแพงเมืองดานทิศเหนืออยูบริเวณดอยคํา และมีลักษณะของประตูเมือง เรียกวาประตูขุมคํา แนวกําแพงเมืองดานทิศตะวันออกอยูในหุบเขา แนวกําแพงเมืองดานทิศใตวางตวัเปนเสนตรงเพราะอยูบนทีร่าบเชิงเขา บริเวณเกือบกึ่งกลางของแนวกําแพงถูกถนนพหลโยธินตัดขาดจากกนั แนวกําแพงดานทิศตะวนัตก มีลักษณะของประตูเมืองเรียกวา ประตูคํา และประตูนางแกว

เวียงใหม มีลักษณะผังเมอืงเปนรูปแบบสี่เหล่ียมผืนผาเชนกัน แตคดเคี้ยวไปตามสภาพภูมิประเทศ สวนหนึ่งของคูเมืองดานทศิตะวนัตก ใชรวมกับเวียงเดิม แตมีการขุดแนวคูเมืองขยายออกไปทางทิศเหนืออีกประมาณ 700 เมตร โดยครอบคลุมพื้นที่ของดอยเวาสวนหนึ่ง แนวคูเมืองหักเล้ียวจากดานทิศตะวันตกมาเปนแนวดานทศิเหนอืบนดอยเวาทีอ่ยูติดกบัแมน้าํสาย จากนัน้แนวคูเมืองจะคอย ๆ ลาดลงจากยอดดอยลงสูที่ราบเชิงเขา แนวคูเมืองดานทิศตะวนัออกคงใชลําหวยเปนคูธรรมชาติ เพราะมีรองรอยของคันดินกาํแพงเมืองปรากฏอยู และมีช่ือเรียกวาประตูเจ็ดนาง แนวคูเมืองดานใต วางตัวเกือบเปนเสนตรงไปบรรจบกับคูน้าํคนัดนิของเวียงเดิม มีประตูเรียกวาประตูชางงาม กลาวโดยสรุป ผังเมืองของเวียงใหม สวนที่กวางที่สุดประมาณ 750 เมตร ความยาวแนวเหนือ-ใต ประมาณ 2,200 เมตร ดังนัน้ ถารวมเวียงทั้งสองเขาดวยกันแลว จะมีขนาดกวางประมาณ 1,300 เมตร และยาวประมาณ 2,200 เมตร ซึ่งนับเปนเมืองขนาดใหญ มพ้ืีนที่ประมาณ 1,300 ไร

รูปแบบแผนผงัของเวียงพางคํา ใชภูเขาเปนแนวปองกันดานทิศตะวนัตก ขุดคูเมอืง สรางคันดินกาํแพงเมืองในแนวดานทิศใตตอทศิตะวันออก และใชแมน้ําสายเปนแนวปองกันดานทิศเหนอื ทําใหสันนิษฐานวา ระยะเวลาการกอสรางเวียงพางคําคงอยูในภาวะที่มีขาศึกศัตร ู อยางไรก็ตามหลักฐานโบราณวตัถุประเภทเศษภาชนะดินเผาทีพ่บในแหลงโบราณคดีแหงนี้ กําหนดอายุอยูในชวงพุทธศตวรรษที่ 21-22 (แหลงโบราณคดีเวยีงพางคํายังไมไดมีการศึกษารายละเอียดทางวิชาการอยางเต็มรูปแบบ)

Page 106: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -106

2.4.5 การทองเที่ยว

ท่ีมา : ฐานขอมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ของพื้นที่ศึกษา

รูปที่ 2.4-8 แสดงแหลงทองเที่ยวภายในพื้นที่ศึกษา

ตารางที่ 2.4-8 จํานวนโรงแรม และผูเย่ียมเยือน พ.ศ. 2543-2546 รายการ 2543 2544 2545 2546

จํานวนโรงแรม 58 40 40 40 จํานวนหองพัก 3,465 2,974 2,935 2,958 จํานวนผูมาเยีย่มเยือน 1,122,533 1,084,870 1,082,056 1,052,591 ชาวไทย 744,585 704,474 712,512 759,047 ชาวตางประเทศ 377,948 380,396 369,544 293,544 จํานวนนักทองเที่ยว 1,050,838 1,017,752 1,013,946 988,989 ชาวไทย 688,995 654,351 661,370 708,794 ชาวตางประเทศ 361,843 363,401 352,576 280,195 จํานวนนักทัศนาจร 71,695 67,118 68,110 63,602 ชาวไทย 55,590 50,123 51,142 50,253 ชาวตางประเทศ 16,105 16,995 16,968 13,349 ที่มา : สํานักงานทองเที่ยวจังหวัดเชียงราย

Page 107: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -107

ตารางที่ 2.4-8 สถิติการทองเที่ยวภายในประเทศจังหวัดเชียงรายเปรียบเทียบตามปงบประมาณป 2547 ตุลาคม 2546-กันยายน 2547

รายการ 2547 2546

∆ (%)

จํานวนผูมาเยือน 1,144,372 1,052,139 +8.77 คนไทย 843,972 737,924 +14.37 คนตางประเทศ 300,400 314,215 -4.40 ระยะเวลาพํานักเฉลี่ยของนักทองเที่ยว (วัน) 3.12 3.04 - คนไทย 3.17 3.05 - คนตางประเทศ 2.96 3.00 - คาใชจายเฉลีย่/คน/วัน ผูเยี่ยมเยือน 2,750.70 2,769.25 -0.67 คนไทย 2,614.51 2,592.93 +0.83 คนตางประเทศ 3,153.80 3,184.53 -0.96 รายไดจากการทองเที่ยว (ลานบาท) ผูเยี่ยมเยือน 9,377.41 8,488.65 +10.47 คนไทย 6,662.32 5,579.33 +19.41 คนตางประเทศ 2,715.09 2,909.32 -6.68 ที่มา : สํานักงานทองเที่ยวจังหวัดเชียงราย

• โอกาสและศกัยภาพการทองเที่ยว 1. เชียงรายเปนจังหวัดที่มีทรัพยากรทางการทองเที่ยวอยูมาก สวนใหญเปนแหลงทองเที่ยวที่เปนธรรมชาต ิ เชน ดอยตุง ดอยแมสลอง ผาตั้ง ภูช้ีฟา ถํ้า น้ําตก สามเหลี่ยมทองคํา แมน้าํกก แมน้าํโขง และอุทยานแหงชาต ิ 2. มีประเพณีวัฒนธรรมแบบลานนาที่มีเอกลักษณเปนของตัวเอง เชน ประเพณีขันโตก งานปอย ไหวสาแมฟาหลวง ประเพณีของชาวเขาตางๆ รวมถึงงานศิลปวฒันธรรมพื้นบานอืน่ๆ ซึ่งเปนจุดดึงดดูที่สําคญัใหนักทองเที่ยวเดินทางมาทองเที่ยวและศึกษา 3. มีความพรอมดานบริการของธุรกิจทองเที่ยว เชน สนามบนินานาชาติ โรงแรมทุกระดับ บริษัทนาํเที่ยวและบริการรถเชา รานอาหาร ภัตตาคาร หางสรรพสินคา รวมทั้งรานขายของที่ระลึก 4. จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดทีม่อีาณาเขตตดิตอกับประเทศเพื่อนบาน 2 ประเทศ คือสหภาพพมา และ สปป.ลาว สําหรับจดุผานแดนในพืน้ที่ศึกษา 3 อําเภอ ประกอบดวย

4.1 จุดผานแดนถาวรดานอําเภอเชียงของ-เมืองหวยทราย แขวงบอแกว เปดทาํการระหวางเวลา 06.00 น.-18.00 น. 4.2 จุดผอนปรนบานโจโก ตําบลเวียง อําเภอเชียงของ เปนจุดผอนปรนเพื่อใหชาวบานฝงไทยและลาวไดทาํการคาขาย แลกเปล่ียนสินคา ไปมาหาสูกัน 4.3 จุดผานแดนถาวรอําเภอเชียงแสน-เมืองตนผึ้ง แขวงบอแกว เปดทาํการระหวาง 06.00 น.-18.00 น.

Page 108: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -108

4.4 จุดผานแดนถาวร ไทย-พมา คือ ทีด่านอําเภอแมสาย-ทาข้ีเหล็ก เปดทาํการเวลา 06.30-18.00 น. สภาพการทองเที่ยว ณ จุดผานแดน

ดานเชียงของ เปนดานถาวร นักทองเที่ยวสามารถเดินทางผานดานเชียงของไปออกที่ดานอ่ืนได ซึ่งนักทองเที่ยวนิยมเดินทางไปทองเท่ียวยังเมืองหลวงพระบาง อันเปนเมืองหลวงเกาของประเทศลาว จาํนวนนักทองเที่ยวที่เดินทางไปหลวงพระบางโดยใชเสนทางเรือจากดานเชียงของในแตละปมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น สวนใหญมักเปนนกัทองเที่ยวชาวตางชาติ โดยใชเวลาเดินทางโดยเรือทองเที่ยวประมาณ 2 วนั 1 คนื ในการเดินทางโดยเรือธรรมดา (เรือขนสงสินคา) หากเปนเรือเร็ว (เรือหางยาว) ใชเวลาประมาณ 6 ช่ัวโมง นอกจากนัน้นักทองเที่ยวที่ตองการขามไปทองเที่ยวยัง บานหวยทราย แขวงบอแกว ซึ่งตรงขามกับอําเภอเชียงของ สภาพทั่วไปของสถานที่ทองเที่ยวที่บานหวยทรายยังไมสามารถดึงดดูใหนักทองเที่ยวไปชมไดดีเทาที่ควร โดยเฉพาะถาเปนนักทองเทีย่วชาวตางประเทศที่ตองเสียคาวีซาผานแดน ประมาณ 3,000 บาท หรือ 60 ดอลลารสหรัฐฯตอคน

• สภาพปญหาและขอจํากัด

เนื่องจากจังหวัดเชียงราย เปนจังหวัดที่อาศัยทรัพยากรการทองเที่ยวทางธรรมชาตเิปนจุดสําคัญในการที่จะดึงดูดนกัทองเที่ยวใหมาเยี่ยมเยือนจังหวัดเชียงราย จึงพอสรุปปญหาและขอจาํกัดในการทองเทีย่วไดดังนี ้ 1. แหลงทองเที่ยวเสื่อมโทรม มีการตัดไมทําลายปาในแหลงตนน้าํลําธาร จึงทําใหสถานที่ทองเที่ยวบางแหงขาดความอุดมสมบูรณของธรรมชาติ จึงไมไดรับความสนใจของนกัทองเที่ยวเทาที่ควร โดยเฉพาะนักทองเที่ยวที่นิยมการเดินปา รวมถึงแหลงทองเที่ยวสกปรก ซึ่งเกิดจากความมักงายของนักทองเที่ยวทิ้งขยะมูลฝอยตามแหลงทองเท่ียว ซึ่ง ททท. ภาคเหนือ เขต 2 ไดจดัใหมีการอบรมความรูเก่ียวกับการอนุรักษส่ิงแวดลอมใหกับครู อาจารย และนักเรียน เปนประจําทุกป พรอมทั้งไดนาํเยาวชนไปทัศนศึกษาดวยการเดินปา และรับฟงการบรรยายจากเจาหนาที่ของกรมปาไม เปนการปลูกฝงใหเยาวชนไดเห็นคุณคาของปาไม และชวยกันอนุรักษส่ิงแวดลอม อันเปนทรัพยากรทางการทองเที่ยวใหคงอยูตลอดไป 2. ความตืน้เขินในลําน้าํกก การทองเที่ยวโดยการนั่งเรือชมวิวทิวทศัน 2 ฝงแมน้ํากก ไดรับความสนใจจากนักทองเที่ยวเปนจํานวนมาก แตในชวงฤดูแลงจะประสบปญหาความตื้นเขินของแมน้ํา เนื่องจากปริมาณน้าํมีนอยประกอบกับการพังทลายของตลิ่งทั้ง 2 ฝง ทําใหเกิดการทับถมของทรายในลาํน้ําเปนจํานวนมาก จึงเกิดปญหาตอการลองเรือ ในชวงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 3. การเอารัดเอาเปรียบของผูประกอบการในดานการทองเที่ยว ในสวนนีสํ้านักงาน ททท. ภาคเหนือ เขต 2 ไดดําเนินการอบรม และสัมมนาผูประกอบการนาํเที่ยวใหตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารที่ดทีี่จะสรางความประทับใจใหแกนักทองเที่ยว และเกิดจติสํานึกในการเปนเจาบานทีด่ ี 4. จังหวัดยังขาดกิจกรรมประเพณีที่นาสนใจในการที่จะชักจูงใหนักทองเที่ยวเดินทางมาทองเที่ยวยังจังหวัดเชียงราย โดยเฉพาะในชวง LOW SEASON ทําใหขาดกิจกรรมงานประเพณีของแต

Page 109: บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดล อมป จจุบันns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Chapter2.pdfหน า 2 -2 บทท 2 สภาพส

โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับพื้นที่ บทที่ 2 สภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย

หนา 2 -109

ละอําเภอ เพ่ือนํามาพจิารณาปรับปรุงใหเปนงานของจังหวัด เพ่ือดึงดูดนักทองเที่ยวใหเดินทางมาทองเที่ยวจังหวัดเชียงรายตลอดไป