บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · polyvinyl chloride (pvc)...

44
บทที2 ทฤษฎีและหลักการ 2.1 การติดตั้งระบบไฟฟาสําหรับที่พักอาศัยอาคารสูง ในการติดตั้งระบบไฟฟาของอาคารสูงที่เปนที่พักอาศัย นอกเหนือจากความรูในการคํานวณ ตางๆ ตามหลักการทางวิศวกรรมไฟฟาแลว ยังจําเปนตองมีมาตรฐานเขามาเกี่ยวของเพื่อใชสําหรับ การอางอิงในการติดตั้ง มาตรฐานที่เกี่ยวของสามารถแบงออกไดเปน 2 สวน คือ มาตรฐานอุปกรณ และมาตรฐานการติดตั้งนอกจากนี้ในบทนี้ยังจะกลาวถึงชนิดของสายไฟ,ชนิดของทอรอยสาย,ราง เดินสาย (WireWay),บัสเวย (BusWays)และอุปกรณตางๆที่ใชในการติดตั้งรวมถึงทฤษฎีและ หลักการอื่นๆที่เกี่ยวของและมีความสําคัญ สําหรับ งานติดตั้งระบบไฟฟาดวย 2.2 รายละเอียดมาตรฐานตาง ๆ ที่ควรรูจัก ในการออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟาในอาคารสูงจําเปนตองทําความเขาใจกับมาตรฐานทีเกี่ยวของดังนี้คือ มาตรฐานอุปกรณไฟฟา อุปกรณไฟฟาที่ใชในระบบไฟฟามีอยูมากมายหลายชนิด สวนมากจะมีมาตรฐานควบคุมคุณภาพอยูแลวโดยมาตรฐานอุปกรณไฟฟาที่นิยมใชกันมากคือ มาตรฐานของ IEC (International Electrotechnical Commission) จะสังเกตไดจากแคตตาล็อกของ อุปกรณไฟฟาจะอางถึงมาตรฐานนี้อยูเสมอ เชน เซอรกิตเบรกเกอร จะอางมาตรฐาน IEC 60947-2 (Low Voltage Switchgear and Control Gear Part 2) ดังนั้นสําหรับผูออกแบบระบบไฟฟาใน ประเทศไทยควรใชมาตรฐานไทย (มอก.) และมาตรฐาน IEC เปนหลัก ไมควรใชมาตรฐานประจํา ชาติของประเทศอื่นยกเวนอุปกรณดังกลาวไมมีมาตรฐานไทยและมาตรฐาน IEC มาตรฐานการติดตั้ง การติดตั้งทางไฟฟาตองมีมาตรฐานควบคุมเพื่อใหการติดตั้งใช งานไดอยางปลอดภัย และเปนมาตรฐานเพื่อมิใหเปนการถกเถียงกันวาการติดตั้งแบบใดเปนแบบทีถูกตอง แตละประเทศไดพยายามกําหนดมาตรฐานของตนเองขึ้นมา ไมวาจะเปนมาตรฐานการ ติดตั้งหรือมาตรฐานการผลิตเครื่องอุปกรณไฟฟาก็ตาม มาตรฐานอาจแตกตางไปสําหรับแตละ ประเทศ ประเทศไทยเองก็มีหนวยงานที่ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานเชนกัน เชนมาตรฐานของเครื่อง อุปกรณและเครื่องใชตางๆ จะกําหนดโดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวง อุสาหกรรม สําหรับมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระ บรมราชูปถัมภ ไดจัดทําขึ้นโดยยึดแนวทางของ NEC (National Electrical Code) ของประเทศ สหรัฐอเมริกาโดยมีการเปลี่ยนแปลงในบางสวนใหเหมาะสมกับสภาพของประเทศไทย

Upload: others

Post on 07-Jan-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

บทที่ 2

ทฤษฎีและหลักการ

2.1 การติดตั้งระบบไฟฟาสําหรับทีพ่ักอาศัยอาคารสูง

ในการติดต้ังระบบไฟฟาของอาคารสูงท่ีเปนท่ีพักอาศัย นอกเหนือจากความรูในการคํานวณ

ตางๆ ตามหลักการทางวิศวกรรมไฟฟาแลว ยังจําเปนตองมีมาตรฐานเขามาเกี่ยวของเพ่ือใชสําหรับ

การอางอิงในการติดต้ัง มาตรฐานท่ีเกี่ยวของสามารถแบงออกไดเปน 2 สวน คือ มาตรฐานอุปกรณ

และมาตรฐานการติดต้ังนอกจากนี้ในบทนี้ยังจะกลาวถึงชนิดของสายไฟ,ชนิดของทอรอยสาย,ราง

เดินสาย(WireWay),บัสเวย(BusWays)และอุปกรณตางๆท่ีใชในการติดต้ังรวมถึงทฤษฎีและ

หลักการอื่นๆท่ีเกี่ยวของและมีความสําคัญ สําหรับ งานติดต้ังระบบไฟฟาดวย

2.2 รายละเอียดมาตรฐานตาง ๆ ที่ควรรูจัก

ในการออกแบบและติดต้ังระบบไฟฟาในอาคารสูงจําเปนตองทําความเขาใจกับมาตรฐานท่ี

เกี่ยวของดังนี้คือ

• มาตรฐานอุปกรณไฟฟา อุปกรณไฟฟาท่ีใชในระบบไฟฟามีอยูมากมายหลายชนิด

สวนมากจะมีมาตรฐานควบคุมคุณภาพอยูแลวโดยมาตรฐานอุปกรณไฟฟาท่ีนิยมใชกันมากคือ

มาตรฐานของ IEC (International Electrotechnical Commission) จะสังเกตไดจากแคตตาล็อกของ

อุปกรณไฟฟาจะอางถึงมาตรฐานนี้อยูเสมอ เชน เซอรกิตเบรกเกอร จะอางมาตรฐาน IEC 60947-2

(Low Voltage Switchgear and Control Gear Part 2) ดังนั้นสําหรับผูออกแบบระบบไฟฟาใน

ประเทศไทยควรใชมาตรฐานไทย (มอก.) และมาตรฐาน IEC เปนหลัก ไมควรใชมาตรฐานประจํา

ชาติของประเทศอื่นยกเวนอุปกรณดังกลาวไมมีมาตรฐานไทยและมาตรฐาน IEC

• มาตรฐานการติดต้ัง การติดต้ังทางไฟฟาตองมีมาตรฐานควบคุมเพ่ือใหการติดต้ังใช

งานไดอยางปลอดภัย และเปนมาตรฐานเพ่ือมิใหเปนการถกเถียงกันวาการติดต้ังแบบใดเปนแบบท่ี

ถูกตอง แตละประเทศไดพยายามกําหนดมาตรฐานของตนเองข้ึนมา ไมวาจะเปนมาตรฐานการ

ติดต้ังหรือมาตรฐานการผลิตเครื่องอุปกรณไฟฟาก็ตาม มาตรฐานอาจแตกตางไปสําหรับแตละ

ประเทศ ประเทศไทยเองก็มีหนวยงานท่ีทําหนาท่ีกําหนดมาตรฐานเชนกัน เชนมาตรฐานของเครื่อง

อุปกรณและเครื่องใชตางๆ จะกําหนดโดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวง

อุสาหกรรม สําหรับมาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟา สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระ

บรมราชูปถัมภ ไดจัดทําข้ึนโดยยึดแนวทางของ NEC (National Electrical Code) ของประเทศ

สหรัฐอเมริกาโดยมีการเปลี่ยนแปลงในบางสวนใหเหมาะสมกับสภาพของประเทศไทย

Page 2: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

5

เครื่องอุปกรณและท่ีใชในประเทศไทยมีแหลงกําเนิดมาจากหลายประเทศผูท่ีทําหนาท่ีออกแบบ

หรือตรวจสอบ จงึควรทําความรูจักกับชือ่สถาบันกําหนดมาตรฐานอาทิ เชน

• มาตรฐานประจําชาติ

- ANSI (American National Standard Institute) ของประเทศสหรัฐอเมริกา

- BS (British Standard) ของประเทศสหราชอาณาจักร

- DIN (German Industrial Standard) ของประเทศเยอรมันนี

- VDE (Verband Deutscher Elektrotechniker) ของประเทศเยอรมันนี

- NFPA (National Fire Protection Assosiation Standard)

- NEMA (National Electrical Manufactures Association)

- ASTM (American Society for Testing and Material)

- JIS (Japanese Industrial Standard) ของประเทศญี่ปุน

- มอก. (มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม) ของประเทศไทย

• มาตรฐานสากล

- ISO (International Organization for Standardization)

- IEC (International Electrotechnical Commission)

- EN (European Standard)

2.3 สายไฟฟา

สายไฟฟามีหนาท่ีสําหรับนําพลังงานไฟฟา จากแหลงจายไฟไปยังอุปกรณไฟฟาตางๆใน

ปจจุบันไดมีผูผลิตสายไฟฟาข้ึนมากมายหลายชนิดตามความตองการสําหรับการติดต้ังในรูปแบบ

ตางๆ ดังนั้นการเลือกใชสายไฟฟาเพ่ือใหความเหมาะสมปลอดภัย ประหยัด และเชื่อถือได ซ่ึง

จะตองพิจารณาถึงปจจัยหลายประการดวยกัน ไดแกความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมท่ีติดต้ัง

ความสามารถในการนาํกระแสของตัวนํา ความสามารถในการทนตอความรอนท่ีเกิดข้ึนท้ังในขณะ

งานปกติและขณะเกิดลัดวงจร

สวนประกอบของสายไฟฟา

สายไฟฟาประกอบดวยสวนประกอบสําคัญ 2 สวน ไดแก ตัวนําและฉนวน

ตัวนํา

ตัวนําของสายไฟฟาทํามาจากโลหะท่ีมีความนําไฟฟาสูง อาจจะอยูในรูปของตัวนําเด่ียว

(Solid) หรือตัวนําตีเกลียว (Strand) ซ่ึงประกอบไปดวยตัวนําเล็กๆ ตีเขาดวยกันเปนเกลียวซ่ึงมี

ขอดีคือ การนํากระแสตอพ้ืนท่ีสูงข้ึน เนื่องจากผลของ Skin Effect ลดลง และการเดินสายไฟทําได

Page 3: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

6 งาย เพราะมีความออนตัวกวาโลหะท่ีนิยมใชเปนตัวนําไดแก ทองแดง และอะลูมิเนียมโดยโลหะ

ท้ังสองชนิดมีขอดี ขอเสียตางกันไปตามแตลักษณะของงาน

• ทองแดง เปนโลหะท่ีมีความนําไฟฟาสูงมาก มีความแข็งแรง เหนียว ทนตอการกัด

กรอนไดดี แตมีขอเสียอยูคือ มีน้ําหนักมากและราคาสูง จึงไมเหมาะสําหรับงานดานแรงดันสูงแต

เหมาะกับการใชงานท่ัวไปโดยเฉพาะงานในอาคาร

• อลูมิเนียม เปนโลหะท่ีมีความนําไฟฟาสูงรองจากทองแดงแตเมื่อเปรียบเทียบในกรณี

กระแสเทากันแลวพบวาอะลูมิเนียมจะมีน้ําหนักเบาและราคาถูกกวา จึงเหมาะกับงานเดินสายไฟ

นอกอาคารและแรงดันสูงถาท้ิงอลูมิเนียมไวในอากาศจะเกิดออกไซดของอะลูมิเนียมซ่ึงคุณสมบัติ

เปนฉนวนฟลมบางๆเกาะตามผิวชวยปองกันการสึกกรอนแตจะมีขอเสียคือ ทําใหการเชื่อมตอทํา

ไดยาก

ฉนวน

ฉนวนทําหนาท่ีหอหุมตัวนําเพ่ือปองกันการสัมผัสกันโดยตรงระหวางตัวนําหรือระหวาง

ตัวนํากับสวนท่ีตอลงดินและเพ่ือปองกันตัวนําจากผลกระทบทางกลและทางเคมีตางๆในระหวางท่ี

ตัวนํา ทําหนาท่ีนํากระแสไฟฟาจะเกิดพลังงานสูญเสียในรูปของความรอน ความรอนท่ีเกิดข้ึนจะ

ถายเทไปยังเนื้อฉนวน ความสามารถในการทนตอความรอนของฉนวนจะเปนตัวกําหนด ในการ

ทนตอความรอนของสายไฟฟานั่นเอง การเลือกใชชนิดของฉนวนจะข้ึนกับอุณหภูมิใชงาน ระดับ

แรงดันของระบบ และสภาพแวดลอมในการติดต้ัง วัสดุท่ีนิยมใชเปนฉนวนมากท่ีสุดในขณะนี้คือ

Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

แข็งแรงทนตอความรอนและถายเทความรอนไดดีกวาฉนวน PVC ดังนั้นปจจุบันจึงมีการใชฉนวน

XLPE เพ่ิมมากข้ึน

รูปที่ 2.1 สายไฟฟาที่มีฉนวนหุม PVC

Page 4: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

7 2.3.1 สายไฟฟาแรงดันสูง

สายไฟฟาท่ีใชกับระบบไฟฟาแรงดันสูงเปนสายท่ีมีขนาดใหญ ในลักษณะตัวนําตีเกลียว

สายไฟฟาแรงดันสูงสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ สายเปลือย (Bare Wires) และสายหุม

ฉนวน (Insulated Wires)

• สายเปลือย (Bare Wires) คือ สายท่ีไมมีเปลือกฉนวนหุมสายถาหากนําไปใชกับระบบ

จําหนายแรงดันตํ่าจะไมปลอดภัยจึงใชสายชนิดนี้กับแรงดันสูง สายเปลือยท่ีนิยมใชในงานแรงดัน

สูงมักจะทํามาจากอะลูมิเนียม เพราะมีน้ําหนักเบาและราคาถูก แตสายอะลูมิเนียมลวนจะสามารถ

รับแรงดึงไดตํ่า จึงมีการพัฒนาเพ่ือใหสามารถรับแรงดึงไดสูงข้ึน โดยสามารถเสริมแกนเหล็ก หรือ

ใชโลหะอื่นผสม โดยชนิดของสายเปลือยไดแก

- สายไฟฟาอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย (AAC-All Aluminium Conductor) เปนตัวนํา

อะลูมิเนียมพันตีเกลียวเปนชั้นๆ สายชนิดนี้รับแรงดึงไดตํ่าจึงไมสามารถขึงสายใหมีระยะหางชวง

เสา (Span) มากๆได โดยปกติความยาวชวงเสาตองไมเกิน 50 m ยกเวนสายท่ีมีขนาด 95 mm 2 ข้ึน

ไปนั้นสามารถท่ีจะมีระยะหางชวงเสาไดไมเกิน100 m มาตรฐานสําหรับสายไฟฟาอะลูมิเนียมตี

เกลียวเปลือยคือ มอก. 85-2522

รูปที่ 2.2 สายไฟฟาอะลมูิเนยีมตีเกลียวเปลอืย (AAC-All Aluminium Conductor)

- สายไฟฟาอะลูมิเนียมผสม (AAAC- All Aluminium Alloy Conductor) สายชนิดนี้มี

สวนผสมของอะลูมิเนียม แมกนีเซียม และซิลิกอน สายไฟฟาอะลูมิเนียมผสมจะมีความเหนียวและ

รับแรงดันไดสูงกวาสายไฟฟาอะลูมิเนียมลวน จึงสามารถขึงสายใหมีระยะหางชวงเสาไดมากข้ึน

นิยมใชเดินสายบริเวณชายทะเล เพราะสามารถทนตอการกัดกรอนของไอเกลือบริเวณชายทะเลได

ดี

Page 5: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

8

รูปที่ 2.3 สายไฟฟาอะลูมเินียมผสม (AAAC- All Aluminium Alloy Conductor)

- สายไฟฟาอะลูมิเนียมแกนเหล็ก (ACSR-Aluminium Conductor Steel Reinforced)

เปนสายไฟฟาอะลูมิเนียมตีเกลียว และมีสายเหล็กอยูตรงกลาง เพ่ือใหสามารถรับแรงดึงไดสูงข้ึน

ทําใหสามารถขยายระยะหางชวงเสาไดมากข้ึน แตจะไมใชสายชนิดนี้บริเวณชายทะเล เพราะวาจะ

เกิดการกัดกรอนจากไอของเกลือ ทําใหอายุใชงานส้ันลง มาตรฐานสําหรับสายไฟฟาอะลูมิเนียม

แกนเหล็กคือ มอก. 86-2522

รูปที่ 2.4 สายไฟฟาอะลมูิเนยีมแกนเหล็ก

สายเปลือยท้ัง 3 ชนิด มีท่ัวไปในระบบสงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

และการไฟฟาสวนภูมิภาค สําหรับสาย AAC นั้นยังมีใชในระบบจําหนายของการไฟฟานครหลวง

ดวย แตในปจจุบันทางการไฟฟา ไดมีนโยบายท่ีจะเลิกใชสายชนิดนีแ้ลวเนือ่งจากมกีารลดัวงจรจาก

สัตว และกิ่งไมบอยครั้ง และไดหันมาใชสายหุมฉนวนประเภท Partial Insulated Cable (PIC)และ

Space Aerial Cable (SAC)

• สายหุมฉนวน (Insulated Wires) ในการเดินสายไฟฟาแรงสูงผานบริเวณท่ีมผีูคนอาศัย

เพ่ือความปลอดภัยจะตองใชสายไฟฟาแรงดันสูงท่ีมีฉนวนหุมและการใชสายหุมฉนวนยังชวยลด

Page 6: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

9 การเกิดลัดวงจรจากสัตวหรือกิ่งไมแตะถูกสายไฟฟาอีกดวย ทําใหระบบไฟฟามีความเชื่อถือได

สูงข้ึน โดยชนิดของสายไฟฟาแรงดันสูงหุมฉนวนมีดังนี้

รูปที่ 2.5 สายไฟหุมฉนวน (Insulated Wires)

- สาย Partial Insulated Cable (PIC) การใชสายเปลือยจะมีโอกาสเกิดลัดวงจรข้ึนได

งาย เพ่ือลดปญหานี้ จึงไดมีการนําสาย PIC มาใชแทนสายเปลือยโดยโครงสรางของสาย PIC นี้

ประกอบดวย ตัวนําอะลูมิเนียมตีเกลียวหุมฉนวน XLPE 1 ชั้น แมวาสายชนิดนี้จะมีฉนวน XLPE

หุม แตก็ไมสามารถท่ีจะแตะตองโดยตรงได เนื่องจากฉนวนเปนเพียงฉนวนบางซ่ึงจะชวยลดการ

เกิดลัดวงจรของสายเปลือยเทานั้น การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดนําสายชนิดนี้มาใชงาน

โดยเดินในอากาศผานลูกถวยบนเสาไฟฟาแทนสายเปลือย

รูปที่ 2. 6 สาย Partial Insulated Cable (PIC)

Page 7: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

10

- สาย Space Aerial Cable (SAC) สาย SAC โครงสรางเปนตัวนําอะลูมิเนียมตีเกลียว

มีฉนวน XLPE หุม เชนเดียวกับสาย PIC แตจะมีเปลือก(Sheath) ท่ีทําจาก XLPE หุมฉนวนอีก

ชั้นหนึ่ง ทําใหมีความทนทานมากกวาสาย PIC แมวาสายนี้จะมีเปลือกหุมฉนวนอีกชั้นหนึ่ง แตก็

ไมควรสัมผัสสายโดยตรง เพราะจะเปนอันตรายได ในการใชงานสายชนิดนี้ การไฟฟาฝายผลิต

แหงประเทศไทย ใชเปนวงจรเสริมสําหรับวงจรท่ีใชสาย PIC โดยในการเดินสายจะตองใช

Spacer เพ่ือกําจัดระยะหางระหวางสาย สายชนิดนี้แมวาจะสามารถวางใกลกันไดมากกวาสาย PIC

แตก็ตองไมเกินระยะจํากัดคาหนึ่ง นอกจากนี้จะตองใช Messenger Wire ชวยดึง สายไวโดย

Messenger Wire จะตอลงดินทําหนาท่ีเปนสาย Overhead Ground Wire

รูปที่ 2.7 สาย Space Aerial Cable (SAC) สาย SAC

- สาย Preassembly Aerial Cable สายชนิดนี้จัดเปนสาย Fully Insulated มีโครงสราง

คลายสาย XLPE เนื่องจากสายชนิดนี้สามารถวางใกลกันไดจึงใชสายชนิดนี้เมื่อสายไฟฟาผานใน

บริเวณท่ีมีระยะหาง (Clearance) กับอาคารจํากัดหรือผานบริเวณท่ีมีคนอาศัยอยู สายชนิดนี้ยัง

สามารถวางพาดไปกับมุมตึกได เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทานมาก

- สาย Cross-linked Polyethylene (XLPE) สาย XLPE จัดเปนสาย Fully Insulated

โดยตัวนําสวนใหญเปนทองแดงในลักษณะตีเกลียว (Strand) ซ่ึงอาจจะจัดอยูในรูปแบบของ

Copper Concentric Strand ชีลดของตัวนํา (Conductor Shield) ทําดวยสารกึ่งตัวนํา

(Semi-conducting Material) มีหนาท่ีชวยใหสนามไฟฟาระหวางตัวนํากับฉนวนกระจายอยาง

สม่ําเสมอในแนวรัศมี เปนการชวยลดการเกิด Breakdownได และชั้นของเปลือกนอก(Jacket) ของ

สายนี้อาจจะเปน Polyvinyl Chloride หรือ Polyethylene ก็ไดแลวแตวาลักษณะของงานจะเปน

อยางไร ถาเปนงานกลางแจงก็มักจะใช Polyvinyl Chloride เพราะวาเฉ่ือยตอการติดไฟ ในขณะท่ี

Polyethylene มักจะใชงานแบบเดินลอย เนื่องจากความทนทานตอสภาพดินฟาอากาศ สวนในกรณี

วางเคเบิลใตดินอาจจะมีชั้นของ Service Tape ซ่ึงอาจทําดวยชิ้นผา (Fabric Tape) ค่ันระหวางชีลด

กับเปลือกนอกชวยปองกันการเสียดสีและการกระทบกระแทก สายชนิดนี้สามารถเดินลอยใน

Page 8: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

11 อากาศหรือฝงใตดินก็ได แตนิยมใชฝงใตดิน เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทานสามารถทนตอ

ความชื้นไดดี

รูปที่ 2.8 สวนประกอบสาย Cross-linked Polyethylene (XLPE)

รูปที่ 2.9 สาย Cross-linked Polyethylene (XLPE)

2.3.2 สายไฟฟาแรงดันต่ํา

สายไฟฟาแรงดันตํ่าเปนสายไฟฟาท่ีใชไดกับแรงดันไมเกิน 750 V มีลักษณะเปน

สายไฟฟาหุมดวยฉนวนโดยท่ีตัวนําสําหรับสายไฟฟาชนิดนี้ อาจจะใชทองแดงหรืออะลูมิเนียม แต

ท่ีนิยมใชสําหรับสายไฟฟาแรงดันตํ่า คือ สายทองแดง สายไฟฟาขนาดใหญ มีลักษณะเปนตัวนําตี

เกลียว แตถาเปนสายไฟฟาขนาดเล็ก ตัวนําก็จะเปนตัวนําเด่ียว วัสดุฉนวนท่ีนิยมใชกับสายไฟฟา

แรงดันตํ่า ไดแก Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross-linked Polyethylene (XLPE)

• สายไฟฟาอะลูมิ เนียมหุมฉนวน PVC โดย สายไฟฟาชนิดนี้จะมีตัวนํา เปน

อะลูมิเนียม และหุมดวยฉนวน PVC โดยอาจจะเปน PVC ธรรมดา หรือเปนแบบ Heat Resisting

PVC ก็ได สามารถใชกับแรงดันไมเกิน 750 V สายไฟฟาชนิดนี้จะเปนไปตามมาตรฐาน มอก.

293-2526 สายไฟฟาอะลูมิเนียมหุมดวยฉนวน PVC สามารถใชงานในระบบจําหนายแรงดันตํ่าเดิน

ภายนอกอาคารเปนสายประธาน(Main) หรือสายปอน(Feeder) โดยจะใชในอากาศเหนือพ้ืนดิน

ทางการไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาค ใชสายประเภทนี้เปนสายประธานแรงดันตํ่า

Page 9: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

12 เดินมาจากหมอแปลงจําหนาย (Distribution Transformers) พาดบนลูกถวยตามเสาไฟฟาหรือใต

ชายคาบานหรือตึกแถว เพ่ือจายไฟฟาใหกับผูใช สายชนิดนี้มีราคาถูกและรับแรงดึงไดพอสมควร

• สายไฟฟาทองแดงหุมดวยฉนวน PVC เนื่องจากทองแดง มีคุณสมบัติขอดีท่ีเหนือกวา

อะลูมิเนียมหลายประการดวยกัน ไมวาจะเปนโลหะท่ีมีความนําไฟฟาสูงกวา การตัดตอก็ทําไดงาย

กวา จึงนิยมใชสายไฟฟาชนิดนีก้ันมาก สายไฟฟาทองแดงหุมดวยฉนวน PVC มีมากมายหลายชนิด

แตละชนิดก็เหมาะกับงานแตละแบบ ทําใหสามารถใชสายไฟฟาชนิดนี้กับงานไดกวางขวางมาก

ต้ังแตเปนสายเชื่อมตอวงจรเล็กๆ จนกระท่ังเปนสายประธานหรือสายปอน ในท่ีนี้จึงจะขอกลาวถึง

สายไฟฟา ตาม มอก. 11-2531โดยจะกลาวถึงสายไฟฟาท่ีใชงานในการเดินสายถาวรท่ีใชกันโดย

ท่ัวๆ ไปตามสถานประกอบการตางๆ ดังตอไปนี้

- สาย VAF สายไฟฟาชนิดนี้ภายนอกเปนเปลือกฉนวน PVC สีขาว (Sheath) ไว

ปองกันความชื้นและชวยปองกันความเสียหายทางกลกับฉนวนภายใน ซ่ึงหุมตัวนําทองแดงอีก

ชั้นหนึ่ง ตัวนําทองแดงอาจจะเปนตัวนําเด่ียวหรือตีเกลียวก็ได สาย VAF จะมีท้ังชนิด 2 แกน และ3

แกน แตในปจจุบัน มีสายดินเพ่ิมข้ึนอีก 1 สาย เนื่องจากการไฟฟาบังคับใหตองมีสายดินดวย

แรงดันใชงาน

300 V

อุณหภูมิใชงาน

70 Ο C

สถานที่ใชงาน

- สถานท่ีแหง และสถานท่ีเปยก

ลักษณะการติดตั้ง

- เดินเกาะผนัง

- เดินซอน (Conceal) ในผนงั

ยกเวน

- รางเดินสายหามรอยทอฝงดินหรอืฝงดินโดยตรง

รูปที่ 2.10 สายVAF

Page 10: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

13

- สาย THW เดิมตาม มอก.11-2518 ไดแบงสายไฟชนิดนี้เปน 2 แบบ ตามชนิดฉนวน

PVC คือ ชนิดท่ีอุณหภูมิใชงานไมเกิน 60 Ο C จะมีชื่อเรียกวา TW และชนิดท่ีอุณหภูมิใชงานไมเกิน

75 Ο C จะมีชื่อเรียกวา THW แตในปจจุบันตาม มอก.11-2531 สายไฟชนิดนี้มีแบบเดียวคือ มี

อุณหภูมิใชงานไมเกิน 70 Ο C สายไฟฟาชนิดนี้มีลักษณะเปนสายกลมเด่ียว ตัวนําเปนทองแดงหุม

ฉนวน PVC โดยท้ัวไปนิยมใชสายชนิดนี้เปนสายวงจรยอย สายปอน และสายประธาน

แรงดันใชงาน

750 V

อุณหภูมิใชงาน

70 Ο C

สถานที่ใชงาน

- สถานท่ีแหง และสถานท่ีเปยก

ลักษณะการติดตั้ง

- เดินลอยตองยึดดวยวัสดุฉนวน

- เดินในชองเดินสาย ในสถานท่ีแหง

- เดินในทอรอยสายฝงดินแตตองปองกันไมใหเขาในทอ แลปองกันไมใหสายมี

โอกาสแชน้ํา

- หามฝงดินโดยตรง

รูปที่ 2.11 สาย THW

- สาย NYY สายไฟฟาชนิดนี้เปนสายท่ีมีฉนวน 2 ชั้นโดยฉนวน PVC ชั้นในจะทํา

หนาท่ีเปนฉนวนหุมตัวนําเอาไวสวนฉนวน PVC ชั้นนอกทําหนาท่ีเปนเปลือก (Sheath) ซ่ึงสามารถ

ทนความชื้นไดสูง สายชนิดนี้จึงสามารถใชฝงดินไดโดยตรง จะเปนชนิด1 แกนมีเปลือกชั้นเดียว

ชนิด 2 ถึง 4 แกน มีเปลือกหุม 2 ชั้น ชนิด 3 แกน มีสาย Neutral เพ่ิมข้ึนอีก1 สายโดยท่ัวไปนิยมใช

สายชนิดนี้เปนสายปอน และสายประธาน

Page 11: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

14 แรงดันใชงาน

750 V

อุณหภูมิใชงาน

70 Ο C

สถานที่ใชงาน

- สถานท่ีแหง และสถานท่ีเปยก

ลักษณะการติดตั้ง

- ใชงานไดท่ัวไป

- ฝงดินโดยทอฝงดิน

รูปที่ 2.12 สาย NYY

- สายไฟฟาทองแดงหุมดวยฉนวน XLPE เนื่องจากคุณสมบัติของฉนวน XLPE ท่ีสามารถ

ทนตอความรอนไดสูง มีความแข็งแรง ทนตอแรงทางกล และการกัดกรอนทางเคมีไดในปจจุบันจึง

มีการใชสายไฟฟาท่ีหุมดวยฉนวน XLPE มากข้ึนโดยสายชนิดนี้มีชื่อเรียกวาสาย CV หรือ CVW

ซ่ึงไมอยูในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แตจะใชตามมาตรฐานอื่น เชน IEC 502 โดยท่ัวไป

สายชนิดนี้จะสามารถใชงานไดเหมือนกับสาย NYY จึงนิยมใชเปนสายปอนหรือสายประธาน

แรงดันใชงาน

3.6/ 6 kV

อุณหภูมิใชงาน

90 Ο C

สถานที่ใชงาน

- สถานท่ีแหง และสถานท่ีเปยก

ลักษณะการติดตั้ง

- ใชงานไดท่ัวไป,ฝงดินโดยทอฝงดิน

Page 12: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

15

รูปที่ 2.13 สายไฟฟาทองแดงหุมดวยฉนวน XLPE

2.3.3 สายไฟฟาทนไฟ (Fire Resistant Cable) สายไฟฟาปกติท่ัวไปเปลือกหรือฉนวนทํา

มาจากวัสดุ เชน PVC หรือ XLPE เมื่อวัสดุเหลานี้ถูกเพลิงไหมอาจเกิดอันตรายรายแรงได เนื่องจาก

วัสดุเหลานี้สามารถติดไฟไดและจะลุกลามไปท่ัวบริเวณรวมท้ังตามชองทางเดินสายไฟ นอกจากนี้

อาจจะทําใหเกิดควันหนาแนนและอากาศพิษกระจายท่ัวไป ทําใหคนหมดสติและเสียชีวิตในท่ีสุด

เพ่ือแกปญหานี้จะตองเลือกสายไฟท่ีมีลักษณะสมบัติท่ีสําคัญดังตอไปนี้

• Flame Retardancy คือ ติดไฟไดยาก และถาสายติดไฟก็สามารถดับไดเอง (Self-

extinguish) ภายในชวงระยะเวลาหนึ่ง

• Flame Propagation คือ คุณสมบัติซ่ึงบงถึงอัตราท่ีไฟอาจจะลุกลาม และกระจายไป

ตามความยาวสายไฟฟา โดยท่ัวไปแลวสายไฟฟาท่ีมีคา Flame Propagation ตํ่า จะเปนแบบท่ี

สามารถดับไฟไดเอง

• Acid and Corrosive Gas Emission คือ คุณสมบัติซ่ึงแสดงการเกิดกรดหลังจากเกิดไฟ

ไหม กรดท่ีเกิดข้ึนจะกัดโลหะของโครงสรางและอุปกรณอื่นๆ สายไฟฟาท่ีมีสาร Halogen นอย

หรือไมมีเลยก็จะลดการเกิดกรดและกาซพิษ

• Smoke Emission คือ คุณสมบัติซ่ึงแสดงปริมาณควันท่ีเกิดจากการไหมของสายไฟฟา

• Fire Resistance (Circuit Integrity) คือ คุณสมบัติท่ีแสดงวาภายใตสถานการณไฟไหม

สายไฟฟายังสามารถจายกระแสไฟฟาไดในชวงเวลาหนึ่ง

รูปที่ 2.14 สายไฟฟาทนไฟ (Fire Resistant Cable)

Page 13: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

16 สวนประกอบของสายไฟฟาทนไฟไดแก

• ตัวนํา (Conductor) : ทองแดง

• เทปกันไฟ (Fire Barrier Tape) : Mica/Glass

• ฉนวน (Insulator) : XLPE

•ฉนวนหุมชั้นนอก (Outer Sheath) : ทําดวยสารจําพวก Zero Halogen, Low smoke

สายไฟฟาทนไฟ Fire Resistant Cable (FRC) ควรใชกับระบบและวงจรไฟฟาท่ีมี

ความสําคัญตอความปลอดภัย เชน

- ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (Fire Alarm System)

- ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ (Building Automation System)

- ระบบไฟแสงสวางฉุกเฉิน (Emergency Lighting System)

- ระบบเสียงประกาศ (Public Address System)

- ระบบไฟฟาสํารอง (Standby Power System)

- ระบบเครือขายคอมพิวเตอร (Computer Network System)

- ระบบโทรทัศนวงจรปด (Closed Circuit TV System)

- ระบบลิฟตและบันไดเลื่อน (Lifts and Escalators System)

2.3.4 การเลือกใชสายไฟฟา

ในการพิจารณาเลือกสายไฟฟาท่ีเหมาะสมนั้น มีหลายขอดวยกันท่ีตองพิจารณา ซ่ึงจะ

สงผลตอประสิทธิภาพความเชื่อถือไดและความปลอดภัยในการใชงาน ขอกําหนดท่ีตองพิจารณา

ในการเลือกสายไฟฟา ไดแก

• พิกัดแรงดัน แรงดันใชงานเอาไว 2 ระดับคือ 300 V และ 750 V ดังนั้นในการเลือก

ชนิดของสายไฟฟา จึงตองคํานึงถึงพิกัดแรงดันใหเหมาะสมดวย

• พิกัดกระแส คือ ความสามารถของสายไฟฟาในการท่ีจะนํากระแสไฟฟาปริมาณหนึ่ง

อยางตอเนื่องในขณะใชงานโดยไมทําใหอุณหภูมิสุดทายมีคาเกินอุณหภูมิท่ีกําหนดไว โดยพิกัด

กระแสของสายไฟฟาหุมฉนวนจะข้ึนกับปจจัยตางๆ ดังตอไปนี้

- ขนาดสายไฟฟา สายไฟฟาท่ีมีพ้ืนท่ีหนาตัดขนาดใหญ จะมีคาพิกัดกระแสสูงกวา

สายไฟฟาท่ีมีพ้ืนท่ีหนาตัดขนาดเล็กกวา

- ชนิดของฉนวนท่ีหุมสายไฟฟา การท่ีสายไฟฟามีฉนวนท่ีมีคุณภาพดี ยอมท่ีจะทํา

ใหสายไฟฟาชนิดนั้นมีคาพิกัดกระแสสูงข้ึน

- อุณหภูมิโดยรอบ เนื่องจากคาความตานทานของตัวนําจะมีคาเพ่ิมข้ึน เมื่ออุณหภูมิ

สูงข้ึนดังนั้นถาอุณหภูมิบริเวณรอบๆ ของสายไฟฟาท่ีใชมีคาสูงข้ึน ก็จะสงผลใหคาพิกัดของ

กระแสลดลงจากคาปกติ

Page 14: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

17

- ลักษณะการติดต้ัง เนื่องจากการติดต้ังสายไฟฟา สามารถทําไดหลายวิธีดวยกัน

เชน เดินลอย เดินในทอรอยสายหรือฝงใตดิน การติดต้ังแตละแบบก็จะมีการถายเทอากาศไดยาก

งายตางกัน ถาสายไฟฟาติดต้ังในบริเวณท่ีอากาศถายเทไดสะดวก ก็จะมีคาพิกัดกระแสสูงกวากรณี

ท่ีติดต้ังในบริเวณอากาศถายเทไมสะดวก

• สายควบ ในวงจรท่ีมีการใชไฟฟามากๆนั้น พิกัดกระแสของสายไฟฟาเสนเดียวอาจ

ไมเพียงพอ จึงจําเปนตองใชสายหลายเสนตอขนานกัน ซ่ึงเรียกวา สายควบ สายไฟฟาท่ีเดินควบกัน

ปลายท้ังสองดานของเฟสเดียวกันตองตอเขาดวยกัน โดยขอกําหนดสําหรับการใชสายควบ มีดังนี้

- ใชกับตัวนําท่ีมีขนาดต้ังแต 50 mm 2 ข้ึนไป

- สายไฟฟาท่ีจะเดินควบกันไดนั้นจะตองเปนสายไฟฟาชนิดเดียวกัน

- สายไฟฟาท่ีใชตองมีความยาวเทากัน

- ลักษณะการเดินสายไฟฟาเหมือนกัน

• แรงดันตก (Voltage Drop) คือความแตกตางระหวางแรงดันไฟฟาท่ีจุดแหลงจายตน

ทางและจุดรับไฟฟาเกิดเนื่องจากการท่ีมีกระแสไฟฟาไหลผานสายไฟฟาท่ีมีคาอิมพิแดนซ

(Impedance) ของตัวสายไฟฟาเอง แรงดันตกเปนปญหาท่ีสําคัญมากปญหาหนึ่ง ท่ีจะตองพิจารณา

เมื่อใชสายไฟฟาท่ีมีความยาวมากๆผลของแรงดันตกตอบรภัิณฑไฟฟามีมากมาย เชน มีผลตอความ

สวางของหลอดไฟฟา เพราะความสวางของหลอดไฟฟาจะแปรตามแรงดันยกกําลังสอง เมื่อ

แรงดันตกลงไปจะทําใหความสวางลดลงไปเปนอนัมากถาเปนหลอดฟลูออเรสเซนต (Fluorescent)

การท่ีแรงดันตกจะทําใหหลอดไฟติดยาก บัลลาสตรอนเปนตน ตามมาตรฐาน NEC ไดกําหนดไว

วา

- แรงดันตกจากสายประธาน (Service) ไปยงัโหลด (Load) มีคาไมเกิน 5%

- แรงดันตกในสายปอน (Feeder) มีคาไมเกิน 2%

- แรงดันตกในวงจรยอย (Branch Circuit) มีคาไมเกิน 3%

2.4 ชนิดของทอรอยสาย

โดยชนิดของทอรอยสายท่ีนยิมใชกนัในปจจุบันมดัีงนี ้

2.4.1 ทอโลหะหนา (Rigid Metal Conduit, RMC) ทอโลหะหนาเปนทอท่ีมีความแข็งแรง

มากท่ีสุด สามารถทนตอสภาพแวดลอมตางๆไดดี ทอชนิดนี้ถาทํามาจากเหล็กกลาจะเรียกวาทอ

RSC (Rigid Steel Conduit) และ สวนใหญจะผานขบวนการชุบดวยสังกะสี (Galvanized) ซ่ึงจะ

ชวยปองกันสนิมอยางดี

สถานที่ใชงาน

- ใชงานไดทุกสถานท่ี และสภาพอากาศ (All Occupancies and All Atmospheric

Conditions)

Page 15: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

18

ขนาดมาตรฐาน

- มีขนาดเสนผานศูนยกลาง (ขนาดทางการคา) 15 mm. (1/2”) - 150 mm. (6”)

- ความยาวทอนละ 3 m.

การติดตั้ง

- ในสถานท่ีเปยก (Wet Location) สวนประกอบท่ีใชยึดทอ เชน Bolt, Strap และ

Screw เปนตน ตองเปนชนิดท่ีทนตอการผุกรอนได

- ในท่ีท่ีมีการผุกรอน(Cinder Fill) ทอจะตองเปนชนิดท่ีทนตอการผุกรอนไดหรือหุม

ทอดวยคอนกรีตหนาอยางนอย 2 นิ้ว

- การตอทอเขากับเครื่องประกอบ จะตองใชบุชชิ่ง (Bushing) เพ่ือปองกันฉนวนของ

สายไฟฟาเสียหาย

- มุมตัดโคงของทอระหวางจุดดึงสาย รวมกันจะตองไมเกิน 360 องศา

รูปที่ 2.15 ทอโลหะหนา

2.4.2 ทอโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit, IMC) ทอโลหะหนาปาน

กลาง หรือ ทอ IMC เปนทอท่ีมีความหนานอยกวาทอ RMC แตสามารถใชงานแทนทอ RMC ได

และมีราคาถูกกวา

สถานที่ใชงาน

- ทุกสถานท่ีเชนเดียวกับทอ RMC

ขนาดมาตรฐาน

- มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 15 mm. (1/2”) -100 mm. (4”)

- ความยาวทอนละ 3 m.

การติดตั้ง

- เชนเดียวกับทอ RMC

Page 16: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

19 การตอสาย และ การตอแยก

- เชนเดียวกับทอ RMC

การตัดทอ

- เชนเดียวกับทอ RMC

รูปที่ 2.16 ทอโลหะหนาปานกลาง

2.4.3 ทอโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing, EMT) ทอโลหะบางหรือทอ EMT

เปนทอท่ีมีผนังบางกวาทอ RMC และ IMC จึงมีความแข็งแรงนอยกวา และมีราคาถูกกวา

สถานที่ใชงาน

- ใชไดเฉพาะภายในอาคารเทานั้น ท้ังในท่ีเปดโลง (Exposed) และท่ีซอน (Conceal)

เชน เดินลอยตามผนัง เดินในฝาเพดาน หรือฝงในผนังคอนกรีตได ไมควรใชทอ EMT ในท่ีท่ีมีการ

กระทบกระแทกทางกล ไมใชฝงใตดินและไมใชในระบบแรงสูง

ขนาดมาตรฐาน

- มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 15 mm. (1/2”) - 50 mm. (2”)

- ความยาวทอนละ 3 m.

การติดตั้ง

- เชนเดียวกับทอ RMC แตไมอนุญาตใหใชทอ EMT เปนตัวนําสําหรับตอลงดิน

การตอสาย และ การตอแยก

- เชนเดียวกับทอ RMC

การตัดทอ

- ทอ EMT หามทําเกลียว การตอทอจะใชขอตอชนิดไมมีเกลียว เชน แบบใชสกรูไข

Page 17: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

20

รูปที่ 2.17 ทอโลหะบาง

2.4.4 ทอโลหะออน (Flexible Metal Conduit, FMC) ทอโลหะออนทํามาจากเหล็กกลา

ชุบสังกะสี ในลักษณะท่ีมีความออนตัวสูง สามารถโคงงอไดทอโลหะออนเหมาะสําหรับใชงานกับ

อุปกรณท่ีมีการส่ันสะเทือนขณะใชงาน เชน มอเตอร เครื่องจักรตางๆ หรือใชกับงานท่ีตองการ

ความโคงงอดวยมุมหักสูงๆ เชน จุดตอ ดวงโคมทอโลหะออนไมอนุญาตใหใชในบางกรณี ดังนี้

สถานที่ใชงาน

- ในปลองลิฟท หรือ ปลองขนของ

- ในหองแบตเตอรรี่

- ในสถานท่ีอันตราย

- ในสถานท่ีเปยก ยกเวนเมื่อมีการปองกันไมใหน้ําเขาไปในทอและใชสายไฟฟาท่ี

เหมาะสม

- ฝงในดิน หรือ ฝงในคอนกรีต

ขนาดมาตรฐาน

- มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 15 mm. (1/2”) -80 mm. (3”)

การติดตั้ง

- จะตองมีการจับยึดท่ีมั่นคงแข็งแรง ทุกระยะไมเกิน 1.50 m และหางจากกลองไฟฟา

หรือ จากจุดตอไฟ ไมเกิน 0.30 m

- มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสาย รวมกันไมเกิน 360 องศา

- สามารถใชทอโลหะออนเปนตัวนําสําหรับตอลงดินไดเมื่อทอโลหะออนมีความยาว

ไมเกิน 1.80 m และ สายไฟภายในตอกับเครื่องปองกันกระแสเกินขนาดไมเกิน 20 A

Page 18: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

21

รูปที่ 2.18 ทอโลหะออน

รูปที่ 2.19 ลักษณะสายทอโลหะออนเมือ่ติดตั้งหนางาน

2.4.5 ทออโลหะแข็ง ( Rigid Nonmetallic Conduit, RNC) ทอ และอุปกรณของทอ

ชนิดนี้ จะทํามาจากสารอโลหะ ซ่ึงมีคุณสมบัติเหมาะสมทางกายภาพ ไดแก ไฟเบอร ใยหิน ซีเมนต

พีวีซีอยางแข็ง อีพอคซ่ีเสริมใยแกว โพลีเอทธิลีนความหนาแนนสูง เปนตน ทออโลหะแข็งจะมี

ความทนทานตอการกัดกรอน และ การกระทบกระแทกไดดี ทอชนิดนี้แมวาความแข็งแรงจะนอย

กวาทอโลหะแตมันมีความทนทานตอความชื้น และการกัดกรอนจากสารเคมีในอากาศไดดีกวาทอ

อโลหะแข็งสามารถใชในสถานท่ีดังนี้

- ในท่ีเปดโลง (Exposed) ท่ีปองกันความเสียหายทางกายภาพ

- ในท่ีซอน (Conceal) เชน เดินซอนในผนัง พ้ืน และเพดาน

- ในท่ีเปยก และ ชื้น โดยมีการปองกันน้ําเขาไปในทอ

- สามารถฝงใตดินได เพราะมันทนตอความชื้นและการผุกรอนได แตเพ่ือความ

แข็งแรงสวนมากจะหุมดวยคอนกรีต ท่ีเรียกวา Duct Bank

Page 19: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

22

รูปที่ 2. 20 ทออโลหะแข็ง

2.5 รางเดินสาย

2.5.1 รางวายเวย (Wireways)

รูปที่ 2.21 รางวายเวย (Wire ways)

รางเดินสาย เปนรางท่ีใชเดินสายไฟฟา ทําจากเหล็กแผนพับเปนส่ีเหลี่ยม มีฝาเปดปด เปน

แบบบานพับ หรือแบบถอดออกได แผนเหล็กท่ีใชทํารางเดินสายจะตองผานขบวนการตางๆ เพ่ือ

กันสนิมกอน ท่ีนิยมใชมี 3 วิธีดวยกัน คือใชวิธีพนสีฝุน Epoxy/Polyester, เคลือบดวยฟอสเฟตหรือ

สังกะสี (Galvanized Steel) และ วิธีอลูซิงค (Aluzinc) วิธีอลูซิงคเปนวิธีท่ีปองกันการเกิดสนิมได

ดีกวาวิธีอื่น โดยแผนเหล็กจะถูกเคลือบ ดวยสารโลหะท่ีประกอบดวย อะลูมิเนียม สังกะสี และ

ซิลิคอน โดยผสมเนื้อเดียวในลักษณะอัลลอยดการตอรางเดินสายเขาดวยกัน หรือ จะเดินเปนทาง

โคง สามารถใชเปนอุปกรณสําเร็จรูปตอเขากับรางเดินสายไดเลยเพ่ือความสะดวก เชน ของอ

(Elbow) จุดเชื่อมตอตัวที (Tee) และ ตัวลดขนาด (Reducer) เปนตน

Page 20: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

23 สถานที่ใชงาน

- รางเดินสายใชในท่ีเปดโลง ถาเปนภายนอกอาคารจะตองเปนชนิดท่ีกันฝนได

(Raintight) ไมใชในท่ีท่ีมีอันตรายทางกายภาพ

จํานวนตัวนํา

- ผลรวมของพ้ืนท่ีภาคตัดขวางของสายไฟฟาจะตองไมเกินรอยละ 20 ของพ้ืนท่ี

ภาคตัดขวางภายในของรางเดินสาย

พิกัดกระแสของตัวนํา

- พิกัดกระแสของตัวนําในรางเดินสาย ในกรณีเดินสายในทอโลหะในอากาศ ถา

จํานวนตัวนําเกิน 30 เสน จะตองใชตัวคูณลดโดยจะนับตัวนําท่ีมีกระแสเทานั้น ตัวนําสําหรับวงจร

สัญญาณตัวนําในระบบควบคุมมอเตอรและสตารทเตอร ท่ีใชในการเดินเครื่องเทานั้น ไมถือเปน

ตัวนําท่ีนํากระแส

ขนาดมาตรฐาน

- รางเดินสายท่ีบริษัทผูผลิตนิยมผลิตออกมาจําหนายมีขนาดดังนี้

H (ความสูง) = 50, 75, 100, 150 และ 200 mm

W (ความกวาง) = 50, 75, 100, 150, 200, 250 และ 300 mm

L (ความยาว) = 1200 และ 2400 mm

T (ความหนา) = 1.0 และ1.5 mm

การติดตั้ง

- จะตองมีการจับยึดท่ีมัน่คงแข็งแรง ทุกระยะหางกันไมเกิน1.5 m

- ไมอนุญาตใหตอรางเดินสายตรงจุดท่ีผนัง หรือ พ้ืน

- ไมอนุญาตใหใชรางเดินสายเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน

2.5.2 รางเคเบิล (Cable Tray)

เปนโครงสรางสําหรับรองรับสายเคเบิล ตองไมมีสวนท่ีเปนคมท่ีอาจทําใหฉนวนฉีก

ขาด ไมถือวาเปนทอสาย (Raceway) นิยมใชกันมากในโรงงานอตุสาหกรรมเพราะติดต้ังไดงาย และ

มีราคาถูก แบงออกตามลักษณะไดดังนี้

2.5.2.1 รางเคเบิลแบบบันได (Ladder Type) มีลักษณะคลายบันได (Rung) ใชกับสาย

เคเบิลกําลัง ทํามาจากเหล็กแผนมาตรฐาน ผานการพนดวยสีฝุน Epoxy/Polyester หรือเคลือบผิว

ดวย Hot-Dip Galvanized

Page 21: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

24

รูปที่ 2.22 รางเคเบิลแบบบันได (Ladder Type)

2.5.2.2 รางเคเบิลแบบมีชองระบายอากาศ (Perforated Type) เปนชิ้นเดียวตลอด มีรู

ระบายอากาศดานลาง ใชจับยึดสายชนิดใหญเสนเดียว หรือสายควบคุมชนิดหลายตัวนํา ทํามาจาก

แผนเหล็กมาตรฐาน ผานการพนดวยสีฝุน Epoxy/Polyester หรือเคลือบผิวดวยกรรมวิธี Hot-Dip

Galvanized หรือเคลือบดวยวิธีอะลูซิงค (Aluzinc)

รูปที่ 2.23 รางเคเบิลแบบมีชองระบายอากาศ (Perforated Type)

2.5.2.3 รางเคเบิลแบบดานลางทึบ (Solid Bottom Type) เปนชิ้นเดียวโดยตลอด

ดานลางเปนโลหะทึบ ใชกับสายตัวนําโดยท่ัวไปท่ีมีขนาดเล็ก ซ่ึงสามารถเพ่ิม เคลื่อนยาย

เปลี่ยนแปลง สายไฟฟาไดโดยสะดวก

Page 22: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

25

รูปที่ 2.24 รางเคเบิลแบบดานลางทึบ (Solid Bottom Type)

2.6 บัสเวย (Bus ways)

บัสเวย (Bus ways) หรือบัสดักต (Bus duct) คือบริภัณฑไฟฟาท่ีใชในการนําพลังงานไฟฟา

ปริมาณมากๆ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง บัสเวยประกอบดวยตัวนําบัสบารบรรจุในกลองหุม

พรอมบริภัณฑชวยอีกหลายอยางเพ่ือไหสามมารถสงไฟฟาไปยังจุดท่ีตองการไดบัสเวยทําหนาท่ี

คลายสายไฟฟาแตจะมีความคลองตัวสูงกวาเพราะสามารถตอแยก (Tap) ออกไปใชงานไดตลอด

ความยาวของมัน โดยบัสเวย (Bus ways) หรือบัสดักต (Bus duct) อาจแบงตามลักษณะของกลอง

หุมได 2 แบบ คือ

• แบบมีรูระบายความรอน (Ventilated Type) บัสเวยแบบท่ีมีรูระบายความรอน บัสเวย

แบบนี้จะตองติดต้ังตามลักษณะท่ีผูผลิตกําหนดไหเทานั้น

• แบบปดมิดชิด (Totally Enclosed Type) บัสเวยแบบปดมิดชิดสามารถติดต้ังไดทุก

ลักษณะโดยไมตองลดพิกัดกระแสเพราะสามารถลดความรอนไดทุกลักษณะการติดต้ังวัสดุ

แปลกปลอมตางๆ เชน ฝุนละออง น้ําและแมลงไมสามารถเขาไปในกลองหุมได บัสเวยแบบมิดชิด

จะมีขนาดเล็ก มีอิมพีแดนซตํ่าเนื่องจากตัวนําบัสบารอยูมิดชิดกันมาก ถาแบงบัสเวยตามการใชงาน

ก็อาจแบงไดเปน 2 แบบ คือ

- Feeder Bus way คือบัสเวยท่ีใชในการนาํพลังงานไฟฟาปริมาณมากๆ จากจุดหนึ่งไป

ยังอีกจุดหนึ่ง โดยระหวางทางวิ่งจะไมมีการตอแยกไฟไปใชบัสเวยแบบนี้อิมพีแดนซตํ่าและสมดุล

เพ่ือควบคุมแรงดันท่ีจุดใชไฟฟา

- Plug-in Bus way คือบัสเวยท่ีใชในการสงพลังงานไฟฟาปริมาณมากๆ เหมือน

Feeder Bus way แตตางกันท่ีมันมีจุดแยกตลอดความยาวซ่ึงสามารถตอไปยังโหลดได มันจึงดูคลาย

แผงจายไฟท่ียาวออกไป Feeder Bus way และ Plug-in Bus way มีรูปรางดังแสดงในรูปท่ี 2.25 และ

รูปท่ี 2.262 ตามลําดับ

Page 23: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

26

รูปที่ 2.25 Bus way หรือ Bus duct และ การตดิตั้งจากหนางานจริง

รูปที่ 2. 262 Plug-in Bus way

• การเลอืกแบบและพิกัดบัสเวย

- ใชภายในหรือภายนอกอาคาร

- พิกัดกระแส

- แรงดันตก

- พิกัดกระแสลัดวงจร

บัสเวยสวนมากเปนแบบใชภายในอาคาร (Indoor) ใชบริเวณความชื้นหรือน้ําเขาไมถึง ถาบัสเวย

ตองเดินผานภายนอกอาคารหรือบริเวณท่ีอาจมีน้ํารั่วหรือเขาถึงไดตองใชบัสเวยแบบภายนอก

อาคาร (Outdoor) บัสเวยแบบนี้ทําข้ึนพิเศษโดยจะมีการปองกันน้ําตามจุดตอตางๆ

• พิกัดกระแส เนื่องจากบัสเวยเปนท่ีนิยมใชกันมาก ในการเดินไฟฟาของอาคารพาณิชย

และโรงงานอุสาหกรรม มันจึงมีพิกัดกระแสกวางมากต้ังแต 100 A ถึง 5000 A คาพิกัดกระแสของ

บัสเวยเปนคาตอเนื่อง (Continuous Rating) โดยคิดท่ีอุณหภูมิโดยรอบ 40 OC และอุณหภูมิเพ่ิมไม

เกิน 55 OC

Page 24: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

27

• แรงดันตก คาพิกัดกระแสตอเนื่องดังท่ีกลาวมาแลวไมไดคํานึงถึงคาแรงดันตกถา

บัสเวยเดินเปนระยะทางไกลๆจําเปนตองคํานึงถึงแรงดันตกควบคูไปกับกระแสพิกัดถาแรงดันตก

มากเกินไปอาจตองพิจารณาเพ่ิมบัสเวยท่ีมีพิกัดกระแสสูงข้ึน

• การทนตอกระแสลัดวงจร บัสเวยจะตองสามารถทนแรงแม เหล็กไฟฟ า

(Electromagnetic Force)และความรอนไดเมื่อเกิดลดัวงจรปริมาณกระแสลัดวงจรจะข้ึนอยูกับขนาด

หมอแปลงตนทางบริษัทผูผลิตไดทําบัสบารท่ีสามารถทนตอกระแสลัดวงจรไดหลายระดับ รุนท่ีทน

ตอกระแสลัดวงจรสูงจะมีราคาแพงดังนั้นผูออกแบบระบบไฟฟาตองเลือกบัสเวยท่ีมีพิกัดกระแส

วงจรท่ีเหมาะสม

• การลดขนาดพิกัดบัสเวย บัสเวยอาจลดขนาดพิกัดกระแสลงไดโดยไมจําเปนตองมี

บริภัณฑปองกันถาบัสเวยอันเล็กท่ีตอออกไปมีขนาดพิกัดไมนอยกวาของบริภัณฑปองกันตนทาง

และตอออกไปไมเกิน 15.2 เมตร

2.7 เคร่ืองประกอบ (Fittings)

เครื่องประกอบ หมายถึง อุปกรณท่ีใชประกอบในการเดินสาย โดยใชรวมกับทอสายตางๆ เชน

ทอรอยสาย รางเดินสาย และรางเคเบิล เปนตน การใชเครื่องประกอบในการเดินสายจะมี

วัตถุประสงคเพ่ืองานทางกลมากกวาทางไฟฟา ซ่ึงจะพอสรุปไดดังนี้

• เพ่ือชวยในการจับยึดทอสายใหมีความมั่นคงแข็งแรง

• เพ่ือการเปลี่ยนทิศทางในการเดินสาย

• เพ่ือความสะดวกในการเดินสาย

• เพ่ือการตัดตอสาย

รูปที่ 2.27 ทอตรง ทอโคง ที่ดัดทอ น้ํายารอยสายไฟ

Page 25: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

28

เครื่องประกอบสามารถแบงตามหนาท่ีการใชงานได 3 ประเภท ดังนี้

• กลองไฟฟา (Boxes) กลองไฟฟาท่ีใชในการเดินสายมีมากมายหลายชนิด แตละชนิด

จะมีหนาท่ีตางกัน เชน อุปกรณ (Outlet Boxes) กลองสําหรับตอสาย,กลองแยกสาย เปนตน กลอง

ไฟฟาเหลานี้จะชวยใหมีความปลอดภัยจากประกายไฟท่ีจุดตอสายไฟ ไปใกลกับวัสดุท่ีติดไฟ

กลองไฟฟาอาจทํามาจากโลหะพวกเหล็ก แลวเคลือบดวยสังกะสี (Galvanized Steel)หรืออโลหะ

พวก Porcelain,Bakelite และ PVC กลองไฟฟาท่ีทํามาจากโลหะจะตองมีการตอลงดินเพ่ือความ

ปลอดภัย ขนาดของกลองไฟฟาจะข้ึนอยูกับจํานวนสายไฟฟาท่ีผานกลองไฟฟานั้น การไฟฟาได

ใหขอกําหนดสําหรับกลองไฟฟาไวดังนี้

ขอกําหนดสําหรับกลองไฟฟา

- กลองไฟฟาจะตองสามารถเขาถึงได และ มีท่ีวางสําหรับปฏิบัติงานเพียงพอ

- ตรงตําแหนงท่ีสายไฟผานกลอง จะตองมีบุชชิ่ง หรือ เครื่องประกอบขอบบน เพ่ือ

ปองกันฉนวนของสายไฟเสียหาย

- กลองไฟฟาในระบบแรงสูง ตองมีปาย “อันตรายไฟฟาแรงสูง” ติดไวถาวรท่ีดาน

นอกของฝากลอง

- กลองไฟฟาจะตองไมมีรู หรือชองท่ีโตพอไหวัตถุเสนผานศูนยกลาง 7.5 มิลลิเมตร

สอดเขาได

รูปที่ 2.28 แฮนด้ีบอกซ ฝาปดแฮนด้ีบอกซ (Handy Box and Cover)

รูปที่ 2.29 สแควบอกซ ฝาปดสแควบอกซ (Square Box and Cover)

Page 26: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

29

รูปที่ 2.30 ออกตะกอนบอกซ ฝาบิดออกตะกอนบอกซ เอ็ม เค บอกซ

(Octagon Box Cover and MK Box)

รูปที่ 2.31 คอนดูทเอาทเลทบอกซ (Conduit Outlet Box)

• กลองดึงสาย (Pull Boxes) ถาทอรอยสายไฟมีความยาวมากและอาจตองเปลี่ยนทิศ

ทางการเดินสาย จะใชกลองดึงสายชวยในการเดินสายไฟฟา เพ่ือความสะดวก โดยจะชวยลดชวง

ความยาวในการดึงสาย ปองกันไมใหสายไฟฟาเสียหาย กลองดึงสายมีท้ังชนิดดึงตรง (Straight

Pull) และชนิดดึงเปนมุม (Angle Pull)

รูปที่ 2.32 กลองดึงสาย (Pull Boxes) ในงานจริง

Page 27: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

30 • อุปกรณประกอบทอรอยสาย (Conduit Fittings) เครื่องประกอบทอรอยสาย หมายถึง

อุปกรณท่ีใชรวมกับทอรอยสาย เชน ขอตอ (Couplings), ขอตอยึด (Connectors), บุชชิ่ง (Bushing),

ของอ (Elbows), และตัวจับยึด (Supports) เปนตน เครื่องประกอบทอรอยสายชนิดท่ีใชกับทอโลหะ

หนา (RMC) และทอโลหะหนาปานกลาง (IMC) สวนใหญ จะเปนแบบมีเกลียวสวนในกรณีท่ีใช

กับทอโลหะบาง (EMT) นั้น เนื่องจากทอชนิดนี้ไมมีเกลียวจึงตองเชื่อมตอเขากับกลองไฟฟาหรือ

อุปกรณอื่นๆ โดยใชขอตอ และขอตอยึดชนิดตางๆ ไดแก แบบขันสกรู (Set screw) แบบชนิดอัด

แนน (Compression) และแบบชนิดย้ํารอง (Indenter)

รูปที่ 2.33 ขอตอยึด ขอตอ แคลมจับทอ สําหรับทอบาง

(Connector Coupling Strap for E.M.T. Conduit)

รูปที่ 2.34 ล็อคนทั บุชช่ิง ขอตอหนา อีริคสัน คปุปง

(Locknut, Bushing , Coupling , Erickson Coupling)

2.8 ระบบไฟฟากําลัง

ในการผลิต และ สงจายกําลังไฟฟานั้นจะเริ่มตนจากการผลิตกําลังไฟฟาจากเครื่องกําเนิด

ไฟฟาซ่ึงสามารถผลิตกําลังไฟฟาไดท่ีระดับแรงดันประมาณ 10-20 kV ดวยปญหาดานฉนวนจึงไม

สามารถท่ีจะสรางแรงดันใหสูงกวานี้ได แตเนื่องจากการสงกําลังไฟฟาในระยะทางไกลใหได

ประสิทธิภาพสูงนั้น จําเปนจะตองทําการแปลงระดับแรงดัน ไฟฟาท่ีไดจากเครื่องกําเนิดไฟฟาให

สูงข้ึนท่ีสถานีแปลงแรงดัน จากนั้นกําลังไฟฟาจะถูกสงไปยังสายสงไฟฟาแรงสูง เมื่อเขาสูบริเวณ

ชุมชนจะทําการลดระดับแรงดันลงใหเปนระดับแรงดันปานกลางท่ีสถานีจําหนายแรงดันไฟฟายอย

Page 28: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

31 ท้ังนี้เพ่ือความปลอดภัย และเมื่อกําลังไฟฟาถูกสงไปยังผูใชไฟฟาจะตองทําการแปลงระดับแรงดัน

ลงท่ีหมอแปลงจําหนายใหเปนระดับแรงดันตํ่า เพ่ือจายไฟฟาใหกับอุปกรณไฟฟาตางๆ

2.8.1 ระบบการจายกําลังไฟฟา (Power Distribution System)

การสงจายกําลังไฟฟาในประเทศไทยในขณะนี้ การผลิตและการสงจายกําลังไฟฟานั้น

ดําเนินงานโดยหนวยงานท่ีเปนรัฐวิสาหกิจ 3 แหง ดังนี้คือ

- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) Electricity Generating Authority of

Thailand (EGAT.)

- การไฟฟานครหลวง (กฟน.) Metropolitan Electricity Authority (MEA.)

- การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) Provincial Electricity Authority (PEA.)

สวนสําหรับปริญญานิพนธนี้จะกลาวถึงการไฟฟานครหลวง การไฟฟานครหลวง มี

หนาท่ีบริการจําหนายไฟฟาในเขต 3 จังหวัด ไดแก กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และนนทบุรี

ซ่ึงจะรับผิดชอบในการดําเนินงานสายสงไฟฟาแรงดันสูง สถานีเปลี่ยนแรงดัน สายจําหนายแรงดัน

ปานกลาง หมอแปลงจําหนายและสายจําหนายแรงดันตํ่า กระแสไฟฟาท่ีการไฟฟานครหลวง

จําหนายใหแกประชาชนในเขตรับผิดชอบท้ังหมดนั้น ทางการไฟฟานครหลวงจะรับซ้ือมาจากการ

ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเนื่องจากในเขตรับผิดชอบของการไฟฟานครหลวง มีการใชไฟฟา

ในปริมาณมาก ทางการไฟฟานครหลวง จึงจําเปนตองมีการสงไฟฟาอยางมีระบบจึงไดจําแนกการ

สงกําลังไฟฟาออกเปน 3 ระบบดังนี้คือ

- ระบบการสงกําลังไฟฟายอย (Sub Transmission System) การไฟฟานครหลวงจะรับ

กําลังไฟฟามาจากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยแลวจะใชการสงไฟฟาในระดับแรงดันสูง

230 kV, 115 kV, และ 69 kV

- ระบบการจําหนาย (Distribution System) การไฟฟานครหลวง มีสถานีไฟฟายอยอยู

หลายแหง เพ่ือท่ีจะแปลงไฟฟาระดับแรงดัน 69 kV หรือ 115 kV ไปเปนระดับแรงดัน 24 kV หรือ

12 kV โดยท่ีสถานีไฟฟายอยแตละแหง จะมีสายสง 69 kV หรือ 115 kV เขา 2 วงจร เพ่ือไหมีความ

เชื่อถือไดและมีหมอแปลงไฟฟากําลัง (Power Transformer) จํานวน 2-4 ชุด แตละชุดจายไฟฟา

ใหกับสายปอนจํานวนหลายสายปอน แตละชุดของสายปอนจะจายโหลดไดประมาณ 8 MVA ท่ี 12

kV หรือ 15 MVA ท่ี 24kV การตอวงจรสําหรับสถานีไฟฟายอยท่ีมีหมอแปลง 2 ชุด ดังแสดงในรูป

ท่ี 2.35

Page 29: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

32

รูปที่ 2.35 ระบบการจําหนาย ของ การไฟฟานครหลวง (กฟน.)

ดังนั้น ผูออกแบบระบบไฟฟาในเขตการรับผิดชอบของการไฟฟานครหลวงจึงเลือกใชหมอ

แปลงชนิด Dual Voltage 12/24 kV เพ่ือท่ีจะสามารถเปลี่ยนระดับแรงดันจาก 12 kV ไปเปน 24 kV

ไดโดยไมตองทําการเปลี่ยนหมอแปลง

- ระบบการใชกําลังไฟฟา (Utilitzation System) การไฟฟานครหลวงจะติดต้ังหมอ

แปลงท่ีบริเวณท่ีจะใชไฟฟา โดยหมอแปลงจําหนายจะแปลงไฟฟาจากระดับแรงดัน 24 kV หรือ

12kV ไปเปนระดับแรงดัน 416/240 V 3 เฟส 4 สาย ดังรูปท่ี 2.36

รูปที่ 2.36 ระบบการแปลงระดับแรงดันไฟฟาของการไฟฟานครหลวง(กฟน.)

Page 30: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

33 2.9 ระบบไฟฟาแสงสวาง (Lighting System)

การติดต้ังดวงโคมและอุปกรณประกอบ ตองเปนไปตามกฎของการไฟฟาและมาตรฐานของ

NEC โดยความตองการทางดานเทคนิคของระบบไฟฟาแสงสวางมีดังนี้

2.9.1 ดวงโคม

- ดวงโคมใหใชตามท่ีกําหนดในแบบและรายละเอียดขอกําหนด โดยตองมีคุณสมบัติ

ท่ัวไปตามท่ีระบุ ดวงโคมท่ีผลิตตามมาตรฐานของผูผลิตในประเทศอาจมีขนาดแตกตางจากท่ี

กําหนดไดเล็กนอย ดวงโคมทุกชนิดตองเสนอแบบ หรือตัวอยางใหผูวาจางเห็นชอบ กอน

ดําเนินการส่ังซ้ือและส่ังทํา

- ดวงโคมท่ีติดต้ังภายนอกอาคาร ตองเปนชนิดทนตอสภาพดินฟาอากาศภายนอก

อาคารได (Weather-Proof) และผลิตตามมาตรฐาน BS, IEC, หรือ NEMA อยางใดอยางหนึ่ง

- ดวงโคมใหใชขนาดตามท่ีระบุในแบบของดวงโคมใหผูวาจางเปนผูเลือก

- ตัวโคมจะตองทําดวยเหล็กหนาไมนอยกวา 0.70 มิลลิเมตร พนสีและผานการอบ

(Baked Enamel) และมีกรรมวิธปีองกันสนมิและผุกรอนไดดี เชน ชุบฟอสเฟต หรือชุบสังกะสี เปน

ตน

- สําหรับโคมฟลูออเรสเซนตตองมีความหนาของเหล็กไมนอยกวา 0.80 มิลลิเมตร

สําหรับโคมท่ีมีขนาด 60x120 เซนติเมตร นอกนั้นตองหนาไมนอยกวา 0.70 มิลลิเมตร

- ดวงโคมตาง ๆ ท่ีติดต้ังภายในอาคารตองมีคุณสมบัติกันฝุนละออง ระบายความรอน

ไดดี ติดต้ังงาย สะดวกในการซอมบํารุงและเปลี่ยนหลอดไฟไดงาย

- ตองมีข้ัวตอสายไฟ และข้ัวตอสายดินติดต้ังไวใหเรียบรอย ดวงโคมตองตอลงดินไว

ท่ีข้ัวตอสายดินนี้

- ข้ัวหลอดสําหรับโคมฟลูออเรสเซนตตองเปนแบบ End Fixing, Rotor Locked และ

Screw–Less Terminal ซ่ึงเปนไปตามมาตรฐาน NEMA หรือ VDE หรือ JIS

- อุปกรณขาหลอดตองผลิตตามมาตรฐาน VDE

- สายในดวงโคมฟลูออเรสเซนตใหใชสายหุมฉนวน ชนิดทนความรอนไดถึง 70◦C

และมีพ้ืนท่ีหนาตัดไมเล็กกวา 1.0 ตารางมิลลิเมตร

- สายในดวงโคมหลอดไสใหใชสายหุมฉนวน ชนิดทนความรอนไดถึง 105◦C และมี

พ้ืนท่ีหนาตัดไมเล็กกวา 1.5 ตารางมิลลิเมตร

- โคมไฟซ่ึงตอกับวงจรฉุกเฉินตองมีปายติดอยูภายในบอกใหทราบวาตออยูกับวงจร

ฉุกเฉิน

Page 31: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

34

รูปที่ 2.37 โคมไฟและลักษณะการตดิตั้ง

2.9.2 หลอดไฟ

- สําหรับหลอดไฟฟลูออเรสเซนต โดยท่ัวไปใชหลอดชนิด Day Light หรือตามท่ีระบุ

ในแบบ หรือตามท่ีผูวาจางกําหนด

- สําหรับหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต โดยท่ัวไปใชหลอดชนิด Warm White หรือ

ตามท่ีระบุในแบบ หรือตามท่ีผูวาจางกําหนด

- สําหรับหลอดไส (Incandescent Lamp) โดยท่ัวไปใชหลอดชนิดใสหรือฝาตามท่ีผู

วาจางจะกําหนด ข้ัวหลอดเปนแบบเกลียว

- ห ล อ ด ไ ฟ ฟ ลู อ อ เ ร ส เ ซ น ต แ ล ะ ห ล อ ด ไ ส ต อ ง เ ป น ไ ป ต า ม ม า ต ร า ฐ า น

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

- หลอดใชกาซ เชน หลอดแสงจันทร หลอดเมตัลฮาไลด และหลอดโซเดียม

โดยท่ัวๆไปใชชนิด Color-Corrected หรือตามท่ีแสดงไวในแบบโดยมีข้ัวหลอดเปนแบบเกลียว

Page 32: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

35

รูปที่ 2.38 หลอดไฟที่ใชในการติดตั้ง

2.9.3 บัลลาสต

- ตองเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

- สําหรับหลอดฟลูออเรสเซนตเปนแบบเพาเวอรแฟคเตอรตํ่าความสูญเสียตํ่าตอกับคา

ปาซิเตอรเพ่ือปรับปรุงเพาเวอรแฟกเตอรใหไดอยางนอย 0.9

- สําหรับหลอดใชกาซเปนแบบเพาเวอรแฟคเตอรสูง หรือแบบเพาเวอรแฟคเตอรตํ่าท่ี

ตอกับคาปาซิเตอรเพ่ือปรับปรุงเพาเวอรแฟคเตอรใหไดอยางนอย 0.9

รูปที่ 2.39 บัลลาสตที่ใชในงานติดตั้ง

Page 33: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

36

2.9.4 สตารทเตอร

- ตองเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

รูปที่ 2.40 สตารทเตอรที่ใชในงานติดตั้ง

2.9.5 คาปาซิเตอร

- สําหรับการปรับปรุงเพาเวอรแฟกเตอรตองเปนชนิด Dry Type (Metallized Plastic)

เปนไปตามมาตรฐาน VDE หรือ IEC และมีตัวตานทานครอมสําหรับการปลอยประจุ

2.9.6 โคมไฟฉุกเฉิน (Emergency Light)

- ตองเปนไปตามมาตรฐานระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและปายทางออกฉุกเฉิน

วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย

- โคมไฟฉุกเฉินตองเปนระบบอัตโนมัติ วงจรภายในเปนวงจรอิเล็กทรอนิกส ซ่ึง

ควบคุมการอัดและคายประจุจากแบตเตอรี่โดยอัตโนมัติ กลาวคือจะตองมีวงจรสําหรับตัดเมื่ออัด

ประจุเต็มหรือเมื่อคายประจุถึงระดับแรงดันท่ีจะเปนอันตรายตอแบตเตอรี่ นอกจากนี้ตองมีอุปกรณ

แสดงสภาพการใชงานอยางครบถวน และมีระบบทดสอบพรอม ตัวกลองตองสามารถระบาย

อากาศ และทนตอสภาพกรดจากแบตเตอรี่ไดเปนอยางดี โดยทําจากแผนเหล็กท่ีผานกรรมวิธี

ปองกันสนิม และหนาไมนอยกวา 1 มิลลิเมตร รวมท้ังสามารถตรวจสอบ และซอมบํารุงหรือเปลีย่น

แบตเตอรี่ทางดานหนาไดผูรับจางตองมีคูมือการใชและการบํารุงรักษาแนบติดอยูกับไฟฉุกเฉินทุก

ชุด การติดต้ังใหเปนไปตามท่ีกําหนดในแบบ โดยระดับของหลอดไฟตํ่าจากระดับฝาประมาณ 0.30

เมตร สวนชุดท่ีติดต้ังแยกหลอดใหทําฐานของหลอดไฟท่ีเหมาะสมและสวยงาม

- หลอดไฟฟาใหใชหลอด Halogen 2 x 35 W. หรือตามท่ีแสดงไวในแบบ

- แบตเตอรี่ใช Sealed Lead Acid Battery ขนาดกําลังสามารถจายกระแสไฟฟาใหกับ

หลอดไฟไดเปนเวลาไมนอยกวา 2 ชั่วโมง

Page 34: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

37

2.9.7 โคมไฟทางออก (Exit Light)

- ตองเปนไปตามมาตรฐานระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและปายทางออกฉุกเฉิน

วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย

- โคมไฟทางออกเปนระบบอัตโนมัติเชนเดียวกับโคมไฟฉุกเฉิน การติดต้ังใหเปนไป

ตามท่ีกําหนดในแบบ โดยระดับของโคมไฟใหอยูสูงประมาณ 2.50 เมตร

- หลอดไฟฟาใหใชขนาด PL 1x11 W. หรือตามท่ีแสดงไวในแบบ

- แบตเตอรี่ใช Seal Lead Acid Battery ขนาดกําลังใหสามารถจายกระแสไฟฟาใหกับ

หลอดไฟไดเปนเวลาไมนอยกวา 2 ชั่วโมง

2.10 ระบบไฟฟาสํารอง (Standby Power System)

ระบบไฟฟาสํารองจะทํางานเมื่อระบบไฟฟาของทางการไฟฟาเกิดขัดของและไมสามารถจาย

กระแสไฟฟาได จึงจําเปนตองมีการติดต้ังชุดเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองเพ่ือจายไฟฟาใหกับโหลด

หรืออุปกรณไฟฟาท่ีสําคัญและความตองการทางดานเทคนิคของเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองมีดังนี้

- เครื่องยนตดีเซล สองหรือส่ีจังหวะ Turbocharged พรอม air-cool charge โดยใหระบุ

ขนาดของกําลังมาแบบตอเนื่องไวในใบเสนอราคาดวย และขนาดตองไดตามมาตรฐานของ SAE

(Society of Automotive Engineers) อุณหภูมิภายนอกท่ี 85 ◦F ท่ีความกดดันบรรยากาศ 29.00 นิ้ว

ปรอท และระดับความสูง 500 ft และสามารถทํางาน Overload ไดไมนอยกวา 10% นาน 1 ชั่วโมง

เมื่อวิ่งตอเนื่องไมตํ่ากวา 3 ชั่วโมง

- ระบบทอไอเสีย ทอระงับเสียง (Exhaust Silencer) และทอออน (Flexible Exhaust

Pipe) เปนแบบท่ีเหมาะสมกับอาคาร (Residential Type) ทอไอเสียทําจาก Medium Class Black

Sheet Pipe หุมดวยฉนวนความรอน (Calcium Silicate) และแผนอะลูมิเนียมอีกชั้นหนึ่ง ซ่ึงเปน

ผลิตภัณฑท่ีสงมาจากโรงงานผูผลิต

- ระบบระบายความรอนเปนแบบระบายความรอนดวยน้ํา โดยใชปม (Centrifugal-

Type Circulating Water Pump) เพ่ือสงน้ําไประบายความรอนในสวนตาง ๆ ซ่ึงประกอบดวยหมอ

น้ํา พัดลม และ Thermostatic Valve เพ่ือควบคุมระดับอุณหภูมิใชในงานของเครื่องยนต และตองมี

Corrosion Resistor ควบคุมสารละลายในน้าํท่ีหลอเลีย้งภายในเครือ่งยนตมีไสกรองอากาศแบบ Dry

Type พรอม Turbo Charger ชวยอัดอากาศเขากระบอกสูบเพ่ือการเผาไหมท่ีสมบูรณ

- ระบบควบคุมความเร็วเครื่องยนตใช Govemer แบบ Electronic ให Speed

Regulation ไมเกิน 3% และ Speed Variation ไมเกิน 0.5% ของ Rated Speed ท่ีภาวะอยูตัว

- ระบบสตารทเครื่องยนต ใชมอเตอรสตารทแบบไฟตรง 24 V. พรอมแบตเตอรี่

Heavy Duty ชนิดกรดกํามะถัน-ตะกั่ว (Lead-acid Type) แรงดัน 2x12 V. และ Automatic

Battery Trickle Charger พรอมท้ังมีระบบ Manual Start รวมอยูดวย

Page 35: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

38

- ระบบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต เปนแบบ Gear-Type Lubrication โดยใชปม (Oil

Pump) สงน้ํามันไปหลอเลี้ยงสวนตาง ๆ ของเครื่องยนต และมีไสกรองสําหรับน้ํามันหลอลื่นแบบ

Threaded Spin-on พรอมท้ังมี Spring Loaded By Pass Valve ซ่ึงจะทํางานใหน้ํามันหลอลื่นทํางาน

ไดตามปกติ เมื่อไสกรองอุดตัน

- ระบบปองกันเครื่องยนต สําหรับปองกันการทํางานผิดปกติของเครื่องยนต และดับ

เครื่องยนตโดยอัตโนมัติ พรอมท้ังมีไฟสัญญาณเตือนอยางนอยท่ีสุดในกรณีตอไปนี้ความเร็วรอบ

ของเครื่องยนตสูงเกินกําหนดความดันน้ํามันหลอลื่นตํ่าเกินกําหนดอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต

สูงเกินกําหนด

- ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง ถังเก็บน้ํามันและการติดต้ังใหเปนไปตามมาตรฐาน NFPA

NO.3

- Flammable And Combustible Liquid Code NFPA NO.37

- Combustion Liquid And Gas Turbines

- ความจุถังน้ํามันเชื้อเพลิง ตองเพียงพอท่ีจะเดินเครื่องยนตไดไมตํ่ากวา 8 ชั่วโมงท่ี

เต็มพิกัดโหลดหรือมีขนาดตามท่ีแสดงในแบบ และใหมี Low Level Alarm ในกรณีน้ํามันกําลังจะ

หมด

- มี Side Glass บอกระดับและปริมาตรน้ํามันภายในถัง

- มีระบบ Drain และระบบ Pump น้ํามันเชื้อเพลิงจากภายนอกถังเขาถัง

- ผูรับจางตองทํารายละเอียดขนาดและการติดต้ังของถังน้ํามันเชื้อเพลิงสํารอง และ

ระบบการตอลงดินของถังน้ํามันเชื้อเพลิง ตลอดจนการเติมน้ํามันเชื้อเพลิงเขาถัง ใหผูวาจาง

พิจารณากอนทําการติดต้ัง โดยตัวถังน้ํามันตองทําจากแผนเหล็กตามมาตรฐาน ASTM

- แผงควบคุมเครื่องยนต ประกอบดวยมาตรวัดตาง ๆ ซ่ึงใชระบบไฟตรง 24 V. 5%

Accuracy และมีรายการตาง ๆ ดังตอไปนี้

มาตรวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น

มาตรวัดอุณหภูมิน้ํามันหลอลื่น

มาตรวัดความดันน้ํามันหลอลื่น

มาตรวัดความเร็วรอบ

มาตรวัดไฟชารจแบตเตอรี่

2.10.1 เคร่ืองกําเนิดไฟฟา (Alternator)

เปนแบบไมมีแปรงถาน (Brushless) พรอมท้ัง Selenium Surge Protection และตอ

โดยตรงเขากับเครื่องยนต โดยผาน Flexible Laminated Steel Disk หรือวิธีอื่นท่ีผูผลิตแนะนํา

ออกแบบใหระบายความรอนดวยพัดลมซ่ึงติดบนแกนเดียวกันกับโรเตอร

Page 36: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

39

- สามารถจายไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส 4 สาย 380/220V, 50 Hz ท่ีความเร็วรอบ 1500

รอบตอนาทีโดยมีขนาด kW (หรือ kVA) ตามท่ีไดแสดงไวในแบบ

- ระบบฉนวน ฉนวนของโรเตอรและสเตเตอร ตองไดตามมาตรฐานของ NEMA

- การควบคุมแรงดัน (Voltage Regulator) ใชระบบ Automatic Voltage Regulator

แบบ Solid State Control พรอม Interference Filter โดยสามารถควบคุมแรงดันจากไมมีโหลดจน

เต็มพิกัดโหลดแรงดันท่ีเปลี่ยนแปลงตองไมเกิน + 1% และเสถียรภาพของแรงดันในภาวะอยูตัวไม

เกิน + 0.5% พรอมท้ังสามารถรับ Automatic Thyristor Load ไดไมตํ่ากวา 70% ของ Output Rating

และมี Distortion ของ Waveform นอยท่ีสุดท่ียอมรับได การควบคุมแรงดันทําไดโดยใชวงจร

อิเล็กทรอนิกสชนิดท่ีติดต้ังบนแผงสวิตซควบคุม

- ระบบ Exciter เปนแบบ Self-Excited โดยอาศัยเรกติไฟเออรทําการแปลงไฟสลับ

เปนไฟตรง ซ่ึงติดต้ังอยูบนแกนเดียวกันกับโรเตอร

- ระบบการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟามีดังนี้

กําหนดความเร็วรอบตํ่า/สูง

กระแสของเครื่องกําเนิดไฟฟาสูงเกินกําหนด

เครื่องยนต Overcrank

เครื่องดันน้ํามันหลอลื่นตํ่า

อุณหภูมิน้ําหลอเย็นสูง

2.10.2 แผงควบคุมสําหรับเคร่ืองกําเนิดไฟฟาฉุกเฉิน

ติดต้ังบนแทนเครื่องกําเนิดไฟฟา ตองประกอบดวยอุปกรณและเครื่องวัดตาง ๆ อยาง

นอยดังนี้

- แอมมิเตอร AC 3 ชุด & DC

-โวลตมิเตอร AC

- ฟรีเควนซีมิเตอร AC

- วัตตมิเตอร 3 เฟส

- แอมมิเตอร/โวลตมิเตอร เฟสซีเลกเตอรสวิตซ

- มิเตอรนับชั่วโมงการทํางาน

- ldle-Run Toggle Switch (Potentiometer For Speed Adjustment)

- เมนเซอรกิตเบรกเกอรขนาดตามท่ีไดแสดงไวในระบบ

- ชุดสตารทเครื่องเองอัตโนมัติและพรอมปุมกดดวยมือ

- ชุดชารจแบตเตอรี่อัตโนมัติ

- ชุดดับเครื่องเองอัตโนมัติ

Page 37: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

40

- สวิตซควบคุมใหเครื่องยนตสตารทเครื่องวิ่งอุนเครื่องและดับเครื่องเองอาทิตยละ

ครั้ง

2.10.3 แผงออโตเมติกทรานสเฟอรสวิตซ (Automatic Transfer Switch Panel Board)

พิกัดของแผงออโตเมติกทรานสเฟอรสวิตซ มีดังนี้

- แรงดันระบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220V, 50Hz

- พิกัดของกระแสและแรงดันไดแสดงไวในแบบ

-ออโตเมติกทรานสเฟอรสวติซ เปนแบบเซอรกิตเบรกเกอร 3 Pole 2 ชุดมี Mechanical

และ Electrical Interlock, Motor Operated และมีระบบ Manual Operate รวมอยูดวย สวนมอเตอร

ใหใชไฟฟา 220 V. 50 Hz แผงโอโตเมติกทรานสเฟอรสวิตซ เปนลักษณะตูเหล็กต้ังพ้ืน (NEMA 1

Enclosure) แผงหนามีอุปกรณเครื่องวัดตาง ๆ ดังนี้

- อุปกรณวัดทางดานไฟของเครื่องกําเนิดไฟฟาฉุกเฉิน มีหลอดไฟแสดง (Pilot Lamp)

โวลตมิเตอร และโวลตซีเลกเตอรสวิตซ (ถาในแบบกําหนดใหติดต้ัง)

- อุปกรณวัดทางดาน Normal Source มี หลอดไฟแสดง (Pilot Lamp) โวลตมิเตอร

และโวลตซีเลกเตอรสวิตซ (ถาในแบบกําหนดใหติดต้ัง)

- อุปกรณทางดานโหลด มีแอมมิเตอร 3 ตัว พรอมหมอแปลงกระแส

- ชุดของแผงไฟบอกสัญญาณเครื่องมี Normal Source และ Stand by Source ลักษณะ

ของแผงโอโตเมติกทรานสเฟอรสวิตซ ตองเหมือนกับเมนแผงสวิตซแรงตํ่าซ่ึงติดต้ังอยูชิดกัน

- ชุดเลือกการทํางานของโอโตเมติกทรานสเฟอรสวิตซ “Auto”, “Off” และ“Manual”

2.11 ระบบปองกันฟาผา (Lightning Protection System)

ความตองการทางเทคนิคของระบบปองกันฟาผาประกอบดวยอุปกรณท่ีสําคัญดังนี้

- ตัวลอฟา (Air Terminal)

- สายลอฟา (Down Conductor)

- หลักสายดิน (Ground Rod)

รายละเอียดของอุปกรณตาง ๆ มีดังตอไปนี้

- ตัวลอฟาตองทําจากแทงทองแดงลวน ซ่ึงพ้ืนท่ีภาคตัดขวางมีขนาดตามท่ีระบุ ใน

แบบหรือไมนอยกวา 50 ตารางมิลลิเมตร และตัวลอฟายาวอยางนอย 0.30 เมตร หรือตามท่ีระบุ

ในแบบ

- สายลอฟา ตองเปนทองแดงเปลือยตีเกลียวมีขนาดตามท่ีระบุไวในแบบหรือมีพ้ืนท่ี

ภาคตัดขวางไมนอยกวา 50 ตารางมิลลิเมตร

- หลักสายดิน ตองทําจากแทงเหล็กหุมทองแดงมีขนาด 5/8 นิ้ว และยาวไมนอยกวา

3 เมตร หรือใกลเคียง และใหตอเชื่อมเขากับเหล็กของส่ิงกอสรางดวย

Page 38: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

41 2.12 ระบบโทรศัพท (Telephone System)

ความตองการทางเทคนิคของระบบโทรศัพทมีดังนี้

2.12.1 ขนาดระบบ (System Capacity)

ตารางที่ 2.1 ขนาดตูสาขา (Size of the Exchange)

ผูจางตองแสดงรายละเอียดการคํานวณของทราฟฟคมาดวย

2.12.2 คุณสมบัติทางดานระบบ (System Requirement)

ระบบสวิตช่ิง (Switching System)

- ตูชุมสายโทรศัพทอัตโนมัติตองเปนระบบ Store Program Control (SPC) ชนิด

Digital Switching ภายใตตูชุมสายประกอบดวยวงจรอิเล็คทรอนิกสชนิด Modular Unit ซ่ึง

ควบคุมการทํางานโดยใชคอมพิวเตอรเปนหลัก (Computer Based) โดยใชเทคนิคของ Time

Division Multiplex

- อุปกรณหลักของระบบ เชน CPU (Central Processing Unit) ทําหนาท่ีควบคุม

และส่ังงานระบบโทรศัพท

- ตองมีระบบจายไฟฟาสํารองท่ีมีกําลังพอใชงานในขณะไฟเมนดับไดไมนอยกวา 6

ชั่วโมง ในกรณีท่ีไฟเมนดับเกินกวาความสามารถของแบตเตอรี่สํารอง หรือแบตเตอรี่เกิดขัดของ

ตองสามารถเก็บขอมูลและโปรแกรมของระบบไวไดอยางถาวร ใหผูรับจางแสดงรายละเอียดการ

ปองกันการสูญหายของขอมูล และโปรแกรมของระบบมาดวย

ขนาดเริ่มแรก ขนาดขยายสูงสุด

จํานวนสายนอก > = 10 > = 20

จํานวนสายใน > = 10 > = 80

จํานวนโอปะเรเตอรคอนโซล - 1

การจัดเลขหมาย - ใชเลข 2-3 หลัก

ทราฟฟค (Traffic) - -

ทราฟฟคตอหนึง่เครือ่งภายใน > 6 CCS -

Grade of Service P0.1 -

Page 39: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

42

การแยกประเภทเคร่ืองภายใน (Classification of Extension)

ตูชุมสายตองสามารถแบงการควบคุมภายในออกเปน Class of Service ตาง ๆ ลักษณะของทราฟ

ฟคและการใชงาน

การจัดเลขหมาย (Numbering Plan)

การจัดเลขหมายภายในและ Class of Service ของเครื่องภายในใด ๆ สามารถทําไดตามตองการ

โดยผานทางอุปกรณ I/O (Input/Output)

เลข 0 และ 9 ใหใชเปนเลขสําหรับขอสายนอก และติดตอโอปะเรเตอรตามลําดับ ผูรับจางตอง

จัดทํารายละเอียดการจัดหมายเลขของระบบเสนอตอผูวาจาง

2.12.3 คุณสมบัติทางดานเคร่ืองภายใน (Extension Features) มีดังนี้

ในระหวางการสนทนา เครื่องภายในสามารถพักสายท่ีเรียกเขามาภายในเรียกออก

ภายนอก หรือภายในดวยกัน โดยท่ีหลังจากพักสายแลวสามารถเรียกสายในหรือสายนอกสายอื่น

เพ่ือปรึกษาแลวกลับไปสนทนากับสายท่ีพักไวเดิม โดยท่ีคูสนทนาท่ีพักคอยอยูไมสามารถไดยิน

การสนทนาดังกลาวเครื่องภายในสามารถโอนสายนอกท่ีเรียกเขามาภายในหรือเรียกออกไปใหโอ

ปะเรเตอร เพ่ือท่ีจะไดโอนไปยังเครื่องภายในเครื่องอื่น ๆ ตอไปไดในขณะท่ีเครื่องภายในกําลัง

สนทนากับเครื่องภายในดวยกันหรือกับสายนอกท่ีคอยอยูก็สามารถรวมเครื่องภายในอีกเครื่องหนึ่ง

เขารวมในการสนทนาในลักษณะการประชุม 3 คนได ในขณะท่ีเครื่องภายในพูดเสร็จแลววาง

หูโทรศัพทไมเขาท่ีใหเรียบรอยหรือหูโทรศัพทท้ิงไวนานเกินเวลาท่ีไดกําหนดไว เครื่องภายในนั้น

จะถูกตัดออก โดยอัตโนมัติเปนการชั่วคราว จนกวาจะวางกลับเขาท่ีใหเรียบรอย

2.12.4 ระบบจายไฟ (Power Supply)

ใหตูชุมสายและอุปกรณตาง ๆ เปนระบบไฟตรงซ่ึงประกอบดวยเครื่องอัดแบตเตอรี่และ

แบตเตอรี่ (Battery Charger and Battery) ซ่ึงอัดประจุใหไฟเต็มตลอดเวลา ผูรับจางตองแสดง

รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องอัดแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ ตลอดจนขนาดของกระแสท่ีใชในชวงทราฟ

ฟคหนาแนน (Peak Hour) และชวงการใชงานปกติของระบบในระยะเริ่มแรก และเมื่อเลขหมาย

ภายในขยายสูงสุด โดยแสดงการคํานวณประกอบดวย ระบบจายไฟดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้

เครื่องอัดแบตเตอรี่ ประกอบดวยวงจรลดการรบกวนขาเขา (Radio Interference Suppessor

Circuit) หมอแปลง วงจรเรคติไฟเออร วงจรกรอง วงจรรักษาระดับแรงดันโดยอัตโนมัติ

(Automatic Voltage Regulator, AVR) โวลตมิเตอรและแอมมเิตอรชนิดอานคาคลาดเคลื่อนไดไม

เกิน 1.5% และมีระบบปองกันกระแสเกินลัดวงจร ฯลฯ เครื่องอัดแบตเตอรี่ประกอบอยูในตูเหล็ก

ท่ีแข็งแรง ซ่ึงผานกรรมวิธีปองกันสนิม พนสีแลวอบ และมีพิกัดดังนี้

- แรงดันไฟสลับ 3 เฟส 380/220V หรือ 1 เฟส 220V.

- แรงดันไฟตรง 48V + 5V

- แรงดัน Ripple < 5 mV

Page 40: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

43

- กระแสขาออก > 20% ของการใชงานในชวงทราฟฟคหนาแนนของเครื่องภายใน

สําหรับขนาดเริ่มแรก และสามารถขยายความสามารถในการจายกระแสไฟเมื่อขนาดขยายสูงสุด

(ใหผูรับจางแสดงรายการคํานวณประกอบและใหแสดงรายละเอียดการขยายความสามารถในการ

จายกระแสไฟดวย)แบตเตอรี่ ใชชนิดกรดกํามะถัน ตะกั่ว (Seal Lead-Acid) โดยท่ีขนาดความจุ

ของแบตเตอรี่ตองเพียงพอท่ีจะจายกระแสใหตูชุมสายอยางนอย 6 ชั่วโมงของการใชงานเมื่อไฟ

เมนดับ และมีอปุกรณประกอบซ่ึงสามารถกลั่นตัว ละอองน้ํากรดกลับคืนสูภาชนะและระบายกาซ

ท่ีเกิดข้ึนออกไป

2.12.5 แผงกระจายสายรวม MDF (Main Distribution Frame)

เปนแบบบรรจุในตู ตัวตูใหทําดวยเหล็กแผนหนาไมนอยกวา 1.6 มิลลิเมตร ตูพนสีแลว

อบ มีฝาและบานพับ พรอมกุญแจล็อก ตัวตูตองมีขนาดใหญสําหรับตอสายในขนาดเริ่มตน และ

สามารถขยายขนาดสําหรับในอนาคตดวย ในตูมีท่ียึดสายใหเรียบรอยมีแผนดินติดต้ังดวย แผง

กระจายสายรวม MDF ทําหนาท่ีสําหรับพักสายท้ังหมดท่ีเขาและออกจากตูชุมสาย นั้นคือตูชุมสาย

เครื่องภายในและอุปกรณประกอบภายในแผงกระจายตองประกอบดวยแผงกระจายสายยอยเปนชุด

ๆ โดยท่ีการเขาสายและการถอดสายใหใชเครื่องมือโดยเฉพาะ โดยไมตองปลอกสายและหามใช

ขันสกูรหรือบัดกรี นอกจากนั้นแตละคูสายตองใสอุปกรณปองกัน ฟาผาชนิดหลอดแกวบรรจุแกส

(Gas Tube Arrester and Fuse) ท่ีสามารถนํากระแสลงดินไดอยางปลอดภัย เมื่อเกิดแรงดันไฟฟา

สูงเกินปกติ โดยท่ี Arrester ตองตอลงดินใหถูกตอง

2.12.6 คุณสมบัติทางดานการสงขอมูล (Transmission Requirements)

เครื่องภายใน (Extension Line)

- ตูชุมสายสามารถทํางานไดดีเมื่อความตานทานของสายและเครื่องภายใน (DC

Loop Resistance) มีคา 1,000 โอหม หรือมากกวา

- ตูชุมสายสามารถทํางานไดดีเมื่อการรั่วของฉนวน (Leakage Resistance) ระหวาง

คูสายหรือคูสายกับดินมีคา 30,000 โอหมหรือนอยกวาการบ่ันทอน (Attennuation)

- ผูรับจางตองระบุคาการบ่ันทอนสัญญาณ (Transmission Attennuation) ซ่ึงวัด

ระหวางข้ัวของ MDF ท่ี 1 KHz สําหรับเครื่องภายในกับเครื่องภายในและเครื่องภายในกับสาย

นอก ผูรับจางตองระบุคาการลดสัญญาณกวนระหวางคูสนทนา (Cross Talk Attennuation) มา

ดวย

2.12.7 กลองตอสายโทรศัพทประจําช้ัน

เปนแบบบรรจุในตู ทําดวยแผนเหล็กหนาไมนอยกวา 1.4 มิลลิเมตร ตูพนสีแลวอบมีฝา

และบานพับพรอมกุญแจล็อคการตอสายโทรศัพทภายในกลองตอสายตองใชเครื่องมือเขาสายได

โดยท่ีไมตองปอกสาย

Page 41: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

44

2.12.8 เตารับโทรศัพท (Telephone Outlet)

เปนแบบ Modular Jack Type (RJ11) ชนิด 4 ข้ัวตามมาตรฐานประเทศสหรัฐอเมริกา

โดยท่ีฝาครอบเตารับมีลักษณะเดียวกันกับฝาครอบของสวิตซและเตารับไฟฟา

2.12.9 การเดินสายและทอสายโทรศัพทตาง ๆ มีรายละเอียดดังนี้

- ขนาดเสนผาศูนยกลางของตัวนําไมตํ่ากวา 0.5 มิลลิเมตร และเปนไปตามมาตรฐาน

ขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทย

- ระบบโทรศัพทใหใชสายโทรศัพทท่ีมีรหัสสีดังตารางท่ี 2.1

ตารางที่ 2.2 รหัสสีของสายโทรศพัท

หมายเลขคูสาย สี

หมายเลขคูสาย สี

Tip + Ring - Tip + Ring -

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

ขาว

ขาว

ขาว

ขาว

ขาว

แดง

แดง

แดง

แดง

แดง

ดํา

ดํา

ดํา

น้ําเงิน

สม

เขียว

น้ําตาล

เทาดํา (Slate)

น้ําเงิน

สม

เขียว

น้ําตาล

เทาดํา (Slate)

น้ําเงิน

สม

เขียว

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

ดํา

ดํา

เหลือง

เหลือง

เหลือง

เหลือง

เหลือง

มวง

มวง

มวง

มวง

มวง

น้ําตาล

เทาดํา (Slate)

น้ําเงิน

สม

เขียว

น้ําตาล

เทาดํา (Slate)

น้ําเงิน

สม

เขียว

น้ําตาล

เทาดํา (Slate)

การเดินสายโทรศัพทถามิไดระบุไวเปนอยางอื่นใหใชสายตอไปนี้

- สายโทรศัพทท่ีเดินในรางใตดินหรือรอยในทอนอกอาคารใหใชสาย Alpeth

Sheathed Cable

Page 42: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

45

- สายโทรศัพทท่ีเดินระหวางแผงกระจายสายรวม (MDF) ไปยังกลองตอ

สายโทรศัพทประจําชั้น ใหใชสาย TPEV 0.65 มิลลิเมตร โดยท่ีรางหรือกลองตอสายตองตอลงดิน

ใหถูกตองและมีสายดินขนาดเหมาะสม

- สายโทรศัพทท่ีเดินระหวางกลองตอสายโทรศัพทประจําชั้น ไปยังกลองตอสายหรือ

เตารับโทรศัพทใหใชสาย TIEV 4C-0.5 มิลลิเมตร

- การเดินทอใหเปนไปตามขอกําหนดของทอรอยสายไฟฟา

2.13 ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (Fire Alarm System)

ความตองการทางดานเทคนิคอุปกรณของระบบแจงเหตุเพลิงไหมประกอบดวยอุปกรณตาง ๆ

ดังนี้

2.13.1 แผงควบคุมรวม (Fire Alarm Control Panel, FCP)

ทําดวยแผนเหล็กหนาประกอบสําเร็จรูปจากโรงงานผูผลิต มีความแข็งแรง ไมผุกรอน

หรือเปสนมิไดงาย ซ่ึงประกอบดวยโซนตาง ๆ ของระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม ภายในแผง

ควบคุมประกอบดวยวงจรอิเล็กทรอนิคสชนิด Modular Unit ตาง ๆ ซ่ึงควบคุมการทํางานดวย

ไมโครโปรเซสเซอร และทํางานดวยไฟตรง 24 V โดยแปลงไฟมาจากวงจรไฟสลับ 220 V, 50

Hz และมีความสามารถในการทํา Cross Zone Protection พรอมท้ังมีอุปกรณประกอบตาง ๆ

อยางนอยดังนี้

- มีการแสดงรายละเอียดเหตุการณท่ีเกิดข้ึนดวยจอ LCD ซ่ึงสามารถกําหนดและ

แกไขขอความการแสดงผลได สามารถแสดงผลการเกิด Alarm, Fault และการขัดของตาง ๆ เชน

CPU เสีย ไฟเมนเสีย (AC Power Failure) แรงดันของแบตเตอรี่ตํ่า (Low Battery Voltage)

วงจรรั่วลงดิน (Ground Fault)

- สวิตซควบคุม (Control Switch) สําหรับตัดเสียงสัญญาณ (Alarm Silence /

Acknowledge) สวิตซยกเลิกสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมเมื่อเหตุการณปกติ (System Reset

Switch) สวิตซสงเสียงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม (General Alarm) สวิตซทดสอบหลอดไฟ

สัญญาณ (Lamp Test Switch)

- การแสดงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม (Annunclator) โดยใชหลอดไฟสัญญาณแสดง

ตําแหนงของโซนท่ีเกิดเพลิงไหมท่ีไดแบงไวตามแผนผังของอาคาร (Graphic Annunciator) และมี

การแสดงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมระยะไกล (Remote Annuntiator) ซ่ึงติดต้ังท่ีโถงทางเขาชั้น

ลางตามท่ีไดแสดงไวในแบบ

Page 43: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

46

- สามารถโปรแกรม Configuration คือ สามารถกําหนดโซนการ Alarm (เชน Floor

Above/Floor Below) และการหนวงเวลา Pre-Alarm ได (0-60 นาที) ได

- เครื่องอัดแบตเตอรี่และแบตเตอรี่ (Battery Charger And Battery) เครื่องอัด

แบตเตอรี่ ตองเปนอุปกรณท่ีใชกับแรงดันไฟสลับ 220V 50 Hz และแปลงเปนแรงดันไฟตรง

24V ประกอบดวยวงจรอิเล็กทรอนิคสตาง ๆ โวลตมิเตอร แอมมิเตอร หลอดไฟ สัญญาณแสดง

การทํางาน เชน แสดงการทํางานในสภาวะปกติ เปนตน พรอมท้ังมีระบบปองกันตาง ๆ เชน

กระแสเกิน การลัดวงจร เปนตน แบตเตอรี่เปนชนิดกรดกํามะถัน-ตะกั่ว (Seal Lead-Acid) ชนิด

Maintenance Free ซ่ึงมีกําลังพอใชงานขณะไฟเมนดับไดไมนอยกวา 8 ชั่วโมง โดยท่ีเครื่องอัด

แบเตอรี่ ตองมีขนาดท่ีเหมาะสมกับการใชงานดังกลาวดวย

- ระบบโทรศัพทพนักงานดับเพลิง (Firefighter’s Telephone System) ประกอบดวย

หูยกโทรศัพท ซ่ึงสามารถติดตอกับจุดหนึ่งจุดใดในอาคารตามท่ีกําหนดในแบบได โดยติดตอ

รวมกับโทรศัพทพนักงานดับเพลิงเคลื่อนท่ี

- ระบบสัญญาณแจงเหตุดวยเสียง (Voice Alarm System) ซ่ึงสามารถเชื่อมตอกับ

ระบบเสียงของอาคารได

2.13.2 อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหม (Initiating Devices)

ประกอบดวยอุปกรณตางๆ ซ่ึงไดแสดงในแบบอยางนอยดังนี้

- ดีเทคเตอรจับความรอน (Heat Detector) เปนแบบผสมของอัตราการเพ่ิมของ

อุณหภูมิและอุณหภูมิในหองสูงเกนิกําหนดมากกวา 15 oF ตอนาทีและ 135 oF ตามลําดับซ่ึงสามารถ

ตรวจจับความรอนไดไมนอยกวา 200 ตารางเมตร

- ดีเทคเตอรจับควัน (Smoke Detector) เปนแบบ Photo-electric ซ่ึงสามารถ

ตรวจจับควันไดไมนอยกวา 80 ตารางเมตร ในพ้ืนท่ีสูงไมเกิน 5 เมตร มีหลอดไฟสัญญาณแจง

เหตุเพลิงไหมในตัว และสามารถติดต้ัง Remote LED ได (กรณีระบุในแบบ)

- ดีเทคเตอรจับควันชนิดติดต้ังท่ีทอลม (Duct Smoke Detector) ติดต้ังท่ีทอลมกลับ

ของเครื่องเปาลม และมีหลอดไฟสัญญาณและ Remote Test Switch

- สวิตซแจงสัญญาณเพลิงไหม (Manual Station) เปนชนิดติดฝง แบบดึงหรือกดปุม

โดยมีแทงแกวหรือกระจกปองกันการดึงหรือกดในสภาวะปกติ มีปาย “FIRE” เห็นไดชัดเจน

และมีสวิตซกุญแจสําหรับไขเพ่ือสง General Alarm ติดต้ังสูงจากพ้ืน 1.50 เมตร

- Sprinkler Water Flow Switch ซ่ึงจัดหาและติดต้ังโดยผูอื่น ผูรับจางจะตอง

จัดเตรียมและตอสายสัญญาณเขากับระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม เพ่ือแจงเหตุกรณีมีน้ําไหลใน

ระบบทอดับเพลิง

Page 44: บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ · Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยฉนวน XLPE จะมีความ

47

- Sprinkler Supervisory Switch ซ่ึงจัดหาและติดต้ังโดยผูอื่น ผูรับจางจะตอง

จัดเตรียมและตอสายสัญญาณเขากับระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม เพ่ือแจงเหตุกรณีวาลว

ดับเพลิงอยูในสถานะปด

2.13.3 อุปกรณสงเสียงสัญญาณ (Indicating Device)

- Alarm Bell เปนแบบระฆัง ขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 นิ้ว ใชไดท้ังภายในและ

ภายนอกอาคาร และเปนชนิดติดลอยติดต้ังใตระดับฝาเพดาน 0.30 เมตร หรือตามท่ีแสดงในแบบ

- Horn w/ Strobe เปนแบบเสียงอิเลคทรอนิกสพรอมสัญญาณแสงกระพริบสีขาว มี

ระดับความดังของเสียงไมนอยกวา 90 dB ท่ี 10 ฟุต สัญญาณ แสงกระพริบ 12 ครั้งตอวินาที 8000

peak candlepower strobe ทํางานดวยไฟตรง 24V และเปนชนิดติดลอยติดต้ังใตระดับฝาเพดาน

0.30 เมตร

2.13.4 โทรศัพทพนักงานดับเพลิงเคลื่อนที่ (Portable Plug-in Telephone Handset)

เปนแบบเคลื่อนยายได โดยเสียบกับเตารับ (Fire fighter’s Telephone Jack) เพ่ือติดตอ

กับหองควบคุม เตารับดังกลาวติดต้ังตามตําแหนงท่ีแสดงไวในแบบโดยติดต้ังสูงจากพ้ืน 1.50 เมตร

2.13.5 ระบบการเดินสายของระบบแจงเหตุเพลิงไหมตาง ๆ

- ระบบการเดินสายสัญญาณจากแผงควบคุมรวมไปยังแผงประจําชั้นตาง ๆ ใหใชสาย

Twisted Pair พรอม Shield ตามมาตรฐานของบริษัทผูผลิตสําหรับระบบการเดินสายสัญญาณจาก

แผงประจําชั้นไปยังอุปกรณตาง ๆ ตองเปนระบบ 2 สาย (Class B)

2.13.6 การทํางานของระบบ

- เมื่อเกิดสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมจากโซนใด หลอดสัญญาณของโซนจะติดหรือ

กระพริบ พรอมท้ังมีเสียงสัญญาณเฉพาะท่ีแผงควบคุมรวมจนกวาจะกดสวิตซตัดเสียง แตหลอดไฟ

สัญญาณยังคงติดอยูจนกวาระบบ จะกลับสูเหตุการณปกติ แตถาหากไมมีผูใดกดสวิตซตัดเสียง

ภายในระยะเวลาท่ีต้ังไว (0-5 นาที) ระบบจะสงเสียงสัญญาณไปยังโซนท่ีเกิดเพลิง และโซนอื่นๆ

พรอมกันหมด และเมื่อมีเหตุเพลิงไหมลุกลามสามารถแจงสัญญาณไดทีละชั้นหรือ ท้ังอาคารได

ในกรณีฉุกเฉิน มีระบบโทรศัพท (Firefighter’s Telephone System) สามารถติดตอระหวาง

พนักงานดับเพลิงกับหองควบคุมได

2.13.7 การเดินสายและทอสายไฟฟาตาง ๆ

- สําหรับ Initiating Devices ใหใชสายหุมฉนวนพีวีซี แกนเดียวทนแรงดันได 750

โวลท อุณหภูมิใชงาน 70 oC ท่ีมีขนาดไมเล็กกวา 1.5 ตารางมิลลิเมตร และสําหรับ Alarm

Indicating Devices ใหใชสาย FR Cable ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร หรือตามคําแนะนําของ

บริษัทผูผลิต ท้ังนี้ใหผูรับจางเสนอสีของสายไฟ สําหรับอุปกรณตางๆ ขออนุมัติติดต้ัง สวนการเดิน

ทอใหเปนไปตามขอกําหนดของทอรอยสายไฟฟา