ปีที่ 25 ฉบับที่ 8757 วันพฤหัสบดี ... ·...

1
ปี ที่ 25 ฉบับที่ 8757 วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ.2555 [email protected] กรุงเทพธุรกิจ 2 30 ปี คืออายุของ “กรุงเทพมหานคร” เมืองหลวงของประเทศเล็กๆ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับ การพัฒนาไม่น้อยหน้า แต่ในอีกด้าน “ก�าลัง ของเมือง” หรือ “พลเมือง” ที่รวมตัวกันอยู ในรูปแบบ “ชุมชน” ที่มีลักษณะเฉพาะทาง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่บ่งบอกถึง รากเหง้า และความเป็นมาของเมืองกลับ ถูกมองข้าม หลายครั้งที่ชุมชนกลับต้อง เป็นฝ่ายถอยให้กับภัยคุกคามที่เรียกว ่า “การพัฒนา” เห็นถนน เห็นตึก แต่ไม่เห็น ‘คน’ สุดารา สุจฉายา นักวิชาการของมูลนิธิ เล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ มองว่า ที่ผ่านมาการ พัฒนากรุงเทพมหานครไม่ให้ความส�าคัญกับ “คน” เท่าที่ควร โดยเฉพาะ “คน” ที่รวมตัวกัน เป็น “ชุมชน” และชุมชนที่รวมตัวกันเป็น “ย่าน” ต่างๆ มากมายในกรุงเทพฯ ทั้งที่แต่ละย่าน แต่ละชุมชนต่างมีประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของตนเองที่รวมกันเป็นรากเหง้าของกรุงเทพฯ “การพัฒนากรุงเทพฯ ที่ผ่านมาเรามักจะให้ ความส�าคัญกับการพัฒนาตามเส้นแบ่งของเขต ปกครอง นับจ�านวนครัวเรือนตามหลักเกณฑ์ ของเขต เป็นรูปแบบชุมชนในทางราชการ แต่ ไม่ค่อยได้ค�านึงถึงการที่เป็นชุมชนตามธรรมชาติ หรือชุมชนตามเชื้อชาติ เวลาพัฒนาเมืองเราจะ มองเชิงกายภาพมากกว่า ไม่ได้มองทางวิถีสังคม มองชุมชนในเชิงพื้นที่ แต่ขาดจากวิถีสังคม วัฒนธรรม ประเพณีที่เคยอยู ่ในพื้นที่เหล่านั้น” สุดารา ยกตัวอย่างกรณีของ “เยาวราช” ซึ่งเป็นชุมชนเชื้อสายจีนขนาดใหญ่ ต่อเนื่อง ไปถึงย่านตลาดน้อย ทรงวาด ราชวงศ์ ฯลฯ แต่กลับถูกพัฒนาตามหลักเกณฑ์ทางผังเมืองทีให้ความส�าคัญกับข้อก�าหนดเรื่องความหนาแน่น ของประชากร ความหนาแน่นทางพาณิชย์ และมองเรื่องการพัฒนาทางเศรษฐกิจเป็น หลัก โดยละเลยเรื่องการรักษาชุมชนในฐานะ พื้นที่ทางประวัติศาสตร์ส�าคัญส่วนหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร “อย่างกรณีเยาวราชสามารถจัดให้เป็น พื้นที่พัฒนาได้ ขณะเดียวกันก็ต้องมองในแงของการเป็นพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ที่ต้อง อนุรักษ์ด้วย ในความเป็นย่านเก่าน่าจะค�านึง ว่าพื้นที่เมืองเก่าจะคุมอย่างไร แต่เรากลับ ไม่มีข้อมูลเลยว่า เมืองเก่าคือตรงไหน ไม่มี ใครเคยเก็บข้อมูลในกทม.ว่าพื้นที่ไหนเป็น แหล่งประวัติศาสตร์บ้าง เพราะฉะนั้นเวลา มีแผนการพัฒนาพื้นที่ของรัฐที่ออกมา เลย ไม่มีฐานการมองตรงนี้ ก็เลยมีปัญหาว่าต่อไป ความเจริญเข้าไป รถไฟฟ้าเข้าไป ตามระเบียบ ผังเมืองพื้นที่รอบสถานีรถไฟฟ้า ก็สามารถจะ ท�าตึกสูงได้ แต่ไม่มีการพูดว่าจะกระทบความ เป็นชุมชนอย่างไร...” “ที่ผ่านมาเรามองการพัฒนาเมืองเป็น เรื่องทางกายภาพ มองที่เศรษฐกิจ หรือระบบ สาธารณูปโภค มองที่ถนน มองที่ตึก แต่ไม่ได้ คิดถึงคน ไม่ได้คิดถึงความเป็นย่าน บางครั้ง เมื่อการพัฒนาเข้าไปถึงชุมชนหรือย่านก็มี การเวนคืน ซึ่งอาจจะจ่ายค่าชดเชยให้ แต่เมื่อ ชุมชนออกไปแล้ว รากเหง้าของพื้นที่ก็จะหาย ไปด้วย ต้องผ่านไปอีกหลายชั่วอายุคนถึงสร้าง รากฐานของชุมชนในพื้นที่ให้กลับมาได้ แล้ว เราจะพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองไร้รากหมดเลย หรือเปล่า ความเป็นย่านดั้งเดิม ความรู้สึกว่า เป็นคนของพื้นที่ๆ ต้องพัฒนารักษาพื้นที่ก็ จะไม่มี กรุงเทพฯ ก็จะกลายเป็นเมืองใหญ่ทีคนเข้ามาท�ากิน แต่ไม่มีความผูกพันกับเมือง อีกต่อไป” สุดารา สรุป สอดคล้องกับความเห็นของ พิไลพรรณ สมบัติศิริ นายกสยามสมาคมในพระบรม- ราชูปถัมภ์ ที่มองว่า ในกรุงเทพมหานครมีชุมชน ถนน อาคาร ศาสนสถาน กระจัดกระจายอยู ่ทั่วไป สถานที่ต่างๆ เหล่านี้ มีอยู ่จ�านวนมาก และเป็น ส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์กรุงเทพมหานคร และส่วนราชการอื่นๆ ของรัฐ “การขยายตัวทางเศรษฐกิจ นโยบายการ พัฒนา ย่านการค้าและย่านธุรกิจ การเชื่อมโยง ระบบขนส่งมวลชน และสาเหตุอื่นๆ อีกจ�านวน มาก อันเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม ได้ส่งผลกระทบอย่างยิ่งยวดต่อ การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ถึงวันนีน่าจะตั้งค�าถามว่าพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ พระราชบัญัญัติเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติเกี่ยวกับผังเมือง พระราชบัญญัติเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข พระราชบัญญัติเกี่ยวกับที่ดิน พระราชบัญญัติ เกี่ยวกับทรัพย์สินและการเวนคืนที่ดิน รวมทั้ง ข้อบังคับของกรุงเทพมหานครและของส่วน ราชการอื่นๆ ของรัฐ มีความถูกต้องสมบูรณ์ และยังทันสมัยอยู่หรือไม่...” “เราจะอนุรักษ์วิถีชีวิต จารีตประเพณีอัน เป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรม หรือเราจะสร้าง ใหม่ทั้งดุ้น อะไรคือสิ่งที่เราต้องการ อะไรคือ การผสมกลมกลืนระหว่างของใหม่กับของเก่า จุดใดคือจุดแห่งความสมดุล อะไรคือวิวัฒนาการ อะไรคือการท�าลาย อะไรคือรสนิยมที่ดี อะไร คือไร้รสนิยม การอนุรักษ์และการพัฒนา ไม่จ�าเป็นต้องสวนทางกันเสมอไป ประเทศ ที่มีความเจริญสูงสุดด้านเศรษฐกิจ และมีความ ทันสมัย ก็ล้วนแต่เป็นประเทศที่ให้ความส�าคัญ ต่อการอนุรักษ์อย่างสูงสุดเช่นกัน” พัฒนากับอนุรักษ์ : ทางแยกหรือทางขนาน “ตั้งแต่แรกในกรุงเทพฯ มีหลายชุมชน ที่อยู ่ในย่านเมืองเก่าก็อยู่มาตามปกติ แต่ ช่วงหลังเริ่มมีโครงการพัฒนาเมืองเกิดขึ้น มี โครงการรถไฟฟ้าใต้ดิน มีการเปลี่ยนรูปแบบ การใช้พื้นที่ มีการมองเห็นโอกาสทางการ พัฒนา มีตึกสูงขึ้นมา ในการท�าผังเมือง รวม เวลาพิจารณาก�าหนดพื้นที่พาณิชย์ก็ดูที่ระบบ ขนส่งด้วย ถ้ามีระบบขนส่งมาก ก็สามารถ สร้างอาคารสูงได้ตามมา แต่ในบางพื้นที่อย่าง เยาวราชเป็นพื้นที่พาณิชย์ด้วย แต่ก็มีอาการเก่า มากตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งน่าจะอนุรักษ์ไว้ แล้วจะท�าอย่างไร” ดร.ยงธนิศร์ พิมลเสถียร นักวิชาการผังเมือง เปิดประเด็น ความสลับซับซ้อนในระบบระเบียบของ หลายหน่วยงานราชการ เป็นอีกหนึ่งปัจจัย ที่มีผลต่อการรักษาชุมชนทางวัฒนธรรม แม้รัฐธรรมนูญ มาตรา 66 ที่ระบุถึงสิทธิของ ชุมชนในการรักษาจรรโลงจารีต วัฒนธรรม แต่ ในทางปฏิบัติพบว่า หลายครั้งกฎระเบียบของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกลับไม่เอื้อต่อการรักษา ความเป็นชุมชนที่มีรากเหง้าทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม แม้ว่าชุมชนและย่านประวัติศาสตร์ จะมี คุณค่าสมควรเป็นโบราณสถานตามนิยามใน มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติโบราณสถานฯ พ.ศ.2504 แต่ในกระบวนการพิจารณาเพื่อ ขึ้นทะเบียนโบราณสถานโดยกรมศิลปากร นั้นใช้ระยะเวลายาวนาน และส่วนใหญ่โบราณ สถานที่ขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากรนั้น มักจะได้แก่วัด วัง หรือแหล่งโบราณคดี แหล่ง ประวัติศาสตร์ที่ไม่มีผู้คนอาศัย และมักเป็น ทรัพย์สินของรัฐ ไม่ได้รวมชุมชน หรือย่าน ประวัติศาสตร์ที่มีความหลากหลายและมีความ ซับซ้อนในด้านกรรมสิทธิ์ที่มักเป็นของเอกชน การใช้ช่องทางการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน จึง มีข้อจ�ากัดและไม่ทันการ ในช่วงของการวางและจัดท�า “ผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 3)” ในขณะนีได้เกิดกระแสการเรียกร้องให้มีการรักษาย่าน และชุมชนประวัติศาสตร์ในกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขต สัมพันธวงศ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ก�าลังมีการพัฒนา อาคารขนาดใหญ่เพื่อรองรับระบบขนส่งมวลชน “เครือข่ายอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม” ทีประกอบไปด้วย นักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี สถาปนิก และผู้ที่มีความสนใจ และหวงแหนมรดกวัฒนธรรมของชุมชน มองว่าข้อก�าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตาม ร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุง ครั้งที่ 3) ได้ก�าหนดให้พื้นที่บริเวณดังกล่าว เป็นย่านพาณิชยกรรม (พ.3) ซึ่งสามารถสร้าง อาคารขนาดใหญ่ที่มีอัตราส่วนพื้นที่อาคาร รวมต่อพื้นที่ (FAR) เท่ากับ 7 ซึ่งท�าให้อาคาร เก่าที่มีคุณค่าที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีโอกาสถูกรื้อ ท�าลายสูง หากไม่มีมาตรการปกป้องที่เหมาะสม นอกจากนั้นการก�าหนดพื้นที่โดยรอบสถานี รถไฟฟ้าในระยะ 500 เมตรสามารถสร้างอาคาร ขนาดใหญ่ได้มากขึ้น ท�าให้โอกาสในการรื้อ ท�าลายชุมชนและย่านประวัติศาสตร์มีสูงขึ้น ขณะที่ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครฯ พ.ศ.2542 ที่ก�าหนดความสูงของอาคารตาม ระยะต่างๆ ในพื้นที่ดังกล่าว เป็นการปกป้อง เฉพาะสภาพโดยรอบ “ศาสนสถาน” เท่านั้น ไม่ครอบคลุมถึงการปกป้องอาคารอื่นๆ ที่มี คุณค่าด้วย สยามสมาคมฯ จึงได้ร่วมกับ “เครือข่าย อนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม” สมาคมอิโคโมสไทย สมาคมอนุรักษ์ศิลปกรรมและสิ่งแวดล้อม กรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาป ัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หลักสูตรการจัดการทางวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และเครือข่ายประชาชนต้าน คอร์รัปชัน ได้ส่งหนังสือถึงผู้ว่าฯ กทม. เรื่อง การอนุรักษ์ย่านประวัติศาสตร์ที่ต่อเนื่องจาก พื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ โดยเสนอให้กรุงเทพมหานครทบทวน มาตรการทางผังเมือง ทั้งข้อก�าหนดการใช้ ประโยชน์ที่ดิน โดยเฉพาะในส่วนของการให้ สิทธิการพัฒนาที่เพิ่มขึ้นโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า 500 เมตรให้ยกเว้นสิทธิพิเศษดังกล่าวในพื้นทีที่มีความส�าคัญทางประวัติศาสตร์ หรือชุมชน ที่มีความส�าคัญทางประวัติศาสตร์ รวมถึงปรับปรุงหรือตราข้อบัญญัติ กทม. ที่มีวัตถุประสงค์ในการปกป้องย่านและชุมชน ประวัติศาสตร์แต่ละแห่ง โดยเฉพาะการห้าม รื้อถอนอาคารที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม และศิลปกรรม ซึ่งท�าได้ตาม มาตรา 8 และ 9 แห่งพรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 โดยผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็น อย่างกว้างขวางและการได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง อย่างทั่วถึง พร้อมกับเรียกร้องให้กรุงเทพมหานคร แสดงบทบาทมากขึ้นในส่งเสริมให้ชุมชน และย่านประวัติศาสตร์ สามารถด�ารงวิถีชีวิต และรักษาอาคารอยู่ได้โดยการให้มีมาตรการ และแรงจูงใจในลักษณะต่างๆ เช่น การจัดท�า โครงการพัฒนาชุมชนที่มีการฟื ้นฟูอาคารเก่าใหมีสภาพดีเหมือนในอดีต หรือช่วยเหลือในด้าน การบูรณะซ่อมแซมตามหลักวิชาการ เป็นต้น “กทม.เองก็บอกว่าการอนุรักษ์ไม่สามารถ ท�าได้ทั้งหมด และต้องให้โอกาสนักพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ด้วย ก็เลยเป็นช่องว่างระหว่าง การอนุรักษ์กับการพัฒนา อันที่จริงกรณีแบบ นี้เกิดในหลายประเทศซึ่งใช้วิธีประกาศเป็น ย่านประวัติศาสตร์ให้ชุมชนกับรัฐดูแลร่วมกัน แต่บ้านเราไม่มีระบบนี้ ไม่มีระบบก�าหนด พื้นที่อนุรักษ์ ไม่มีระบบที่ให้ชุมชนลุกขึ้น มาดูแลพื้นที่ทางวัฒนธรรมของตัวเองได้ จริงๆ แล้วกรุงเทพมหานครสามารถออกเป็น ข้อบัญญัติกทม. เพื่อมาคุ้มครองอาคารเก่า ย่านเก่า ชุมชนเก่าได้ ซึ่งสามารถจะท�าตอนไหน ก็ได้และไม่มีหมดอายุ เลยไปถึงการคิดเรื่อง การท�าโครงการต่อเนื่อง อาจจะหางบประมาณ มาตั้งเป็นกองทุนซ่อมแซมอาคารที่มีคุณค่า ถ้ากทม.ให้ความส�าคัญกับตรงนี้ก็สามารถท�าได้” ดร.ยงธนิศร์ สรุป เพื่อให้การพัฒนากรุงเทพมหานครเป็น ไปทั้งเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ คุณภาพ ชีวิตของผู ้อยู ่อาศัย ความภาคภูมิใจของเมือง ในฐานะแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่ไม่อาจ สร้างขึ้นทดแทนได้ หากสูญสิ้นไปแล้ว เรื่อง : ชาธิป สุวรรณทอง เมืองนีไม่มี‘คน’(?) การพัฒนาเมือง โดยไม่คิดถึงชุมชน ที ่มีความส�าคัญ ทางประวัติศาสตร์ แล้วในอนาคตเมือง แบบนั้นจะเหลืออะไร ให้ลูกหลาน

Upload: others

Post on 26-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ปีที่ 25 ฉบับที่ 8757 วันพฤหัสบดี ... · 2012-09-20 · รวมถึงปรับปรุงหรือตราข้อบัญญัติ

ปท 25 ฉบบท 8757 วนพฤหสบดท 13 กนยายน พ.ศ.2555 [email protected]

กรงเทพธรกจ

230 ป คออายของ “กรงเทพมหานคร” เมองหลวงของประเทศเลกๆ ใน เอเชยตะวนออกเฉยงใตทไดรบ

การพฒนาไมนอยหนา แตในอกดาน “ก�าลงของเมอง” หรอ “พลเมอง” ทรวมตวกนอยในรปแบบ “ชมชน” ทมลกษณะเฉพาะทางประวตศาสตรและวฒนธรรมทบงบอกถง รากเหงา และความเปนมาของเมองกลบ ถกมองขาม หลายครงทชมชนกลบตอง เปนฝายถอยใหกบภยคกคามทเรยกวา “การพฒนา”

เหนถนน เหนตก แตไมเหน ‘คน’

สดารา สจฉายา นกวชาการของมลนธเลก-ประไพ วรยะพนธ มองวา ทผานมาการพฒนากรงเทพมหานครไมใหความส�าคญกบ “คน” เทาทควร โดยเฉพาะ “คน” ทรวมตวกนเปน “ชมชน” และชมชนทรวมตวกนเปน “ยาน” ตางๆ มากมายในกรงเทพฯ ทงทแตละยานแตละชมชนตางมประวตศาสตรความเปนมาของตนเองทรวมกนเปนรากเหงาของกรงเทพฯ “การพฒนากรงเทพฯ ทผานมาเรามกจะใหความส�าคญกบการพฒนาตามเสนแบงของเขตปกครอง นบจ�านวนครวเรอนตามหลกเกณฑของเขต เปนรปแบบชมชนในทางราชการ แต ไมคอยไดค�านงถงการทเปนชมชนตามธรรมชาต หรอชมชนตามเชอชาต เวลาพฒนาเมองเราจะมองเชงกายภาพมากกวา ไมไดมองทางวถสงคม มองชมชนในเชงพนท แตขาดจากวถสงคม วฒนธรรม ประเพณทเคยอยในพนทเหลานน” สดารา ยกตวอยางกรณของ “เยาวราช” ซงเปนชมชนเชอสายจนขนาดใหญ ตอเนอง ไปถงยานตลาดนอย ทรงวาด ราชวงศ ฯลฯ แตกลบถกพฒนาตามหลกเกณฑทางผงเมองทใหความส�าคญกบขอก�าหนดเรองความหนาแนน ของประชากร ความหนาแนนทางพาณชย และมองเรองการพฒนาทางเศรษฐกจเปนหลก โดยละเลยเรองการรกษาชมชนในฐานะพนททางประวตศาสตรส�าคญสวนหนงของกรงเทพมหานคร “อยางกรณเยาวราชสามารถจดใหเปนพนทพฒนาได ขณะเดยวกนกตองมองในแงของการเปนพนททางประวตศาสตรทตองอนรกษดวย ในความเปนยานเกานาจะค�านงวาพนทเมองเกาจะคมอยางไร แตเรากลบไมมขอมลเลยวา เมองเกาคอตรงไหน ไมมใครเคยเกบขอมลในกทม.วาพนทไหนเปนแหลงประวตศาสตรบาง เพราะฉะนนเวลามแผนการพฒนาพนทของรฐทออกมา เลยไมมฐานการมองตรงน กเลยมปญหาวาตอไปความเจรญเขาไป รถไฟฟาเขาไป ตามระเบยบผงเมองพนทรอบสถานรถไฟฟา กสามารถจะท�าตกสงได แตไมมการพดวาจะกระทบความเปนชมชนอยางไร...” “ทผานมาเรามองการพฒนาเมองเปนเรองทางกายภาพ มองทเศรษฐกจ หรอระบบสาธารณปโภค มองทถนน มองทตก แตไมไดคดถงคน ไมไดคดถงความเปนยาน บางครง

เมอการพฒนาเขาไปถงชมชนหรอยานกมการเวนคน ซงอาจจะจายคาชดเชยให แตเมอชมชนออกไปแลว รากเหงาของพนทกจะหายไปดวย ตองผานไปอกหลายชวอายคนถงสรางรากฐานของชมชนในพนทใหกลบมาได แลวเราจะพฒนาเมองใหเปนเมองไรรากหมดเลยหรอเปลา ความเปนยานดงเดม ความรสกวาเปนคนของพนทๆ ตองพฒนารกษาพนทกจะไมม กรงเทพฯ กจะกลายเปนเมองใหญทคนเขามาท�ากน แตไมมความผกพนกบเมองอกตอไป” สดารา สรป สอดคลองกบความเหนของ พไลพรรณ สมบตศร นายกสยามสมาคมในพระบรม- ราชปถมภ ทมองวา ในกรงเทพมหานครมชมชน ถนน อาคาร ศาสนสถาน กระจดกระจายอยทวไป สถานทตางๆ เหลาน มอยจ�านวนมาก และเปนสวนหนงของประวตศาสตรกรงเทพมหานครและสวนราชการอนๆ ของรฐ “การขยายตวทางเศรษฐกจ นโยบายการพฒนา ยานการคาและยานธรกจ การเชอมโยงระบบขนสงมวลชน และสาเหตอนๆ อกจ�านวนมาก อนเปนสวนหนงของการพฒนาเศรษฐกจและสงคม ไดสงผลกระทบอยางยงยวดตอการอนรกษมรดกทางวฒนธรรม ถงวนน นาจะตงค�าถามวาพระราชบญญตโบราณสถาน โบราณวตถ ศลปวตถ พระราชบญญตเกยวกบสงแวดลอม พระราชบญญตเกยวกบผงเมอง พระราชบญญตเกยวของกบการสาธารณสข พระราชบญญตเกยวกบทดน พระราชบญญตเกยวกบทรพยสนและการเวนคนทดน รวมทง

ขอบงคบของกรงเทพมหานครและของสวนราชการอนๆ ของรฐ มความถกตองสมบรณและยงทนสมยอยหรอไม...” “เราจะอนรกษวถชวต จารตประเพณอนเปนสวนหนงของอารยธรรม หรอเราจะสรางใหมทงดน อะไรคอสงทเราตองการ อะไรคอการผสมกลมกลนระหวางของใหมกบของเกา จดใดคอจดแหงความสมดล อะไรคอววฒนาการ อะไรคอการท�าลาย อะไรคอรสนยมทด อะไรคอไรรสนยม การอนรกษและการพฒนา ไมจ�าเปนตองสวนทางกนเสมอไป ประเทศ ทมความเจรญสงสดดานเศรษฐกจ และมความทนสมย กลวนแตเปนประเทศทใหความส�าคญตอการอนรกษอยางสงสดเชนกน” พฒนากบอนรกษ :

ทางแยกหรอทางขนาน

“ตงแตแรกในกรงเทพฯ มหลายชมชน ทอยในยานเมองเกากอยมาตามปกต แต ชวงหลงเรมมโครงการพฒนาเมองเกดขน มโครงการรถไฟฟาใตดน มการเปลยนรปแบบการใชพนท มการมองเหนโอกาสทางการพฒนา มตกสงขนมา ในการท�าผงเมอง รวมเวลาพจารณาก�าหนดพนทพาณชยกดทระบบขนสงดวย ถามระบบขนสงมาก กสามารถสรางอาคารสงไดตามมา แตในบางพนทอยางเยาวราชเปนพนทพาณชยดวย แตกมอาการเกามากตงแตสมยรชกาลท 5 ซงนาจะอนรกษไว แลวจะท�าอยางไร” ดร.ยงธนศร พมลเสถยร นกวชาการผงเมอง เปดประเดน

ความสลบซบซอนในระบบระเบยบของหลายหนวยงานราชการ เปนอกหนงปจจย ทมผลตอการรกษาชมชนทางวฒนธรรม แมรฐธรรมนญ มาตรา 66 ทระบถงสทธของชมชนในการรกษาจรรโลงจารต วฒนธรรม แตในทางปฏบตพบวา หลายครงกฎระเบยบของหนวยงานทเกยวของกลบไมเออตอการรกษาความเปนชมชนทมรากเหงาทางประวตศาสตรและวฒนธรรม แมวาชมชนและยานประวตศาสตร จะมคณคาสมควรเปนโบราณสถานตามนยามในมาตรา 4 แหงพระราชบญญตโบราณสถานฯ พ.ศ.2504 แตในกระบวนการพจารณาเพอขนทะเบยนโบราณสถานโดยกรมศลปากรนนใชระยะเวลายาวนาน และสวนใหญโบราณสถานทขนทะเบยนโดยกรมศลปากรนน มกจะไดแกวด วง หรอแหลงโบราณคด แหลงประวตศาสตรทไมมผคนอาศย และมกเปนทรพยสนของรฐ ไมไดรวมชมชน หรอยานประวตศาสตรทมความหลากหลายและมความซบซอนในดานกรรมสทธทมกเปนของเอกชน การใชชองทางการขนทะเบยนโบราณสถาน จงมขอจ�ากดและไมทนการ ในชวงของการวางและจดท�า “ผงเมองรวมกรงเทพมหานคร (ปรบปรงครงท 3)” ในขณะน ไดเกดกระแสการเรยกรองใหมการรกษายานและชมชนประวตศาสตรในกรงเทพมหานคร โดยเฉพาะในเขตปอมปราบศตรพาย และเขตสมพนธวงศ ซงเปนพนททก�าลงมการพฒนาอาคารขนาดใหญเพอรองรบระบบขนสงมวลชน “เครอขายอนรกษมรดกวฒนธรรม” ทประกอบไปดวย นกวชาการ นกประวตศาสตร นกโบราณคด สถาปนก และผทมความสนใจและหวงแหนมรดกวฒนธรรมของชมชน มองวาขอก�าหนดการใชประโยชนทดนตาม รางผงเมองรวมกรงเทพมหานคร (ปรบปรง

ครงท 3) ไดก�าหนดใหพนทบรเวณดงกลาวเปนยานพาณชยกรรม (พ.3) ซงสามารถสรางอาคารขนาดใหญทมอตราสวนพนทอาคาร รวมตอพนท (FAR) เทากบ 7 ซงท�าใหอาคารเกาทมคณคาทตงอยในพนททมโอกาสถกรอท�าลายสง หากไมมมาตรการปกปองทเหมาะสม นอกจากนนการก�าหนดพนทโดยรอบสถานรถไฟฟาในระยะ 500 เมตรสามารถสรางอาคารขนาดใหญไดมากขน ท�าใหโอกาสในการรอท�าลายชมชนและยานประวตศาสตรมสงขน ขณะทขอบญญตกรงเทพมหานครฯ พ.ศ.2542 ทก�าหนดความสงของอาคารตามระยะตางๆ ในพนทดงกลาว เปนการปกปองเฉพาะสภาพโดยรอบ “ศาสนสถาน” เทานน ไมครอบคลมถงการปกปองอาคารอนๆ ทมคณคาดวย สยามสมาคมฯ จงไดรวมกบ “เครอขายอนรกษมรดกวฒนธรรม” สมาคมอโคโมสไทย สมาคมอนรกษศลปกรรมและสงแวดลอม กรรมาธการอนรกษศลปสถาปตยกรรมสมาคมสถาปนกสยาม ในพระบรมราชปถมภ หลกสตรการจดการทางวฒนธรรม จฬาลงกรณมหาวทยาลย และเครอขายประชาชนตานคอรรปชน ไดสงหนงสอถงผวาฯ กทม. เรอง การอนรกษยานประวตศาสตรทตอเนองจากพนทกรงรตนโกสนทร โดยเสนอใหกรงเทพมหานครทบทวนมาตรการทางผงเมอง ทงขอก�าหนดการใชประโยชนทดน โดยเฉพาะในสวนของการใหสทธการพฒนาทเพมขนโดยรอบสถานรถไฟฟา 500 เมตรใหยกเวนสทธพเศษดงกลาวในพนททมความส�าคญทางประวตศาสตร หรอชมชนทมความส�าคญทางประวตศาสตร รวมถงปรบปรงหรอตราขอบญญต กทม.ทมวตถประสงคในการปกปองยานและชมชนประวตศาสตรแตละแหง โดยเฉพาะการหาม

รอถอนอาคารทมคณคาทางประวตศาสตร สถาปตยกรรม และศลปกรรม ซงท�าไดตามมาตรา 8 และ 9 แหงพรบ.ควบคมอาคาร พ.ศ.2522 โดยผานกระบวนการรบฟงความคดเหนอยางกวางขวางและการไดรบขอมลทถกตองอยางทวถง พรอมกบเรยกรองใหกรงเทพมหานครแสดงบทบาทมากขนในสงเสรมใหชมชนและยานประวตศาสตร สามารถด�ารงวถชวตและรกษาอาคารอยไดโดยการใหมมาตรการและแรงจงใจในลกษณะตางๆ เชน การจดท�าโครงการพฒนาชมชนทมการฟนฟอาคารเกาใหมสภาพดเหมอนในอดต หรอชวยเหลอในดานการบรณะซอมแซมตามหลกวชาการ เปนตน “กทม.เองกบอกวาการอนรกษไมสามารถท�าไดทงหมด และตองใหโอกาสนกพฒนาอสงหารมทรพยดวย กเลยเปนชองวางระหวางการอนรกษกบการพฒนา อนทจรงกรณแบบนเกดในหลายประเทศซงใชวธประกาศเปนยานประวตศาสตรใหชมชนกบรฐดแลรวมกน แตบานเราไมมระบบน ไมมระบบก�าหนดพนทอนรกษ ไมมระบบทใหชมชนลกขนมาดแลพนททางวฒนธรรมของตวเองได จรงๆ แลวกรงเทพมหานครสามารถออกเปน ขอบญญตกทม. เพอมาคมครองอาคารเกา ยานเกา ชมชนเกาได ซงสามารถจะท�าตอนไหนกไดและไมมหมดอาย เลยไปถงการคดเรอง การท�าโครงการตอเนอง อาจจะหางบประมาณมาตงเปนกองทนซอมแซมอาคารทมคณคา ถากทม.ใหความส�าคญกบตรงนกสามารถท�าได” ดร.ยงธนศร สรป เพอใหการพฒนากรงเทพมหานครเปนไปทงเพอประโยชนทางเศรษฐกจ คณภาพชวตของผอยอาศย ความภาคภมใจของเมอง ในฐานะแหลงมรดกทางวฒนธรรมทไมอาจสรางขนทดแทนได หากสญสนไปแลว

เรอง : ชาธป สวรรณทอง

เมองนไมม‘คน’(?)

การพฒนาเมอง โดยไมคดถงชมชนทมความส�าคญทางประวตศาสตร แลวในอนาคตเมองแบบนนจะเหลออะไรใหลกหลาน