บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่...

28
บทที3 ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา บทนี้จะกลาวถึงผลการศึกษาทางดานขอมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา โดยแยกเปน 3 สวน คือ ชุมชน โรงเรียน และปาไม ในสวนแรกเปนขอมูลทั่วไปของชุมชน ผูวิจัยไดนํ าเสนอขอมูลทั้งทางดานลักษณะ ทางกายภาพ ประวัติความเปนมา ประชากรและโครงสรางทางสังคม สภาพเศรษฐกิจ วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีในการอยูรวมกับปา และโครงสรางของชุมชน สวนที2 ขอมูลทั่วไปของปาไม ไดนํ าเสนอขอมูลดานลักษณะทางกายภาพ สภาพปาไม รูปแบบการใชประโยชนจากปา และสภาพการเปลี่ยนแปลงของปา สวนสุดทายเปนขอมูลทั่วไปของโรงเรียนประชาบํารุง โดยไดนําเสนอขอมูลดานประวัติ ความเปนมา บุคลากรและนักเรียนในโรงเรียน รูปแบบการสรางหลักสูตรทองถิ่น และการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนรวมกับชุมชน 1. ขอมูลทั่วไปของชุมชน ในสวนนี้จะเปนการอธิบายรายละเอียดเพื่อใหเกิดความเขาใจชุมชนตะโหมดมากยิ่งขึ้น ผู วิจัยไดแบงการอธิบายออกเปนหัวขอตาง ไดแก ลักษณะทางกายภาพ ประวัติความเปนมา ประชากรและโครงสรางทางสังคม สภาพเศรษฐกิจ วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีในการอยู รวมกับปา และศักยภาพของชุมชน โดยมีรายละเอียดดังนี1.1 ลักษณะทางกายภาพ ชุมชนตํ าบลตะโหมดมีที่ตั้งและอาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ ดังนี1.1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต ชุมชนตะโหมดมีพื้นที่ตั้งอยูที่ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 51

Upload: others

Post on 03-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

บทที่ 3

ขอมูลท่ัวไปของพื้นที่ศึกษา

บทนีจ้ะกลาวถึงผลการศึกษาทางดานขอมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา โดยแยกเปน 3 สวน คอื ชุมชน โรงเรียน และปาไม

ในสวนแรกเปนขอมูลทั่วไปของชุมชน ผูวิจัยไดนํ าเสนอขอมูลทั้งทางดานลักษณะทางกายภาพ ประวัติความเปนมา ประชากรและโครงสรางทางสังคม สภาพเศรษฐกิจ วิถีชีวิต วฒันธรรมและประเพณีในการอยูรวมกับปา และโครงสรางของชุมชน

สวนที ่ 2 ขอมลูทัว่ไปของปาไม ไดน ําเสนอขอมลูดานลกัษณะทางกายภาพ สภาพปาไม รูปแบบการใชประโยชนจากปา และสภาพการเปลี่ยนแปลงของปา

สวนสดุทายเปนขอมูลทั่วไปของโรงเรียนประชาบํ ารุง โดยไดนํ าเสนอขอมูลดานประวัติความเปนมา บุคลากรและนักเรียนในโรงเรียน รูปแบบการสรางหลักสูตรทองถ่ิน และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรวมกับชุมชน

1. ขอมูลท่ัวไปของชุมชน

ในสวนนี้จะเปนการอธิบายรายละเอียดเพื่อใหเกิดความเขาใจชุมชนตะโหมดมากยิ่งขึ้น ผูวจิยัไดแบงการอธิบายออกเปนหัวขอตาง ๆ ไดแก ลักษณะทางกายภาพ ประวัติความเปนมา ประชากรและโครงสรางทางสังคม สภาพเศรษฐกิจ วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีในการอยูรวมกบัปา และศักยภาพของชุมชน โดยมีรายละเอียดดังนี้

1.1 ลักษณะทางกายภาพชุมชนต ําบลตะโหมดมีที่ตั้งและอาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ ดังนี้1.1.1 ท่ีตั้งและอาณาเขต ชุมชนตะโหมดมีพื้นที่ตั้งอยูที่ตํ าบลตะโหมด อํ าเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

51

Page 2: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

52

ต ําบลตะโหมดตั้งอยูทางทิศตะวันตกของที่วาการอํ าเภอตะโหมด โดยตั้งอยูหางออกไปประมาณ 8 กโิลเมตร ไปตามถนนสายแมขรี – ตะโหมด และถนนแมขรี – โหละจันกระ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 96,315 ไร (สํ านกังานเกษตรอ ําเภอตะโหมด, 2545: 3-10) มอีาณาเขตตดิตอพืน้ทีต่าง ๆ ดงัภาพประกอบ 2 ในบทที่ 1 โดยมีอาณาเขตติดตอดังนี้

ทิศเหนือ ติดตอ ต ําบลโคกมวง อํ าเภอเขาชัยสน และตํ าบลลองเฉลิม อํ าเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

ทิศใต ติดตอ ต ําบลคลองใหญ อํ าเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุงและแนวเทือกเขาบรรทัด

ทศิตะวันออก ติดตอ ต ําบลแมขรี ตํ าบลคลองใหญ อํ าเภอตะโหมดจงัหวัดพัทลุง

ทศิตะวันตก ติดตอ แนวเทือกเขาบรรทัด ซ่ึงกั้นพรมแดนระหวางจงัหวดัพัทลุงกับจังหวัดตรังและจังหวัดสตูล

1.1.2 ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ ก. ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของตํ าบลตะโหมดตั้งอยูเชิงเขา

บริเวณทางดานทศิตะวนัออกของแนวเทอืกเขาบรรทดั โดยสภาพพืน้ทีจ่ะลาดตํ ่าไปทางทศิตะวนัออก มกีารสลบักันของเนินเขาเตี้ย ๆ และพื้นที่ราบ สวนบริเวณที่ตั้งของชุมชนเปนที่ราบ ทํ าใหพื้นที่แถบนีค้อนขางอุดมสมบูรณไปดวยปาไมและแมนํ้ าลํ าคลอง สภาพพื้นที่มีความเหมาะสมสํ าหรับการทํ านาขาว ทํ าสวน เนื่องจากมีลํ าคลองไหลผานถึง 4 สาย คือ คลองตะโหมด คลองกง คลองหัวชาง และคลองโหละจังกระ ซ่ึงลํ าคลองเหลานี้ลวนมีตนนํ้ าอยูที่เทือกเขาบรรทัด

ข. ลักษณะภูมิอากาศ สํ าหรับลักษณะภูมิอากาศตามที่สํ านักงานชลประทานจงัหวัดพัทลุง (พีระชัย สุขเกื้อ และคณะ, 2538: 10) ไดกลาวไววาจังหวัดพัทลุงมีปริมาณนํ้ าฝนเฉลีย่ตลอดป 2,473.6 มลิลิเมตร มอุีณหภมูเิฉลีย่ตลอดป 27.57 องศาเซลเซยีส ความชืน้สมัพทัธเฉลี่ย 75.57 % พืน้ทีน่ีอ้ยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมประจํ า 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทํ าใหจังหวัดพัทลุงมีฤดูกาลเพียง 2 ฤดู คือ

ฤดรูอน เร่ิมตนตั้งแตเดือนกุมภาพันธ - กลางเดือนพฤษภาคม ในชวงฤดูรอนจะมีอากาศไมรอนอบอาวมากนัก เพราะไดรับอิทธิพลของกระแสลมและไอนํ้ าจากทะเลบริเวณใกลเคียงชวยคลายความรอนของอากาศลงได อากาศรอนที่สุด คือเดือนเมษายน โดยมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33.5 องศาเซลเซียสและมีความชื้นสัมพัทธตํ่ าสุดเฉลี่ย 72.40 %

ฤดฝูน เร่ิมตนตัง้แตกลางเดอืนพฤษภาคม – มกราคม ในฤดฝูนจะแบงออกเปน 2 ชวง คอื ฤดูฝนชวงแรกจะเริ่มในเดือนพฤษภาคม โดยปริมาณนํ้ าฝนในชวงนี้ไดรับอิทธิพลของ

Page 3: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

53

ลมมรสมุตะวันตกเฉียงใต ซ่ึงมีปริมาณนํ้ าฝนนอยกวาชวงที่ 2 และสํ าหรับฤดูฝนชวงที่ 2 นี้จะเร่ิมตนในเดือนพฤศจิกายน เนื่องจากไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มีปริมาณฝนตกมากทีสุ่ดในเดอืนพฤศจกิายนเฉลีย่ 990.3 มลิลิเมตร และฝนตกนอยทีสุ่ดในเดอืนมกราคมเฉลี่ย 31.4 มลิลิเมตร อุณหภมูติํ ่าสดุเดอืนมกราคมเฉลีย่ 21.0 องศาเซลเซยีส และความชืน้สมัพทัธสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน เฉลี่ย 83.70 %

1.2 ประวัติความเปนมาประวตัคิวามเปนมาของชมุชนตะโหมด จะน ําเสนอเปน 2 ประเดน็ คอื ความเปนมา

ของชือ่ตะโหมด และความเปนมาในการตั้งถ่ินฐานของชุมชน (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 5-6) โดยมีรายละเอียดดังนี้

1.2.1 ความเปนมาของชื่อ “ตะโหมด” ความเปนมาของค ําวา “ตะโหมด” จากขอมลูค ําบอกเลาสนันษิฐานไดวาตะโหมด

มาจาก 2 แนวทาง คือ ก. มาจากคํ าวา “ตระ” ตระเปนชื่อของชองเขา ซ่ึงเปนเสนทางโบราณที่ใช

เดินทางจากอํ าเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง โดยขามเทือกเขาบรรทัดโดยผานชองเขาซึ่งเรียกวา ชองเขาตระ และออกสูชองเขาหัวชาง ตํ าบลตะโหมด

ข. มาจากค ําวา “โตะหมดู” จากค ําบอกเลาของทานผูเฒาวาผูทีเ่ขามาตัง้หลักฐานคร้ังแรกเปนคนไทยมสุลิม เพราะปรากฏหลกัฐานหลายอยางทีม่สีวนเกีย่วของกบัชือ่ของชาวไทยมุสลิม เชน นาปะเจะ (ทีต่ัง้ของโรงเรยีนวดัตะโหมดปจจบุนั) นาโคกแขกเจย หนองโตะออน หนองโตะโลง หวยโตะเล็ม โคกสุเหรา (ที่วัดตะโหมดปจจุบัน) และหวยทุงแขก เปนตน คํ าวา “ตะโหมด” ก็เรียกเพีย้นมาจากโตะหมูด ซ่ึงเปนผูนํ าชาวไทยมุสลิมคนแรกที่เขามาตั้งถ่ินฐานอยูในตะโหมด

1.2.2 ความเปนมาในการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ชุมชนบานตะโหมดเปนชุมชนเกาแกมีประวัติความเปนมาตั้งแตสมัยอยุธยา

ตอนตน โดยมีหลักฐานจากตํ านานที่เลากันมาจากผูเฒาผูแก และหลักฐานจากวัตถุโบราณคดีที่คนพบโดยมีรายละเอียด ดังนี้

ก. ตํ านานที่เลากันมาจากผูเฒาผูแก กลาวถึงเสนทางคาขายของชาวอินเดีย ซ่ึงเดนิทางมาจากฝงทะเลอันดามัน (บริเวณอํ าเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง) ซ่ึงเปนเมืองทาที่สํ าคัญทางชายฝงทะเลอันดามัน ขามเทือกเขาบรรทัดทางชองเขาตระ ผานชุมชนตะโหมดบริเวณบานเขาหัวชาง ซ่ึงมีลํ าคลองหัวชาง (คลองโหละหนุน) คลองสายนี้ไหลไปรวมกับคลองสายอื่นแลวไหลลงสูทะเลสาบสงขลา บริเวณอํ าเภอบางแกว จังหวัดพัทลุง ซ่ึงเสนทางสายนี้จะใชเดินทาง

Page 4: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

54

ไปขึน้ทีเ่มอืงสทงิพระหรอืสทงิพาราณส ี(อํ าเภอสทงิพระ จงัหวดัสงขลา ปจจบุนั) ในทางฝงอาวไทย จากการเดนิทางดวยเสนทางดังกลาวเกิดมีชุมชนเล็ก ๆ ขึ้น และพัฒนาเปนชุมชนบานตะโหมดในปจจบุนั โดยมีรองรอยทางโบราณคดีที่ปรากฏหลงเหลืออยูในปจจุบัน นอกจากนี้มีทาวัด เปนชื่อทานํ ้าของบานหัวชาง และถ้ํ าพระอยูบริเวณเขาหัวชาง ซ่ึงเปนทางผานของเสนทางเดินนี้ และเสนทางสายนี้ก็ยังเปนเสนทางที่ชาวบานใชเปนเสนทางเดินปาลาสัตวและหาของปาจากตะโหมดไปยงัฝงตะวันตกของเทือกเขาบรรทัดอยูจนถึงปจจุบันนี้

ข. หลักฐานจากวตัถโุบราณคดท่ีีคนพบ จากหลกัฐานทีป่รากฏเชือ่วาบานตะโหมดเปนชมุชนเกาแกมีมาตั้งแตสมัยอยุธยา เชน พบพระพุทธรูปสํ าริดปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง 20 เซนตเิมตร เปนศิลปะอูทอง ขุดพบภายในสระนํ้ าของวัดเหนือ (ราง) ซ่ึงเปนวัดที่อยูทางทิศใตของวดัตะโหมดหางกันไมมากนัก และมีวัดถ้ํ าพระเปนวัดรางตั้งอยูที่เขาพระ บริเวณบานหัวชาง ต ําบลตะโหมด ซ่ึงติดกับเขาหลักไกและเขาตีนปา เปนวัดที่สรางขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ปรากฏหลักฐานในบันทึกของเพลาวัดเขียนบางแกววาเปนวัดหนึ่ง ขึ้นกับคณะปาแกวหัวเมืองพัทลุง บริเวณวดัมถ้ํี าแหงหนึ่งเรียกวาถ้ํ าหัวชาง ปากถํ้ าหันไปทางทิศใต เดิมภายในถํ้ ามีพระพุทธรูปปนปางไสยาสนหนึ่งองคขนาดยาวประมาณ 14 เมตร ฐานพระมีรูปชางปูนปนโผลแบกฐานเจ็ดเชือก และมพีระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย พระพุทธรูปไมจํ าหลักอีกหลายองค แตนาเสียดายพระพุทธรูปเหลานีไ้ดถูกทํ าลายไปประมาณ พ.ศ. 2484 นอกจากนี้ไดมีการพบขวานหินขัดหรือขวานหินทบุเปลือกไมเพื่อนํ ามาทอผา โดยพบที่โหละจังกระ ตํ าบลตะโหมด

ค. จากค ําบอกเลา หลกัฐานทางวตัถโุบราณและเอกสาร จากค ําบอกเลา หลักฐานทางวัตถุและเอกสารตามที่สภาลานวัดตะโหมด (2543: 11) ไดอธิบายไวสามารถสรุปไดวาชุมชนนี้คงจะเกดิขึน้ในสมัยอยุธยา จนกระทั่งในป พ.ศ. 2382 เกิดเหตุการณของสงครามกบฎระหวางไทรบรีุและหัวเมืองภาคใตของไทย (พัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา) ทางเมืองพัทลุงไดใหพระปลดั (จุย จันทโรวงศ) เปนแมทัพคุมกองทัพไปรบ โดยตั้งทัพที่เมืองสตูล ผลการรบครั้งแรกไทยมกี ําลังนอยจงึถอยทพักลับ ตอมาไดรวบรวมก ําลังพลใหมแลวกลับไปรบอกีครัง้ โดยพวกกบฎตัง้คายอยูชิดสตูลและไดใหกองโจรเขามาสอดแนมทางเขาสอยดาวถึงบานตะโหมด บานทาชะมวง บานปาบอน ผลการรบครั้งนี้ฝายไทยตีกบฎแตกหนีไป หลังจากนั้นพระปลัด (จุย) ไดเดินทางมาพกัทีน่ํ ้าตกในตะโหมด ตอมาภายหลังชาวบานเรียกนํ้ าตกนี้วา “นํ้ าตกหมอมจุย” และในเหตุการณปราบกบฎครัง้นีไ้ดมผูีน ําชมุชนของบานตะโหมดไดเขารวมจ ํานวน 5 ทาน ภายหลังจากการเกดิกบฎนี้ปรากฏวารัชกาลที่ 3 ทรงโปรดเกลาใหพระปลัด (จุย) ไดเปนพระยาอภัยบริรักษจักราวิชิตพิพิธภักดีพริิยพาหะในตํ าแหนงผูวาราชการเมืองพัทลุง

Page 5: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

55

จากหลกัฐานขางตนแสดงวาชุมชนตะโหมดเปนชุมชนดั้งเดิมที่มีการพัฒนาเรื่อยมาตัง้แตสมัยกรุงศรีอยุธยา

1.3 ประชากรและโครงสรางทางสังคมขอมลูเกี่ยวกับประชากรและโครงสรางทางสังคม แยกออกเปนหัวขอตาง ๆ คือ

ประชากร ลักษณะการปกครอง การศึกษา ศาสนา และสาธารณูปโภค โดยผลการศึกษามีดังนี้1.3.1 ประชากร ต ําบลตะโหมด มจี ํานวนประชากร ทัง้หมด 8,972 คน แยกเปนผูชาย 4,445 คน

ผูหญิง 4,527 คน มีจํ านวนครัวเรือนทั้งหมด 1,700 ครัวเรือน สวนใหญเปนครอบครัวเดี่ยว แตจะสรางบานในบริเวณเดียวกันหรือใกลเคียงกับบานของพอแม แตละหมูบานมีจํ านวนครัวเรือนและประชากรชาย- หญิง ดงัแสดงในภาพประกอบ 6 (สํ านกังานเกษตรอ ําเภอตะโหมด, 2545: 16)

ภาพประกอบ 6 จ ํานวนครัวเรือนและประชากรชาย-หญิง ของแตละหมูบานในตํ าบลตะโหมด ที่มา : สํ านักงานเกษตรอํ าเภอตะโหมด, 2545: 16

จํานวนครัวเรือนและประชากรชาย-หญิง ของแตละหมูบานในตําบลตะโหมด

05 0

1 0 01 5 02 0 02 5 03 0 03 5 04 0 04 5 05 0 0

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2หมูบ าน

จํานวน

ครัวเรือนชายหญิ ง

Page 6: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

56

1.3.2 ลักษณะการปกครอง จากการศกึษาพบวาต ําบลตะโหมดในปจจบุนัมกีารปกครองแบงออกเปน 2 แบบ

(สม อักษรพันธ สัมภาษณ, 25 ตุลาคม 2544) คือ ก. การปกครองสวนภูมิภาค สามารถแบงพื้นที่ของตํ าบลตะโหมดออกเปน

12 หมูบาน ดังนี้ตอไปนี้หมูที่ 1 บานทุงโพธ์ิหมูที่ 2 บานหัวชางหมูที่ 3 บานตะโหมดหมูที่ 4 บานโพธิ์หมูที่ 5 บานคลองนุยหมูที่ 6 บานโหละจันกระหมูที่ 7 บานควนอินนอโมหมูที่ 8 บานโหละเหรียงหมูที่ 9 บานปาพงหมูที่ 10 บานทุงสบายหมูที่ 11 บานนาสองหมูที่ 12 บานในโปะ

ข. การปกครองสวนทองถิ่น ประกอบไปดวยเทศบาลตํ าบลตะโหมด และองคการบริหารสวนตํ าบลตะโหมด

ค. สถานศึกษา ชาวตะโหมดไดใหความสํ าคัญตอการศึกษามาตั้งแตอดีต โดยสังเกตจากแตละครอบครวัไดมกีารสงเสรมิและสนบัสนนุใหลูกหลานไดศึกษาเลาเรียนอยางเต็มความสามารถ เมื่อจบการศึกษาแลวบางคนก็ไปประกอบอาชีพอยูในทองถ่ินอื่น แตบางคนกลับมาประกอบอาชพีอยูในชมุชนตะโหมด ปจจบุนัชมุชนนีม้สีถานศกึษาซึง่ประกอบดวย ศนูยพฒันาเดก็เล็ก จ ํานวน 2 แหง คือ หมูที่ 7 และ 12 มีโรงเรียนในสังกัดสํ านักงานการประถมศึกษาอํ าเภอตะโหมด จ ํานวน 4 แหง โดยเปนโรงเรียนในระดับประถมศึกษา จํ านวน 3 แหง คือ โรงเรียนวัดตะโหมด โรงเรยีนบานหวัชางและโรงเรยีนบานวดัควนอนินอโม และเปนโรงเรยีนขยายโอกาสทางการศึกษา จ ํานวน 1 แหง คอื โรงเรียนวดัโหละจนักระ และมโีรงเรียนในสงักดัส ํานกังานสามญัศกึษาจงัหวดัพทัลุง จ ํานวน 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนประชาบํ ารุง (สํ านักงานการประถมศึกษาอํ าเภอตะโหมด, 2545: ปายนเิทศ) โดยไดน ําเสนอผลการศกึษาจ ํานวนนกัเรยีนแตละโรงเรยีนในต ําบลตะโหมดไดดงัตาราง 1

Page 7: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

57

ตาราง 1 จํ านวนนักเรียนของแตละโรงเรียนในตํ าบลตะโหมด

สังกัด / ชื่อโรงเรียน จํ านวนนักเรียนสํ านักงานการประถมศึกษา อํ าเภอตะโหมด 1. โรงเรียนวัดตะโหมด 505 2. โรงเรียนบานหัวชาง 287 3. โรงเรียนบานวัดควนอินนอโม 262 4. โรงเรียนวัดโหละจันกระ 193สํ านักงานสามัญศึกษา จังหวัดพัทลุง 1. โรงเรียนประชาบํ ารุง 551

รวม 1,800

ที่มา : สํ านกังานการประถมศึกษา อํ าเภอตะโหมด ปายนิเทศ, 10 มิถุนายน 2545;โรงเรียนประชาบํ ารุง, 2544: 9

นอกจากนี้แลวชุมชนตะโหมดไดมีการจัดการเรียนการสอนในสวนที่เกี่ยวของกบัทางศาสนาดวย คอื วดัตะโหมดไดจดัการเรยีนการสอนใหเยาวชนในชมุชนไดมกีารศกึษาหลกัธรรมในพระพทุธศาสนา โดยเริ่มดํ าเนินการตั้งแต พ.ศ. 2522 ซ่ึงไดจัดการเรียนการสอนและจัดใหมีการสอบธรรมศกึษาเปนประจ ําทกุป สวนพระนวกะทีท่ ําการอปุสมบททีว่ดัตะโหมดกจ็ะมกีารสงเสริมและสนบัสนุนใหสอบธรรมสนามหลวงทุกรูป เพื่อใหคนเปนคนที่สมบูรณยิ่งขึ้น สํ าหรับในสวนของชาวมุสลิมไดมีการจัดการเรียนการสอนใหลูกหลานไดเรียนรูเกี่ยวกับหลักคํ าสอนของศาสนาอิสลามดวย ฉะนั้นจึงเห็นวาชาวตะโหมดสวนใหญจะไดรับการศึกษาทั้งในสวนของทางโลกและทางธรรมตลอดมา (พระครูสังฆรักษวิชาญ ปสนน จิตโต สัมภาษณ, 27 ตุลาคม 2544)

ง. ศาสนา ชาวตะโหมดสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ คิดเปนรอยละ 60 ของจ ํานวนครัวเรือนทั้งหมด รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม คิดเปนรอยละ 40 ของจํ านวนครัวเรือนทั้งหมด สํ าหรับในชุมชนนี้ พบวามีวัดจํ านวน 2 แหง คือ วัดตะโหมด และวัดโหละจังกระ และมีมัสยิด จํ านวน 5 แหง คือ มัสยิดควนอินนอโม มัสยิดบานหัวชาง มัสยิดหนูหรนฮูดา (บานคลองนุย) มัสยิดสมบูรณศาสน (บานโหละเหรียง) และมัสยิดบานหวยหาร (สํ านักงานศกึษาธิการอํ าเภอตะโหมด, 2545: 3)

จ. สาธารณูปโภค สาธารณูปโภคสามารถแยกอธิบายเปน เสนทางคมนาคม ประปา ไฟฟา และโทรศัพท โดยมีรายละเอียดดังนี้

Page 8: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

58

1. เสนทางคมนาคม เสนทางคมนาคมของตํ าบลตะโหมดมีการใชถนนสายตาง ๆ (สํ านักงานเกษตรอํ าเภอตะโหมด, 2545: 5) ดังนี้

1.1 ถนนสายแมขรี- ตะโหมด เปนถนนลาดยาง ยาว 12 กิโลเมตร เร่ิมตนจากถนนเพชรเกษม บริเวณตลาดแมขรี ไปบรรจบกับถนนสายปาบอน – กงหรา บริเวณหมูที ่4 และ 12 ตํ าบลตะโหมด ถนนสายนี้เปนถนนสายหลักของตํ าบล คนในหมูที่ 1, 3, 4 และ12 ใชในการเดินทางและขนสงผลผลิตของตํ าบล สามารถใชเดินทางไดตลอดป แตบางปจะประสบภัยนํ้ าทวมในชวงเดือนธันวาคม

1.2 ถนนสายแมขรี – โหละจันกระ เปนถนนลาดยาง ยาว 18 กิโลเมตร เร่ิมตนจากตลาดแมขรี ไปบรรจบกับถนนสายปาบอน – กงหรา บริเวณหมูที่ 9 ตํ าบลคลองเฉลิม ซ่ึงผานหมูที่ 7 และ 8 เปนถนนสายสํ าคัญในการเดินทางและการขนสงผลผลิตซ่ึงสามารถเดินทางผานไดตลอดป จะประสบปญหานํ้ าทวมในชวงเดือนธันวาคม

1.3 ถนนสายปาบอน – กงหรา เปนถนนลาดยาง ผานหมูที่ 2, 4, 5, 6, 9 ระยะทางยาว 10 กิโลเมตร เดินทางผานไดตลอดป แตประสบปญหานํ้ าทวมทุกปในชวงประมาณเดือนธันวาคม

1.4 ถนนสายตะโหมด – นํ ้าตกลานหมอมจุย เปนถนนคอนกรตีและดนิลูกรัง ระยะทางยาว 4 กโิลเมตร ใชขนสงผลผลิตจากไรนาสูตลาด ใชงานไดตลอดปนํ ้าไมทวม

1.5 ถนนสายคลองนุย – ควนอินนอโม เปนถนนดินระยะทาง 2 กิโลเมตร ใชในการขนสงผลผลิตการเกษตรสามารถใชงานไดตลอดป ประสบปญหานํ้ าทวมประมาณเดือนธันวาคม

1.6 ถนนสายหัวชาง – โหละเหรียง เปนถนนคอนกรีตและดินลูกรังระยะทางยาว 2.5 กิโลเมตร ใชงานไดตลอดป ใชในการสัญจรระหวางหมูบานและขนสงผลผลิตทางการเกษตร ประสบปญหานํ้ าทวมประมาณเดือนธันวาคม

1.7 ถนนสายอื่น ๆ ในหมูบานตํ าบลตะโหมด ซ่ึงเชื่อมโยงประสานกนัสวนใหญใชงานไดตลอดปเวนในชวงนํ ้าทวม ถนนสายตาง ๆ ใชในการเดนิทางระหวางหมูบานและขนสงผลผลิตทางการเกษตร

จะเห็นวาการคมนาคมของตํ าบลตะโหมดอยู ในระดับที่สามารถเชือ่มโยงกันได มีความสะดวกในการเดินทางและการขนสงผลผลิตสูตลาดของชุมชน ทองถ่ิน และตลาดภายนอกตํ าบลได

Page 9: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

59

2. ประปา ประชากรในพื้นที่ตํ าบลตะโหมดมีประปาใชทุกหมูบาน แตมีใชไมครบทุกครัวเรือน นํ้ าประปาเปนประปาภูเขา มีนํ้ าใสสะอาด โดยมีตนนํ้ ามาจากนํ้ าตกลานหมอมจุย เร่ิมใชมาตั้งแต พ.ศ 2533 (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 9)

3. ไฟฟา เร่ิมใชไฟฟา เมื่อ พ.ศ. 2523 โดยไดมีการขยายเขตไฟฟาแรงสูงจากแมขรีมาใชในหมูบาน ซ่ึงการดํ าเนินการนั้นชาวบานไดรวมสมทบเงินสวนหนึ่งสํ าหรับเปนคาใชจายในครั้งนี้ดวย จนกระทั่งในปจจุบันนี้ไดใชไฟฟาชนบท ทํ าใหประชากรในพื้นที่ตํ าบลตะโหมดมไีฟฟาใชทุกหมูบาน แตไมครบทุกครัวเรือน (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 9)

4. โทรศพัท ประชากรในพื้นที่ตํ าบลตะโหมดมีโทรศัพทใชในหมูที่ 1, 3, 4, 5, 9, 11, 12 และมตีูโทรศัพทสาธารณะใชเกือบทุกหมูบานยกเวนหมูที่ 2 (สํ านักงานเกษตรอํ าเภอตะโหมด, 2545: 8)

1.4 สภาพเศรษฐกิจสภาพเศรษฐกิจของชุมชนตะโหมด ไดแยกอธิบายเปนสวน ๆ คือ อาชีพ รายได

และการใชที่ดิน โดยสามารถอธิบายผลการศึกษาไดดังนี้1.4.1 อาชีพ ประชากรสวนใหญของต ําบลตะโหมดประกอบอาชพีเกษตรกรรม คดิเปน 80 %

อาชีพคาขายและรับราชการ คิดเปน 15 % และอาชีพรับจางและอื่น ๆ 5 % (องคการบริหารสวนตํ าบลตะโหมด, 2544: 2) โดยสภาลานวัดตะโหมด (2543: 4) ไดอธิบายไววาการประกอบอาชีพเกษตรกรรมนั้นจะเปนการทํ านา ทํ าสวน และทํ าไร เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้มีทั้งพื้นที่ราบสลับกับเนนิเขาเตี้ย ๆ มีการทํ านาเพื่อพอรับประทานในครอบครัว บางสวนมีการทํ านาเพื่อขายบางแตเปนเพยีงสวนนอยเทานั้น มีการทํ าสวนผลไมเกือบทุกครัวเรือน ไมผลที่นิยมปลูก ไดแก ทุเรียน ลองกอง ลางสาด มงัคดุ สะตอ สมโชกนุ เปนตน ไมผลจากต ําบลตะโหมดจะมรีสชาตดิเีปนที่นิยมรับประทานของประชาชนทั้งภายในจังหวัดพัทลุงและจังหวัดใกลเคียง มีการปลูกพืชไรจํ าพวก ขาวโพด มันสํ าปะหลัง มันเทศ แตงกวาและถั่ว เปนตน

นอกจากนั้นยังพบวาบางครอบครัวมีการเลี้ยงสัตว เพื่อใชเปนอาหารและขายบางเลก็นอย สัตวที่เล้ียงไดแก วัว หมู เปด ไก และปลา เปนตน สวนอาชีพคาขาย สวนใหญเปนรานคาแบบขายของชํ าและขายของในตลาดนัดภายในชุมชนและชุมชนใกลเคียง

1.4.2 รายได รายไดของคนในชุมชนพบวาเปนรายไดจากการประกอบอาชีพการเกษตรเฉลีย่

ครัวเรือนละ 25,000 บาท/ป คดิเปนรอยละ 91.2 ของจ ํานวนครวัเรือนทัง้หมด และรายไดของคนที่

Page 10: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

60

ประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตรประมาณ 40,000 บาท/ป (รับจาง คาขาย พนักงานของรัฐ และผูมเีงนิไดประจ ํา) คดิเปนรอยละ 8.8 ของจ ํานวนครวัเรือนทัง้หมด (สํ านกังานเกษตรอ ําเภอตะโหมด, 2545: 16)

1.4.3 การใชท่ีดิน การใชทีด่นิในต ําบลตะโหมด มกัใชในการประกอบอาชพีทางการเกษตร โดยคน

ในต ําบลตะโหมดประมาณ 1,551 ครัวเรือน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย การใชที่ดินจึงมุงเนนการเพิ่มผลผลิตตอหนวยเปนสํ าคัญ จึงทํ าใหมีการใชที่ดินโดยไมค ํานงึถึงผลเสยีหายทีจ่ะเกดิขึน้ในอนาคตมากนกั สถานการณการใชประโยชนทีด่นิของตํ าบล เนือ่งจากพืน้ทีข่องต ําบลตะโหมดมทีัง้หมดประมาณ 96,315 ไร มกีารใชเพือ่การเกษตร จ ํานวนประมาณ 44,986 ไร คดิเปนรอยละ 46.69 ของพืน้ทีท่ัง้ต ําบลตะโหมด สวนใหญเกษตรกรใชท ําสวนยางพารา ไมผล นาขาว พืชไร ไมยืนตน พืชผัก เปนตน ตามลํ าดับ ในสวนที่เหลือจะเปนแหลงที่อยูอาศัยและพืน้ที่วางเปลา (สํ านักงานเกษตรอํ าเภอตะโหมด, 2545: 10-16) ดงัภาพประกอบ 7

ภาพประกอบ 7 ลักษณะการใชพื้นที่ในการเกษตรของตํ าบลตะโหมด ที่มา : ดดัแปลงจาก สํ านักงานเกษตรอํ าเภอตะโหมด, 2545: 10

แผนภูมิแสดงลักษณะการใชพื้นที่ในการเกษตร

0.70 %6.52 %14.60 %

75.33 %

0.41 %

0.60 %1.75 %0.08 %

ยางพารา

ไมผล

ทํานา

ไมยืนตน

ไรนาสวนผสม

พืชไร

พืชผกั

พ้ืนทีอ่ืน่ ๆ

Page 11: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

61

1.5 วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีในการอยูรวมกับปา ชาวตะโหมดทีม่าตัง้บานเรอืนในระยะเริม่แรกไดเขามาหกัรางถางพงบรเิวณพืน้ราบ

ทีต่ดิตอกับเชิงเขาใหเปนทุงนา อาศัยลํ านํ้ าที่เกิดจากเทือกเขาบรรทัดสํ าหรับการเพาะปลูก และอาศัยผลผลิตจากปาเพื่อการดํ ารงชีพ ชาวบานกับปาจึงมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด ชาวบานในสมัยกอนจึงใหความเคารพและนอบนอมตอผืนปาสูงมาก เกิดความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สํ านึกในบุญคุณและยํ าเกรงตอผืนปา เชน เชื่อวามีส่ิงศักดิ์สิทธิ์ที่เปนเจาปาเจาเขาจึงไมควรตัดไมขนาดใหญมาสรางบานเรอืน เพราะเชือ่วาเปนทีสิ่งสถติของสิง่ศกัดิสิ์ทธิ ์ สวนการลาสตัวเปนอาหารกต็องขอจากเจาปาเจาเขากอนเปนสํ าคัญ

สํ าหรับวถีิชีวติของชาวตะโหมดในการอยูรวมกบัปานัน้ พบวาชาวตะโหมดไดพึง่พิงปาในดานตาง ๆ คือ แหลงอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใชในชีวิตประจํ าวัน แหลงรายได และประเพณีความเชื่อซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

1.5.1 แหลงอาหาร ชาวตะโหมดไดหาของปาทั้งพืชและสัตวปามาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดย

ของปาทีห่าได เชน หมปูา สะตอปา ลูกทองบึง้ ขีค้อน ลูกเหรยีง ลูกกอ เปนตน ซ่ึงมรีายการอาหารทีข่ึน้ชือ่ของต ําบลตะโหมด เชน นํ ้าพริกใบธมัมงั ย ําดอกดาหลา ขาวย ํา แกงเลยีง แกงไตปลาใบธมัมังและแกงหยวก เปนตน (สมบูรณ ชวยราชการ สัมภาษณ, 1 มิถุนายน 2545)

1.5.2 ยารักษาโรค กมล ขนุจนัทร (สัมภาษณ 15 มถุินายน 2545) สรุปวาปาในต ําบลตะโหมดนั้น

มีสมุนไพรอยูหลายชนิดมาก ดังตัวอยางตัวยาที่ชาวบานในอดีตใชกันมากในการรักษาโรคพยาธิ และไขมาลาเรีย

ยาโรคพยาธิ มีตัวยาประกอบดวยลูกสะบา ลูกสะวาด นํ ามาเผาไฟใหสุกแลวนํ าไปกินยาไขมาลาเรีย (ไขจับสั่น) มีตัวยาประกอบ เชน ลูกขี้กา ขี้เหล็ก ไมกระดูกไก ไมไหลเผือก

ราชพฤกษ ใบระกา เปนตน1.5.3 เคร่ืองมือเคร่ืองใชในชีวิตประจํ าวัน เครื่องมือเครื่องใชในชีวิตประจํ าวันของชาวตะโหมดพบวามีการนํ าพืชที่มีอยู

ในปามาประดิษฐใหมีความเหมาะสมกับงานที่ตองการใช โดยสามารถแยกประเภทของเครื่องมือเครื่องใช (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 30-39) ซ่ึงผลการศึกษามีดังนี้

ก. เคร่ืองมอืดกัสตัวและการประกอบอาชพี เครือ่งมอืดกัสตัวและการประกอบอาชีพ เชน ไซ เร รานวิ่ง เชงเลง นาง คันเบ็ด ดามจอบ คันไถ กรงนกและอุปกรณจับปลา เปนตน

Page 12: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

62

ข. เคร่ืองใชในครัวเรือน เครือ่งใชในครัวเรือนสามารถแยกไดตามวัตถุดิบที่นํ ามาประดิษฐ คือ

1. นํ ้ามันยาง นํ ามาทํ าไต2. ไมไผ นํ ามาทํ าผลา สํ าหรับเปนแผงไวเก็บเกลือ ชอนตักขาวแกง วธีิการใชเปนการนํ าผลาไปตั้งใหสูงกวาระดับกองไฟในครัว เพือ่ปองกันการขึ้นราและแมลง3. ดนิเหนยีว ใชทํ าหมอขาว หมอแกง กอนเสา (สํ าหรับหุงตมอาหาร)4. หวาย ใชกั้นฝาบาน เชือก5. กะลามะพราว ใชทํ าไมพายกวนขาว ชอน และขันนํ้ า

ค. เคร่ืองใชสวนตัว เครือ่งใชสวนตัวสามารถแยกไดดังนี้ เชน1. ยาสระผม ท ํามาจากยานสะบา วธีิการท ํา คอื น ํายานสะบามาทบุใหแตก แลวนํ าไปใชไดเลย2. แปงทาหนา โดยการน ํานูด (นูด เปนตนไมชนดิหนึง่ประเภทเถาวลัย มี กล่ินหอม) ใชโดยการน ํามาตากแดดใหแหงและขดูใหเปนผงน ําไปทาหนา3. การแปรงฟน มีการนํ าทรายออนและเปลือกหมากมาใช

ง. เคร่ืองจักสาน เครือ่งจักสานสามารถยกตัวอยางตามวัตถุดิบ เชน1. ไมไผ สามารถน ํามาท ํากระดง ครกส ี หมวก ฝาบาน แอกวาว ลูกรอง ลูกลม เกราะ รอกชาง และกระบอกจมปลาไหล เปนตน2. ใบเตย นํ ามาใชทํ าโคระ แซง ลูกมุก และเสื่อ เปนตน3. คลุม นํ ามาใชทํ าของ นาง เสื่อ และตะกรา เปนตน4. คลา นํ ามาใชทํ าเสื่อ จากมุงหลังคาบาน เปนตน

1.5.4 แหลงรายได การหาของปาของชาวตะโหมดนัน้สวนใหญเปนการหามาเพือ่บรโิภคในครวัเรือน

แตบางครัง้หากเหลอืจากการบรโิภคกม็กีารน ําไปขายในตลาดทัง้ในและนอกชมุชน โดยส่ิงทีน่ ําไปขาย เชน หวาย ไมกฤษณา สะตอ นํ้ ามันยาง นํ้ าผ้ึง ลูกปละ เปนตน (วรรณ ขุนจันทร สัมภาษณ, 13 กรกฎาคม 2545)

1.5.5 ประเพณีและความเชื่อ สํ าหรับประเพณีและความเชื่อของชาวตะโหมดในการอยูรวมกับปานั้นได

ยกตวัอยางเกีย่วกบัประเพณสีองศาสนา ประเพณยีอนยคุ การเกดิ การตาย และการปนหงสจากขี้ผ้ึง (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 37-38) โดยสามารถอธิบายผลการศึกษาไดดังนี้

Page 13: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

63

ก. ประเพณีสองศาสนา เนือ่งจากชุมชนตะโหมดมีสถานที่ที่เปนสุสานมุสลิมและเชงิตะกอนของผูทีน่บัถือศาสนาพทุธอยูรวมกนั ดงันัน้จงึมปีระเพณใีนการท ําบญุอทุศิสวนกุศลไปใหบรรพบุรุษ ซ่ึงประเพณีนี้ไดจัดรวมกันทั้งศาสนาพุทธและอิสลามในวันที่ 15 เดือนเมษายนของทกุป เปนการจดัพธีิในวนัดงักลาวเพราะเปนชวงทีม่ปีระเพณสีงกรานต ลูกหลานของชาวตะโหมดทีอ่ยูตางจงัหวดัไดมโีอกาสกลบัมาบานและสามารถรวมงานประเพณสีองศาสนาได (วรรณ ขนุจันทร สัมภาษณ, 30 มีนาคม 2545)

ข. ประเพณียอนยุค เปนประเพณีที่ชาวตะโหมดจัดขึ้นในคืนวันที่ 13 - 14 เดอืนเมษายนของทกุป ทีผ่านมาไดจดั 3 คร้ัง ซ่ึงประเพณนีีผู้ใหญในชมุชนตะโหมดรวมกนัแสดงวถีิชีวติในอดตีใหลูกหลานไดเหน็สภาพความเปนอยูในอดตี เชน การท ําไต การท ํานํ ้ามนัยาง การต ําขาว และการไถนาดวยวัว เปนตน (สวาท ทองรักษ สัมภาษณ, 30 มีนาคม 2545)

ค. การเกิด เมือ่มทีารกเกิดมีอายุไดประมาณ 3 วันก็จะนํ าเด็กขึ้นเปล ในพิธีนี้ไดมกีารน ํากอนหนิและทรายทองคลอง มาประกอบในพธีิดวย ซ่ึงกอนหนิ หมายถงึ ความแขง็แกรง และทรายทองคลอง หมายถึง การอยูเย็นเปนสุข (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 37-38)

ง. การตาย การตายในพิธีการอาบนํ้ าศพก็ไดมีการนํ านํ้ ามะพราวและยานสะบามาใชเปนสวนหนึ่งในการประกอบพิธีนี้ดวย (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 37-38)

จ. การปนหงสขี้ผึ้ง การปนหงสขี้ผ้ึงไดนํ าไปใชในการทํ าประทักษิณารอบอุโบสถ เปนเครื่องสักการะพระอุปชฌายตอนเขาหาพระอุปชฌายในวันอุปสมบท (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 37-38)

จากทีไ่ดกลาวมาแลวจะเหน็วา ปาไมมคีวามส ําคญัตอวถีิชีวติของชาวตะโหมดมาก ชาวตะโหมดบางสวนที่เห็นความสํ าคัญของปาไมจึงไดรวมกันดูแลปา นอกจากนั้นชาวตะโหมดยงัไดมกีารรักษาสิ่งแวดลอมโดยการปลูกเตย สาคู ไมไผ และปอ ไวในบริเวณริมนํ้ าเพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติของลํ าคลองใหสะอาดอยูเสมออีกทางหนึ่งดวย ดังนั้นจึงเห็นวาชาวตะโหมดมีวถีิชีวติในการอยูรวมกับปา ทั้งโดยการใชประโยชนและการรักษาปาไปพรอม ๆ กันดวย

1.6 โครงสรางของชุมชน 1.6.1 โครงสรางของความรวมมือแบบแนวราบในความสมัพนัธดานตาง ๆ ของชมุชน

เนือ่งจากชุมชนตะโหมดเปนความสัมพันธในระบบเครือญาติ มีความผูกพันกบัถ่ินฐานบานเกิดมาก สังเกตจากการงานประเพณีทํ าบุญวันสงกรานตและพิธีฝงลูกนิมิตที่มีคนตะโหมดที่ไปอาศัยอยูที่อ่ืนไดกลับมารวมทํ าบุญเปนจํ านวนมาก และจะเห็นวาคนที่อาศัยอยูในชุมชนตะโหมดจะใหการตอนรับเปนอยางดี

Page 14: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

64

จากทีชุ่มชนตะโหมดมีความสัมพันธกันแบบเครือญาติ โดยผูนอยเคารพผูใหญหรือผูอาวโุส ดงันัน้เมือ่เกดิปญหาความขดัแยงของเดก็หรือวยัรุน กจ็ะใหผูใหญทีท่ัง้สองฝายใหความไววางใจและรูความขดแยงเรือ่งนัน้ ๆ ดพีอสมควรไดรวมพจิารณาไกลเกลีย่ปญหา จงึถือเปนการสิน้สดุปญหาหรอืความขดัแยง (วรรณ ขนุจนัทร สัมภาษณ, 13 กรกฏาคม 2545) แตถาเปนเรือ่งใหญหรือเปนความขดัแยงของผูใหญกจ็ะใหผูทีท่ัง้สองฝายใหความเคารพหรอืใหทานเจาอาวาสวดัตะโหมด คือ พระครูอุทิตกิจจาทร เปนผูไกลเกลี่ยความขัดแยงให

สวนในกรณีที่เปนปญหาสวนรวมของชุมชน เชน ปญหาเสนทางคมนาคม ปญหาไมมีไฟฟาใช และปญหาที่ลูกหลานตองการเรียนระดับมัธยมตองเดินทางไปเรียนในตวัเมอืงพทัลุง เปนตน ชาวตะโหมดจะน ําปญหาดงักลาวมาพดูคยุในวดัตะโหมด โดยมผูีตดิตอประสานงาน คือ สภาลานวัดตะโหมด วิธีการพูดคุยก็จะเชิญชวนใหผูที่มีความสนใจไดเขามารวมแสดงความคดิเหน็เกีย่วกบัปญหาและวธีิการแกไขปญหารวมกนั อยางเชนเมือ่ พ.ศ. 2522 ชาวตะโหมดนํ าโดยพระครูอุทิตกิจจาทรไดนํ าปญหาที่ลูกหลานตองการเรียนระดับมัธยมตองเดินทางไปเรียนในตวัเมอืงพทัลุงซึ่งมีระยะทางไกลมาก มารวมกันแสดงความคิดเห็นและสรุปไดวาชาวตะโหมดตองการใหสรางโรงเรียนที่เปดสอนในระดับมัธยมศึกษาขึ้นในตํ าบลตะโหมด จากผลสรุปนี้ทางผูที่รับผิดชอบไดรวมแรงรวมใจในการติดตอประสานงานทั้งในหนวยงานราชการและชาวบาน จนกระทัง่สรางโรงเรียนสํ าเร็จโดยใหช่ือวา “โรงเรียนประชาบํ ารุง” (สวาท ทองรักษ สัมภาษณ, 13 กรกฎาคม 2545)

1.6.2 การรวมกลุมธรรมชาติ การเขารวมกิจกรรมของคนในชุมชนที่เปนกิจกรรมที่เปนกลุมตามธรรมชาติ

พบวาชมุชนตะโหมดมกีารรวมกลุมกนั ซ่ึงการรวมกลุมนีส้วนใหญเกดิจากความคดิของคนในชมุชน สามารถสรุปเปนกลุมตาง ๆ คือ กลุมเกษตรกรทํ านาตะโหมด กลุมสภาลานวัดตะโหมด กลุมปาชุมชนเขาหัวชาง และกลุมลํ าเนาไพร

ก. กลุมเกษตรกรท ํานาตะโหมด กลุมเกษตรกรท ํานาตะโหมดกอตัง้กลุมเกษตรกรท ํานาตะโหมดเริ่มตนแนวคิดเมื่อป พ.ศ. 2517 โดยนายเฉลียว ชนินทยุทธวงศ ผูใหญบานหมูที่ 3 ตํ าบลตะโหมดในขณะนั้น ไดชักชวนผูนํ ารวมกันจัดตั้งกลุมเกษตรกรทํ านาตะโหมด โดยไดจดทะเบยีนเปนนติบิคุคล เมือ่วนัที ่ 9 เดอืนกรกฎาคม พ.ศ. 2517 สมาชกิครัง้แรกประมาณ 67 คน กลุมนีม้วีตัถุประสงคเพื่อชวยเหลือพี่นองเกษตรกรทํ านาตะโหมดใหมีความเปนอยูที่ดีขึ้น (สภาลานวดัตะโหมด, 2543: 10)

การด ําเนนิงานปจจบุนัของกลุมเกษตรกรท ํานาตะโหมด มสํี านกังานตัง้อยู หมูที่ 3 ต ําบลตะโหมด มจี ํานวนสมาชกิประมาณ 876 คน และมเีงนิทนุหมนุเวยีนส ําหรับการบรหิารจดัการ

Page 15: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

65

ประมาณ 40 ลานบาท โดยคณะกรรมการดํ าเนินงานตองมาจากการเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญสามัญประจํ าป ๆ ละ 1 คร้ัง การทํ าธุรกิจของกลุมนี้มี 4 ประเภท คือ รับฝากเงินทั้งจากผูที่เปนสมาชิกและไมใชสมาชิก บริการสินเชื่อโดยการใหสมาชิกกูเงินเพื่อนํ าไปใชในการเกษตร รานคาส ําหรับจ ําหนายสนิคาทางการเกษตรและเครือ่งอปุโภคบรโิภคทัว่ไป และการรวบรวมผลผลิตของสมาชิกทั้งยางพาราแผนและผลไม โดยเฉพาะอยางยิ่งยางพาราแผนจะมีการดํ าเนินการทั้งแบบการเปนคนกลางในการรบัซือ้และการซือ้แบบแทรกแซงราคาเปนชวง ๆ ตามนโยบายของรฐับาล

สํ าหรับการทํ าธุรกิจนั้นจะมีพนักงานประจํ าคอยใหบริการลูกคาทุกวัน เวนวันหยุดราชการ การด ําเนินงานของกลุมเกษตรกรทํ านาบานตะโหมดมีความเจริญกาวหนาและไดรับรางวัลกลุมเกษตรกรดีเดนระดับประเทศจํ านวน 3 คร้ัง คือ เมื่อ พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 และ พ.ศ. 2535 (สมยศ ทองรักษ สัมภาษณ, 6 กุมภาพันธ 2545)

ข. กลุมสภาลานวดัตะโหมด มกีารจดัตัง้ในป พ.ศ. 2535 โดยมสํี านกังานตัง้อยูที่วัดตะโหมด มีปรัชญาในการทํ างานรวมกันวา “สรางปญญา พัฒนาสังคม ระดมความคิด เพื่อชีวิตประชาชน”

การจัดตั้งกลุมสภาลานวัดตะโหมด มีเหตุผลมาจากชาวบานตะโหมดเปนลักษณะชมุชนแบบเครอืญาต ิ มกีารไปมาหาสูท ํากจิกรรมตาง ๆ รวมกนัและมคีวามผกูพนัอยูกบัวัดตลอดมา เมื่อมีเร่ืองเดือดรอนหรือมีกิจกรรมของรายบุคคล หรือของชุมชนก็จะไปปรึกษาหารือกบัพระครอุูทิตกิจจาทร เจาอาวาสวัดตะโหมด ซ่ึงทานเปนบุคคลที่ชาวตะโหมดใหความเคารพ เชือ่ฟงและเปนศูนยรวมทางดานจิตใจ ดานกํ าลัง ในการพัฒนาของชาวตะโหมดเรื่อยมาจนกระทั่งในปลายป พ.ศ. 2538 บุคคลที่ไดมารวมทํ ากิจกรรมตาง ๆ อยูเปนประจํ ามีความเห็นตรงกันวาควรจะเชญิบคุคลในพืน้ทีท่กุสาขาอาชพี ซ่ึงอยูในเขตพทุธบรษิทัของวดัตะโหมดมารวมพบปะกนัที่วัด เดอืนละ 1 คร้ัง เปนการพูดคุยปรึกษาหารือถึงแนวทางการพัฒนาหมูบาน ตลอดจนความเปนอยูของประชาชน ซ่ึงจะพบปะกันหลังรับประทานอาหารเย็นเสร็จแลว โดยมีพระครูอุทิตกิจจาทร เจาอาวาสวัดตะโหมดเปนประธาน มีสมาชิกแรกเริ่ม 50 คน เรียกกิจกรรมที่มาปรึกษาหารือกันวา สภาลานวัดตะโหมด

เมือ่กลุมสภาลานวัดตะโหมดมีความพรอมเพิ่มขึ้น จึงไดมีการจัดทํ าขอบังคับของสภาลานวดั โดยมรูีปแบบโครงสรางการบรหิารและทศิทางทีชั่ดเจนตัง้แตเดอืนมถุินายน พ.ศ. 2541 โดยมพีระครสุูนทรกจิจานโุยค รองเจาอาวาสวดัตะโหมดเปนประธาน ปจจบุนัมสีมาชกิ จ ํานวน 150 คน

จากการจดัตัง้กลุมนี้ขึ้นมา จะเห็นวาไดทํ าใหสภาพความเปนอยูในชุมชนดีขึ้น อยางเชน การปฏิบัติงานกับหนวยงานของรัฐองคการตาง ๆ มีความเขาใจตรงกันและทุกคน

Page 16: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

66

สามารถดํ ารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข เนื่องจากกลุมสภาลานวัดตะโหมดมีวัตถุประสงคในการดํ าเนินการ คือ

1. เพื่อชวยเหลือและสนับสนุนในการพัฒนาชุมชนหมูบานในทุก ๆ ดาน ใหดียิ่งขึ้น2. เพือ่สนบัสนนุการปฏบิตังิานของเจาหนาทีข่องรฐั และองคการตาง ๆ ในพื้นที่3. เพื่อรักษาและสงเสริมการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม

ประเพณีที่ดีงามของทองถ่ิน4. เพื่อนํ าภูมิปญญาทองถ่ินมาประยุกตใชในการพัฒนาสภาพความเปนอยูให มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นสํ าหรับในวธีิการด ําเนนิการของสภาลานวดัไดแบงเปน 3 ฝาย คอื ฝายสมาชกิสภา

ฝายกรรมการบริหารสภา และฝายที่ปรึกษาของสภา มีการเลือกกรรมการฝายบริหารจากสมาชิกจ ํานวน 18 คน ทํ าหนาที่ประธานและผูชวยเลขานุการอยางละ 1 คน โดยฝายบริหารอยูในต ําแหนงคราวละ 2 ป มหีนาทีก่ ําหนดนโยบาย และแนวทางการด ําเนนิงานใหสอดคลองในเรือ่งตาง ๆ ตามงาน 4 ดาน คือ ดานสังคม ดานเศรษฐกิจ ดานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และดานสิง่แวดลอมและการทองเทีย่ว โดยแตละดานจะมกีารเลอืกสมาชกิจากสภาลานวดัเขาไปปฏบิตัิงานและรวมกันจัดทํ าแผนงานโครงการประจํ าป ประเมินผลและรายงานใหที่ประชุมทราบ (สภาลานวดัตะโหมด, 2543: 13, วรรณ ขุนจันทร สัมภาษณ, 5 กุมภาพันธ 2545)

ค. กลุมปาชุมชนเขาหัวชาง การกอตั้งกลุมปาชุมชนเขาหัวชาง เปนสวนที่เกดิผลตอเนือ่งมาจากการด ําเนนิงานของกลุมสภาลานวดัตะโหมด ในดานสิง่แวดลอมและการทองเที่ยว โดยกลุมปาชุมชนเขาหัวชางไดจัดตั้งเขตปาชุมชนเขาหัวชาง ซ่ึงมีวัตถุประสงคดังตอไปนี้

1. เพือ่ใชเปนแหลงศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ2. เพือ่ใชเปนแหลงศึกษาทางดานสมุนไพร3. เพือ่ใชเปนแหลงอาหารและยารักษาโรค4. เพือ่ใหเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา5. เพือ่เปนการสงเสริมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชน6. เพือ่ใหมีการจัดการปาไมแบบมีสวนรวมโดยชุมชนเปนผูดํ าเนินการ7. เพือ่ใชเปนแหลงที่พักผอนของชุมชนและการทองเที่ยวในเชิงอนุรักษ8. เพือ่การอนุรักษแหลงตนนํ้ าลํ าธารสํ าหรับพืน้ทีท่ีเ่ปนเขตปาชมุชนเขาหวัชางมพีืน้ทีท่ัง้หมดประมาณ 2,000 ไร

มอีาณาเขตติดตอพื้นที่ตาง ๆ ดังนี้

Page 17: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

67

ทิศเหนือ ติดตอ สํ านักงานโครงการสงเสริมและพัฒนาปาชุมชนในพื้นที่แนวกนัชนและปาสงวนแหงชาติ

ทิศใต ติดตอ ทีท่ํ ากินราษฎรและคลองกงทศิตะวันออก ติดตอ ที่ทํ ากินราษฎรทศิตะวันตก ติดตอ ทีท่ํ ากินราษฎรและคลองหัวชาง

การดํ าเนินงานของกลุมปาชุมชนเขาหัวชาง ปจจุบันมีนายจรัญ ราชราวี เปนประธานและมีกรรมการบริหารจํ านวน 15 คน โดยสมาชิกของกลุมไดรวมกันกํ าหนดหนาที่ของคณะกรรมการปาชุมชนเขาหัวชางไวดังนี้

1. เผยแพรความรูเร่ืองความสํ าคัญของการอนุรักษปาและสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งปาชุมชนเขาหัวชาง เกี่ยวกับประโยชนจากปาชุมชน และการอนุรักษ เพื่อใหคนในหมูบานใกลเคียงไดรับทราบ2. แจงใหราษฎรรับทราบถึงกฎขอตกลงและการบังคับใชตลอดจนโทษปรับ ตาง ๆ ในการละเมิดเขาไปกระทํ าความผิดในเขตปาชุมชนเขาหัวชาง3. จดัเวรยามสอดสอง ตรวจตราบริเวณปาชุมชนเปนประจํ าทุกเดือน4. บริหารและจัดการการใชประโยชนจากปาชุมชนโดยใหเอื้อประโยชน สูงสุดตอชุมชน5. พจิารณาการปลูกปาเสริมทดแทนตามความเหมาะสม6. เปนกลุมหลักในการประสานงานและดํ าเนินงานรวมกับหนวยงาน ภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนการอนุรักษปาและสิ่งแวดลอมใน แตละหมูบานตามความเหมาะสมการด ําเนินกิจกรรมของกลุมปาชุมชนเขาหัวชางในชวงที่ผานมา ซ่ึงไดรวมกัน

ด ําเนนิกจิกรรมตาง ๆ มาโดยตลอด แตละกจิกรรมจะด ําเนนิการหลายครัง้ อยางเชนในป พ.ศ. 2544 ตั้งแตเดือนกุมภาพันธถึงเดือนกันยายน ทางกลุมไดรวมทํ ากิจกรรมกลุมกันประมาณ 16 คร้ัง ซ่ึงสามารถสรปุไดดงันี ้ คอื การเดนิส ํารวจปาชมุชน ปดปายแนวเขตปาชมุชน ดแูลรักษาปาชุมชน เดนิส ํารวจศกึษาเสนทางธรรมชาต ิ พฒันาเสนทางศกึษาธรรมชาต ิ และพฒันาสถานทีจ่ดัคายพกัแรม

ง. กลุมลํ าเนาไพร ตั้งอยูในหมูที่ 6 บานโหละจังกระ กลุมลํ าเนาไพรไดท ํางานรวมกบักลุมอาสาสมคัรพทิกัษปามวีตัถุประสงคในการท ํางาน คอื เพือ่พทิกัษรักษาปา และท ําปาใหเปนแหลงเรยีนรู ปจจบุนัมจี ํานวนสมาชกิ 22 คน มกีารเลอืกคณะกรรมการขึน้มาทํ างาน สํ าหรับการด ําเนินงานของกลุมนี้ เชน การจัดการทองเที่ยวเชิงอนุรักษในบริเวณบานโหละจันกระ หนิลาน เขาเจด็ยอด เปนตน และการท ําธนาคารขาวสาร ซ่ึงกจิกรรมของกลุมนีไ้ดเงนิทนุหมนุเวียน

Page 18: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

68

เปนเงนิพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจา พระบรมราชินีนาถ จํ านวน 100,000 บาท ไดนํ าเงินมาใชในการลงทุนสํ าหรับเปนกองทุนธนาคารขาวสาร เพราะชุมชนในหมูที่ 6 บานโหล็ะจันกระขาดขาวสารในการบริโภค ดังนั้นหากจะจัดกิจกรรมอะไรจึงจํ าเปนตองดูแลเรื่องอาหารการกินใหพอเพยีงกอน แลวจึงจะสามารถพัฒนาอยางอื่นตอไปได และที่สํ าคัญการจัดใหมีธนาคารขาวสารกส็ามารถเปนแหลงรวบรวมขาวสารโดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องสภาพปาไมในชุมชนไดอีกทางหนึ่งดวย (นพรัตน ทิพยเศษ สัมภาษณ, 21 มกราคม 2545)

2 ขอมูลท่ัวไปของปาไม

ขอมูลทั่วไปของปาไมในการศึกษาครั้งนี้ไดแยกประเภทดังนี้ ลักษณะทางกายภาพ สภาพปาไม รูปแบบการใชประโยชนจากปาไม และสภาพการเปลี่ยนแปลงของปาไม กลาวคือ

2.1 ลักษณะทางภายภาพต ําบลตะโหมด อํ าเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง มีพื้นที่ติดเทือกเขาบรรทัด จึงมีพื้นที่

ปาไมอุดมสมบรูณ โดยมเีนือ้ทีป่าไมทัง้หมดประมาณ 44,986 ไร (สํ านกังานเกษตรอ ําเภอตะโหมด, 2545: 4) ซ่ึงอยูทางดานทศิตะวนัตกของชมุชน ปาไมในชมุชนมกีารแบงเปนเขตรกัษาพนัธุสัตวปาเทอืกเขาบรรทัดและปาสงวนแหงชาติ ซ่ึงมีหนวยงานราชการเปนผูกํ ากับดูแล โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของเขตปาสงวนแหงชาติไดรวมพื้นที่ของปาเขาหัวชาง ปาเขาตีนปา ปาเขาหลักไก และปาเขาพระ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 19.10 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของพื้นที่ปามลัีกษณะเปนเนินปกคลุมไปดวยปาทึบ มีความสูงจากระดับนํ้ าทะเลประมาณ 60 – 100 เมตร (พรีะชัย สุขเกื้อและคณะ, 2538: 4)

2.2 สภาพปาไมสภาพปาไมของชุมชนตะโหมดตามทีส่ภาลานวดัตะโหมด (2543: 15-16) ไดอธิบาย

ไวสามารถสรุปไดวาสภาพปาไมของชุมชนตะโหมดโดยทั่วไปแลวจะเปนลักษณะปาเขตรอน ชนิดปาดบิชืน้ ซ่ึงเปนปาทีเ่กดิขึน้ในบรเิวณทีม่ฝีนตกหนกัตลอดป หรือพืน้ทีท่ีม่คีวามชุมชืน้สงูมาก ลักษณะพืน้ทีม่ลํี าหวยอยูมาก ตนไมมขีนาดสงูใหญ และมกัจะมพีพูอนชวยคํ ้าลํ าตนไว บริเวณสวนของล ําตนจะมีกลวยไมและเฟรนเกาะติดอยู พื้นปารกทึบดวยไมพื้นลางทั้งหวาย หมาก ปาลม และเถาวลัยขนาดใหญกวาอืน่ ๆ มชีนดิของสตัวมากทีสุ่ด ปาไมถือเปนมรดกทางธรรมชาตทิีสํ่ าคญัที่สุด เพราะปาเปนแหลงรวมของพืชและสัตวที่หลากหลายไดมาอยูรวมกัน อาจจะกลาวไดวาทุกสวน

Page 19: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

69

ของพื้นที่ในปานั้นจะมีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยูทั้งในบริเวณที่เปนโคนตนไมใหญและที่อับชื้น โดยมีทั้งมอส เฟรนเล็ก ๆ เมื่อมองสูงขึ้นไปตามลํ าตนและกิ่งกานก็จะพบกลวยไมนานาชนิด สํ าหรับบนยอดไมยังเปนที่อยูของเถาวัลยหรือไมเล้ือยขนาดใหญที่เติบโต และระโยงระยางสูงขึ้นไป กอนถึงระดบัยอดไมก็ปรากฏนกและสัตวเล้ียงลูกดวยนมที่กินพืชเปนอาหาร เชน นกเงือก ชะนี คาง ซ่ึงอาศยัอยูบนตนไม และในบริเวณที่ตํ่ าลงมาก็จะเปนจํ าพวกสัตวกินแมลง นกหัวขวาน คางคาว กระรอก จนถึงพื้นลางของปาก็จะเปนที่อยูอาศัยของสัตวส่ีเทา เชน แมวลายหินออน สมเสร็จ เลียงผา เสือ หมี เกง กวาง หมูปา เปนตน นอกจากนี้ปายังเปนตนนํ้ าลํ าธารที่หลอเล้ียงลํ าหวยตาง ๆ ที่ไหลลงสูลํ าคลองตาง ๆ ในหมูบาน หากปาไมหมดไปก็ยอมจะมีผลกระทบตอส่ิงเหลานี้เชนกัน

แตนาเสียดายที่สภาพปาดิบชื้น ในปจจุบันนี้เหลืออยูนอยมาก ผืนปาในตะโหมดจึงตกอยูในสภาพเดียวกับปาอื่น ๆ ปาดงดิบจริง ๆ นั้นแทบจะหาไมไดแลว แมแตในเขตรักษาพนัธุสัตวปาเขาบรรทัด เนื่องจากปจจุบันมีการบุกรุกพื้นที่ปามาก แตก็ยังพอมีไมมีคาเหลืออยูบาง เชน ไมหลุมพอ ไมตะเคียน ไมจํ าปา ไมไขเขียว ไมรักเขาและหวายชนิดตาง ๆ เชน หวายโสม หวายนํ ้า หวายขอดํ า หวายเล็ก เปนตน

ผืนปาใหญมีไมสูงที่มีความผูกพันกับสายนํ้ าและสรรพชีวิตมาอยางแนบแนน เพราะผนืปาใหกํ าเนิดสายนํ้ าหลอเล้ียงชีวิต ซ่ึงทํ าใหสรรพสิ่งดํ าเนินวัฏจักรวงจรอันยิ่งใหญขึ้นในธรรมชาติได สํ าหรับชีวิตของสัตวปา มวลหมูแมลง ฝูงปลา สัตวนํ้ า สัตวคร่ึงบกครึ่งนํ้ า สัตวปกและสัตวเล้ือยคลานเปนสิ่งที่ถูกกํ าหนดมาเพื่อรับภาระดูแลปาใหญและสายนํ้ าใหดํ ารงอยูไดอยางบริสุทธิง์ดงาม จนกระทัง่เกดิการท ําลายลางธรรมชาตมิากมายเกอืบจะท ําใหส่ิงดงักลาวสญูพนัธุไป นบัวาเปนการสรางความเสยีหายมาสูแผนดนิและผูคน จากความไมเขาใจในวงจรของปาไม สายนํ้ า และภาระกจิที่แทจริงของสัตวปา เร่ืองราวที่เลาขานกันเกี่ยวกับปาไมจึงนาจะเปนสิ่งคอยยํ้ าเตือนเพื่อใหเยาวขนไดตระหนักในหนาที่ของชีวิตที่มีตอธรรมชาติ เพื่อระงับยับยั้งการตัดไมทํ าลายวัฎจกัรวงจรของปาไม สายนํ้ า และหยุดการทํ าลายสายพันธุสัตวปาอยางจริงจัง ดวยหวังใหมนษุยด ํารงคงอยูในสภาพแวดลอมที่ดีตอไปนานเทานาน

เนือ่งจากสภาพปาไมในบรเิวณนีไ้ดมแีนวตอเนือ่งจากแนวเทอืกเขาบรรทดั เปนพืน้ที่ปาตนนํ ้าและมีความหลากหลายและทํ าใหเปนพื้นที่ที่มีความสํ าคัญเนื่องจากมีแหลงนํ้ าตก ลํ าคลอง สัตวปา ถ้ํ า และบอนํ้ ารอน ซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี้

2.2.1 นํ้ าตก นํ ้าตกทีม่ีในพื้นที่ตํ าบลตะโหมด ประกอบดวย 2 นํ้ าตก ไดแก นํ ้าตกลานหมอมจุย และนํ้ าตกทาชาง (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 19-20) กลาวคือ

Page 20: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

70

1. นํ ้าตกลานหมอมจุย นํ้ าตกลานหมอมจุยตั้งอยูในหมูที่ 11 ตํ าบลตะโหมด อํ าเภอตะโหมด จงัหวดัพทัลุง ภายในบรเิวณลานนํ ้าตกลานหมอมจุย ยงัเปนส ํานกังานทีท่ ําการของหนวยพิทักษปาบานตะโหมด

นํ ้าตกลานหมอมจุยเกดิจากธารนํ ้าและล ําหวยตาง ๆ จากภเูขาในแนวเทือกเขาบรรทดั ลักษณะของนํ้ าตกลานหมอมจุยเปนธารนํ้ าที่ไหลผานโกรกหินเปนชั้นเตี้ย ๆ หลายชั้น บางชัน้บางชวงก็ลาดชัน แตบางชวงบางตอนเปนแองนํ้ ามีความกวางเหมาะสมสํ าหรับการอาบและการเลนนํ้ า ไดอยางสนุกสนาน จากบริเวณนํ้ าตกลานหมอมจุยธารนํ้ าไหลลัดเลาะไปตามพื้นที่ทํ าการเกษตรของชาวบานตะโหมด อันเปนแหลงนํ้ าสายสํ าคัญที่ไดหลอเล้ียงพืชผลทางการเกษตรของชาวสวน สายนํ ้าจากนํ ้าตกลานหมอมจุยไดนามตามชือ่บาน คอื คลองตะโหมด นํ ้าตกลานหมอมจุยถือเปนมรดกทางธรรมชาติที่สํ าคัญแหงหนึ่งของตะโหมด นอกจากมีสายนํ้ าที่เย็นฉํ่ าไวคอยตอนรับนกัทองเทีย่วทัง้ในทองถ่ินและตางถิ่นดวย ยังมีอาณาบริเวณที่รมร่ืนดวยแมกไมนานาพันธุ ไวใหนกัทองเทีย่วไดศกึษาพชืพรรณไมตาง ๆ อีกดวย และทีสํ่ าคญัยิง่ไปกวานัน้ คอื นํ ้าตกนีย้งัมลีานดินทีก่วางขวางไวสํ าหรับการจดักจิกรรมตาง ๆ และยงัมบีานพกัรับรอง มอีาคารส ําหรับจดัการประชุมสัมมนาพรอมดวยส่ิงอํ านวยความสะดวกอื่น ๆ เชน หองนํ้ า ไฟฟา ถนนลาดยาง ลานจอดรถ รานอาหารเครื่องดื่มไวตอนรับอยางเต็มที่

2 นํ ้าตกทาชาง นํ้ าตกทาชางตั้งอยูในพื้นที่ปาไมของหมูที่ 9 ตํ าบลตะโหมด อํ าเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง สภาพโดยทั่วไปของนํ้ าตกทาชางจะคลายกับนํ้ าตกลานหมอมจุย คอื เปนธารนํ้ าที่ไหลผานชั้นหินระดับเตี้ย ๆ ไมเปนชั้นนํ้ าตกที่สูงมากนัก แตเปนแนวยาวคดโคงไปตามแนวเขา บางชวงแคบแตบางชวงเปนแองนํ้ ากวางและลึก บางชวงธารนํ้ าแยกเปนสองสายแลวไหลมาบรรจบกันอีกครั้งหนึ่งที่เบื้องลางของนํ้ าตก นํ้ าตกทาชางมีสภาพปาที่สมบูรณมากกวานํ ้าตกลานหมอมจุย เนื่องจากนักทองเที่ยวไมนิยมเที่ยวกันมากนัก ถนนที่เปนทางเขาไปยังนํ้ าตกนี้เปนถนนลูกรัง ผานไปตามสวนยางพารา และสวนผลไมของชาวตะโหมด ธารนํ้ าตกทาชางไหลมารวมกบัลํ าหวยยวน แลวออกสูหมูบาน ชาวบานเรียกกันวา คลองกง

2.2.2 ลํ าคลอง ลํ าคลองสวนใหญในชมุชนนีเ้ปนสายสัน้ ๆ และแคบ ตนนํ ้าเกดิจากแนวเทอืกเขาบรรทดัไหลลงสูทะเลสาบสงขลา หากไหลผานหมูบานใดกจ็ะเรยีกชือ่แตกตางกนัออกไป ลํ านํ ้าสวนใหญใชประโยชนทางดานการเกษตรเปนส ําคญั ไมสะดวกในการเดนิเรอื บางสายในฤดูรอนนํ ้าจะแหงเปนชวง ๆ ลํ าคลองสายส ําคญัของต ําบลตะโหมดม ี 4 สาย ไดแก คลองตะโหมด คลองกง คลองหัวชาง คลองโหละจันกระ (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 20-21) กลาวคือ

1. คลองตะโหมด คลองตะโหมดเกดิจากล ําหวยตาง ๆ ในแนวเทอืกเขาบรรทัดดานทศิใตของบานตะโหมดไหลมารวมกัน เกิดเปนลํ านํ้ าไหลมาตามแนวโขดหินและหุบเขาเปน

Page 21: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

71

นํ ้าตกลานหมอมจุย ไหลลงสูแองนํ ้าจนกระทัง่ไหลลงไปเปนคลองตะโหมด เสนทางทีค่ลองตะโหมดไหลผานหลังจากออกมาจากนํ้ าตกลานหมอมจุยแลว คลองนี้ไดผานพื้นที่ในบริเวณบานนาสอง (หมูที ่ 11) บานไรตก บานโพธิ ์ บานใน (หมูที ่4) วดัตะโหมด บานออก (หมูที ่3) และบานทุงโพธ์ิ (หมูที ่1) ของตํ าบลตะโหมด หลังจากนั้นจะไหลไปตํ าบลแมขรีไปรวมกับคลองอื่น ๆ ตอไป

2. คลองกง คลองกงเกดิจากล ําหวยตาง ๆ เชน หวยยวน หวยลํ ายอด หวยลํ าตรน ในแนวเทอืกเขาบรรทัดไหลรวมกันเปนคลองกง ชวงตนของธารนํ้ าจะเปนนํ้ าตกทาชาง ไหลผานพืน้ทีท่าชาง บานคลองกง (หมูที่ 4) บานในโปะ(หมูที่ 12) บานปาพง (หมูที่ 9) และบานนา บานคลองนุย (หมูที่ 5) ไหลตอไปรวมกับคลองอื่น ๆ ตอไป

3. คลองหวัชาง (คลองโหละหนุน) คลองหัวชางเกิดจากลํ าหวยตาง ๆ คือ หวยสุม หวยไทร หวยสม หวยพงศ หวยนาง ในแนวเทือกเขาบรรทัดดานทิศเหนือ ไหลผานพื้นทีโ่หละหนุน ซ่ึงเปนพื้นที่ระหวางเขาตีนปากับเขาหัวชาง บานหัวชางหมูที่ 2 ตํ าบลตะโหมด อํ าเภอตะโหมด จากนั้นไดไหลผานตํ าบลแมขรีรวมกับคลองอื่น ๆ

4. คลองโหละจงักระ เกดิจากล ําหวยตาง ๆ ในปาแถบบานโหละจนักระ (หมูที่ 6) โดยไดไหลผานบานโหละจนักระ บานโหละเหรยีง ควนอนินอโม ควนลอน บานดานโลดและแมขรี

2.2.3 สัตวปา สัตวปาสามารถเปนตัวช้ีวัดความอุดมสมบูรณของปา เมื่อสภาพปาถูกบกุรุกท ําลายจนเสือ่มโทรม ยอมสงผลใหแหลงอาหารและทีอ่ยูอาศยัของสตัวปาถูกท ําลายตามไปดวย ยิง่ไปกวานั้นการลาสัตวปาเพื่อนํ ามาเปนอาหารและเพื่อการคา ทํ าใหสัตวปาที่เหลือนอยยิ่งลดจ ํานวนลงไปอีก พื้นที่ปาในตะโหมดแมจะมีเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัด แตเจาหนาที่เพียงจ ํานวนนอย ไมเพยีงพอทีจ่ะสกดัการลาท ําลายของเหลาพรานไพรทีม่อียูเปนจ ํานวนมากได จงึท ําใหสัตวลํ านอยลงเรื่อย ๆ บางชนิดอาจจะสูญพันธุไปแลว ซ่ึงสัตวที่พบในพื้นที่ปาแถบนี้ เชน แมวลายหินออน สมเสร็จ เลียงผา เสือ หมี คางแวนถ่ินใต ชะนี เกง กวาง ลิง นกเงือก นกชนดิตาง ๆ สัตวเล้ือยคลาน และปลานํ ้าจดืนานาชนดิ เปนตน (สภาลานวดัตะโหมด, 2543: 21)

2.2.4 ถํ ้า ถ้ํ าในบรเิวณต ําบลตะโหมด พบวามถ้ํี าอยู 2 แหง คอื ถ้ํ าพระ และถ้ํ าขี้คางคาว โดยสามารถสรุปไดดังนี้

1. ถ้ํ าพระ ซ่ึงตัง้อยูทีเ่ขาพระ บานหวัชาง หมูที ่ 2 ต ําบลตะโหมด มคีวามยาวประมาณ 20 เมตร ภายในถํ้ านี้เปนที่ประดิษฐานของพระพุทธรูป (วรรณ ขุนจันทร สัมภาษณ, 5 กมุภาพันธ 2545)

2. ถ้ํ าขีค้างคาว ตัง้อยูทีเ่ขาหวัชาง หมูที ่ 3 ต ําบลตะโหมด ภายในถํ ้ามคีางคาวมาอาศยัอยูจ ํานวนมาก จงึท ําใหมขีีค้างคาวจ ํานวนมาก ชาวบานมกัจะน ําไปใชประโยชน คอื ท ําปุยใสตนไม (กมล ขุนจันทร สัมภาษณ, 15 มิถุนายน 2545)

Page 22: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

72

2.2.5 บอนํ้ ารอน บอนํ ้ารอนตั้งอยูที่บานโหละจังกระ หมูที่ 6 มีลักษณะเปนแองนํ ้าขนาดเล็ก มีนํ้ ารอนผุดขึ้นมา อุณหภูมิของนํ้ าไมสูงมากนัก (นพรัตน ทิพยเศษ สัมภาษณ, 21 มกราคม 2545) จากทีก่ลาวมาขางตนนัน้จะเหน็วาสภาพธรรมชาตใินตะโหมดมอียูมากมาย ซ่ึงสิง่เหลานีไ้ดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยคนรุนปจจุบันเปนเพียงแตหาประโยชนจากธรรมชาติเพื่อสรางความสะดวกสบายตอการดํ ารงชีวิต จนกระทั่งนํ าไปสูการทํ าลายธรรมชาติใหเสื่อมลง

2.3 รูปแบบการใชประโยชนจากปาการใชประโยชนจากปาไมมี 2 ประเภท คือ รูปแบบการใชประโยชนของ

ภาครัฐและการใชประโยชนของประชาชน โดยรูปแบบการใชประโยชนของภาครัฐนั้น กรณีที่เปนเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัดนั้นเปนเขตที่หามเขาไปใชประโยชนใด ๆ แตถาเปนเขตปาสงวนแหงชาติก็สามารถเขาไปเก็บของปาได แตหากเปนปาเสื่อมโทรมก็จะมอบหมายใหแกสํ านกังานปฏรูิปทีด่นิเพือ่เกษตรกรรม (ส.ป.ก.)ไดน ําไปจดัปฏรูิปใหแกประชาชนตอไป ในสวนของรูปแบบการใชประโยชนของประชาชนนั้นสวนใหญมีการเขาไปหาของปาในบริเวณที่เปนเขตปาสงวนแหงชาติและสวนในบริเวณที่เปนเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัดนั้นชาวบานสามารถเขาไปเที่ยวชมบริเวณนํ้ าตกลานหมอมจุยได แตยังมีชาวบานบางสวนไดลักลอบเขาไปหาของปาหรือลาสัตวดวยเพราะบริเวณแนวเทือกเขาบรรทัดยังเปนปาที่อุดมสมบูรณจังมีสัตวปาอาศัยอยูมากพอสมควร (มานิตย อภัยพงษ สัมภาษณ, 16 สิงหาคม 2545)

2.4 สภาพการเปลี่ยนแปลงของปาสภาพการเปลี่ยนแปลงของปาพบวามีสาเหตุการเปลี่ยนแปลงใน 2 ลักษณะ คือ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการใชประโยชนของชาวบาน และเกิดจากการใชนโยบายของรัฐ โดยสามารถอธิบายไดดังนี้

2.4.1 การเปล่ียนแปลงของปาท่ีเกิดจากการใชประโยชนของชาวบาน เนือ่งจากพืน้ที่ปาในตํ าบลตะโหมดมีทั้งพื้นที่ที่เปนเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัดและเขตปาสงวนแหงชาติ สํ าหรับเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาบรรทัดนั้นเมื่อมีชาวบานบางสวนลักลอบเขาไปลาสัตว ทํ าใหในปจจบุนัปาในบริเวณนี้ไดลดความอุดมสมบูรณลงไปมาก ในพื้นที่เขตปาสงวนแหงชาตินั้นปจจุบันชาวบานบางสวนไดเขาไปสรางบานเรอืนทีอ่ยูอาศยัและท ําการเกษตร เชน การถางปาเพือ่การท ําไร และการท ําสวนยางพารา เปนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งการทํ าสวนยางพารา ไดเร่ิมเขามาในตํ าบลตะโหมด

Page 23: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

73

คร้ังแรกประมาณป พ.ศ. 2460 โดยพันธุยางพาราที่นํ าเขามานั้นเปนพันธุพื้นเมือง ในปจจุบันยางพารากลายเปนอาชีพหลักของชาวตะโหมดไปแลว (สภาลานวัดตะโหมด, 2543: 8)

2.4.2 การเปล่ียนแปลงของปาท่ีเกิดจากการใชนโยบายของรัฐ โดยพื้นที่ปาไมของต ําบลตะโหมดโดยเฉพาะอยางยิง่บรเิวณทีเ่ปนปาเขาหวัชาง ปาเขาตนีปา ปาเขาหลกัไกและปาเขาพระ มพีืน้ทีท่ัง้หมดประมาณ 19.10 ตารางกโิลเมตร พบวามคีวามเปนมาในการใชนโยบายของรฐัดงัตอไปนี้ในอดตีพืน้ทีน่ี้ไดถูกประกาศเปนเขตปาสงวนแหงชาติ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 167 (พ.ศ. 2506) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 13 สิงหาคม 2506 ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองและสงวนปาพทุธศกัราช 2481 โดยก ําหนดใหปาเขาหวัชาง ปาเขาตนีปา ปาเขาหลกัไกและปาเขาพระ ในทองทีต่ ําบลตะโหมด อํ าเภอตะโหมด จงัหวดัพทัลุงเปนพืน้ทีป่าสงวนแหงชาตเินือ่งจากปาแหงนี้มไีมยาง ไมหลุมพอ ไมกะบาก ไมตะเคยีนหนิ ไมพกิลุปา ไมจนัทนหอมและไมอ่ืน ๆ ซ่ึงเปนชนิดดีมคีาขึน้อยูเปนปริมาณมาก เนื้อที่ประมาณ 19.10 ตารางกิโลเมตร มีลักษณะเหมาะสมและจํ าเปนทีจ่ะตองสงวนไวใหเปนปาไมโดยถาวรตลอดไป เพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจและการครองชีพของประชาชน อันจะมีประโยชนมากยิ่งกวาจะใชที่ดินในปาเพื่อประโยชนแกรัฐและประชาชน

ตอมาราชการประกาศพื้นที่นี้เปนเขตปาโครงการเพื่อการใชสอยแบบอเนกประสงค หมวด พท.7 ตอนที่ 1 แปลงที่ 3 กรมปาไมไดสํ ารวจวางโครงการใน พ.ศ. 2512 เปนปาโครงการเพือ่ใชสอย โดยกรมปาไมอนมุตัใิหใชโครงการเมือ่ พ.ศ. 2513 ตามหนงัสอืที ่กษ 0703/581 ลงวนัที่ 19 มกราคม 2513 จดัแบงเนือ้ทีอ่อกเปน 10 ตอน ๆ ละ 3 แปลง เปดใหมกีารท ําไมใชสอยปละแปลง กํ าหนดใหมีรอบตัดฟน 30 ป ใชวนวัฒนวิธีแบบเลือกตัด โดยเริ่มตัดเลือกไมใน พ.ศ. 2513 เพื่ออนุญาตใหทํ าไมออกใน พ.ศ. 2514 ตอไป

เมือ่วนัที ่ 14 กันยายน 2520 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชดํ าริใหกรมชลประทานพิจารณาวางโครงการชลประทานเพื่อชวยเหลือการทํ านาในเขตจังหวัดพัทลุง ตอมาส ํานักงานชลประทานที่ 12 ไดรับหนังสือจากอํ าเภอตะโหมด ที่พท. 0616/256 ลงวันที่ 25 มกราคม 2532 ขอใหพจิารณาความเปนไปไดของโครงการอางเกบ็นํ ้าบานโหละหนนุตามพระราชดํ าริเพือ่ชวยเหลือพืน้ทีเ่พาะปลกูในเขตโครงการชลประทานตามพระราชด ําริ เพือ่ชวยเหลือพืน้ทีเ่พาะปลูกในเขตโครงการชลประทานทาเชยีดจ ํานวน 100,000 ไร และลดอนัตรายจากอทุกภยัดวย ทางดานสํ านกังานชลประทานที่ 12 ไดจัดสงเจาหนาที่ไปพิจารณาความเหมาะสมของโครงการ พบวามีความเปนไปไดทีจ่ะกอสรางอางเกบ็นํ ้าบานโหละหนนุ (อางเกบ็นํ ้าคลองหวัชางท ําเลที่ 1) อางเกบ็นํ้ าคลองหัวชางทํ าเลที่ 2 และอางเก็บนํ้ าคลองบางแกวโดยขณะนี้อยูในขั้นตอนการขุดเจาะพื้นดินเพื่อวางแผนการกอสราง

Page 24: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

74

ปจจบุันคงเหลือปาที่สมบูรณ ประมาณ 5,000 ไร (รวมพื้นที่อนุรักษที่เปนภูเขา) ซ่ึงเปนสวนทีเ่หลือจากราษฎรบกุรุกเพือ่เปนพืน้ทีก่ารเกษตรและอาศยั เมือ่ป พ.ศ. 2536 ทางกรมปาไมไดมอบพืน้ที่ผืนปานี้ในโซน (อี) จํ านวน 1,118.75 ไร ใหกับสํ านักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ดํ าเนินการออกเอกสาร ส.ป.ก. แตเนื่องจากทางสภาตํ าบลตะโหมดไดมีหนังสือขอยับยั้งการออก ส.ป.ก. ในเขตพื้นที่สวนนี้เพราะเห็นวาพื้นที่ปาดังกลาวยังอยูในสภาพที่สมบูรณ จึงเห็นสมควรทีจ่ะอนุรักษไวเปนสมบัติของชุมชนเพื่อใหประชาชนใชประโยชนรวมกัน (พีระชัย สุขเกื้อและคณะ, 2538: 4-6)

3. ขอมูลท่ัวไปของโรงเรียน

ในสวนของขอมูลทั่วไปของโรงเรียนแยกอธิบายเปนหัวขอตาง ๆ ไดดังนี้ คือ ประวัติความเปนมา บุคลากรและนักเรียน รูปแบบการสรางหลักสูตรทองถ่ิน และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรวมกับชุมชน โดยมีรายละเอียดดังนี้

3.1 ประวัติความเปนมาโรงเรยีนประชาบ ํารุง สังกดักองการมธัยมศกึษา กรมสามญัศกึษา กระทรวงศกึษาธิการ

ใชอักษรยอวา “ป.ช.” ไดกอตั้งโรงเรียนเมื่อ วันที่ 20 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2522 มีปรัชญาของโรงเรยีน คอื การศกึษา เสรมิปญญา พฒันาชนบท โรงเรยีนนีก้อตัง้ขึน้จากความรวมมอืรวมใจกันของคนในชมุชนเปนการรวมกนักอสรางโดยการน ําของทานพระครอุูทติกจิจาทร เจาอาวาสวดัตะโหมด รวมกบัประชาชนและกํ านันเฉลียว ชนินทยุทธวงศ กํ านันตํ าบลตะโหมด ไดจัดตั้งคณะกรรมการโรงเรียน โดยจัดหาที่กอสรางโรงเรียน ณ หมูที่ 3 ในสมัยนั้นและปจจุบันนี้เปลี่ยนเปนหมูที่ 9 ต ําบลตะโหมด อํ าเภอตะโหมด จงัหวดัพทัลุง มเีนือ้ทีจ่ากการบรจิาคของประชาชนจ ํานวน 7 ราย ประมาณ 38 ไร 3 งาน 83 ตารางวา

การจัดตั้งโรงเรียนนี้ เนื่องจากทางวัดเห็นความสํ าคัญของการศึกษาวา นักเรียนช้ันประถมศกึษาทีจ่บการศกึษาชัน้ประถมศกึษาปที ่6 แลวนกัเรยีนสวนใหญไมไดเรียนตอได เนือ่งจากอยูในพืน้ทีห่างไกลจากสถานศึกษา ประกอบกับการคมนาคมไมอํ านวย ทํ าใหนักเรียนบางคนที่มีโอกาสไดเรียนตอ แตไมสามารถเรียนใหจบไดจึงจํ าเปนตองออกกลางคัน จากสาเหตุดังกลาวเจาอาวาสตะโหมดจงึไดขอจดัตัง้โรงเรยีนมธัยมแหงนีข้ึน้เปนโรงเรยีนประจ ําต ําบล ซ่ึงศกึษาธกิารจังหวัดในขณะนัน้ คือ นายวรรณ บุญยเกียรติ ไดรวมกันตั้งชื่อโรงเรียนนี้วา “โรงเรียนประชาบํ ารุง”

Page 25: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

75

โรงเรียนประชาบํ ารุงมีการดํ าเนินการกอสรางสิ่งกอสรางตาง ๆ ภายในโรงเรียนมาเร่ือย ๆ จนกระทัง่ปจจบุนันีโ้รงเรยีนประชาบ ํารุงมส่ิีงกอสรางประกอบดวย อาคารเรยีนถาวร 2 หลัง อาคารเรียนชั่วคราว 2 หลัง โรงฝกงาน 2 หลัง บานพักครู 6 หลัง หองนํ้ านักเรียน 3 หลัง นอกจากนัน้ยงัไดประกอบไปดวยส่ิงกอสรางอืน่ ๆ อีก เชน หอประชมุ บานพกันกัเรยีน โรงอาหาร โรงจอดรถนักเรียน หอพระประจํ าโรงเรียน อาคารศูนยวัฒนธรรม ลานคอนกรีตอเนกประสงค และสนามฟุตบอล (โรงเรียนประชาบํ ารุง, 2544: 1-6)

3.2 บุคลากรและนักเรียนดานบคุลากรของโรงเรยีนประชาบ ํารุงในปการศกึษา 2544 มคีรู – อาจารย ทัง้หมด

จ ํานวน 27 คน แยกเปนผูชาย 13 คน และผูหญิง 14 คน และยามรักษาการจํ านวน 1 คน ซ่ึงสดัสวนของครู – อาจารยที่อาศัยอยูในชุมชนตะโหมดจํ านวน 11 คน และนักเรียนทั้งหมดมีจ ํานวน 551 คนสวนใหญอาศยัอยูในต ําบลตะโหมด ต ําบลคลองใหญ อํ าเภอตะโหมด โดยสามารถแบงเปนระดับชั้น (โรงเรียนประชาบํ ารุง, 2544: 8-13) ไดดังภาพประกอบ 8

ภาพประกอบ 8 จ ํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-6 ปการศึกษา 2544 ของโรงเรียนประชาบํ ารุงที่มา : ดดัแปลงจากโรงเรียนประชาบํ ารุง, 2544: 9

แผนภมูแิสดงจาํนวนนกัเรยีนชัน้มธัยมศึกษาปท่ี 1-6 ปการศกึษา 2544 ของโรงเรียนประชาบํารุง

01020304050607080

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6ระดบัช้ัน

จํานวนนักเรียน

ชายหญิง

Page 26: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

76

3.3 รูปแบบการสรางหลักสูตรทองถิ่นโรงเรียนประชาบํ ารุง จัดการเรียนการสอนทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับ

มธัยมศกึษาตอนปลาย สํ าหรับหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนใชหลักสูตรมัธยมศกึษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยีนใชหลักสตูรมธัยมศกึษาตอนปลาย พทุธศกัราช 2524 (ฉบบัปรบัปรงุ พ.ศ.2533) โรงเรียนจดัการเรยีนการสอนมุงเนนความรูคูคณุธรรม และจดัการเรยีนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนส ําคญั ตามแนวทางการปฏรูิปการศกึษาและภายหลงัปการศกึษา 2545 โรงเรยีนตองเปลีย่นแปลงการใชหลักสูตรตามสาระหลักสูตรใหม คือ หลักสูตรแกนกลางของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเปนไทย กํ าหนดโดยคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรทองถ่ินซึ่งจะตองพัฒนาโดยสถานศกึษาขัน้พืน้ฐานใหครอบคลมุและบรูณาการสาระการเรยีนรูตามมาตรา 23 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (โรงเรียนประชาบํ ารุง, 2544: 63) ดงัตอไปนี้

1. ความรูเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร ความเปนมาของสังคมไทย และระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข

2. ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรวมทั้งความรู ความเขาใจและประสบการณเร่ืองการจัดการ การบํ ารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน

3. ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทยและการประยุกตใชภูมิปญญา

4. ความรูและทักษะดานคณิตศาสตรและภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง5. ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพและการดํ ารงชีวิตอยางมีความสุขสํ าหรับการสรางหลักสูตรทองถ่ินนั้นเปนสวนหนึ่งในหลักสูตรของสถานศึกษา

โดยมีกระบวนการวางแผนการใชหลักสูตรสถานศึกษา และขั้นตอนในการดํ าเนินการสรางหลักสูตรทองถ่ิน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ก. กระบวนการวางแผนการใชหลักสูตรของสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการใหเร่ิมใชหลักสตูรทองถ่ินกบัโรงเรยีนน ํารองในปการศกึษา 2545 ดงันัน้ในสวนทีเ่ปนหนาทีข่องโรงเรียนทีเ่ปนกระบวนการท ําความเขาใจและวางแผนการใชหลักสตูร (ภมร พลเพชร สัมภาษณ, 1 กมุภาพันธ 2545) คือ

1. ตองใหครูทุกคนมีความรูเกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544

Page 27: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

77

2. ก ําหนดวิสัยทัศนของโรงเรียน3. ก ําหนดจุดมุงหมายของโรงเรียน4. ก ําหนดคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน

หมายเหต ุ : ผูทีเ่ขามาก ําหนดในขอ 2 – 4 ประกอบดวยบคุคลทีเ่กีย่วของ ดงัตอไปนี้1) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซ่ึงสํ านักงานสามัญศึกษาจังหวัดเปน

ผูแตงตัง้ ประกอบไปดวย ผูอํ านวยการโรงเรยีนเปนประธาน หวัหนาหมวดวชิา หวัหนางานวดัผลการศกึษา หัวหนางานแนะแนว และผูชวยผูอํ านวยการฝายวิชาการเปนเลขานุการ

2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน3) ตวัแทนครู4) ตวัแทนของนักเรียน

5. ก ําหนดโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา6. ใหแตละกลุมสาระมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร

แกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการข. ขั้นตอนในการดํ าเนินการสรางหลักสูตรทองถิ่น ขัน้ตอนนี้เปนสวนหนึ่งของ

หลักสูตรของสถานศึกษาโรงเรียนประชาบํ ารุง (2545: 14-24) ดังนี้1. การก ําหนดมาตรฐานการเรยีนรูชวงชัน้และเสนอการเรยีนรูรายปหรือรายภาค

โดยตองมีขั้นตอนดังนี้1.1 ศกึษาและวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น เพื่อกํ าหนดสาระ

การเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแตละมาตรฐาน1.2 ก ําหนดสาระการเรียนรูรายปหรือรายภาคใหเหมาะสม

2. ก ําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปหรือรายภาค โดยจะดํ าเนินการเปนการวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น เพื่อกํ าหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนรายป (ชวงชั้น ม.1-3)หรือเปนรายภาค (ช้ัน ม.4-6)

3. ความสมัพนัธระหวางผลการเรยีนรูทีค่าดหวงักบัสาระการเรยีนรูและเวลาเรียนเปนชัว่โมงหรือหนวยกิต เปนรายปหรือรายภาค โดยจะมีขั้นตอนการดํ าเนินการ คือ

3.1 วเิคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปหรือรายภาคลงในตาราง3.2 ก ําหนดสาระการเรียนรูรายปหรือรายภาคใหสอดคลองและเหมาะสม3.3 วเิคราะหผลการเรยีนรูทีค่าดหวงัรายปหรือรายภาคและสาระการเรยีนรู

รายปหรือรายภาค เพื่อกํ าหนดเวลาหรือหนวยกิตใหเหมาะสม (สํ าหรับมัธยมศึกษาตอนปลายก ําหนดเปนรายภาค โดยเวลา 40 ช่ัวโมง เทากับ 1 หนวยกิต)

Page 28: บทที่ 3 ข อมูลทั่วไปของพ ื้นที่ ...kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/2363/13/232985_ch3.pdf52 ต าบลตะโหมดต

78

4. การจดัท ําค ําอธบิายรายวชิา สํ าหรับการจดัท ําค ําอธบิายรายวชิานัน้ใหน ําเอาผลการเรยีนรูที่คาดหวังรายปหรือรายภาค สาระการเรียนรูรายปหรือรายภาค รวมทั้งเวลาที่กํ าหนดมาเขยีนคํ าอธิบายรายวิชา (เรียนอะไร สอนอยางไร เพื่อใหเกิดอะไร ใชเวลาเทาไร)

5. การจดัท ําหนวยการเรยีนรู จดัท ําโดยการเขยีนแผนทีค่วามคดิ (Mind Mapping) ใหนํ าสาระการเรียนรูแตละระดับชั้นในกลุมสาระมาเพื่อจัดทํ าหนวยการเรียนรูและจัดการสอนแบบบรูณาการ โดยกํ าหนดหัวเร่ืองและจัดทํ าแผนผังวิเคราะหสาระการเรียนรู

6. การจัดทํ าหนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูแตละหนวยประกอบไปดวย ผลการเรียนรู สาระการเรียนรู และจํ านวนเวลา ซ่ึงมีแนวทางในการเรียนดังนี้

6.1 น ําสาระการเรียนรูรายปหรือรายภาคมาวิเคราะหแยกเปนหัวขอเร่ืองหรือหัวขอยอย

6.2 น ําหวัขอเร่ืองหรือหัวขอยอย มากํ าหนดเปนหนวยการเรียนรู7. วิเคราะหความสัมพันธระหวางหนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูและ

มาตรฐานชวงชั้น8. การจดัท ําแผนการเรยีนรู ซ่ึงในแผนการเรยีนรูตองมอีงคประกอบ ดงัตอไปนี้

คือ เร่ือง เวลา ช่ัวโมง ผลการเรียนรูที่คาดหวัง สาระการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู กระบวนการเรียนรู กระบวนการวัดและประเมินผล ส่ือการเรียนรู และแหลงการเรียนรู

3.4 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรวมกับชุมชนการจดักจิกรรมการเรยีนการสอนรวมกบัชมุชน มกีารจดัการเรยีนการสอนในเนือ้หา

ทีเ่กีย่วของกับชุมชนเชน ตะโหมดศึกษา บางครั้งมีการจัดการเรียนการสอนโดยการเชิญวิทยากรจากชมุชนมาสอนในชัน้เรยีน นอกจากนัน้ยงัมกีารจดัการเรยีนทีเ่ปนวชิาพระพทุธศาสนา ซ่ึงเปนการนมินตพระสงฆจากวัดตะโหมดมาสอน และมีการจัดใหนักเรียนไดสอบนักธรรมประจํ าปสืบเนื่องกนัทกุปตัง้แต พ.ศ.2522 จนกระทั่งถึงปจจุบัน (2546) (สวาง รวมจินดาและพันทวี ฟกทอง สัมภาษณ, 20 กุมภาพันธ 2544)