บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส...

130
1 บทนํา จังหวัดกาฬสินธุ เปนจังหวัดขนาดกลางมีประชากร เดือนมีนาคม 2552 ทั้งสิ้น 1,002,600 คน มีจํานวนโรงเรียนทั้งสิ้น 690 โรงเรียน แตละปมีเยาวชนที่จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายประมาณ 7,000 คนไมรวมประชาชนทั่วไปซึ่ง สวนใหญตองการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาโดยไมตองการเดินทางไกล เพื่อลดคาใชจายในขณะที่ปจจุบัน จังหวัดกาฬสินธุ มีสถาบันระดับอุดมศึกษารองรับเพียง 2 แหง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ ที่มีขอจํากัดใน ดานคณะ/ ภาควิชาและความเปนเอกภาพในดานการบริหารจัดการ ทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และการเปด สาขาวิชา เพื่อสนองตอบความตองการของคนในพื้นทีทําใหเยาวชนในทองถิ่นมีการยายหรือไปศึกษาตอทีสถาบันอื่นที่มีความพรอมตรงกับความตองการของตนเอง โดยเฉพาะคณะที่นักศึกษานิยมเรียน 20 ลําดับ ( อาง อิงจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปการศึกษา . .2552) ไมมีแมแตคณะเดียวที่มีอยูใน จังหวัดกาฬสินธุ มีเพียงบางสาขาวิชาที่เปดสอนแฝงอยูในคณะที่มีอยูใน 2 สถาบันอุดมศึกษาของจังหวัด ในขณะทีจังหวัดกาฬสินธุหากมีมหาวิทยาลัยประจําจังหวัดเพื่อตอบสนองและสรางความทัดเทียม ความเสมอภาคทางการศึกษา และในขณะเดียวกันทั้งภาครัฐและเอกชนมีความตั้งใจที่จะสนับสนุนในทุกๆดาน จังหวัดกาฬสินธุเองมีศักยภาพเพียงพอในระดับหนึ่งอาทิ เชน ปจจุบัน มหาวิทยาลัยอื่นๆที่เปดสอนดาน วิทยาศาสตร ดานการแพทย พยาบาล สาธารณสุข ใชจังหวัดกาฬสินธุ ที่มีโรงพยาบาลเปนแหลงฝกงานของ คณะแพทยของทั้ง มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยขอนแกนมาหลายปแลว ดานเกษตร จังหวัด กาฬสินธุ มีทั้งดานการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เกษตรอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร ที่ถือวาเปน แหลงทํารายหลัก ใหกับจังหวัดเปนสวนใหญอยูแลว ดานสังคม จังหวัดกาฬสินธุมีบุคลากรพรอมที่จะถายทอด ความรูอยูมากมาย เชน ดานนิติศาสตร และ ดานการทองเที่ยว จังหวัดกาฬสินธุก็มีแหลงทองเที่ยวที่ขึ้นชื่อระดับ เอเชียตะวันออกเฉียงใตและอื่น ที่พรอมจะตอยอดใหมีความเขมแข็งตอไปได หากมีสถาบันการศึกษาบมเพาะ บุคลากรพัฒนาคนใหมีความรูในดานนีจากการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและบุคลากรของ 2 สถาบันอุดมศึกษาของจังหวัดทั้งแบบ สํารวจความตองการและประชาพิจารณ พบวา กวารอยละ 95 เห็นชอบใหมีการยุบรวมของ 2 สถาบันฯ เพื่อ แกไขและลดขอจํากัดใหมหาวิทยาลัยที่เกิดขึ้นใหมไดสามารถจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความ

Upload: others

Post on 25-Jan-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

1

บทนํา

จังหวัดกาฬสินธุ เปนจังหวัดขนาดกลางมีประชากร ณ เดือนมีนาคม 2552 ทั้งส้ิน 1,002,600 คน

มีจํานวนโรงเรียนท้ังส้ิน 690 โรงเรียน แตละปมีเยาวชนที่จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายประมาณ

7,000 คนไมรวมประชาชนท่ัวไปซ่ึง สวนใหญตองการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาโดยไมตองการเดินทางไกล

เพ่ือลดคาใชจายในขณะท่ีปจจุบัน จังหวัดกาฬสินธุ มีสถาบันระดับอุดมศึกษารองรับเพียง 2 แหง คือ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ ท่ีมีขอจํากัดใน

ดานคณะ/ ภาควิชาและความเปนเอกภาพในดานการบริหารจัดการ ทั้งดานงบประมาณ บุคลากร และการเปด

สาขาวิชา เพื่อสนองตอบความตองการของคนในพื้นที่ ทําใหเยาวชนในทองถิ่นมีการยายหรือไปศึกษาตอที่

สถาบันอ่ืนที่มีความพรอมตรงกับความตองการของตนเอง โดยเฉพาะคณะท่ีนักศึกษานิยมเรียน 20 ลําดับ

( อาง อิงจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปการศึกษา พ.ศ.2552) ไมมีแมแตคณะเดียวที่มีอยูใน

จังหวัดกาฬสินธุ มีเพียงบางสาขาวิชาที่เปดสอนแฝงอยูในคณะท่ีมีอยูใน 2 สถาบันอุดมศึกษาของจังหวัด

ในขณะท่ี จังหวัดกาฬสินธุหากมีมหาวิทยาลัยประจําจังหวัดเพื่อตอบสนองและสรางความทัดเทียม

ความเสมอภาคทางการศึกษา และในขณะเดียวกันทั้งภาครัฐและเอกชนมีความต้ังใจที่จะสนับสนุนในทุกๆดาน

จังหวัดกาฬสินธุเองมีศักยภาพเพียงพอในระดับหน่ึงอาทิ เชน ปจจุบัน มหาวิทยาลัยอ่ืนๆที่เปดสอนดาน

วิทยาศาสตร ดานการแพทย พยาบาล สาธารณสุข ใชจังหวัดกาฬสินธุ ที่มีโรงพยาบาลเปนแหลงฝกงานของ

คณะแพทยของท้ัง มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยขอนแกนมาหลายปแลว ดานเกษตร จังหวัด

กาฬสินธุ มีทั้งดานการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เกษตรอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร ที่ถือวาเปน

แหลงทํารายหลัก ใหกับจังหวัดเปนสวนใหญอยูแลว ดานสังคม จังหวัดกาฬสินธุมีบุคลากรพรอมที่จะถายทอด

ความรูอยูมากมาย เชน ดานนติิศาสตร และ ดานการทองเที่ยว จังหวัดกาฬสินธุก็มีแหลงทองเท่ียวท่ีข้ึนช่ือระดับ

เอเชียตะวันออกเฉียงใตและอ่ืน ๆ ที่พรอมจะตอยอดใหมีความเขมแข็งตอไปได หากมีสถาบันการศึกษาบมเพาะ

บุคลากรพัฒนาคนใหมีความรูในดานนี้

จากการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและบุคลากรของ 2 สถาบันอุดมศึกษาของจังหวัดทั้งแบบ

สํารวจความตองการและประชาพิจารณ พบวา กวารอยละ 95 เห็นชอบใหมีการยุบรวมของ 2 สถาบันฯ เพ่ือ

แกไขและลดขอจํากัดใหมหาวิทยาลัยที่เกิดข้ึนใหมไดสามารถจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความ

Page 2: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

2

ตองการของคนในพื้นที่รวมทั้งลดคาใชจายของการเดินทางของผูเรียนหากมีโอกาสไดเรียนในพื้นที่ตลอดจน

สรางความอบอุนในครอบครัวใหเขมแข็ง มีความผูกพันอันดีอีกดวย

โดยจากผลการประชุมคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ

(กรอ.) ก็ไดใหการเห็นชอบใหมีการยุบรวม อีกทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่นตาง ๆ ก็เห็นชอบและพรอมให

การสนับสนุนไมวาจะเปนดานงบประมาณ หรือ ทรัพยากรตาง ๆ เพ่ือใหมีการจัดการศึกษาท่ีดีแกคนในทองถิ่น

จึงไดเห็นสมควรใหมีการยุบรวม 2 สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุแลวใหจัดต้ังเปนมหาวิทยาลัยแหง

ใหมที่ช่ือวา “มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ”

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 3: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

3

บทคัดยอ

จากโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ดําเนินการโดยคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครฐั

และภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ ใหมีกระบวนการเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟง

ความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 และใหคํานึงถึงผูมีสวนไดเสียโดยตรงคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุและมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ ปรากฏวาทั้งประชาชนและบุคลากรทั้ง 2

สถาบันฯ มีความเห็นใหยุบรวมกันโดยเฉลี่ยรอยละ 95 มีเหตุผลประกอบการตัดสินใจเรียงลําดับจากมากไปหา

นอย คือ 1) ทําใหเกิดความสมบูรณในการเปนสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถตอบสนองความตองการของทองถิ่น

และภูมิภาค 2) ทําใหมีศักยภาพในการพัฒนาและการแขงขันกับมหาวิทยาลัยอื่นเพ่ิมข้ึน 3) เพื่อเปนการใช

ทรัพยากรรวมกัน 4) กอให เกิดประโยชนตอสังคมในภาวการณของประเทศไทยในอนาคต และ

5) เพิ่มประสิทธิภาพในการใชจายงบประมาณ

เพื่อใหสอดคลองกับความตองการขางตนจึงเห็นสมควรเสนอรางพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

ดวยเหตุผลคือ เนื่องจากในปจจุบัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ พ.ศ. 2548 และ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ. 2547 ประสบปญหาความไมคลองตัวเกี่ยวกับการจัดโครงสราง การกําหนด

นโยบาย การงบประมาณและการบริหารดานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย ทําใหไมสามารถพัฒนาและขยายสาขาวิชา

ใหสอดคลองกับความตองการและรองรับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมของ

ประเทศได ดังน้ัน เพื่อใหการพัฒนาและการดําเนินงานตามภารกิจของมหาวิทยาลัยเปนไปอยางสมบูรณและมี

ประสิทธิภาพ อันจะนําไปสูความเปน เลิศทางวิชาการ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ ใหมหาวิทยาลัย

กาฬสินธุเปนสถาบันอุดมศึกษาของทองถิ่นและภูมิภาคดานวิชาชีพและเทคโนโลยี มีวัตถุประสงคใหการศึกษา

สงเสริมวิชาการและวิชาชีพช้ันสูงที่เนนการปฏิบัติ ทําการสอน การวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ใหบรกิารทางวชิาการใน

ดานวิทยาศาสตร สังคมและเทคโนโลยี ทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษส่ิงแวดลอม ระดับปริญญาเปน

หลัก เพ่ือใหเปนมหาวิทยาลัยท่ีตอบสนองความตองการและสรางโอกาสทางการศึกษา พัฒนาทองถิ่น ภูมิภาค

อยางมีเอกภาพสืบไป

Page 4: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

4

สภาพทั่วไปและศักยภาพจังหวัดกาฬสินธุ

สวนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัดกาฬสินธุ

1 ขนาดและที่ตั้ง

จังหวัดกาฬสินธุต้ังอยูทางทิศตะวนัออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและอยูในตอนกลางของภาค มีเนื้อ

ที่ประมาณ 6,946.75 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 4.1 ของพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีอาณาเขต

ติดตอกับจังหวัดขอนแกน, สกลนคร, อุดรธาน,ี มหาสารคาม, รอยเอ็ด และมุกดาหาร

คําขวญัจังหวดักาฬสินธุ

เมืองฟาแดดสงยาง โปงลางเลิศล้ํา วัฒนธรรมผูไทย ผาไหมแพรวา

ผาเสวยภพูาน มหาธารลําปาว ไดโนเสารสัตวโลกลานป

Page 5: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

5

2 การเมือง การปกครอง และประชากร

ปจจุบันจังหวัดกาฬสินธุมีเขตเลือกตั้งทั้งหมด 2 เขต และมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรท้ังหมดจํานวน

7 คน ประกอบไปดวยสมาชิกสภาผูแทนราษฏรแบบสัดสวน 1 คน และแบบแบงเขต 6 คน ดานการ

ปกครอง จังหวัดกาฬสินธุ แบงการปกครองออกเปน 18 อําเภอ 135 ตําบล 1,584 หมูบาน และองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น ประกอบดวย องคการบริการสวนจังหวัด เทศบาลเมือง 1 แหง คือ เทศบาลเมือง

กาฬสินธุ เทศบาลตําบล 38 แหง (กรมการปกครอง, 2551)

ประชากร ณ เดือนมีนาคม 2552 จังหวัดกาฬสินธุมีประชากรทั้งส้ิน 1,002,600 คน เปนชาย 499,893 คน

และหญิง 502,707 คน ความหนาแนนของประชากรเทากับ 144.32 คนตอตารางกิโลเมตร (สํานักงานสถิติ

แหงชาติ, 2551)

3 โครงสรางพ้ืนฐาน

3.1.ดานถนน

จังหวัดกาฬสินธุ มีทางหลวงแผนดิน และทางหลวงจังหวัด ใชในการเดินทางติดตอในจังหวัดและ

ระหวางจังหวัด ไดโดยสะดวก มีถนนเช่ือมตอระหวางตําบลและหมูบานในชนบท ซ่ึงมีประโยชนตอการ

เดินทางไปมา และการขนสงผลิตผลทางการเกษตร โดยการควบคุมดูแลของสํานักงานทางหลวงชนบท

จ.กาฬสินธุ ครอบคลุมท้ัง 5 ดาน ดังนี้ ดานโลจีสติกส ดานสนับสนุนโครงการพระราชดําหริ ดานถนนผังเมือง

รวม ดานถนนชายแดน และดานการทองเที่ยว

3.2.ดานโทรศัพท

ในป 2551 มีชุมสาย 20 แหง เลขหมายโทรศัพท 39, 055 เลขหมาย การไปรษณีย มีที่ทําการ

ไปรษณีย จํานวน 14 แหง

3.3.ดานการประปา

ป 2551 มีจํานวนผูใชน้ํา 26,764 ราย มีกําลังการผลิตทั้งส้ิน 11, 666,502 ลูกบาศกเมตร

3.4.ดานไฟฟา

ป 2551 มีจํานวนผูใชกระแสไฟฟา 223, 644 ราย และ การจําหนายกระแสไฟฟา 211.20 ลาน

กิโลวตัต/ช่ัวโมง

Page 6: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

6

4 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

4.1 ทรัพยากรปาไม

ทรัพยากรปาไม ของพื้นท่ีจังหวัดกาฬสินธุ มีปา 3 ลักษณะ คือ ปาดิบแลง, ปาเต็งรัง และปาเบญจ

พรรณ จังหวัดกาฬสินธุ มีพื้นที่ปาสงวนแหงชาติทั้งหมด 14 ปา รวมเนื้อท่ีประมาณ 1,144,700 ไร หรือ 26.367

เปอรเซ็นตของพื้นที่จังหวัด มีอุทยานแหงชาติ อยู 1 แหง คือ อุทยานแหงชาติภูพาน มีเนื้อที่ประมาณ 57,500 ไร

และมีวนอุทยานอยู 3 แหง คือ วนอุทยานภูผาวัว วนอุทยานภูพระ และวนอุทยานภูแฝก เขตรักษาพนัธุสัตวปามี

1 แหง คือ เขตรักษาพันธุสัตวปาภูสีฐาน มีเนื้อท่ีประมาณ 28,125 ไร จังหวัดกาฬสินธุมีเขตหามลาสัตวปา

2 แหง ไดแก เขตหามลาสัตวปาผาน้ําทิพย มีเนื้อท่ีประมาณ 9,400 ไร สวนเขตหามลาสัตวปาลําปาวมีพ้ืนที่

สวนใหญเปนพื้นท่ีน้ําของเขื่อนลําปาวครอบคลมุพ้ืนที่ประมาณ 200,000 ไร

4.2 ทรัพยากรดินและท่ีดิน

สภาพการใชที่ดินของจังหวัดกาฬสินธุ สวนใหญมีการใชท่ีดินทางการเกษตร จากพ้ืนท่ีทั้งหมด

4,341,716 ไร เปนพื้นท่ีการเกษตร 2,657,011 ไร สวนใหญเปนพ้ืนท่ี ถือครองทํานา 1,609,819 ไร รองลงมาเปน

พื้นที่ทําไร 789,365 ไร พ้ืนที่ไมผลไมย ืนตน 146,183ไร และพื้นที่พืชผ ัก 12,062 ไร สวนพื้นที่ที่อยูอาศัย

167,318.01 ไร นอกจากนี้เปนพ้ืนที่ปา สวนปา และทุงหญา

4.3 ทรัพยากรนํ้า

ปริมาณนํ้าฝน จังหวัดกาฬสินธุมีปริมาณน้ําฝนปานกลาง คือ 1,401-1,800 มิลลิเมตร นวนฝนตก

เฉลี่ยตอป ประมาณ 100-125 วัน อางเก็บน้ําที่ใหญที่ สุดของจังหวัดไดแก เข่ือนลําปาว มีความจุ

1,430 ลาน ลบ.ม แหลงน้ําผิวดิน ทองท่ีจังหวัดกาฬสินธุ มีลําน้ําซ่ึงเปนแหลงกักเก็บนํ้าผิวดินอยูหลายลําน้ํา

เชน ลําน้ําปาว หวยลําพันชาด ลําพะยัง หวยหลัวและลําน้ํายัง แตแหลงน้ําที่สําคัญในจังหวัด ไดแก ลําน้ําปาว

ลําน้ํายัง และแมน้ําชี

4.4 ทรัพยากรธรณี

แรธาตุ แหลงแรสําคัญท่ีพบในจังหวัดกาฬสินธุไดแก แรลิกไนต แรโปแตส และเกลือหิน

Page 7: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

7

4.5 ทรัพยากรสัตวปา

จังหวัดกาฬสินธุ มีจํานวนสัตวปาประมาณ 162 ชนิด ประกอบดวยสัตวปาชนิดตางๆ ดังนี้

สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 53 ชนิด เชน ชางปา เกง ลิง อีเห็น คางคาวกระรอก กระรอกบิน พังพอน ฯลฯ สัตวปก

42 ชนิด เชน นกยูง ไกปา และนกชนิดตางๆ มากกวา 70 ชนิด สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก 17 ชนิด เชน อ่ึงอาง

กบ เขียด ชนิดตางๆ และสัตวเลื้อยคลาน 37 ชนิด เชน เตา ตะพาบน้ํา ตะกวด และงู ชนิดตางๆ นอกจากนี้ยังมี

สัตวที่สัตวที่จัดเปนสัตวปาที่หายากถึง 47 ชนิด ขณะเดียวกันยังอุดมไปดวย ทรัพยากรธรรมชาติตางๆ เชน

แรธาตุ ดิน น้ํา ฯลฯ ท่ีเปนประโยชนแกประชาชนในทองถิ่นและของประเทศโดยสวนรวม (สํานักงาน

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมจังหวัดกาฬสินธุ, 2550)

สวนที่ 2 ศักยภาพจังหวัดกาฬสินธุ

(1) ศักยภาพทางดานเศรษฐกิจ

1. ดานการเกษตร

จังหวัดกาฬสินธุมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 6,946.746 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,341,716 ไร

แบงออกเปน พื้นที่เพ่ือการเกษตร 2,657,011 ไร หรือรอยละ 61.20 ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ปาไม (ปาสงวน

แหงชาติ 14 แหง) พื้นที่ 1,144,700 ไร หรือรอยละ 26.37 ของพื้นที่ทั้งหมด และพ้ืนที่อ่ืน ๆ ไดแก ท่ีอยูอาศัย

ภูเขา แมน้ํา 540,005 ไร หรือรอยละ 12.44 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด ในป 2551 จังหวัดกาฬสินธุมีพื้นที่การเกษตร

2,657,011 ไร แบงเปนพ้ืนท่ีทํานา 1, 609,819 ไร คิดเปนรอยละ 60.59 รองลงมาเปนพื้นท่ีทําไร 789,365 ไร

พื้นที่ไมผลยืนตน 146,183 ไร และพ้ืนที่พืชผัก 12,062 ไร คิดเปนรอยละ 30.10 , 5.50 และ 0.45 ตามลําดับ

(สํานักงานเกษตรจังหวัดกาฬสินธุ, 2550)

1.1 พืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ ไดแก ขาว ออย มันสําปะหลัง ยางพารา

(1) ขาว ในปการผลิต 2551/2552 จังหวัดกาฬสินธุมีพื้นที่เพาะปลูกขาวนาปท้ังส้ิน 1,515,091

ไร แยกเปน เนื้อที่ขาวเจา 319,432 ไร เน้ือที่ขาวเหนียว 1,195,659 ไร มีผลผลิตขาวเจา 146,256.9 ตัน

และขาวเหนียว 550,403.5 ตัน อําเภอที่มีพ้ืนที่ทํานามาก ไดแก อําเภอเมือง ยางตลาด กุฉินารายณ กมลาไสย

และเขาวง โดยเฉพาะขาวเหนียวเขาวงมีช่ือเสียงอยางมาก

Page 8: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

8

(2) ออย ในปการเพาะปลูก 2551/2552 มีพ้ืนที่เพาะปลูก 74,652 ไร มีผลผลิตรวม 1,919,456.6 ตัน

อําเภอที่มีการเพาะปลูกมากไดแก อําเภอหนองกุงศรี ทาคันโท หวยเม็ก สามชัย สหัสขันธ และ กุฉินารายณ

ตามลําดับ

(3) มันสําปะหลัง ในปการเพาะปลูก 2551/2552 พ้ืนที่เก็บเกี่ยวจํานวน 186,977 ไร ผลผลิตรวม

583,016.165 ตัน อําเภอที่ปลูกมากไดแก อําเภอเมือง กุฉินารายณ หนองกุงศรี คํามวง และ สหัสขันธ

(4) ยางพารา ในปการเพาะปลูก 2550/2551 มีพื้นท่ีปลูกยางพารารวม 82,855 ไร แบงเปนพ้ืนที่

ที่กรีดได 10,878 ไร และพ้ืนท่ียังไมใหผล 71,977 ไร มีผลผลิตรวม 3,230.76 ตัน

1.2 แหลงเรียนรูทางการเกษตรดวยภูมิปญญาชาวบาน

จากการที่จังหวัดกาฬสินธุมีผลผลิตทางการเกษตรสําคัญสงผลใหอุตสาหกรรมสวนมากเปน

อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เชน โรงงานน้ําตาล โรงงานแปงมัน โรงสีขาว เปนตน รวมทั้ง

การแปรรูปทางการเกษตรดวยภูมิปญญาชาวบาน ซ่ึงในป 2552 จังหวัดกาฬสินธุไดจัดทําโครงการพัฒนาศูนย

เครือขายปราชญชาวบาน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การพัฒนาการเกษตรแนว

ทฤษฎีใหม และเปนแหลงเรียนรูทางการเกษตร ในปจจุบันมีทั้งหมด 5 ศูนย ไดแก

(1) ศูนยพัฒนาคุณธรรมจังหวัดกาฬสินธุ ต้ังอยูเลขที่ 240 หมู 6 ต.จุมจัง อ.กุฉินารายณ

มีปราชญชาวบ าน คือพระมหาสุภาพ พุทธวิ ริ โย เปนแหล ง เรี ยนรู ด านการ เข าถึ ง คุณธรรมขั้น

พื้นฐาน เชน ศีล 5 ขอ และฮีต 12 คลอง 14 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บานดิน ปุยชีวภาพถั่วงอกไรสาร

น้ํายาในครัวเรือน เตาประหยัดถาน การเตรียมดิน การรูจักกําหนดแผนและการเช่ือมตอกับภาคีในพื้นที่ ทั้ง

ภาครัฐและภาคประชาชน

(2) ศูนยปราชญชาวบานเชียงงาม ต้ังอยูเลขที่ 163 หมูที่ 22 บานเชียงงาม ต.บัวบาน

อ.ยางตลาด มีปราชญชาวบาน คือ นายทองอินทร ภูมิชอ เปนแหลงเรียนรูดานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การเลี้ยงกุงกามกราม การทําปุยหมักชีวภาพ การทําเส่ือกก การเลี้ยงไขผลําและผักกะเฉดนํ้า การขยายพันธุพืช

ดวยวิธีการตางๆ ธรรมะกับวิถีชีวิตชาวบาน การทํานาแปลงใหญ การเลี้ยงกบและปลา

(3) ศูนยกสิกรรมธรรมชาติกาฬสินธุ ต้ังอยูเลขที่ 109 หมู 10 บานหัวแฮด ต. ธัญญาอ.กมลาไสย

มีปราชญชาวบาน คือ นายเฉลิมศักดิ์ ถนอมสิทธิ์ เปนแหลงเรียนรูดานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปา 3 อยาง

Page 9: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

9

ประโยชน 4 อยาง ปุยชีวภาพ พลังงานทดแทน สบูดํา เห็ดขอนไม การคัดพันธุขาวกลอง บัญชีครัวเรือน

แผนชีวิต สมุนไพรไลแมลง นาอินทรีย ผลิตภัณฑในครัวเรือน ธนาคารตนไม

(4) ศูนยเรียนรูพ้ืนภูมิไท ต้ังอยูเลขที่ 20 หมู 14 บานคําไผ ต. สามัคคี อ.รองคํา

มีปราชญชาวบาน คือ นายสุภัทรชัย ทันจรัส เปนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนากับปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียงคนมีนํ้ายาคนเอาถาน การแปรรูปและถนอมอาหาร การเพาะเห็ด ถั่วงอก ไขปญหาสุขภาพ

แผนปจจุบัน - แผนไทย ฐานงานเกษตรอินทรีย ปุยอินทรียชีวภาพครบวงจร การผลิตพืช - สัตวอินทรีย

(5) ศูนยสงเสริมและผลิตเมล็ดพันธุขาวชุมชน ต้ังอยูเลขที่ 138 หมู 2 เทศบาลหวยโพธิ์

อ.เมือง มีปราชญชาวบาน คือ นางสาวสมจันทร ดอนสินพูล เปนแหลงเรียนรูดานหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียงตามรอยพระภูมินทร การทําปุยหมัก การทําชาใบหมอน การเพาะเห็ด สมุนไพรเพื่อสุขภาพ การปองกัน

กําจัดศัตรูพืชแบบ IPM การทําของชํารวย การคัดเมล็ดพันธุขาว ผลิตภัณฑของใชในครัวเรือน และไรนาสวนผสม

ซ่ึงผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดกาฬสินธุไดรับ การตรวจรับรองมาตรฐานสินคาเกษตรดาน

พืช โดยจังหวัดกาฬสินธุไดมีการรณรงคในการผลิตพืชภายใตมาตรฐานการผลติแบบการเกษตรดี ที่เหมาะสม

GAP (Good Agricultural Practice) ในพืชเศรษฐกิจหลายชนิด เชน ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ขาวโพดหวาน มะมวง สม

โอ ลําไย สมเปลือกลอน พริก หนอไมฝรั่ง เปนตน โดยความรวมมือของหนวยงานภาครัฐที่เปนหนวยงาน

สงเสริมและหนวยงานตรวจสอบมาตรฐาน ไดแก สํานักงานเกษตรจังหวัดกาฬสินธุ ศูนยวิจัยพืชไรกาฬสินธุ

สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 จังหวัดขอนแกน

1.3 ดานปศุสัตว

จังหวัดกาฬสินธุมีสัตวเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัด ไดแก ไกเน้ือ ไกไข และสุกร และมีฟารม

ปศุสัตวที่ไดมาตรฐาน ทั้งส้ิน 9 ฟารม ดังน้ี

(1) ฟารมไกเนื้อท่ีไดรับการตรวจรับรองผานมาตรฐาน ในป 2551 มีจํานวนท้ังส้ิน 8 ฟารม คือ อ.เมืองกาฬสินธุ จํานวน 2 ฟารม อ.นามน จํานวน 2 ฟารม อ.กุฉินารายณ จํานวน 4 ฟารม (2) ฟารมไกไขท่ีไดรบัการตรวจรับรองผานมาตรฐานในป 2551 มีจํานวนทั้งส้ิน 2 ฟารม ใน อ.นามน และ อ.กุฉินารายณ (3) ฟารมสุกรท่ีไดรับการตรวจรับรองผานมาตรฐานในป 2551 มีจํานวนทั้งส้ิน 9 ฟารม คือ อ.กมลาไสย จํานวน 1 ฟารม อ.ยางตลาด จํานวน 1 ฟารม อ.คํามวง จํานวน 4 ฟารม อ.หวยเม็ก จํานวน 2 ฟารม และ อ.สมเด็จ จํานวน 1 ฟารม

Page 10: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

10

จังหวัดกาฬสินธุมีแหลงเรียนรูดานปศุสัตวเปนศูนยเครือขายเรยีนรูตามโครงการศูนยเครือขายตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จํานวนทั้งส้ิน 8 ศูนย ไดแก

1. นายประคอง คงมูล อยูใน ต.โพนทอง อ.เมือง เปนศูนยเรียนรูดานโคเนื้อ 2. นายสน่ัน ดวงแกว อยูใน ต.เจาทา อ.กมลาไสย เปนศูนยเรยีนรูดานน้ําหมักเลี้ยงสุกร 3. นายพัน นาชัยนาม อยูใน ต.โนนศิลาเลงิ อ.ฆองชัย เปนศูนยเรยีนรูดานโคเนื้อ และสัตวปก 4. นายโสภา อนันทวนั อยูใน ต.สมเด็จ อ.สมเด็จ เปนศูนยเรียนรูดานโคเนื้อ 5. นายฉลอง จิตจักร อยูใน ต.หนองอีบุตร อ.หวยผึ้ง เปนศูนยเรยีนรูดานโคเน้ือ 6. นางรัชนี ชุมปญญา อยูใน ต.โพน อ.คํามวง เปนศูนยเรียนรูดานสุกร และเปด 7. นายบวร พลเทพ อยูใน ต.กุดโดน อ.หวยเม็ก เปนศูนยเรยีนรูดานสัตวปก 8. นายเกรยีงศักดิ์ แสงวันศรี อยูใน ต.สหัสขันธ อ.สหัสขันธ เปนศูนยเรยีนรูดานสัตวปกและโคเน้ือ

1.4 ดานประมง จังหวัดกาฬสินธุไดมีการรณรงคในการผลิตดานการประมง ภายใตมาตรฐาน 2 ระดับ คือระดับ

การปฏิบัติทางประมงท่ีดี (Good Aquaculture Practice / GAP) สําหรับฟารมเลี้ยง ฟารมเพาะพันธและฟารมอนุบาล และระดับมาตรฐานข้ันปลอดภัย (Safety Level / SL) สําหรับฟารมเลี้ยงโดยความรวมมือของหนวยงานภาครัฐที่เปนหนวยงานตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฟารมและหนวยงานตรวจติดตามฟารมที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน ไดแกสถานีประมงนํ้าจืดจังหวัดกาฬสินธุ และสํานักงานประมงจังหวัดกาฬสินธุ

จังหวัดกาฬสินธุมีแหลงเรยีนรูดานประมงเปนศูนยเครือขายเรยีนรูตามโครงการศูนยเครือขายตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จํานวนทั้งส้ิน 2ศูนย ไดแก

1.นายประยงค ภูกะฐนิ ต้ังอยู บ.โปโล ต.กมลาไสย ศูนยเรยีนรูปลาดุกและปลาหมอเทศ

2.นางสวัสดิ์ อุนมีศร ี ต้ังอยู บ.ทาไคร ต.บึงวิชัย อ.เมือง ศูนยเรียนรูเพาะเลีย้งกบ

1.5 ดานแหลงน้ํา แหลงน้ําท่ีใชในการเกษตรในจังหวัดกาฬสินธุ มีดังนี ้

1.5.1 แหลงนํ้าธรรมชาต ิ (1) หวยยาง ลําพานและลําปาว ลําน้ําท้ัง 3 สายนี้ มีแหลงกําเนิดจากบริเวณเทือกเขาภูพาน

ไหลผาน พ้ืนที่ 7 อําเภอไดแก อ.ทาคันโท อ.คํามวง อ.สหัสขันธ อ.หนองกุงศรี อ.ยางตลาด และ อ.กมลาไสย

ไหลไปบรรจบกับลําชีที่ อ.รองคํา

(2) ลํายัง มีแหลงกําเนิดจากเทือกเขาภูพานไหลผาน อ.เขาวง อ.กุฉินารายณ และอ.นามน แลวไหลผานเขต อ.โพนทอง จังหวัดรอยเอ็ด ไปรวมกับแมน้ําชี

Page 11: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

11

(3) ลําชี เปนแมนํ้าที่สําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนหน่ึงของลําชีไหลผาน อ.กมลาไสย อ.ยางตลาด และ อ.ฆองชัย เปนระยะทาง 47 กิโลเมตร

(4) ลําน้ําสายอ่ืนๆ เชน หวยโพธิ์ หวยสีทน และหวยสะทด อยูในเขต อ.เมือง และ อ.ดอนจาน หวยผึ้ง หวยฝา และหวยสะทด อยูในเขต อ.หวยผึ้ง ลํานํ้าจุมจังอยูในเขต อ.กุฉินารายณ ลําน้ําสายนาวี อยูในเขต อ.เขาวง และหวยมะโน อยูในเขต อ.นาคู

1.5.2 แหลงน้ําชลประทาน

(1) โครงการชลประทานขนาดใหญ จังหวัดกาฬสินธุมีระบบชลประทานขนาดใหญ

1 แหง ไดแก โครงการชลประทานลําปาว ซ่ึงสามารถเก็บกักน้ําได 1,430 ลานลูกบาศกเมตร สงนํ้าเพื่อการ

เพาะปลูกในฤดูฝน 314,000 ไร และสงนํ้าเพื่อการเพาะปลูกพืชในฤดูแลงไดประมาณ 150,000 ไร

(2) โครงการชลประทานขนาดกลาง จังหวัดกาฬสินธุ มีระบบชลประทานขนาดกลาง 18 แหง

ปริมาณเก็บกักสูงสุด 117.90 ลานลูกบาศกเมตร พื้นที่รับประโยชน 74,557 ไร

(3) โครงการชลประทานขนาดเล็กและโครงการเกี่ยวกับแหลงน้ําอ่ืน ๆ จังหวัดกาฬสินธุ

มีระบบชลประทานขนาดเล็กและโครงการอ่ืนๆ จํานวน 190 โครงการ พ้ืนที่รับประโยชน 54,572 ไร

(4) โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ไดแก โครงการพัฒนาพ้ืนที่ เกษตรน้ําฝน

บานแดนสามัคคี โครงการขยายผลโครงการพัฒนาพื้นที่เกษตรนํ้าฝน (การขุดสระเก็บนํ้า) อ.เขาวง โครงการ

อางเก็บน้ําลําพะยัง (ตอนบน) อ.เขาวง โครงการจัดหาแหลงนํ้าชวยเหลือราษฎรนิคมสรางตนเองลําปาวอัน

เน่ืองมาจากพระราชดําริ โครงการฝายทดนํ้าหวยเสือเตน อ.สหัสขันธ โครงการปรับปรุงดินและระบบสงน้ํา

หวยดาน อ. เมืองกาฬสินธุ โครงการปรับปรุงระบบสงนํ้าอางเก็บน้ํานาไรเดียว อําเภอสหัสขันธ

(5) ศูนยบริการโครงการสูบนํ้าดวยไฟฟาจังหวัดกาฬสินธุ มีสถานีสูบน้ําดวยไฟฟาอยูในความรับผิดชอบ 56 สถานี ต้ังอยูใน 12 อําเภอ มีพ้ืนที่โครงการ 119,100 ไร และพื้นที่สงน้ํา 79,506 ไร

2. ดานการคาการลงทุน

อุตสาหกรรมท่ีสําคัญของจังหวัดกาฬสินธุ สวนมากจะเปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการเกษตร

การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เชน โรงงานนํ้าตาล โรงงานแปงมัน โรงสีขาว เปนตน ป 2551 จังหวัด

กาฬสินธุ มีจํานวนสถานประกอบการทั้งหมด 400 แหง จํานวนเงินทุน 9,722.7 ลานบาท และมีคนทํางาน

ทั้งส้ิน 8,931 คน เงินภาษีที่เก็บไดทั้งหมด 618.8 ลานบาท แบงเปน ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 287.8 ลานบาท

Page 12: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

12

ภาษีเงินไดนิติบุคคล 100.1 ลานบาท ภาษีมูลคาเพิ่ม 184.3 ลานบาท ภาษีธุรกิจเฉพาะ 17.4 ลานบาท อากร

แสตมป 26.8 ลานบาท และอ่ืนๆ 2.1 ลานบาท (สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกาฬสินธุ, 2551)

3. ดานการทองเท่ียว

จังหวัดกาฬสินธุมีการขยายตัวทางดานการทองเที่ยวอยางตอเนื่อง ซ่ึงจากยุทธศาสตรการสงเสริมการ

ทองเท่ียวของจังหวัดทําใหยอดผูมาทองเที่ยวในจังหวัดเพ่ิมสูงข้ึน และการที่มีแหลงทองเท่ียวที่สําคัญ เชน

พิพิธภัณฑไดโนเสาร เข่ือนลําปาว หาดดอกเกด และอ่ืน ๆ ประกอบกับมีการสรางสะพานขาม ลําน้ําปาว

ระหวางอําเภอหนองกุงศรีและอําเภอสหัสขันธ คาดวาจะเปนแหลงทองเท่ียวที่สําคัญตอไปของจงัหวัด

ในป 2551 จังหวัดกาฬสินธุ มีจํานวนโรงแรมท้ังส้ิน 17 แหง มีจํานวนหองพัก 614 หอง

มีจํานวนผูเขาพักทั้งส้ิน 422,479 คน (ชาวไทย 419,366 คน ชาวตางประเทศ 3,113 คน) มีจํานวน

นักทองเท่ียวทั้งส้ิน 218,562 คน (ชาวไทย 216,511 คน ชาวตางประเทศ 2,051 คน) และมีจํานวนนัก

ทัศนาจรทั้งส้ิน 203,917 คน (ชาวไทย 202,855 คน ชาวตางประเทศ 1,062 คน) (สํานักงานทองเที่ยวและ

การกีฬาจังหวัดกาฬสินธุ)

แหลงทองเท่ียวและสถานท่ีสําคัญ

(1) พิพิธภัณฑไดโนเสารสิรินธร ต้ังอยูขางวัดสักกะวัน เชิงภูกุมขาว อ.สหัสขันธ ถูกคนพบเม่ือป

พ.ศ. 2537 โดยพระครูวิจิตรสหัสคุณ เปนสถานท่ีจัดแสดงนิทรรศการ เพ่ือบริการและเผยแพรความรูใหกับ

ประชาชน และเปนสถานที่ใชศึกษา คนควาของนักวิชาการจากทั่วโลกที่มาแลกเปล่ียนความรูซ่ึงกันละกนั ตอมา

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทานพระราชานุญาตใหใชช่ือพิพิธภัณฑนี้วา

พิพิธภัณฑสิรินธร เม่ือวันท่ี 28 ตุลาคม 2549

(2) พระไสยาสนภูปอ ต้ังอยูในเขตวัดพระอินทรประทานพร บานโพนคํา ต. ภูปอ อ.เมือง เปน

พระพุทธรูปโบราณปางไสยาสนทั้ง 2 องค องคแรกอยูใตเพิงผาบริเวณเชิงเขาซ่ึงอยูสูงจากพื้นราบ 5 ม. องคท่ี 2

อยูใตเพิงผาเกือบถึงยอดเขาตองเดินข้ึนบันใด 426 ข้ันโดยมีที่พักเปนระยะ เปนที่เคารพบูชาของชาวจังหวัด

กาฬสินธุและใกลเคียง บริเวณนี้ยังมีทิวทัศนตามธรรมชาติที่สวยงามเหมาะแกการพักผอนอยางยิ่ง

(3) เขื่อนลําปาว ตั้งอยูบริเวณรอยตอ อ.เมือง และ อ. ยางตลาด เข่ือนลําปาวเปนท่ีเที่ยวที่ชาวกาฬสินธุ

นยิมไปในชวงวันหยุด เริ่มกอสรางป พ.ศ. 2506 แลวเสร็จ ป พ.ศ.2511 เปนเข่ือนเพ่ือการชลประทานซ่ึงปดกั้น

Page 13: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

13

แมน้ําสองสาย คือแมน้ําปาวและหวยยาง เกิดเปนอางน้ําแฝดคลายทะเลสาบ ตอมาจึงมีการขุดรองนํ้าใหอางเก็บ

น้ําท้ังสองเชื่อมตอกันกลายเปนผืนนํ้ากวางใหญ มีปริมาณน้ําถึง 1, 430 ลาน ลบ.ม.

(4) เมืองฟาแดดสงยาง วัดโพธิ์ชัย พระธาตุยาคู ต้ังอยูที่บานเสมา อ.กมลาไสย เปนเมืองโบราณท่ีมี

ซากอิฐปนดินเปนขอบคูเมืองสองช้ันผังเมืองรูปไข แบบทวาราวดี ขุดพบพระพิมพดินเผาและใบเสมาทั้งที่อยู

ในดินและปกอยูเปนแนวมากมาย มีลวดลายการแกะสลักท่ีสวยงามมาก และยังพบโบราณวัตถุที่สามารถ

ประมาณอายุเมืองไดวาราว พ.ศ.1300-1600 และมีพระธาตุยาคูหรือพระธาตุใหญ เปนสถูปสมัยทวาราวดี

(ราวพุทธศตวรรษที่ 13 -15) ต้ังอยูทุงนาทางทิศเหนือบานเสมา

(5) กลุมทอผาไหมแพรวาบานโพน ตั้งอยู ต.โพน อ.คํามวง บานโพนเปนหมูบานชาวผูไท ซ่ึงเปน

กลุมเผาไทยสาขาหนึ่ง ที่เม่ือรอยปกอนเคยมีถิ่นฐานอยูที่บริเวณสิบสองปนนาและยายถิ่นฐานมาอยู ที่จังหวัด

กาฬสินธุ ปจจุบันยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีซ่ึงสืบทอดมาจากบรรพบุรุษไวไดมาก โดยเฉพาะการทอ

ผาไหมแพรวา

(6) ผาเสวยภูพาน ต้ังอยู บานแกงกะอาม ในเขต อช.ภูพาน ต.ผาเสวย อ.สมเด็จ เปนแหลงทองเท่ียว

ทางธรรมชาติที่นาสนใจมากท่ีสุดของจังหวัดอยูบนเทือกเขา ภูพานที่ลอมรอบไปดวยหุบเขา และปาไมนานา

พรรณท่ีเขียวขจี และยังคงความอุดมสมบูรณ มีสัตวปาท่ีหายากหลายชนิดอาศัยอยู

(7) วนอุทยานภูแฝก ต้ังอยูบานน้ําคํา ต.แลนชาง อ.นาคู ส่ิงที่นาสนใจคือรอยเทาไดโนเสารจํานวน

มากซ่ึงประทับอยูพลาญหิน นอกจากนี้ทางขึ้นยังมีประติมากรรมแกะสลักหินโบราณรูปผูหญิง หรือหินนาง

นอน และแตงกายแบบขอมหรือทวาราวดี

(8) หมูบานวฒันธรรมโคกโกง ตั้งอยูใน อ.กุฉินารายณ เปนหมูบานที่มีการอนุรกัษวฒันธรรมชาวผูไท

เปดตอนรับนักทองเท่ียวที่สนใจทองเท่ียวเชิงอนุรักษไดพักแรม สัมผัสวิถีชาวบาน ประเพณพิีธีตางๆ กิจกรรมที่

จัดใหไดแก พิธีบายศรีสูขวญั รับประทานอาหารพื้นบาน “พาแลง” ชมการแสดงศลิปะพ้ืนบานและเพลดิเพลิน

กับการเดินชมปาเขาลําเนาไพร นํ้าตกตาดสูง – ตาดยาว ศึกษาธรรมชาติพรรณไมและพืชสมุนไพรทองถิน่

ตามเสนทางเดนิปาในวนอุทยานภผูาวัว

Page 14: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

14

(2) ศักยภาพทางดานสังคม

1. ดานการศึกษา

จังหวัดกาฬสินธุ ไดแบงเขตการศึกษาเปนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท้ังหมด 3 เขต ปการศึกษา

2550 จังหวัดกาฬสินธุ มีจํานวนโรงเรียนท้ังส้ิน 690 โรงเรียน แบงเปนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 636 โรงเรียน

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน 42 โรงเรียน สํานักงานการศึกษาทองถิ่น 4 โรงเรียน กรมศาสนา

8 โรงเรียน จํานวนหองเรียน ทั้งส้ิน 7,639 หอง แบงเปนการศึกษาข้ันพื้นฐาน 6,950    หอง สํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาเอกชน 582 หอง สํานักงานการศึกษาทองถิ่น 67 หอง และกรมศาสนา 40 หอง

จํานวนครูทั้งส้ิน 9,434 คน (ชาย 4,075  คน หญิง 5,359 คน) จํานวนนักเรียนทั้งส้ิน 169,708 คน

(ชาย 85,350  คน หญิง 84,358 คน) ระดับอาชีวะศึกษาและอุดมศึกษา มีจํานวนสถานศึกษาทั้งส้ิน 15 แหง

จํานวนอาจารย 818 คน (ชาย 490 คน หญิง 328 คน) จํานวนนักศึกษา 18,796  คน   (ชาย 10,541  คน

หญิง 8,255 คน) สําหรับสํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนมีจํานวนผูเรียน/นักศึกษา ทั้งส้ิน 62,295  คน

(ชาย 30,734 คน หญิง 31,561 คน) 

จังหวัดกาฬสินธุมีสถานศึกษาที่เปดสอนในระดับปริญญาตรี ไดแก มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต

กาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม วิทยาเขตกาฬสินธุ

ตารางเปรยีบเทียบจํานวนนักเรยีน - นักศึกษา ป 2549-2551

จํานวนนักเรยีน – นักศึกษา (คน) ป พ.ศ. 

ม.6  ม.ราชภัฎกาฬสินธุ ม.เทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ 

2549  7,028  2,744  1,038 

2550  6,452  2,908  825 

2551  7,675  2,859  1,540 

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดกาฬสินธุ 2552

Page 15: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

15

2. ดานสาธารณสุข

ในป 2551 มี โรงพยาบาลรัฐบาล 14 แหง โรงพยาบาลเอกชน 1 แหง สถานีอนามัย 157 แหง

คลีนิคทุกประเภท 106 แหง มีแพทยจํานวน 92 คน ทันตแพทย 35 คน พยาบาล 892 คน จํานวนเตียงผูปวย

1,135 เตียง จํานวนผูปวยใน จําแนกตามกลุมสาเหตุปวย 75 โรค จํานวน 26,182 คน และผูปวยนอกจําแนก

ตามกลุมสาเหตุปวย 21 โรค จํานวน 478,986 คน ความมั่นคง ดานสุขภาพอนามัยอยูในระดับปานกลาง

นอกเขตเมืองจะมีความม่ันคงดานสุขภาพอนามัยตํ่า ประชากรวัยทํางานจํานวนหนึ่งมีพฤติกรรมเส่ียงดานการ

บริโภคอาหารท่ีไมถูกสุขอนามัย ดื่มเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล สูบบุหรี่ และการไมออกกําลังกาย

นอกจากนี้ จังหวัดกาฬสินธุยังเปนสถานฝกอบรมนักศึกษาแพทย พยาบาล จากสถาบันการศึกษาตางๆ

ของประเทศไทย ในทุกๆป และในปงบประมาณ 2552 โรงพยาบาลกาฬสินธุ ไดรวมเปนสถาบันผลิตแพทย

รวมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ ไดรวมเปนสถาบันผลิตพยาบาล

ปริญญาโทสาขาบริหารการพยาบาล และสาขาผูสูงอายุ รวมกับมหาวิทยาลัยบูรพา โดยมีสถานที่เรียนที่

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ

ขอมูลจํานวนแพทย ท่ีเขารบัการฝกแพทยเพ่ิมพนูทักษะแพทยใชทนุท่ีโรงพยาบาลกาฬสินธุ

ปการศกึษา จํานวนแพทย จาก ม.มหาสารคามศกึษา

ในชั้นปที่ 4 (คน)

จํานวนแพทยฝกเพ่ิมพูนทักษะ

แพทย ใชทุน (Intern) (คน) นศพ.ป4 นศพ.ป6 รวม

2552 16 13 8 49 86

2551 - 13 17 76 106

2550 - 23 10 38 71

2549 - 18 6 24 48

2548 - 20 - - 20

2547 - 16 - - 16

2546 - 19 - - 19

2545 - 16 - - 16

2544 - 15 - - 15

2543 - 16 - - 16

รวม 413

หมายเหตุ : ในปงบประมาณ 2552 รพ.กาฬสินธุ รวมเปนสถาบันผลติแพทยรวมกับมหาวิทยาลยัมหาสารคาม

ที่มา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ 2552

Page 16: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

16

ขอมลูจํานวนพยาบาล ท่ีเขารับการฝกปฏิบัตกิาร ท่ี โรงพยาบาลกาฬสินธุ 

ปการศึกษา จํานวนนักศึกษาพยาบาล เขารับการฝก

ประสบการณดาน ปฏิบัติการพยาบาล (คน)

จํานวนพยาบาลท่ีเขารับการฝกอบรม

การพยาบาลเวชปฏิบัติท่ัวไป (คน) รวม

2552 330 80 410

2551 311 40 351

2550 285 30 315

2549 236 20 256

2548 348 - 348

2547 311 - 311

2546 260 - 260

2545 244 - 244

2544 322 - 322

2543 246 - 246

รวม 3,063

ที่มา : สาํนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ 2552 

ขอมลูจาํนวนพยาบาลปริญญาโท เขารับการศกึษามหาวิทยาลยับูรพา

สถานท่ีศึกษาท่ีสํานกังานสาธารณสุขจังหวดักาฬสินธุ

ปการศกึษา  สาขาบริหารการพยาบาล(คน)  สาขาผูสูงอายุ(คน) 

2552 21  25 

ที่มา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ 2552

Page 17: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

17

LOGO

วิทยาเขตกาฬสินธุ

 

ประวตัิความเปนมาโดยสังเขป 

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ กอต้ังข้ึนเม่ือป พ .ศ.2482

ที่แกงดอนกลาง ตําบลเหนือ อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม (เดิมจังหวัดกาฬสินธุ ข้ึนตอจังหวัดมหาสารคาม)

เปดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนตน แผนกเกษตรกรรม โดยเปดรับนักเรียนท่ีสําเร็จการศึกษาช้ันประถมปท่ี 4

เขาอยูประจํา เนื่องจากพ้ืนที่แกงดอนกลางคับแคบ เพราะลักษณะพ้ืนที่เปนแกงมีน้ําลอมรอบไมสามารถ

ขยายพื่นที่เพ่ือใชประโยชนในกิจการฟารมไดอีก ในป พ.ศ. 2496 วิทยาเขตกาฬสินธุ จึงไดแลกเปลี่ยนที่ดินแกง

ดอนกลางกับท่ีดินเรือนจํา จังหวัดกาฬสินธุ และในป พ.ศ. 2497 วิทยาเขตกาฬสินธุยายจากแกงดอนกลางมาอยูที่

หมูบานดงปอ อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุมีเนื้อท่ีประมาณ 525  ไร (บนถนนกาฬสินธุ – สกลนคร) หางจาก

ตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร และในป พ.ศ. 2500 เปดสอนระดับประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ

แผนกเกษตรกรรม หลักสูตร 3 ป ในป พ.ศ. 2508 ไดเขาสังกัดกรมอาชีวศึกษา เปลี่ยนช่ือเปนวิทยาลัย

เกษตรกรรม เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง วิทยาเขตกาฬสินธุ ไดพัฒนาการเรียนการสอน

ตลอดเวลา เพื่อใหทันตอความเจริญกาวหนาของประเทศและของโลก เพ่ือสนองตอความตองการของชุมชน

ผูปกครอง ประชาชนทั่วไปท่ีใหความสนใจตอการเรียนในสายวิชาชีพเกษตรกรรมตลอดจนสนองตอความ

ตองการของภาครัฐและเอกชนที่ตองการผูสําเร็จการศึกษาสายวิชาชีพออกไปทํางานเปนจํานวนมาก 

ป พ.ศ. 2518 ไดยายสังกัดจากกรมอาชีวศึกษามาสังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา

วิทยาเขตกาฬสินธุ เปลี่ยนช่ือเปนวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ และเม่ือวันที่ 15

กันยายน 2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานช่ือวิทยาลัยเทคโนโลยีและ

อาชีวศึกษาวา “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” และพระราชทานพระบรมราชนุญาติใหเชิญพระราชสัญจร

Page 18: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

18

ประจําพระองคและพระมหาพิชัยมงกุฎเปนเครื่องหมายราชการของสถาบันฯ วิทยาเขตกาฬสินธุไดช่ือวา

“สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ”  

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เกิดข้ึนตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคล พ.ศ.2548 เหตุผลโดยท่ีมาตรา 36 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 บัญญัติให

สถาบันการศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล เพ่ือใหสถาบันการศึกษาของรัฐดําเนิน

กิจการไดโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหารและการจัดการท่ีเปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทาง

วิชาการอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถาบันการศึกษา ดังน้ัน สมควรจัดต้ังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคล จํานวน 9 แหง ข้ึนแทนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเปนหนึ่งใน

จํานวนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แหง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ

เปนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐดานวิชาชีพ และเทคโนโลยีที่มีวัตถุประสงคใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและ

วิชาชีพช้ันสูงที่มุงเนนการปฏิบัติการสอน การวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี และทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยใหผูสําเร็จการศึกษามีโอกาสศึกษาตอดานวิชาชีพ

เฉพาะในระดับปริญญา ปจจุบันวิทยาเขตกาฬสินธุมี 2 คณะ คือ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร

ประกอบดวย 7 สาขาวิชา ดังนี้ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สาขาวิชา

เทคโนโลยีการประมง สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล สาขาวิชา

เทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร และ คณะเทคโนโลยีสังคม ประกอบดวย 3

สาขาวิชา ดังนี้ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาบริหารธุรกิจและสาขาวิชาศิลปศาสตร วิทยาเขต

กาฬสินธุจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาตรีและประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง 

ภารกิจหลกัของมหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ 

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ มีภารกิจในการดําเนินงานหลักอยู

4 ประการ คือ 

1. ภารกิจดานการเรียนการสอน 

2. ภารกิจดานงานวจิัย 

3. ภารกิจดานงานบริการชุมชน 

4. ภารกิจดานการอนุรักษศลิปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม 

Page 19: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

19

1. ภารกิจดานการเรียนการสอน 

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ จดัการเรยีนการสอนในระดับ

บัณฑิตศึกษาระดับปรญิญาตรี และประกาศนียบัตรวิชาชพีช้ันสูงโดยมุงเนนทั้งทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

เพ่ือใหนักศึกษาสามารถนําไปใชในการประกอบอาชีพหรือศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึน 

2. ภารกิจดานงานวิจยั 

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ สนับสนุนงานดานการวจัิยให

อาจารยไดทํางานวิจัยครอบคลุมทุกดานและสงเสริมใหบคุลากรไดเขารับการอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพดาน

งานวิจัยท้ังในประเทศและตางประเทศ 

3. ภารกิจดานงานบรกิารชมุชน 

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ ใหการบรกิารชุมชน โดยจัด

ฝกอบรมดานตาง ๆ ใหกับเกษตรกรผูนํากลุมชุมชนหรอืผูที่สนใจในเขตพื้นท่ีจังหวดักาฬสินธุ และจังหวัด

ใกลเคียง 

4. ภารกิจดานการอนรุักษศิลปวฒันธรรมและส่ิงแวดลอม 

    มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ ใหความสําคัญกับการอนุรกัษ

ศิลปวัฒนธรรม ประเพณตีาง ๆ ของไทย รวมทั้งทรพัยากรธรรมชาติและรกัษาส่ิงแวดลอม 

  มีศูนยวิจัยและฝกอบรมภูสิงห อยูในอําเภอสหัสขันธ จังหวัดกาฬสินธุ ที่สนับสนุนภารกจิทุก

ดานของวิทยาเขตกาฬสินธุ

 

แผนผังวิทยาเขตกาฬสินธุ

Page 20: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

20

 

ประวติัความเปนมาของวทิยาเขตกาฬสินธุ

วิทยาเขตกาฬสินธุไดกอต้ังขึ้นเมือ่ป พ.ศ. 2482 ที่แกง

ดอนกลาง ตําบลเหนือ อําเภอเมอืง จังหวัดมหาสารคาม

พ.ศ. 2497 วิทยาเขตฯ จึงไดยายจากแกงดอนกลางมาอยู

ท่ีหมูบานดงปอ อําเภอเมอืง จังหวัดกาฬสินธุ ซึ่งมพีืน้ที่

ประมาณ 525 ไร

ป พ.ศ. 2518 ยายเขาไปสังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยแีละ

อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเปล่ียนช่ือเปน

“วิทยาลัยเทคโนโลยแีละอาชีวศึกษา วิทยาเขตกาฬสินธุ”  

ประวติัความเปนมาของวทิยาเขตกาฬสนิธุ

วันท่ี 15 กันยายน 2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม

พระราชทานนามใหมเปน “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

วิทยาเขตกาฬสินธุ”

วันท่ี 18 มกราคม 2548 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

วิทยาเขตกาฬสินธุ ไดยกฐานะเปน “มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ”

 

 

สีประจําวิทยาเขตกาฬสินธุ

สีเหลือง ส่ือถงึความเจริญรุงเรือง ความสดใส ความดีงาม และการมีคุณธรรม

ตนไมประจําวิทยาเขตกาฬสินธุ

ตนลีลาวด ี

ดอกไมประจําวิทยาเขตกาฬสินธุ

ดอกลีลาวดี  

Page 21: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

21

วิสัยทัศน (Vision)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต

กาฬสินธุ เปนผูนําในการจัดการศึกษา สหวิทยาการ ผลิต

กําลังคน นักปฏิบัติการใหมีความเปนเลิศดานวิชาชีพและ

เทคโนโลยี มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและสรางคุณคา

ใหกับสังคม

 

พันธกิจ (Mission)

ผลิตนักศึกษาท่ีมีความเชี่ยวชาญทางดานวชิาชีพและเทคโนโลยี

ท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐานสากล ตอบสนองความตองการของ

ตลาดแรงงาน

ผลิตงานวจัิย ส่ิงประดิษฐ และนวตักรรมท่ีมีคุณคาตอบสนอง

ความตองการของสังคมอยางตอเน่ือง

เปนศูนยกลางบริการทางวชิาการและวชิาชีพ เสริมสราง

ภูมิปญญาทองถ่ินดวยเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม

พัฒนาวทิยาเขตฯ ใหมีขีดความสามารถในการปรับตัวตอการ

เปล่ียนแปลงและความกาวหนาทางวชิาชีพและเทคโนโลยี  

 

 

เปาหมาย (Goals)

ผลิตนักศึกษาท่ีมีความรูความชํานาญดานวิชาชพี และมี

คุณธรรมตามมาตรฐานความตองการของตลาดแรงงานระดับ

ตํ่ากวาปริญญาตรี : ปริญญาตรีในอัตราสวน 40 : 60

ผลิตและเผยแพรผลงานวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรมท่ี

สามารถประยุกตใชไดอยางเหมาะสมไมนอยกวา 2 เร่ืองตอป

เปนศูนยความเปนเลิศในการใหบริการความรูทางวิชาการ

และวิชาชพี เปนท่ียอมรับของทุกกลุมเปาหมาย

 

Page 22: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

22

เปาหมาย (Goals)

พัฒนาวิทยาเขตฯ ใหเขาสูรูปแบบขององคกรแหงการเรียนรู

และทรัพยากรบุคคลใหมีศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถมี

ความรูความชํานาญในงานท่ีรับผิดชอบ

จัดกิจกรรมสงเสริมดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและรักษา

ส่ิงแวดลอม

 

กลยุทธ (Strategies)

ปรับสัดสวนการรับนักศึกษาของวิทยาเขตกาฬสินธุ

จัดทํามาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษาของทุก

หนวยงาน

พัฒนาเปนศูนยกลาง ในการวิจัย สรางส่ิงประดิษฐ

นวัตกรรม ทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและ

สังคมทองถิน่

สรางเครือขาย ความรวมมือดานบริการความรูทางวิชาการ

วิชาชีพและพัฒนาเทคโนโลยี 

 

 

กลยุทธ (Strategies)

พัฒนาระบบบริการและบริหารงบประมาณใหมีประสิทธิภาพ

เพ่ิมขีดความสามารถดานวิชาชีพและเทคโนโลยีที่โดดเดน

พัฒนาหนวยงานและสนับสนุนใหคณาจารย นักศึกษา

ชุมชนไดมีสวนรวมในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไทยและ

รักษาส่ิงแวดลอม

 

Page 23: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

23

โครงสรางการจัดองคกร

 

 

 

 

 

Page 24: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

24

 

 

บุคลากร

จํานวนบุคลากรจําแนกตามตําแหนง 

 

 

 

 

 

Page 25: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

25

 

 

บุคลากร

จํานวนบุคลากรสายวิชาการ จําแนกตามวุฒิการศึกษา 

 

 

 

ครุภัณฑ อาคารสถานท่ี

วิทยาเขตกาฬสินธุ มีอาคารจํานวน 53 หลัง ประกอบดวยอาคารตางๆ ดังนี้

1. อาคารเรียนและปฏิบัติการ จํานวน 26 หลัง2. โรงเรือนเกษตรกรรม จํานวน 27 หลัง

 

Page 26: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

26

อุปกรณ เคร่ืองมอืและเทคโนโลยี

พัฒนาหองสมุดใหอยูในระบบการทํางานหองสมุดอัตโนมัติ

ฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส

การเรียน การสอนบนเครือขาย (E–Learning)

ขยายการบริการ Internet แบบเครือขายไรสาย

(Wireless Networks)

 

 

หองปฏิบัติการ

รายการ จํานวน (หอง)คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร1. หองปฏิบัติการเคมี 22. หองปฏิบัติการฟสิกส 23. หองปฏิบัติการชีววิทยา 24. หองปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ 55. หองปฏิบัติการวทิยาศาสตรและ

เทคโนโลยีอาหาร9

6. หองปฏิบัติการเทคโนโลยีเคร่ืองกล 37. หองปฏิบัติการเทคโนโลยีการผลิตสัตว 38. หองปฏิบัติการเทคโนโลยีการผลิตพืช 39. หองปฏิบัติการเทคโนโลยีประมง 210.หองปฏิบัติการเทคโนโลยีอุตสาหการ 311.หองปฏิบัติการวทิยาศาสตรสุขภาพสัตว 3  

Page 27: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

27

หองปฏิบัติการ

รายการ จํานวน (หอง)คณะเทคโนโลยีสงัคม1. หองปฏิบัติการการเรียนการสอนภาษาธุรกิจ

3

2. หองปฏิบัติการวจัิยการตลาด 13. หองปฏิบัติการการเรียนการสอน 154. หองปฏิบัติการสํานกังาน 15. หองปฏิบัติการการเรียนการสอน

คอมพิวเตอร6

 

เคร่ืองมอืวิเคราะหทดสอบช้ันสูง

Atomic Absorptio Spectrophotometer

High Performance Liquid Chromatography

UV-Vis Spectrophotometer

Gas Chromatography

Differential Scanning Calorimeter

ฯลฯ

 

 

 

Page 28: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

28

ระบบการศึกษาและการรับเขาศึกษา

ระบบรับตรง เปนการรับสมัครนักเรียน

หรือนักศกึษาจากทัว่ประเทศ

ระบบโควตา เปนการจัดสรรโควตาให

นักเรียนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ระบบสอบคดัเลือกจากสวนกลาง เปน

การคดัเลือกผานกระบวนการรับสมัคร

คดัเลือกบุคคลเขาศกึษาใน

สถาบันอดุมศกึษาของสํานักงาน

คณะกรรมการการอดุมศกึษา  

 

หลักสูตรท่ีเปดสอน

ระดับการศึกษา จํานวนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) 12ปริญญาตรี 17ปริญญาโท 3

 

 

Page 29: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

29

จํานวนนกัศึกษา

จํานวนนักศึกษา ปการศึกษา 2551 จําแนกตามสาขาวิชา  

 

จํานวนนกัศึกษา

จํานวนนักศึกษา ปการศึกษา 2551 จําแนกตามระดับการศึกษา 

Page 30: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

30

ผูสําเร็จการศึกษา

 

 

การพัฒนานักศึกษา

จุดมุงหมายท่ีจะเสริมสรางและพัฒนานักศึกษา

ใหมคุีณลักษณะในดานตางๆ ดังน้ี

สงเสริมวิชาการ (สติปญญา)

สงเสริมสุขภาพ (รางกาย)

สงเสริมคุณธรรม จริยธรรมและบุคลิกภาพ (จิตใจ)

สงเสริมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (สังคม)

 

 

 

Page 31: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

31

การวิจัย

วิทยาเขตกาฬสินธุมีการวิจัยเพ่ือพัฒนาองคความรู

ตางๆ จํานวน 19 โครงการ โดยไดรับงบประมาณในการ

ดําเนินการท้ังส้ิน 6,648,230 บาท

 

การบริการวิชาการ

วิทยาเขตกาฬสินธุมีการบริการวิชาการเพ่ือพัฒนา

สังคม จํานวน 14 โครงการ แบงเปนโครงการยอยทั้งหมด

53 โครงการ

 

การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

 

Page 32: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

32

 

มหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ 

 

1 . ชื่อมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ

2. ประวตัิความเปนมา

โครงการจัดต้ังสถาบันราชภฏักาฬสินธุ ไดจัดต้ังข้ึนตามมติคณะรัฐมนตรีในการประชุม เม่ือ วันท่ี 26 สิงหาคม พ.ศ. 2539 และวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2540 โดยอนุมัติใหมีการจัดต้ังสถาบันราชภัฏใหม 5 แหงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก สถาบันราชภัฏชัยภูมิ สถาบันราชภัฏรอยเอ็ด สถาบันราชภัฏ ศรีสะเกษ สถาบันราชภัฏนครพนมและสถาบันราชภัฏกาฬสินธุ

สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏไดแตงต้ังใหนายนพพร โฆสิระโยธิน รองอธิการบดีสถาบัน ราชภัฏอุดรธานี เปนผูรับผิดชอบโครงการจัดต้ังสถาบันราชภัฏกาฬสินธุ   ตอมาสถาบันราชภัฏมหาสารคามไดเขามาเปนผูดูแลการจัดต้ัง ในปการศึกษา 2542 ไดเปดรับสมัครนักศึกษาระดับอนุปริญญาทั้งหมด 3 โปรแกรมวิชา คือ  โปรแกรมวิชากอสราง โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร และโปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ  ตอมา นายนพพร โฆสิระโยธิน  ไดขอยายกลับไปปฏิบัติราชการที่สถาบันราชภัฏอุดรธานี สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏจึงไดแตงต้ังให นายสหัส หาญสินธุ รองอธิการบดีสถาบันราชภัฏมหาสารคามมาปฏิบัติหนาท่ีแทน   วันที่ 15 มิถุนายน 2547 สถาบันราชภัฏกาฬสินธุมีฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยใหแบงสวนราชการตามกฎกระทรวงที่ประกาศเม่ือวันที่ 8 มีนาคม 2548 ออกเปน 2 สวนคือ สํานักงานคณบดี และคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

3 . ปรัญชา วสัิยทัศน พันธกจิ

ปรัชญา “คุณธรรมนําการศึกษา คือ การพัฒนาที่ย่ังยืน”

วิสัยทัศน “ใหโอกาสอุดมศึกษาแกผูแสวงหาโอกาส”

พันธกจิ

(3.1) แสวงหาความจริงเพ่ือสูความเปนเลศิทางวิชาการ บนพื้นฐานของภูมิปญญาทองถิ่น

ภูมิปญญาไทย และภูมิปญญาสากล

Page 33: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

33

(3.2) ผลิตบัณฑิตท่ีมีความรูคูคุณธรรม สํานึกในความเปนไทย มีความรักและผูกพันตอทองถิ่น

อีกทั้งสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อชวยใหคนในทองถิ่นรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง การผลิต

บัณฑิตดังกลาว จะตองใหมีจํานวนและคุณภาพสอดคลองกับแผนการผลิตบัณฑิตของประเทศ

(3.3) เสริมสรางความรูความเขาใจในคุณคา ความสํานึก และความภมิูใจในวัฒนธรรมของ

ทองถิ่นและของชาติ

(3.4) เรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของผูนําชุมชน ผูนําศาสนาและนักการเมืองทองถิ่นให

มีจิตสํานึกประชาธิปไตย คุณธรรม จรยิธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและทองถิ่นเพื่อ

ประโยชนของสวนรวม

(3.5) เสริมสรางความเข็มแข็งของวิชาชีพคร ูผลิตและพัฒนาครแูละบุคลากรทางการศึกษาใหมี

คุณภาพและมาตรฐานท่ีเหมาะสมกับการเปนวิชาชีพช้ันสูง

(3.6) ประสานความรวมมือและชวยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัย ชุมชน องคกร

ปกครองสวนทองถิ่นและองคกรอื่นทั้งในและตางประเทศ เพื่อการพฒันาทองถิ่น

(3.7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพืน้บานและเทคโนโลยีสมัยใหม

ใหเหมาะสมกับการดํารงชีวติ และการประกอบอาชีพของคนในทองถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพ่ือ

สงเสริมใหเกดิการจัดการ การบํารุงรกัษา และการใชประโยชนจากทรพัยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยาง

สมดุลและย่ังยืน

(3.8) ศึกษา วจัิย สงเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดําริในการ

ปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัย เพื่อการพฒันาทองถิ่นราชภฏัเพื่อการพฒันาทองถิ่น

4. บทสรุปผลการดาํเนินงานตามพนัธกิจ

จากการศึกษา วิเคราะห และรวบรวมขอมูลดานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ

ที่จําเปนตอการบริหารจัดการในป พ.ศ. 2552 สรุปไดดงัน้ี

Page 34: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

34

(4.1 ) ดานงบประมาณ

4.1.1 งบประมาณแผนดิน

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ ไดรบัจัดสรรงบประมาณ

แผนดิน จํานวน 148,957,100 บาท ลดลงจากป 2551 จาํนวน 4,965,800 บาท (รอยละ 3.23) แบงเปน

งบดําเนินการ จํานวน 55,642,200 บาท (รอยละ 37.35 ) งบลงทุน จํานวน 93,314,900 บาท

(รอยละ 62.65)

4.1.2 งบประมาณเงินรายได

ในปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุไดรบัจัดสรรเปนงบดําเนินการ

จํานวน 23,010,000 บาท เพ่ิมข้ึนจากปการศึกษา 2550 จํานวน 8,497,762 บาท (รอยละ 58.56)

(4.2) ดานการวิจัย

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ ไดรับเงินสนับสนุนโครงการวิจัย

จากงบประมาณแผนดิน จํานวน 5,747,000 บาท และมหาวิทยาลัยไดจัดสรรงบประมาณเงินรายได ป

การศึกษา 2551 เพ่ือสนับสนุนการทําวิจัยของอาจารย เจาหนาท่ี จํานวน 170,000 บาท

(4.3) ดานบุคลากร

ปจจบัุนมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุมีบุคลากรท้ังหมด จํานวน 117 คน จําแนกตาม

สายงานไดดังน้ี

4.3.1 บุคลากรสายวชิาการ

บุคลากรสายวิชาการ จํานวน 51 คน (รวมลาศึกษาตอ จํานวน 6 คน) แบงเปน

ขาราชการสาย ก จํานวน 19 คน พนักงานมหาวิทยาลัย จํานวน 16 คน พนักงานราชการ 15 คน และ

ลูกจางช่ัวคราว 7 คน

4.3.2 บุคลากรสายสนับสนุน

บุคลากรสายสนับสนุน จํานวน 60 คน แบงเปนขาราชการสาย ข จํานวน 1 คน

พนักงานมหาวิทยาลัย 20 คน พนักงานราชการ 7 คน ลูกจางช่ัวคราว 32 คน

Page 35: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

35

(4.4) ดานนักศึกษา

4.4.1 นักศึกษาใหม

ในปการศึกษา 2551 มหาวทิยาลยัราชภัฏกาฬสินธุมีนักศึกษาเขาใหม จํานวน 761 คน

แบงเปนศูนยมหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ จํานวน 356 คน ศูนยบริการภายนอก จาํนวน 405 คน เปนนิสิต

ระดับปรญิญาตรี จํานวน 410 คน และระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 351 คน

4.4.2 นักศึกษารวม

ในปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยราชภฏักาฬสินธุมีนักศึกษารวมทั้งส้ิน จํานวน 2,129 คน

แบงเปนศูนยมหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ จํานวน 1,236 คน ศูนยบรกิารภายนอก จํานวน 893 คน เปนนิสิต

ระดับปริญญาตรี จํานวน 1,778 คน และระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 351 คน

4.4.3 นักศึกษาสําเรจ็การศึกษา

ในปการศึกษา 2550 มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ มีนักศึกษาสําเร็จการศึกษาและเขา

รับพระราชทานปรญิญาบัตร ในวนัที่ 1 ธันวาคม 2551 ระดับปริญญาตรีท้ังส้ินจํานวน 162 คน

(4.5) ดานหลกัสูตร

หลักสูตรทั้งหมดในปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ เปดทําการสอน

6 หลักสูตร เปนหลักสูตรระดับปริญญาตรี 8 สาขา ระดับปริญญาตรี (ตอเนื่อง) 3 สาขา ระดับ

ประกาศนียบัตรบัณฑิต 2 สาขา ระดับปริญญาโท 1 สาขา

(4.6) ดานระบบฐานขอมลู และเครือ่งคอมพิวเตอร

ปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุมีระบบฐานขอมูลทั้งส้ิน 4 ระบบ เปนระบบ

ฐานขอมูลท่ีใชในการบริหารจัดการ งานบุคลากร งานบัญชี และงานทะเบียนนักศึกษา ระบบบริการการศึกษา

มีระบบฐานขอมูลและโปรแกรมประยุกตที่ใชสําหรับบริหารจัดการขอมูลนักศึกษา และรายละเอียดการ

ลงทะเบียน ระบบการเรียนการสอนทางไกล ปจจุบันมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน

ทางไกลในหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร และระบบบริหารจัดการหองสมุด มีการนําเอาระบบจัดการ

ฐานขอมูลออราเคิลมาใชควบคูกับระบบสารสนเทศงานหองสมุด ซ่ึงพัฒนาโดยมหาวิทยาลัยวไลอลงกรณต้ังแต

ปลายป 2551 นอกจากน้ียังมีครุภัณฑคอมพิวเตอรเพ่ืองานบริหาร จํานวน 80 เครื่อง เพื่อการเรียนการสอน

จํานวน 200 เครื่อง

Page 36: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

36

(4.7) ดานทุนการศึกษา

ในปการศึกษา 2551 ที่ผานมามหาวิทยาลยัไดรับการสนับสนุนทนุการศึกษาแกนักศึกษาจาก

ทั้งกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา ท้ัง กยศ. กรอ. และทนุการศึกษาใหเปลาทั้งประเภทตอเนื่อง และรายป มีผูกู

จํานวน 175 คน

(4.8) ดานอาคารสถานท่ี

ในปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุมีอาคารท่ีใชในการจัดการเรียนการสอน

สูง 6 ช้ัน พรอมติดตั้งลิฟต พ้ืนที่ใชสอย 10,228 ตารางเมตร จํานวน 1 หลัง อาคารศูนยภาษาและ

คอมพิวเตอร 4 ช้ัน พ้ืนท่ีใชสอย 8,500 ตารางเมตร จํานวน 1 หลัง อาคารสํานักวิทยบริการพรอมติดต้ัง

ลิฟต 2 ชุด 4 ช้ัน พ้ืนท่ีใชสอย 9,792.5 ตารางเมตร จํานวน 1 หลัง อาคารกิจการนักศึกษาและบริการกลาง

พื้นที่ใชสอย 6,770 ตารางเมตร จํานวน 1 หลัง อาคารกีฬาในรม พื้นท่ีใชสอย 1,400 ตารางเมตร จํานวน 1 หลัง

นอกจากนี้ยังมีอาคารใหมท่ีกําลังดําเนินการกอสรางจํานวน 2 หลัง ไดแก อาคารปฏิบัติการวิทยาศาสตร พ้ืนที่

ใชสอย 12,000 ตารางเมตร ซ่ึงจะแลวเสร็จในปงบประมาณ พ.ศ. 2552

การวิเคราะหสภาพแวดลอม ศักยภาพมหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ

จุดแข็ง

1. เปนมหาวิทยาลยัเพ่ือพัฒนาชุมชน

2. เปนมหาวิทยาลยัที่ใกลชิดทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมท้ังภพูานและเข่ือนลําปาว

3. เปนมหาวิทยาลยัที่มีภูมิทัศนทางธรรมชาติสวยงาม

4. มีขนาดพื้นที่กวาง มีอาคารสถานท่ี ส่ิงปลูกสรางพรอมที่จะรองรับการพัฒนาไดหลากหลาย

5. รักษาสภาพความเปนทองถิ่น ประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรม

6. ความเปนเอกลักษณในการเปนมหาวิทยาลยัเพื่อการพัฒนาชุมชน โดยมีการวิจัยแบบมีสวนรวมกับ

ชุมชน

7. การเปนมหาวิทยาลัยท่ีเปดโอกาสใหผูแสวงหาโอกาสทางการศกึษาภายในชุมชนแวดลอมไดรบั

การศึกษาระดบัอุดมศึกษา

8. มีความพรอมดานเทคโนโลยี และบุคลากรที่มีศกัยภาพ

Page 37: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

37

9. นักศึกษามีความใกลชิดกบัอาจารยผูสอน

10. บุคลากรมีความรูหลากหลายสาขาวิชาชีพทําใหสามารถตอบสนองความตองการตามนโยบายของ

รัฐในการเพ่ิมขีดความสามารถ

11. ไดรับการยอมรับจากชุมชนรอบ ๆ มหาวิทยาลัยและใกลเคียง

12. มีศักยภาพยืดหยุนปรับกระบวนการไดในการบริหาร

13. บุคลากรสวนใหญอยูในวัยทํางานและสามารถพฒันาศักยภาพได

14. มีทรัพยากรทางธรรมชาติมากมาย

15. มีความเปนมหาวิทยาลัยเพ่ือชุมชน

16. มีจุดเดนดานพัฒนาศิลปวัฒนธรรม

17. มีขนาดเลก็สามารถพัฒนาได

18. มหาวิทยาลัยเปนแหลงบริการวิชาการ

19. บุคลากรมีความสามารถ/คุณวุฒิสูง

20. เปนสถาบนัอุดมศึกษาเพือ่การพัฒนาทองถิ่น

21. เปนศูนยกลางบริการเครอืขายทางวิชาการใหแกสถานศึกษาที่ชัดเจน

22. สภาพแวดลอมที่ด ี และบรรยากาศท่ีนาอยูนาอาศัย

23. บุคลากรที่มีความสามารถพรอมท่ีจะพัฒนามหาวิทยาลยัใหมีความเปนเลศิทางวิชาการ

จุดออน

1. มีจํานวนนกัศึกษานอยและการจัดการเรียนการสอน

2. เปนมหาวิทยาลยัต้ังใหมยังขาดศักยภาพเม่ือเทียบกับมหาวิทยาลยัทีต้ั่งมากอน

3. การแขงขันกันระหวางมหาวิทยาลยัใหญที่อยูรอบขางในเขตพืน้ท่ีใกลเคียงกัน

4. การออกนอกระบบของมหาวิทยาลยัทําใหมหาวิทยาลัยขนาดเล็กไดรับผลกระทบ

5. ขาดการวางแผนการรับนักศึกษา และขาดการประชาสัมพันธอยางตอเนื่องและขาดการสราง

เครือขายเพื่อพฒันา

6. การจัดการภายในหนวยงานยังไมเปนระบบทําใหงานลาชาขาดประสิทธิภาพ

7. หองสมุดไมคอยมีมาตรฐาน หนังสือมีจํานวนนอย ไมมีระบบการจัดการสืบคนทีทั่นสมัย

8. หลักสูตรท่ีเปดสอนไมหลากหลาย

Page 38: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

38

9. บุคลากรยึดติดกับวัฒนธรรมองคกรเดมิทําใหขาดการหลอมรวมเปนหนึ่งเดียว

10. บุคลากรมีการแลกเปลีย่นเรียนรูประสบการณซ่ึงกนัและกันนอย

11. ขาดความสามัคคีรวมมือรวมใจในการพัฒนามหาวิทยาลยั

12. ระบบกํากบัดูแลติดตามประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากรไมมีประสิทธิภาพ

13. บุคลากรสายสนับสนุนยังไมเพยีงพอกับภาระงานตามโครงสรางของมหาวิทยาลัย

14. โครงสรางการบริหารงานภายในมหาวทิยาลยัไมเปนระบบ ขาดการกระจายอํานาจการตัดสินใจ

และเกดิความลาชาในการบริหารจดัการ

15. การคมนาคมไมสะดวกไมมีรถโดยสารรับ – สงจากปากทางเขามหาวิทยาลยั

16. มีการเปลีย่นแปลงโครงสรางภายในหนวยงาน

17. คุณวุฒิอาจารยไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐานการจดัการศึกษาระดับอุดมศึกษา

18. การแบงสายงานในระดับผูบริหารไมชัดเจน ขาดการประชาสัมพนัธภายในหนวยงาน

19. ภาระงานของอาจารยดานสนับสนุนมากเกินไป

20. สถานที่ต้ังหางจากถนนใหญและตัวเมืองทําใหการสัญจรลําบาก

21. ขาดระบบสารสนเทศเพือ่การบริหารและขาดการเชื่อมโยง

22. ขาดการพัฒนาและสนับสนุนบุคลากรในการศึกษาตอในระดับสูง

23. ขาดระบบ E-learning ท่ีมีศักยภาพ

24. หางไกลความเจรญิ สาธารณูปโภค ความสะดวกสบายตางๆ

25. ไมมีมาตรฐานในการคัดสรรบุคลากร

26. ไมกระจายอํานาจและการทํางานยังไมเปนเอกเทศทําใหงานไมกระจาย

27. บริเวณกวางขวางมากเกินความจําเปน

28. บุคลากรขาดขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน/ไมมีความกาวหนาในสายงาน

29. บุคลากรสายสนับสนุนไมมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและพัฒนามหาวิทยาลยั

30. ผูบริหารใหความสําคัญกับหองสมุดนอย

31. ขาดผูนํา

32. ขาดงบประมาณในการประชาสัมพนัธรับสมัครนักศึกษา

33. มีสวนแบงตลาดทางการศึกษามาก

Page 39: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

39

34. ขาดการวางแผนในการรับสมัครนักศึกษา

35. บุคลากรบางสวนมีทัศนคติเปนลบกบัคําวา"พนักงาน"จึงพรอมจะลาออกทุกเม่ือหากมีโอกาสท่ีดีกวา

36. ขาดการสงเสริมเงินทนุในการสนับสนุนการเพิ่มศกัยภาพของเจาหนาท่ีและอาจารยในการศึกษาตอ

และอบรมตางๆ

37. สาขาในการเรียนการสอนในปจจุบันยงัไมคลอบคลมุกับความตองการของชุมชน

38. การบริหารงานยังไมเปนระบบ

โอกาส

1. มหาวิทยาลยัมีโอกาสพัฒนาไดสูงเม่ือจํานวนนักศึกษามากข้ึน

2. สังคมไทยมีแนวโนมเปนสังคมผูสูงอายมุากข้ึน สงผลใหมหาวิทยาลยัเปดหลกัสูตรที่ตอบสนองการ

เรยีนรูตลอดชีวิต

3. คานิยมในการศึกษาในระดับอุดมศึกษาสูงข้ึนและรฐัใหการสนับสนนุดานทุนการศึกษา

4. แนวโนมการวิจัยของประเทศ มุงเนนการวจัิยเชิงบูรณาการมีแหลงทุนมากข้ึน

5. มีงบประมาณตามแผนยุทธศาสตรจังหวดักาฬสินธุซ่ึงสามารถขอรับการสนับสนุนได

6. การพฒันาเพื่อเปนมหาวทิยาลยัอยางแทจริง

7. การพฒันาเพื่อเปนมหาวทิยาลยัส่ิงแวดลอม ทรพัยากรธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม

8. การสรางแนวทางท่ีแตกตางจากมหาวทิยาลยัใหญ ๆ

9. มีโอกาสที่จะเพิ่มจํานวนนักศึกษาใหมโดยการวางแผนประชาสัมพนัธท่ีดแีละใหทุนการศึกษา

ตอเนื่อง

10. มหาวิทยาลัยมีสวนรวมกับชุมชนโดยการจัดโครงการอบรมเผยแพรวิชาการความรู

11. นักศึกษาทีจ่บการศึกษามงีานทําจากการทําความตกลงความรวมมือ (MOU) กับหนวยงานและ

องคกรภายในจังหวัดกาฬสินธุและจังหวดัใกลเคียง

12. มหาวิทยาลัยสามารถพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานวชิาการ

13. คานิยมที่เปลี่ยนไปของนักศึกษาสมัยเกา สมัยใหม ในเมือง บานนอก

14. ไดรับการสนับสนุนงบประมาณที่เพียงพอตอการพฒันามหาวิทยาลัย

15. คนวางงานมากทําใหตองการศึกษาตอ

16. คนในทองถิ่นมีฐานะยากจนจึงเปนทางเลือกในการศึกษาตอ

Page 40: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

40

17. เพ่ือเพิ่มศักยภาพบุคคลในการเพ่ิมรายได

18. กระจายรายไดใหแกชุมชนเม่ือมีมหาวิทยาลยักจ็ะสรางอาชีพใหมใหชาวบาน

19. เปนสถาบนัอุดมศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ

20. คนในชุมชนและทองถิน่ใหโอกาสมหาวิทยาลยัในการใหการศึกษาและพัฒนารวมกัน

21. การควบรวมมหาวิทยาลยัเปนโอกาสหนึ่งที่จะพัฒนามหาวิทยาลยัไดแตตองอาศัยผูบริหารที่

เห็นประโยชนสวนรวมและมีความรูความสามารถท่ีจะบริหารมหาวิทยาลัยได

22. ควรมีเอกลักษณเปนของตนเอง

23. สรางเครอืขายทางการศึกษาใหมากข้ึน

24. เปดศูนยการศึกษาในพ้ืนที่ของประเทศเพื่อนบานทีใ่กลเคียง เชน ลาว เวยีดนาม

25. ทําความรวมมือทางการศึกษากับหนวยงานทางการศึกษาและองคกรตางๆ

ภัยคกุคาม

1. มหาวิทยาลยัเกดิไฟปาบอยครั้ง

2. สภาวะการแขงขันของสถาบันอุดมศกึษาในปจจุบัน

3. สภาวะทางสังคมที่สงผลตอการเลือกเรียนมหาวิทยาลยัขนาดเล็ก

4. กระแสการควบรวมระหวางมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคล

อีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุทําใหมหาวิทยาลยัตกอยูในชวงสูญญากาศ

5. ส่ือการเรียนการสอนยังไมทันสมัยเทาทีค่วร

6. การเปลีย่นแปลงของเทคโนโลยีอยางรวดเรว็มีผลตอการจัดหาครภุณัฑในการเรียนการสอนอยาง

พอเพียงและทันสมัย

7. รัฐบาลมีนโยบายท่ีไมชัดเจนในการพัฒนากําลังคน ทาํใหไมสามารถวางแผนการจัดการศึกษาได

อยางมีประสิทธิภาพ

8. เยาวชนมีคานิยมในการเรยีนดานสังคมศาสตรมากกวาดานวิทยาศาสตร และคานิยมเขาเรียนใน

สถานศึกษาทีอ่ยูในตัวเมือง

9. การขาดความพัฒนาตนเองของบุคลากร

10. มีคูแขงทางการศึกษา

11. มีหลักสูตรที่เกดิข้ึนใหมมากมาย ทําใหมหาวิทยาลัยไมสามารถพฒันาไดทันปจจุบัน

Page 41: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

41

12. เทคโนโลยีท่ีล้ําสมัยทําใหมหาวิทยาลยัตองแขงขันสูง

13. การจดัการ/การบริหารงาน ของหนวยงานท่ีเกีย่วของ

14. สภาวะเศรษฐกิจถดถอยทําใหจํานวนนักศึกษานอยลง

15. การควบรวมมหาวิทยาลัยเปนภยัคุกคามเนื่องจากไมมีความชัดเจนในการดําเนนิการ

16. เม่ือควบรวมแลวมหาวทิยาลยัจะเปนอยางไร บุคลากร นักศึกษา จะเปนอยางไร

17. ทําใหการดําเนินงานในมหาวิทยาลัยลาชา และติดขัดเน่ืองจากผลการดําเนินงาน

18. มีมหาวิทยาลยัช้ันนําจํานวนมากผูเรยีนจึงมีทางเลือกที่จะเรยีนมหาวิทยาลัยท่ีดีกวา

19. มีอันธพาลจากหมูบานโดยรอบทําใหนักศึกษา บุคลากร รูสึกไมปลอดภัยจึงไมมีใครอยากอยู

20. ประชาชนในพืน้ท่ียังยดึติดกับคําวา"ขาราชการ"คิดวา"พนักงาน"ไมมีศักดิ์ศรีจึงเขาถึงชาวบานยาก

21. พนักงานจึงอยูอยางหอเห่ียวไรศักดิ์ศร ี ไมม่ันใจในการไปผูกมิตรกบัชาวบาน

22. เสนทางจราจรจากรอยเอ็ด มหาสารคาม ขอนแกน สูมหาวิทยาลยัมีการจราจรคับค่ังเพราะเปน

ถนน หลกัเสนเดียวที่จะเดนิทางไปสกลนคร มุกดาหาร นครพนม ควรทําเปน ๔ เลน เพราะรถ

โดยสารและรถบรรทุกเยอะมากและขับหวาดเสียว ไรมารยาท อาจเปนอุปสรรคตอธุรกิจใหการศึกษา

ในอนาคตไดเพราะเสียเวลาและคาใชจายในการเดินทางโดยไมจําเปน

23. การเปดศูนยของมหาวิทยาลยั อ่ืนๆ ในเขตพืน้ที่บริการ

24. การพัฒนาปรับปรุงทัศนียภาพและส่ิงแวดลอมของมหาวิทยาลยัลาชา  

 

 

 

 

 

 

 

Page 42: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

42

สรุปผลการจัดประชาพิจารณการรับฟงความคิดเห็นในสวนของ

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสนิธุและมหาวทิยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ

1. ผลการวิเคราะหขอมูลจากการตอบแบบสอบถามท่ีบุคลากร นิสิตนกัศึกษาไดสงกลับคืน สรุป

ประเด็นสําคัญดังน้ี

มหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ จํานวนแบบสอบถาม 299 ชุด (รอยละ 90 )

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ จํานวนแบบสอบถาม 233 ชุด (รอย

ละ 85)

1.1 ขอสรุปจากแบบสอบถาม

ตอนท่ี 1 ขอมลูท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

n =299 n =233 ที่ รายละเอียด

จํานวน จํานวน รอยละ รอยละ

1. เพศ

1.1 ชาย 127 42.5 99 42.5

1.2 หญิง 172 57.5 134 57.5

2. อายุ

2.1 ต่ํากวา 20 ป 105 35.1 163 70.0

2.2 21 – 30 ป 139 46.5 28 12.0

2.3 31 – 40 ป 34 11.4 15 6.4

2.4 41 – 50 ป 18 6.0 17 7.3

2.5 51 ปขึ้นไป 3 1.0 10 4.3

3. การศกึษา

Page 43: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

43

3.1 ต่ํากวามัธยมศกึษาตอนตน 2 0.7 33 14.2

3.2 มัธยมศึกษาตอนตน 2 0.7 8 3.4

3.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 18 6.0 0 12.9

3.4 ปริญญาตรี 240 80.3 131 56.2

3.5 ปริญญาโท 36 12.0 29 12.4

3.6 ปริญญาเอก 1 0.3 2 0.9

4. อาชีพ

4.1 ขาราชการ 9 3.0 21 9.0

4.2 พนักงานมหาวิทยาลัย(สายวิชาการ/สายสนับสนุน) 14 4.7 9 3.9

4.3 พนักงานราชการ(สายวิชาการ/สายสนับสนุน) 19 6.4 11 4.7

4.4 ลูกจาง/เจาหนาท่ีทั่วไป 32 1.7 9 3.9

4.5 นักเรียน/นิสิต/นักศกึษา 225 75.3 183 78.5

จากตารางพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญของท้ังสองมหาวิทยาลยัเปนหญิงมากกวาชาย มีอายุ

อยูระหวางไมเกิน 30 ป มีระดับการศึกษาคือปรญิญาตร ีและเปนนกัศึกษา

Page 44: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

44

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามตอการจดัตั้งมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

n =299 n =233 ขอคิดเห็น

จํานวน จํานวน รอยละ รอยละ

1. การจัดทําโครงการยุบรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ กับ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ

ทานเห็นดวยหรือไม

1.1 ไมเห็นดวย 59 19.7 6 2.6

1.2 เห็นดวย 240 80.3 227 97.4

2. ประโยชนท่ีเกิดขึ้นจากการรวมมหาวิทยาลัย

(ตอบไดมากกวา 1ขอ)

2.1 เพ่ือเปนการใชทรัพยากรรวมกัน 168 56.2 198 85.0

2.2 เพ่ิมประสิทธิภาพในการใชจายงบประมาณ 143 47.8 199 85.4

2.3 ทําใหมีศกัยภาพในการพัฒนาและการแขงขันกับ 189 63.2 212 91.0

มหาวิทยาลัยอื่นเพ่ิมข้ึน

2.4 ทําใหเกิดความสมบูรณในการเปนสถาบนัอุดมศกึษาที ่ 196 65.6 214 91.8

สามารถตอบสนองความตองการของทองถิ่นและภูมภิาค

2.5 กอใหเกิดประโยชนตอสังคมในภาวการณของประเทศ

ไทยในอนาคต

114 38.1 197 84.5

 

 

Page 45: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

45

 

(ตอตาราง หนา 44) 

n =299 n =233 ขอคิดเห็น

จํานวน จํานวน รอยละ รอยละ

3. เอกลักษณสําหรับมหาวิทยาลัยกาฬสินธุที่ทานอยากให

เปน

3.1 มุงเนนดานวิทยาศาสตร 123 41.1 198 85.0

3.2 มุงเนนดานสังคมศาสตร 210 70.2 198 85.0

3.3 มุงเนนดานเทคโนโลย ี 183 61.2 207 88.8

3.4 มุงเนนความตองการของทองถิ่น 179 59.9 206 88.4

3.5 อื่น ๆ 3 1.0 0 0

จากตารางพบวา มหาวิทยาลัยทั้ง 2 แหงเห็นดวยตอต้ังโครงการการจัดมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดย

การยุบรวม 2 มหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เห็นดวยสูงสุดรอย

ละ 97.4 ความเห็นตอประโยชนที่ เกิดข้ึนจากการรวมมหาวิทยาลัยก็คือความสมบูรณในการเปน

สถาบันอุดมศึกษาเพ่ือตอบสนองความตองการของทองถิ่นและภูมิภาค สวนเอกลักษณท่ีควรจะเปนของ

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุคือมุงเนนดานสังคมศาสตรและเทคโนโลยี

Page 46: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

46

ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการจัดทําโครงการจัดตัง้มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

ที่ ขอเสนอแนะเพิ่มเติม 1 ควรดําเนนิการใหเสรจ็ส้ินโดยเรว็ คือภายใน 1 ป 2 การดําเนินการหลังจัดต้ัง ในการสรรหาอธกิารบดี คือใชวิธกีารเลือกต้ัง 3 ในการยุบรวม จะสามารถจัดต้ังไดตองอาศัยความรวมมือของทุกฝาย 4 มหาวิทยาลยักาฬสินธุ ควรมุงเนนทางดานการศึกษาควบคุมไปกับศาสตรดานตาง ๆ 5 เอกลกัษณดานวิทยาศาสตร หากไมเช่ียวชาญกไ็มควรดําเนินการ 6 ใหคํานึงถึงผลกระทบในทุกระดับของสถาบันในดานการบริหารทรัพยากรมนุษย

1. สรุปผลความคิดเห็นตอการยุบรวมมหาวิทยาลยัของท้ัง 2 มหาวิทยาลัย

สรุปผลจากความคิดเห็นของประชาชนตอโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลยักาฬสินธุ ในสวนการ

ตอบแบบสอบถาม ดังนี ้

รายละเอียด ไมเห็นดวย เห็นดวย ราชภฏั เทคโนฯ ราชภัฏ เทคโนฯ อาชีพ 1 ขาราชการ 0 0 9 21 2 พนักงานมหาวิทยาลยั(สายวิชาการ/สายสนับสนุน) 3 1 11 8 3 พนักงานราชการ(สายวชิาการ/สายสนับสนุน) 0 3 19 8 4 ลูกจาง/เจาหนาท่ีทั่วไป 1 2 31 7 5 นักเรยีน/นสิิต/นกัศึกษา 55 0 170 183 รวม 59 6 240 227

จากตารางสรปุไดวาท้ัง 2 มหาวิทยาลยั สวนใหญเห็นดวยตอการยุบรวม คิดเปนรอยละ 87.78 ไม

เห็นดวยรอยละ 12.22

Page 47: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

47

2. สรุปผลการจัดเวทีรับฟงความคิดเห็น

ในการจัดเวทีประชาพิจารณรับฟงความคิดเห็น ไดมีผูรวมแสดงความคดิเห็นและขอเสนอแนะ

ตอโครงการ สามารถจําแนกไดเปน 3 สวน ดังน้ี

2.1 จํานวนผูเขารวมเวทีประชาพิจารณ

ครั้งที ่ วัน/เดือน/ป จํานวนผูเขารวม หมายเหตุ 1 18 มิ.ย. 2552 278 จัดเวทีรบัฟงท่ีความคิดเห็นทีม่หาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ ไมเห็น

ดวย 2 คน 2 24 มิ.ย. 2552 312 จัดเวทีรบัฟงความคิดเห็นท่ีมหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน

วิทยาเขตกาฬสินธุเห็นดวยทุกคน รวม 590

ผลจากการจัดเวทีรับฟงความคิด จํานวนผูเขารวมรับฟงเปนไปตามเปาหมายท่ีไดกําหนด

วางแผนไวในการดําเนินงาน สวนกลุมเปาหมายไดตามวัตถุประสงคของโครงการ คือประกอบดวยขาราชการ

พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลกูจาง และนิสิต นักศึกษา

2.2 แนวทางการดาํเนินงานท่ีผูเขารวมเวทีรับฟงความคิดเหน็ คณะทํางานไดใหรวมแสดงความคิดเห็นดวยการยกมือ (ไมนับคะแนน) แสดงดังภาพ สวน

ใหญเห็นดวยกับการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ในสวนของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุไดแสดงความคิดเห็น

ดวยการยกมือในหองประชุมรับฟง คิดเปนรอยละ 99.28 และไมเห็นดวยคิดเปนรอยละ 0.72 สวนมหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ ผูที่อยูในที่ประชุมแสดงความเห็นดวยคิดเปนรอยละ 100

Page 48: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

48

2.3 ขอเสนอแนะจากผูเขารวมการจัดเวที

มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสนิธุ

“หากยุบรวมแลว ในดานการบริหารบคุลากร ควรกําหนดใหชัดเจน” นายคมสันต นามตะคุ

“ควรกําหนดบทเฉพาะการในกฎหมายใหมในเรื่องของบคุลากร นักศึกษา และควรมีรางของ

กฎหมายเพ่ือใหบุคลากรไดศึกษาผลกระทบท่ีอาจเกดิข้ึนในอนาคต” นายอรรถพงษ ศิริสุวรรณ และนายธรีะ ภูดี

“ขอใหบุคลกรในมหาวิทยาลัยไดมีสวนในการกําหนดกฎหมาย” นางสาวลาวัลย ดุลชาติ

“ขอใหมีการทาํความเขาใจในการยุบรวมใหกับนักศึกษา” นางสาวแจมจันทร ณ กาฬสินธุ

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสนิธุ

“หากมีการยุบรวม 2 สถาบัน ควรมีแบบแปลนท่ีชัดเจนเพือ่ประกอบเหตุผลในการ

ตัดสินใจของบุคลากร และควรดําเนนิการใหแลวเสร็จในระยะเวลาอันส้ัน หากลาชาแลวจะเปนผลเสียมากกวา

ผลด”ี นายพัฒนา พ่ึงพันธ ุ

“ความเห็นสวนตัวคือเห็นดวยอยางยิ่ง แตมีขอกังวลคือในการบริหารจัดการที่อาจเกิดข้ึน

ในอนาคต ฝากใหคํานึงถึงกอนตัดสินใจใด ๆ” นายวรเมษ ภูสามารถ

“มหาวิทยาลยัในอนาคต ควรมีจุดมุงเนนในดานท่ีมีความชํานาญ หากไมพรอมแลวมีการ

กําหนดไวในพ.ร.บ. อาจทําใหเกิดปญหาได” นางพรพิมล พิมพแกว

“การมองผลกระทบที่เกิดข้ึนในอนาคต ขอใหมองท่ีบทบาทและหนาที่ของตน ไมใชมอง

ที่ปญหาสวนตัว การพัฒนาใด ๆ ก็ตามหากกลัวการเปลี่ยนแปลงก็ไมกอใหเกิดการพัฒนา พ.ร.บ.ของ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ก็ไดระบุไววา หากวิทยาเขตใดที่มีความพรอมในการแยกตัวเอง ก็สามารถทําได และ

การจัดการในอนาคตผูบริหารจะตองไดรับการยอมรับจากสังคม” ดร.จักรกฤษณ เยรัมย

“สภาพเดิมที่มีอยูก็คือปญหา หากตัดสินใจที่จะกาวไปขางหนา จะตองตัดสินใจอยาง

รอบคอบ” นายทรงเกยีรติ ซาตัน

สรุปผล จากการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตอโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ทั้งใน

สวนการตอบแบบสอบถามและการจัดเวทีรับฟงความคิดเห็นของประชาชนสวนใหญใหความเห็นในการจัดต้ัง

ดวยการยุบรวม 2 มหาวิทยาลัย คิดเปนรอยละ 93.71 ไมเห็นดวย รอยละ 6.29 

Page 49: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

49

 

 

 

 

 

 

 

พงษศักดิ์ ทิสานนท

(นายพงษศักดิ ์ ทิสานนท)

ประธานคณะทํางานรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

หากทานใดมีขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ สามารถใหขอมูลหรือสอบถามขอมูลเพ่ิมเติมไดท่ี 

กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการส่ือสาร

สํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ    อาคาร ศาลากลางจังหวัดกาฬสินธุ  

Page 50: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

50

สรุปผลการจัดประชาพิจารณการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

โครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

อางตามมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัด

กาฬสินธุ (กรอ.) ครั้งท่ี 1/2552 เม่ือวันที่ 3 มีนาคม 2552 เรื่อง การจัดทําโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดย

การรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ มติที่ประชุม

คณะทํางานวางกรอบการดําเนินงานและรับฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศึกษา เม่ือวันที่ 23 เมษายน 2552

อางถึงคําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ ท่ี 697/2552 ลงวันที่ 27 เมษายน 2552 และ 965 /2552 ลงวันท่ี 22 พฤษภาคม 2552

เรื่อง แตงต้ังคณะทํางานดําเนินงานรวมสถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ  ไดแตงต้ังคณะทํางานการรับฟงความคิดเห็นของ

ประชาชนเพื่อรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ

เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ประกอบดวย

(1) นายพงษศักดิ ์ ทิสานนท รองอธิการบดมีหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ ประธานคณะทํางาน (2) นายประยงค โมคภา ผอ.สพท.เขต 2 รองประธานคณะทํางาน (3) นางชะมอย วรามิตร นายกองคการบริหารสวนจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน (4) ผศ.วรีะยุทธ จีเ้พชร ม.เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ คณะทํางาน (5) นายอุดม วงศสุภา ม.เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ คณะทํางาน (6) นายยุทธพงษ มาตยวเิศษ มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ คณะทํางาน (7) นางสาวณภทัร สรอยจิต มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ คณะทํางาน (8) นายสุขี ซองศิร ิ ประธานภาคประชาสังคม คณะทํางาน (9) นางนิตยา สิทธิหงษ ผูแทนภาคประชาชน คณะทํางาน (10) ดร.สม นาสอาน ผูแทนภาคประชาชน คณะทํางาน (11) น.ส.ทิพวรรณ จันทรชนะ แรงงานจังหวดักาฬสินธุ คณะทํางานและเลขานุการ (12) น.ส.สมพร จนัทรนนท นักวิเคราะหนโยบายและแผนชาํนาญการ

สํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

Page 51: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

51

โดยมีหนาที่ดงัตอไปนี ้

1. จัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับ

ฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ขอ 9

2. จัดทําสรุปรายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และประกาศใหประชาชนทราบ

ภายใน 15 วัน นับแตวันเสร็จส้ินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

    บัดนี้คณะทํางานไดดําเนินงานตามภารกิจเสร็จส้ินเรียบรอยแลว จึงนําเสนอสรุปผลการ

ดําเนินงานตอคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ (กรอ.) ดังตอไปนี้

1. การประชาสัมพันธโครงการ

ตามมติที่ประชุมคณะทํารับฟงความคิดเห็นของประชาชนโครงการจดัต้ังมหาวิทยาลยั

กาฬสินธุ ไดกาํหนดชองทางการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในหลาย ๆ ชองทางประกอบดวย

1. การประชาสัมพันธโดยผานเว็ปไซตของจังหวัดกาฬสินธุ 2. การประชาสัมพันธดวยส่ือวทิยุ/โทรทัศนในทองถิ่น 3. การจัดทําแบบสอบถาม 4. การจัดเวทีเพื่อประชาพิจารณรับฟงความคิดเห็น

โดยในสวนของการจัดทําแบบสอบถามเพ่ือรับฟงความคิดเห็นไดกําหนดให

จัดสงแบบสอบถามไปในทุกภาคสวนซ่ึงประกอบดวย ตัวแทนภาคประชาชน ขาราชการ

ผูนําหมูบาน/ชุมชนผูนํา องคกรปกครองสวนทองถิ่น พอคา ประชาชน และนักเรยีน นักศึกษา

สวนการจดัเวทีรับฟงความคิดเห็นจากประชาชน คณะทํางานไดกําหนดวันเวลาและสถานที่ใน

การจัดประชาพิจารณรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ดังน้ี

คร้ังที ่ วัน/เดือน/ป กลุมเปาหมาย พ้ืนที่กลุมเปาหมาย

จํานวน(คน)

สถานที่ดาํเนินการ

1 22 พฤษภาคม 2552ลงทะเบยีนเวลา 08.00-09.00 น. นําเสนอขอดี -ขอเสีย 09.00-12.00 น.

1.ขาราชการ ครู อาจารย 2. ผูนําหมูบาน/ชมุชน 3. ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่น 4. พอคา ประชาชน 5. นักเรียน นักศกึษา

อ.เมืองกาฬสินธุ อ.นามน อ.ดอนจาน

รวม

300 100 50

450

หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาํเภอเมืองกาฬสินธุ

 

Page 52: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

52

ครั้ง

ที่

วัน/เดือน/ป กลุมเปาหมาย พ้ืนที่

กลุมเปาหมาย

จํานวน

(คน)

สถานที่

ดําเนินการ

2 1 มิถุนายน 2552

ลงทะเบียนเวลา

08.00-09.00 น.

นําเสนอขอด-ีขอเสีย

09.00-12.00 น.

1.ขาราชการ ครู อาจารย

2. ผูนําหมูบาน/ชุมชน

3. ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่น

4. พอคา ประชาชน

5. นักเรียน นักศกึษา

อ.สมเด็จ

อ.คํามวง

อ.สหัสขันธ

อ.สามชัย

รวม

50

50

50

50

200

หอประชุมอําเภอ

สมเด็จ

3 2 มิถุนายน 2552

ลงทะเบียนเวลา

08.00-09.00 น.

นําเสนอขอด-ีขอเสีย

09.00-12.00 น.

1.ขาราชการ ครู อาจารย

2. ผูนําหมูบาน/ชุมชน

3. ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่น

4. พอคา ประชาชน

5. นักเรียน นักศกึษา

อําเภอหวยผึ้ง

อําเภอเขาวง

อําเภอนาค ู

อ.กุฉินารายณ

รวม

50

50

50

50

200

หอประชุมอําเภอ

กุฉินารายณ

4 3 มิถุนายน 2552

ลงทะเบียนเวลา

08.00-09.00 น.

นําเสนอขอด-ีขอเสีย

09.00-12.00 น.

1.ขาราชการ ครู อาจารย

2. ผูนําหมูบาน/ชุมชน

3. ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่น

4. พอคา ประชาชน

5. นักเรียน นักศกึษา

อ.กมลาไสย

อ.ฆองชัย

อ.รองคํา

รวม

100

50

50

200

หอประชุม

อําเภอกมลาไสย

5 4 มิถุนายน 2552

ลงทะเบียนเวลา

08.00-09.00 น.

นําเสนอขอด-ีขอเสีย

09.00-12.00 น.

1.ขาราชการ ครู อาจารย

2. ผูนําหมูบาน/ชุมชน

3. ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่น

4. พอคา ประชาชน

5. นักเรียน นักศกึษา

อ.ทาคันโท

อ.หวยเม็ก

อ.หนองกุงศร ี

อ.ยางตลาด

รวม

50

50

50

50

200

หอประชุมอําเภอ

หนองกุงศร ี

รวมท้ังส้ิน 1,250

หมายเหตุ : กลุมเปาหมายตามขอ 1-5 ต้ังแตครั้งที่ 2 – 5 ใหทุกอําเภอพิจารณาตามความเหมาะสม

อําเภอละ 50 คน ยกเวนอําเภอกมลาไสย100 คน

Page 53: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

53

2. ข้ันตอนการดําเนินการจัดเวทีประชาพิจารณ

กอนดําเนินการจัดเวทีประชาพิจารณคณะทํางานไดสงหนังสือแจงประชาสัมพันธโครงการ โดย

ผานชองทางของกรมการปกครอง ไปยังพืน้ที่อําเภอตาง ๆ เพ่ือแจงใหทุกภาคสวนไดเขารวมรับฟง

ขั้นตอนการดาํเนินการประชุม

1. ไดจัดใหผูเขารวมประชุมไดลงทะเบียน รับเอกสารประชาสัมพันธโครงการ เพื่อเปนการให

ขอมูลเบื้องตนตอผูเขารวมประชุมไดทําการศึกษา กรอบแนวทางการดําเนินงานของโครงการ

2. นําเสนอขอมูลโดยตัวแทนของทั้งสองสถาบันรวมแสดงความคิดเห็น ในประเดน็หลัก ๆ

ไดแก เหตุผลในการรวม ประโยชนทีจ่ะเกดิขึ้นจากการรวมสถาบัน

3. รับฟงความคิดเห็นจากผูเขารวมเวทรีับฟงความคิดเห็น

4. ปดเวทีการรับฟงโดยการสรุปความคิดเห็นในการจดัต้ังมหาวิทยาลยั ดวยการยกมือโดยไมมี

การนับคะแนน

ภาพที่ 1 การลงทะเบยีนรับฟงความคิดเห็น ภาพที่ 2 ทั้ง 2 สถาบันรวมแสดงความคิดเห็น

Page 54: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

54

ภาพที่ 3-4 ตัวแทนทุกภาคสวนรวมรับฟง

ภาพที่ 5-6 ตัวแทนผูมีสวนไดเสียรวมแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ

ภาพที่ 7-8 ตัวแทนนิสิต นกัศึกษารวมแสดงความคิดเห็น และขอเสนอแนะ

Page 55: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

55

3. สรปุผลการดําเนินงานตามโครงการ

จากมติท่ีประชุมคณะทํางานไดกําหนดแนวทางการเปดรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ดวยการ

จัดทําแบบสอบถาม และการจัดเวทรีับฟงความคิดเห็น สามารถสรุปผลไดดังนี ้

3.1 วิเคราะหขอมลูจากการตอบแบบสอบถามที่ไดจัดสงไปในทุกภาคสวน ดังนี ้

ผลการวิเคราะหแบบสอบถามซ่ึงรวบรวมจากกลุมตัวอยาง จํานวนทั้งส้ิน 4,345 ชุด สรุป

ประเด็นสําคัญ ไดดังนี้

ตอนท่ี 1 ขอมลูท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

n = 4,345 ท่ี รายละเอียด

จํานวน รอยละ 1. เพศ 1.1 ชาย 2,432 55.97 1.2 หญิง 1,913 44.03 2. อายุ 2.1 ตํ่ากวา 20 ป 517 11.90 2.2 21 – 30 ป 676 15.56 2.3 31 – 40 ป 912 20.99 2.4 41 – 50 ป 1,292 29.74 2.5 51 ปข้ึนไป 948 21.81 3. การศกึษา 3.1 ตํ่ากวามัธยมศึกษาตอนตน 614 14.13 3.2 มัธยมศึกษาตอนตน 495 11.40 3.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 1,132 26.05 3.4 ปรญิญาตร ี 1,693 38.96 3.5 ปรญิญาโท 381 8.77 3.6 ปรญิญาเอก 30 0.69

 

Page 56: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

56

 

n = 4,345 ที่ ขอมูลทัว่ไปของผูตอบแบบสอบถาม

จํานวน รอยละ 3. การศึกษา 3.1 ตํ่ากวามัธยมศกึษาตอนตน 614 14.13 3.2 มัธยมศึกษาตอนตน 495 11.40 3.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 1,132 26.05 3.4 ปรญิญาตร ี 1,693 38.96 3.5 ปรญิญาโท 381 8.77 3.6 ปรญิญาเอก 30 0.69 4. อาชีพ 4.1 ขาราชการ 1,439 33.12 4.2 เกษตรกร 953 21.93 4.3 NGOs/ภาคประชาชน 93 2.14 4.4 ผูประกอบการ/ภาคเอกชน 277 6.38 4.5 นักเรยีน/นิสิต/นักศกึษา 531 12.22 4.6 อ่ืน ๆ 1,052 24.21

จากตารางสรปุผลไดวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนชายมากกวาหญิง รอยละ 55.97 มีอายุ

ระหวาง 41 – 50 ป รอยละ 29.74 ระดับการศึกษาสูงสุดคือปริญญาตรรีอยละ38.96 และสวนใหญมีอาชีพรับ

ราชการรอยละ 33.12

Page 57: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

57

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามตอการจดัตั้งมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

n = 4,345 ที่

ขอคิดเห็น จํานวน รอยละ

1. การจัดทาํโครงการยุบรวมมหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ กับ มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ ทานเห็นดวยหรือไม 1.1 ไมเห็นดวย 259 5.96 1.2 เห็นดวย 4,086 94.04

2. ประโยชนทีเ่กดิข้ึนจากการรวมมหาวิทยาลยั(ตอบไดมากกวา 1ขอ) 2.1 เพ่ือเปนการใชทรพัยากรรวมกนั 2,341 62.5 2.2 เพ่ิมประสิทธภิาพในการใชจายงบประมาณ 1,960 52.4 2.3 ทําใหมีศักยภาพในการพฒันาและการแขงขันกับ 2,588 69.1 มหาวิทยาลยัอ่ืนเพ่ิมข้ึน 2.4 ทําใหเกดิความสมบูรณในการเปนสถาบันอุดมศึกษาที ่ 2,720 72.7 สามารถตอบสนองความตองการของทองถิน่และภมิูภาค 2.5 กอใหเกดิประโยชนตอสังคมในภาวการณของประเทศไทย 2,511 67.1 ในอนาคต

3. เอกลักษณสําหรับมหาวทิยาลยักาฬสินธุที่ทานอยากใหเปน 3.1 มุงเนนดานวิทยาศาสตร 2,176 58.1 3.2 มุงเนนดานสังคมศาสตร 2,561 66.8 3.3 มุงเนนดานเทคโนโลย ี 2,259 60.4 3.4 มุงเนนความตองการของทองถิน่ 2,529 67.7 3.5 อ่ืน ๆ 139 3.7

Page 58: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

58

จากตารางสรุปผลไดวา ประชาชนมีระดับความคิดเห็นตอโครงการการตั้งจัดมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

โดยการยุบรวม 2 มหาวิทยาลัยคือเห็นดวยสูงสุดรอยละ 94.04 ในดานประโยชนที่จะเกิดขึ้นคือความสมบูรณในการ

เปนสถาบันอุดมศึกษาเพื่อตอบสนองความตองการของทองถิ่นและภูมิภาค มีระดับความคิดเห็นสูงสุดรอยละ 72.7

และระดับความคิดเห็นตอเอกลักษณของมหาวิทยาลัยที่สูงสุดรอยละ 67.7 คือ การเปนมหาวิทยาลัยที่มุงเนนความ

ตองการของทองถิ่น

ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะอืน่ ๆ เพ่ือประโยชนในการจัดทําโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

ที่ ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม 1

-การจดัการสอนควรมีการวิจัยทางดานความตองการของตลาดในอนาคตและ กําหนดเปนหลักสูตรในการสอน - การสอนภายในมหาวิทยาลัยอาจจะตองดกูิจกรรมภายในหลกัสูตรดวย - เม่ือใกลเรยีนจบควรหาอาชีพใหดวยหรือหาสถานศกึษาฝกงานดวย

2 - เพื่อใหมีการเริ่มแนวคิดปรบัปรงุและกําหนดแนวทางพฒันามหาวิทยาลยัลยัในทองถิน่ให เกิดประโยชนตอพ้ืนที่และเพ่ิมทางเลือกลกูหลานท่ีจะเลอืกหนทางการศึกษา

3 - เพื่อความเปนระบบในการบริหารจัดการควรจัดประชุมสัมมนาบอยๆเพื่อฟง ความคิดเห็น จากทุกภาคสวนแลวนาํมาปรับปรงุแลวสรปุผล

4 - คณะทาํงานของการรวมมหาวิทยาลยัควรสอบถามขอคิดเห็นของบุคลากรของราชมงคลบาง และควรแตงต้ังคณะทํางานจากราชมงคลรวมดวย - ควรทําการประชาพิจารณในราชมงคล - หากราชภฏัมีนักศกึษามากไมมีปญหานักศึกษานอยจะรวมหรือไม - ควรพจิารณาสวนไดสวนเสียอยางรอบครอบคอยคอยเปนไปไมชากเ็รว็

5 - ประเด็นท่ีสําคัญที่สุดในการกอต้ังมหาวทิยาลยัลยัครัง้น้ีตองเปนการเยยีวยาทองถิน่ อยาง แทจรงิใหสังคมมีสวนในการรวมออกแบบนกัศึกษาทีต่นตองการเปนภาค ประชาชน

6 - ควรมีแผนกาํหนดการจัดต้ังชัดเจนเปนรปูธรรมท้ังในเรื่องงบประมาณบุคลากร และการจดั การศึกษาและผลักดันใหสามารถ ดําเนินไปไดตามทีว่างไวทกุๆดาน

7 - ควรที่จะมีคณะวชิาภาควิชาที่ตอบสนองความตองการของนกัศึกษาทีจ่บจาก โรงเรยีนใน ทองถิน่

 

Page 59: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

59

ที่ ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม 8 - ขอใหมีบุคลากรท่ีเช่ียวชาญมีประสบการในการเรยีนการสอนในแตละคณะหรือ สาขาวชิา

ซ่ึงเปนส่ิงจูงใจของผูเรยีนทีจ่ะไดนําไปประกอบอาชีพ 9 - ยังมองไมเห็นภาพการนําไปสูพัฒนาทองถิ่น การบริหาร 10 - จัดทําขอเปรยีบเทียบขอเสียของโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลยั 11 - เห็นสมควรยาย มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลฯออกไปท่ีราชภฏัเพราะในเขตเทศบาล

บานเมืองกําลังขยายตัวตอไปจะเปนใจกลางเมอืงมหาวทิยาลยัราชภัฏกาฬสินธุมีพืน้ที่ เหมาะสมและเปนสัดสวนในการขยายสาขาวิชาและควรสรางหอพกัใหนักศึกษาทองถิ่นน้ัน จะไดมีความเจรญิรุงเรือง

12 - หากสามารถดําเนินไดควรจัดใหมีกระบวนการวิจยัเกีย่วกับการเกษตรเชนที่ มหาวิทยาลยั ราชภฏัอาจทาํแปลงปลกูสาธิตเชนยางพารา มันสําปะหลงั ออย

13 - เพิม่เตมิเกี่ยวกับวชิาเรียนดานสาธารณสุข เชนผูชวยหมอ ทันตแพทย 14 - มีนโยบายเกีย่วกบัการใหทุนเรยีนฟร ี15 - ในโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลยัควรจะมีบคุลากรในดานการสอนใหพรอมและ สมบูรณที่สุด

และควรยดึหลักในการพัฒนานกัศึกษาโดยตรงเพื่อใหเปนบุคลากรท่ี มีคุณภาพในการทํางาน 16 - ควรพจิารณาโครงสรางทีเ่ขมแข็งและอยูไดย่ังยืน 17 - เนนการใชเทคโนโลยเีพิ่มมูลคาวัตถุดบิในจังหวัดใหครบวงจร 18 - ควรต้ังสํานักงานอธกิารบดทีี่วิทยาเขตกาฬสินธุเดิมยกฐานะให ม.ราชภฏักาฬสินธุ และ

การจัดศูนยวจัิย(ภูสิงห)เปนหนวยงานเปนสถานท่ีวิจัยหรอืฝกอบรม 19 - ควรเปดคณะเกษตรท่ีเกี่ยวของกับการใชน้าํชลประทานทุกระบบเพราะอนาคต เกษตร

จําเปนตองมีความรูในระบบการใช 20 - ควรเปนมหาวิทยาลยัใหมทีเ่นนการพัฒนาดานเทคโนโลยีแตในขณะเดยีวกนักค็วร ไดมี

บทบาทพัฒนาทองถิ่นใหคงอยูไดและสืบทอดตอไป 21 - จุดเดนจดุขายอยูตรงไหนทีจ่ะแตกตางจากมหาลยัอ่ืนๆ 22 - หากจัดต้ังรวมกันไดสถานท่ีขอใหอยูที่ใกลชุมชน 23 - มหาวิทยาลยัต้ังได ต้ังไดดแีตตองดูท่ีการบริหารและผูเรยีนตองมีการประชาสัมพันธ 24 - อยากใหมีคณะการเรียนการสอนหลากหลายคณะเพื่อนกัศึกษาจะไดรบัความรูอยางเต็มท่ีตรง

ตามความตองการ  

Page 60: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

60

ที่ ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม 25 - หากจะรวมจะเปลีย่นช่ือเปนมหาวิทยาลยักาฬสินธุคดิวาคงเนนที่คุณภาพของ นกัศึกษาที่จะ

จบออกไปมากกวาการเนนปรมิาณ 26 - ควรจดัต้ังในสถานทีเ่ดนิทางไปมาไดสะดวก มีการศึกษาที่เกีย่วของกับทองถิน่เปนเอกลกัษณ

ของตน 27 - สถานที่ควรอยูท่ีกาฬสินธุ

- เสนอความคิดตามสถานีวทิยุเพือ่ใหประชาชนรบัทราบ 28 - ควรทําประชาคมและใหรวมแสดงความคิดเห็นประชนไดเสดงความคิดเห็น 29 - ควรเปดกวางในเรื่องของหลักสูตรและบุคลเปาหมายเชนมีหลกัสูตรสําหรับ ขาราชการ

ประชาชน เกษตร กลุมอาชีพตางๆ - เปนท้ังสถานศึกษาและศูนยฝกอบรม - มีการบริหารการจัดการ

30 -ไมควรรวมมหาวิทยาลยัเพราะทาํใหองคกรมีขนาดใหญเทอะทะการบรหิารงานลาํบากและมีปญหาเรื่องงบประมาณ - วัตถุประสงคของการจดัต้ังมหาวิทยาลัยจะเปลีย่นแปลงไป - ควรปรบัปรุงคุณภาพการเรยีนการสอนมหาวิทยาลยัใหมียิ่งข้ึน

31 - เห็นควรจดัต้ังมหาวทิยาลยัราชภฏักาฬสินธุเพราะทาํใหนักเรยีนท่ีจบหลักสูตรในระดบัมัธยมศึกษาภายในจังหวดัจะไดศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาในภูมิลําเนาของตนเอง

32 - เปนประโยชนแกเยาวชน -เพื่อเปนการสงเสริมสถาบนัการศึกษาในจังหวัด -จะทาํใหเศรษฐกิจดีข้ึน -เพื่อศักยภาพในจังหวัดกาฬสินธุ

33 - เพื่อปองกนัปญหาทางสังคมในดานการศกึษาใหเปนหนึ่งเดยีวกนั 34 - อยากใหมีมหาวิทยาลยัท่ีเปนมาตรฐานในจังหวดัเพื่อลกูหลานไมตองเดินทางไกล 35 - การสอนควรเนนที่คุณภาพดานคุณภาพทางความคิดเพราะที่แลวมาเดก็ไมคอยมีคุณภาพสัก

เทาไหร 36 - ขอใหเนนทางดานวฒันธรรม 37 - เพื่อเปนไปตามนโยบายของรฐัอยางแทจรงิ เพื่อตอบสนองงบประมาณเพ่ิมเติมกอใหเกิด

ความรูกับผูนาํชุมชนและมีสวนรวม

Page 61: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

61

ที่ ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม 38 -อยากใหเปนมหาวิทยาลยัที่เปนวชิาการในความเปน อัตลกัษณ สนองความตองการทองถิน่เนน

ทางดานสังคมเพราะสังคมมหาวิทยาลยัสมัยน้ีเนนท่ีสังคมวัตถุมีความรมุรอนในกระแสแหงอํานาจวัตถุเยอะมาก

39 -ควรจะเนนการคดัสรรอาจารยมีคุณภาพเพื่อที่เดก็จบไปจะไดมีคุณภาพและเปนทีย่อมรบั 40 -ควรพัฒนาดานการคมนาคมใหไปดวยกันกับการพฒันามหาวิทยาลัยควรมุงเนนให

มหาวิทยาลัยใหเปนมหาวิทยาลัยแนวหนาในทุกๆดาน 41 -ควรมีการวางแผนจัดการต้ังมหาวิทยาลยัอยางชักเจนและกําหนดสถานที่ต้ังโดย คํานึงถึงความ

สะดวกในการเดินทางไปศึกษาของนักศึกษาเปนหลกั 42 -นาจะเพ่ิมทนุเรยีนฟรีเพ่ือเพิม่โอกาสใหกับเดก็ที่ดอยโอกาส 43 -ไมควรยบุแตควรต้ังข้ึนมาใหม 44 -สูตรควรจะรองรับตลาดแรงงาน 45 -ขอพิจารณาในการแบงกลุมมหาวิทยาลยัการตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนา ประเทศดีข้ึน

ไมวาจะเปนการสรางขีดความสามารถแขงขันในระดับสากลการ พัฒนาภาคการผลติอุตสาหกรรมและบรกิารของประเทศการพัฒนาอาชีพคุณภาพชีวติและความเปนอยูระดับทองถิน่และชุมชนตอไป ในการกาวหนาการพัฒนา ความรูทกัษะการรองรับการเปลีย่นอาชีพ

46 -จัดประชุมใหหลากหลายขึ้นเพื่อสรางความเขาใจและขอการสนับสนุนจากทุก ภาคอีสานไดแกนักการเมืองระดับประเทศ นักการเมืองระดบัทองถิ่น - ประชาชนท่ัวไป

47 -การรวมกันของมหาวิทยาลยั 2 แหงเขาดวยกนัหาจะใหเกิดประโยชนสูงสุดควร ทําใหโปรงใสมากกวาน้ี

48 -บํารุงรกัษาพ้ืนฟูขนบธรรมเนียมประเพณีวฒันธรรมของจังหวัดสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน เปนมหาวิทยาลัยเปด

49 -ไมเห็นดวยเพราะวัฒนธรรมของแตละองคกรท่ีจะยุบรวมกันทําใหเกิดความแตกตางกนัไมมีความสามัคคีเปนปญหา

 

 

 

 

Page 62: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

62

ที่ ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม 50 -ไมเห็นดวยเพราะมีความเห็นวาการจัดต้ังหรือยุบรวมมหาลัยราชภัฎกับมหาลัยเทคโนฯ

มีเหตุผลมาจากการบริหารการจัดการของมหาวิทยาลัยราชภฏั ราชภฎัอยูไกล เดมิทมีีการคาดการวาจะขยายความเจริญออกสูทองถิ่น ลดความแออัดในชุมชนเมืองแตนักศึกษาไมไดตามเปาหมายอาจารยผูสอนไมมี ใครอยากจะไปสอนไดแตอาจารยที่ไมมีที่ไปรองานอ่ืนๆอยูผลคือการศึกษาไมไดมาตรฐานจึงมีแนวคิดยุบรวมข้ึนมาขอเสนอแนะคือ ใหราชการผูที่มีสวนเก่ียวของ บริหารจัดการมหาลัยราชภัฎใหมีประสิทธิภาพใหคนรูจักและเขาไปเรียนที่สําคัญ ตองมีมาตรฐานการศึกษาจบมาจะไดเกิดความภาคภูมิใจเหมือนมหาลัยอ่ืนๆ

51 -ควรมีแผนในการจัดต้ังมหาวิทยาลยัท่ีมีรูปแบบท่ีชัดเจน 1. ดานบคุลากร 2. ดานหลกัสูตร 3. ดานนักศึกษา 4. ดานงบประมาณ 5. ดานการบริหาร

52 -ควรศึกษาวิจัยตลาดแรงงานฝมือในอนาคตเพื่อจัดทําหลักสูตรการศึกษาให สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานเฉพาะทางหลีกเลีย่งการเปด หลกัสูตรที่จะทําใหเกิดการตกงานในอนาคต

53 -ควรยุบรวมเพราะมหาวทิยาลยัราชภฏัไมมีทางเจรญิเพราะอยูไกลแตอาจจะทําเปนแปลงสาธติสวนในดานวชิาการก็ไปอยูท่ีในเมืองสภาพแวดลอมมหาลยัราชภฏัไม เหมาะสม ไมสงางาม ไมสะดวกสบายถาอยูเทคโนจะมีความสงางาม

54 1. ควรมีการประชาพิจารณาราง พรบ. มหาวิทยาลยัในทกุภาคสวน 2. สรางความเขาใจใหกบับุคลากรในท้ัง2แหง 3. มหาลยัจะตองใหโอกาสกับคนกาฬสินธุ 4. ควรศึกษาพหุกรณีในการจดัต้ัง 5. ขอใหมีผูบริหารมืออาชีพ

55 -โครงการอาจารยบานเราคือสงเดก็กาฬสินธุเรยีนจบแลวมาสอนที่มหาวิทยาลยั กาฬสินธุโครงการบานเราการศึกษาของเราคือนําคนกาฬสินธุมาพัฒนาโดยคน กาฬสินธุเองเพ่ือการศึกษาขั้นพื้นฐานของเด็กในระดบัอุดมศึกษาใหมากกวาคนใน ปจจุบนั

56 -อยากใหมีส่ือการเรียนการสอนท่ีทนัสมัยและครอบคลุมกับนกัศึกษาจัดใหมี การศกึษานอกสถานท่ีอาจารยผูสอนจะตองมีคุณภาพ

 

Page 63: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

63

ที่ ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม 57 -ควรมุงเนนการพฒันาทางดานวทิยาศาสตรใหควบคูไปกบัความตองการของชุมชน 58 -สถาบนัควรสรางอุดมการณและฝกฝนใหนักศึกษาทําประโยชนใหกบัสังคมและ ประชาชน

เปนสําคัญ ควรเนนความมีวนัิยอดทนกตัญูตอแผนดนิ 59 -อยากใหดําเนินการใหเปนรปูธรรมใหเร็วท่ีสุด 60 -ในระดับบริหารตองมีผูนาํทองถิน่เขามีสวนรวม 61 -เนนภูมิปญญาทองถิ่นและความเปนเอกลักษณของชาวกาฬสินธุเอาไว 62 -เปนแหลงเรยีนรูเรื่อง ICT 63 -เริ่มสอนวิชาเกี่ยวกับครใูหมากข้ึนเชนเอกคณิตศาสตร วทิยาศาสตร ภาษาอังกฤษ 64 -ควรแสวงหาหรือระดมทนุจากภาคเอกชนใหมีสวนรวมในการจดัต้ังมหาลยั 65 -ควรนําเอกลกัษณของจังหวดัมาเปนจุดขายหรอืมุงพฒันาในดานทีเ่รามี เชน การศึกษาวิจัย

ดานซากไดโนเสาร เข่ือนดินของประเทศไทยเข่ือนลาํปาว วัฒนธรรมภูไทเปนตน 66 -ศูนยกลางอยูท่ีมหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคล สาขาของมหาวทิยาลยั ประมงควรอยูที่เข่ือน

ลําปาว ดอนปาแดง ปศุสัตว ปาไม พละศึกษาควรอยูท่ีมหาวทิยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ 67 -ขอใหผูบริหารเห็นประโยชนสูงสุดของนกัศึกษา 67 -มุงเนนบุคลากรที่มีความถนัดใหเปนเลศิ

-มุงเนนการบรหิารจัดการ -มุงเนนคุณธรรมจรยิธรรม

68 -สัญลักษณของมหาลัยกาฬสินควรเปนรูปพระไชยสุนทร 70 -ช่ือควรเปลีย่นเปนช่ืออืน่จะเหมาะสมท่ีสุด 71 -จะจัดต้ังอยางไรกไ็ดแตขอใหมีศักยภาพ

3.2 สรุปผลการจัดเวทีรับฟงความคิดเห็น ท้ัง 5 แหง

ในการจัดเวทีประชาพิจารณรับฟงความคิดเห็น ไดมีผูแทนภาคสวนตาง ๆ ไดรวมแสดงความ

คิดเห็นและขอเสนอแนะตอโครงการ สามารถจําแนกผลได เปน 3 สวน ดังนี ้

Page 64: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

64

3.2.1 จํานวนผูเขารวมเวทปีระชาพจิารณ

ครั้งท่ี วัน/เดือน/ป จํานวนผูเขารวม หมายเหตุ 1 22 พ.ค. 2552 413 ผูรวมเวทมีาจากทุกภาคสวน(ไมเห็นดวย 7 คน) 2 1 มิ.ย. 2552 192 สวนใหญผูเขารวมเวทีเปนนักเรยีน นกัศึกษาพอคาและ

ประชาชน เห็นดวยทกุคน 3 2 มิ.ย. 2552 374 สวนใหญผูเขารวมเวทีเปนผูนําชุมชน ตัวแทนองคกร

ปกครองสวนทองถิน่ เห็นดวยทกุคน 4 3 มิ.ย. 2552 157 ผูรวมเวทมีาจากทุกภาคสวนเห็นดวยทุกคน 5 4 มิ.ย. 2552 203 ผูรวมเวทีสวนใหญเปนพอคา ประชาชน นกัเรยีน

นักศึกษา และผูนําชุมชนเห็นดวยทกุคน รวม 1,339

ผลจากการจัดเวทีรับฟงความคิด จํานวนผูเขารวมรับฟงเปนไปตามเปาหมายที่ไดกําหนด

วางแผนไวในการดําเนินงาน สวนกลุมเปาหมายไดตามวัตถุประสงคของโครงการ คือประกอบดวยขาราชการ

ครู อาจารย ผูนําหมูบาน/ชุมชน ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่น พอคา ประชาชน นักเรียน นักศึกษา

3.2.2 แนวทางการดาํเนินงานท่ีผูเขารวมเวทรีับฟงความคิดเห็น สวนใหญ

เห็นดวยกับการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ คิดเปนรอยละ 99 โดยคณะทํางานไดใหรวมแสดงความคิดเห็นดวย

การยกมือ (ไมนับคะแนน) แสดงดงัภาพ

Page 65: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

65

ภาพท่ี 9 จุดรบัฟงความคิดเห็นที่ 1 ภาพท่ี 10 จุดรับฟงความคิดเห็นที่ 2

ภาพที ่11 จุดรับฟงความคิดเห็นท่ี 3 ภาพที่ 12 จุดรบัฟงความคิดเห็นที่ 4

Page 66: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

66

ภาพที1่2 จุดรบัฟงความคิดเห็นที่ 5

3.2.3 ขอคดิเห็นและขอเสนอแนะจากผูเขารวมเวทีประชาพิจารณ “ความคิดเห็นสวนตัวความสําเร็จจะเกิดข้ึนไดอยูกับผูบริหารทั้ง 2 สถาบันจะคุยกัน ปญหาท่ีจะ

เกิดข้ึนมันมากรวมแลวจะเกิดมุง 2 หลังหรอืเปลา”

“การจัดการศึกษาฟรสํีาหรับคนกาฬสินธุฝากใหผลกัดันใหเกิดข้ึนปจจุบันทุกครั้งท่ีจายคาเลาเรยีน

ผูปกครองจะตองขายขาวเพ่ือนํามาจายคาเทอมใหบุตรหลาน ซ่ึงเดิมก็จนอยูแลว”

นายธรรมมิตย ไชยสุข ผูชวยผูใหญบาน หมูท่ี10 ตําบลนาโก อําเภอกุฉินารายณ

“ปญหาที่เกิดข้ึนในภาคอีสานปจจุบัน คือ 1.สถานศึกษามีนอย 2.หางไกล 3.มีการแขงขันกนัสูง

หากต้ังมหาวิทยาลยัไดจะเปนการดีเน่ืองจากภาคอีสานมีระดับการศึกษาตํ่ากวาภาคอ่ืนๆอยูแลว หากรวม

แลวใชงบประมาณรวมกันกจ็ะทําใหสามารถบริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ” นายวาสิทธิ์

นนทมาตย ผูใหญบานหมู6 ตําบลแจนแลน อําเภอกุฉินารายณ

“เห็นดวย 100%ไมมีขอแมเดิมวิทยาลัยเกษตรกรรมเปนโรงเรียนเกษตรปจจุบันเปน มทร.อีสาน

วิทยาเขตกาฬสินธุกอตั้งมามากกวา 50 ป ทุนที่มีแลวคือสภาพปจจุบันมีความพรอมทุกๆดาน พื้นที่ดงปอ มี

ที่ดิน 525ไร พื้นที่บริเวณนิคมสรางตนเอง อําเภอสหัสขันธ อีกประมาณ 2,000 กวาไร หากควบรวมกับพ้ืนที่

ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุอีก 2,000 กวาไร จะมีพื้นท่ีรวมกันแลวมากกวา 4,000 ไร มีทรัพยสิน

รวมกันมูลคาเปนพันลาน หากมีการควบรวมแลวคําถามวาราชภัฏกาฬสินธุต้ังอยูไกลจะหมดไป”

Page 67: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

67

ขอดี

- การกระจายความเจรญิไปสูอําเภอตางๆ

- โอกาสทางการศึกษาของคนกาฬสินธุ

- คาใชจายทางดานการศึกษาก็จะถูกลง

มีการกระจายนักศึกษาจากมหาวิทยาลยัขอนแกน มหาวิทยาลยัสารคาม มาสูมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

- ที่ต้ังมหาวิทยาลัยใหมอยูบนเสนทางยุทธศาสตรแมสอด มุกดาหาร

ขอเสนอแนะ

- พัฒนาเสนทางเขาราชภฏัใหสะดวกสบาย

- ตัดถนนใหมใหสามารถเดินทางเขาสูราชภฏักาฬสินธุคือเสนทางเช่ือมตอถนนสมเด็จ –

มุกดาหาร ซ่ึงสามารถเดินทางจากหวยผึ้ง นาคู เขาวง กุฉินารายณ เขาสูราชภฏักาฬสินธุไดใกลกวาการเดิน

ทางผานที่ตัวอําเภอสมเด็จ โดยพัฒนาถนนจากบานบอน บานคอสามารถรนระยะทางไดอีกประมาณ 8-9

กิโลเมตร

- ทุนเดิมของจังหวัดกาฬสินธุทีมี่อยูแลวคืออาชีพเกษตร ขอใหเปดหลักสูตรการเกษตร

เทคโนโลยกีารเกษตร”

นายธนา พรหมสาขา ณ สกลนคร อาชีพเกษตร ต.กุงเกา อําเภอเขาวง

“ขนาดมีความสําคัญกับอํานาจเปรียบเทียบใหเห็นวาการรวมมหาวทิยาลยั คลายๆ กับการใชรถ รถ

ขนาดเลก็ใชงานไดนอย รถขนาดกลางใชไดมากข้ึน รถขนาดใหญใชไดมากกวาขนาดกลางและขนาดเลก็”

นายแพน พรไตรรัตน นายอําเภอกมลาไสย

“การลงทุนในราชภฏั ณ ปจจุบันไมคุมคาเนื่องจากนักศึกษาที่เขามาเรียนในแตละปมีสัดสวนลดลง

ดังนั้นการควบรวมควรกระทําอยางเรงดวน คนกาฬสินธุตองไดใชประโยชนจากการต้ังมหาวิทยาลัย

กาฬสินธุ ใหพวกเราทุกคนทีอ่ยู ณ ที่นีไ้ดชวยกันทําใหมหาวิทยาลยัเกดิข้ึนอยางเรว็โดย ดวยการใชผูแทน

ราษฏรท่ีเปนตวัแทนในสภาไดติดตามการนําเขาสภาในสมัยประชุมท่ีจะถึง”

นาย กิตติพร อินทสีดา ผูอํานวยการโรงเรียนกมลาไสย อําเภอกมลาไสย

 

Page 68: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

68

“หากต้ังมหาวิทยาลยักาฬสินธุแลว จะสามารถเปดเรยีนไดทันภายในปการศกึษาหนาหรือไม”

นางสาวรุงลาวลัย ……นักเรยีนมัธยมศกึษาจากโรงเรยีนกมลาไสย

“การยุบ 2 มหาวิทยาลัย จะทําใหนักเรียนที่ยากจนไดเรยีนมากข้ึนเน่ืองจากไมตองใชจายจํานวน

มากเพราะเรยีนอยูใกลบาน”

นายจริพันธ ภูกะฐิน โรงเรียนธญัญาพัฒนวิทย อําเภอกมลาไสย

“เพ่ือใหทุกทานไดรับผลประโยชนรวมกนั จากประสบการณพบวาข้ันตอนการชวยเหลือจาก

องคกรปกครองสวนทองถิน่มีปญหาในดานกฏหมายฝากให มหาวิทยาลัย ใหมทําความตกลงกับ

กระทรวงมหาดไทยในการใหการสนับสนนุการจัดการศกึษาในอนาคต”

นายทองใบ วันเพ่ือน นายกองคการบริหารตําบลธญัญา อําเภอกมลาไสย

“จังหวัดกาฬสินธุมีความสําคัญในภูมิภาคตะวนัออกเฉียงเหนือเปนแหลงผลิตสินคาการเกษตร

เนื่องจากมีแหลงน้ําขนาดใหญ ดังน้ันในเรือ่งการประกอบอาชีพกาฬสินธุไมเปนรองใครแตในดาน

การศึกษาคอนขางจะตามหลงัหลายๆจังหวดัที่อยูใกลเคียงไมวาจะเปนสารคาม ขอนแกนกาฬสินธุเองมี

ปราชญชาวบานที่มีความรูมากมายแตไมมีการจัดการในระบบการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ มีมหาลยัทีจั่ดการ

สอน 2 แหง คือมหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ มีความชํานาญดานสังคมศาสตร และมหาวิทยาลยั

เทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ มีความชํานาญการสอนดานวิทยาศาสตร การรวม

มหาวิทยาลยัท้ัง 2 แหงจะเปนการผสมผสานขอเดนของแตละแหงเขาดวยกัน เรยีนที่มหาวิทยาลยั

กาฬสินธุประหยัด ผูปกครองสามารถท่ีจะดูแลลกูหลานไดใกลชิดมากกวา”

นายพรชัย ประชุมแดง ปลัดอาวุโสอําเภอหนองกุงศร ี

“มหาวิทยาลัยสามารถสรางและพฒันาในทกุ ๆ ดานใหแกคนในทองถิน่ดวยการสรางองคความรู

ใหม ๆ ใหแกสังคม”

นายวมิล สามเมือง ครูการศึกษานอกโรงเรยีน อําเภอหนองกงุศร ี

 

Page 69: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

69

“มหาวิทยาลัยใหมที่จะเกิดข้ึน ตองมีเปาหมายในการพัฒนาคนและทองถิน่อยางแทจริง ไมใชเนน

การพัฒนาดานเศรษฐกิจเหมือนกับ มหาวทิยาลยัท่ัวไป”

นายทรงศักดิ์ ภูปา รองผูอํานวยการโรงเรยีนยางตลาดวิทยาคาร อําเภอยางตลาด

สรุปผลจากการจัดประชาสัมพันธรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตอโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลยั

กาฬสินธุ ทั้งในสวนการตอบแบบสอบถามและการจดัเวทีรับฟง ประชาชนสวนใหญใหความเห็นในการจัดตั้ง

ดวยการยุบรวม 2 สถาบัน คิดเปนรอยละ 94.77

ประกาศ ณ วนัท่ี 18 มิถุนายน พ.ศ. 2552

พงษศักดิ์ ทิสานนท

(นายพงษศักดิ ์ ทิสานนท)

ประธานคณะทํางานรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

 

 

 

หากทานใดมีขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ สามารถใหขอมูลหรือสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่

กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการส่ือสาร

สํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ    อาคาร ศาลากลางจังหวัดกาฬสินธุ  

Page 70: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

70

รางพระราชบญัญตั ิ

มหาวิทยาลยักาฬสินธุ

พ.ศ. ๒๕๕…..

----------------------------------------------------

...................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

................................................................................................

:: บทนิยาม มาตรา ๑-๖

:: หมวด๑ บทท่ัวไป มาตรา ๗-๑๔

:: หมวด๒ การดาํเนินการ มาตรา ๑๕-๔๖

:: หมวด๓ วิชาการและการใชทรพัยากร ๔๗-๔๘

:: หมวด๔ ตําแหนงทางวิชาการ มาตรา ๔๙-๕๓

:: หมวด๕ ปริญญาและเครือ่งหมายวิทยฐานะ มาตรา ๕๔-๖๐

:: หมวด๖ บทกําหนดโทษ มาตรา ๖๑-๖๒

:: บทเฉพาะกาล มาตรา ๖๓-๗๕

โดยท่ีเปนการสมควรจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุข้ึนแทนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

วิทยาเขตกาฬสินธุซ่ึงควบรวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ

......................................... ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา

ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบญัญติันี้เรียกวา “พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุพ.ศ. ๒๕๕๒”

มาตรา ๒ พระราชบญัญติันี้ใหใชบังคับต้ังแตวนัถดัจากวนัประกาศในราชกิจจานเุบกษาเปนตนไป

Page 71: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

71

มาตรา ๓ ใหยกเลกิ

(๑) มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลยัหน่ึงตามพระราชบญัญัติมหาวิทยาลยัราชภฏั พ.ศ.๒๕๔๗

(๒)วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนสวนราชการหนึ่งของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานตาม

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้

“มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุตามพระราชบัญญัตินี้

“สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยกาฬสินธุตามพระราชบัญญัติน้ี

“สภาวิชาการ” หมายความวา สภาวิชาการมหาวิทยาลัยกาฬสินธุตามพระราชบัญญัติน้ี

“สภาคณาจารยขาราชการและพนักงาน” หมายความวา สภาคณาจารยขาราชการและพนักงานของ

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุตามพระราชบัญญัติน้ี

“วิทยาเขต” หมายความวา เขตการศึกษาของมหาวิทยาลัยที่มีคณะ สถาบัน สํานัก วิทยาลัยหรือสวน

ราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ ต้ังแตสองสวนราชการข้ึนไปต้ังอยูในเขตการศึกษานั้นตามที่

สภามหาวิทยาลัยกําหนด

“รัฐมนตร”ี หมายความวา รฐัมนตรผีูรักษาการตามพระราชบัญญติัน้ี

มาตรา ๕ ใหมหาวิทยาลยักาฬสินธุตามพระราชบญัญัตินี ้มีสถานที่ต้ังจํานวน ๓ แหง ดังนี ้

(๑) สวนราชการที่ต้ังอยูในอําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ(สํานักงานวิทยาเขตกาฬสินธุ)

(๒) สวนราชการท่ีต้ังอยูในอําเภอหัสขันธ จังหวัดกาฬสินธุ(ศูนยวิจยัและฝกอบรมภสิูงห)

(๓) สวนราชการท่ีต้ังอยูในอําเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ(มหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ)

ใหมหาวิทยาลัยกาฬสินธุตามวรรคหน่ึงเปนนิติบุคคลและเปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยวิธีการ

งบประมาณใหสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และมีอํานาจออก

กฎกระทรวง และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี

Page 72: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

72

หมวด ๑

บทท่ัวไป

------------------------------------------

มาตรา ๗ ใหมหาวิทยาลัยเปนสถาบันอุดมศึกษาของทองถิ่นและภูมิภาคดานวิชาชีพและเทคโนโลยี มี

วัตถุประสงคใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพช้ันสูงที่เนนการปฏิบัติ ทําการสอน การวิจัย ผลิตครู

วิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร สังคมและเทคโนโลยี ทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และ

อนุรักษส่ิงแวดลอม ระดับปริญญาเปนหลัก

ใหมหาวิทยาลัยเปนนิติบุคคล มีฐานะเปนกรมในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๘ มหาวิทยาลัยอาจแบงสวนราชการ ดงันี้

(๑) สํานักงานอธิการบดี

(๒) สํานักงานวิทยาเขต

(๓) บัณฑิตวิทยาลัย

(๔) คณะ

(๕) สถาบัน

(๖) สํานัก

(๗) วิทยาลัย

มหาวิทยาลัยอาจใหมีสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะ เพ่ือดําเนินการตาม

วัตถุประสงคในมาตรา ๗ เปนสวนราชการในมหาวทิยาลัยอีกได

สํานักงานอธิการบดีและสํานักงานวิทยาเขต อาจแบงสวนราชการเปนกองหรือสวนราชการที่เรียกชื่อ

อ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทากอง

บัณฑิตวิทยาลัย อาจแบงสวนราชการเปนสํานักงานคณบดี กองหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มี

ฐานะเทียบเทากอง

Page 73: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

73

คณะ อาจแบงสวนราชการเปนสํานักงานคณบดี ภาควิชา กองหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่นที่มี

ฐานะเทียบเทาภาควิชาหรือกอง

สถาบัน สํานักหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะ อาจแบงสวนราชการเปน

สํานักงานผูอํานวยการ กองหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทากอง

วิทยาลัย อาจแบงสวนราชการเปนสํานักงานผูอํานวยการ ภาควิชา กองหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ือ

อยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาภาควิชาหรือกอง

สํานักงานคณบดี สํานักงานผูอํานวยการ ภาควิชา กองหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะ

เทียบเทาภาควิชาหรือกอง อาจแบงสวนราชการเปนงานหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทางาน

มาตรา ๙ การจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิกสํานักงานวิทยาเขต บัณฑิตวิทยาลัย คณะ สถาบัน สํานัก

วิทยาลัย หรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะ ใหทําเปนกฎกระทรวง

การแบงสวนราชการเปนสํานักงานคณบดี สํานักงานผูอํานวยการ ภาควิชา กองหรือสวนราชการที่

เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาภาควิชาหรือกอง ใหทําเปนประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ

การแบงสวนราชการเปนงาน หรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทางาน ใหทําเปน

ประกาศมหาวิทยาลัย

มาตรา ๑๐ ภายใตวัตถุประสงค ตามมาตรา ๗ มหาวิทยาลัยจะรับสถาบันการศึกษาช้ันสูงหรือสถาบัน

อ่ืนเขาสมทบในมหาวิทยาลัยก็ได และมีอํานาจใหปริญญา อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรช้ันหนึ่งช้ันใดแก

ผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันสมทบนั้นได

การรับเขาสมทบหรือยกเลิกการสมทบซ่ึงสถาบันการศึกษาชั้นสูงหรือสถาบันอ่ืน ใหเปนไปตาม

ขอบังคับของมหาวิทยาลัยและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

การควบคุมสถาบันการศึกษาช้ันสูงหรือสถาบันอ่ืนที่เขาสมทบในมหาวิทยาลัย  ใหเปนไปตาม

ขอบังคับของมหาวิทยาลัย

Page 74: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

74

มาตรา ๑๑ มหาวิทยาลัย จะปฏิเสธการรับผูใดเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย หรือยุติหรือชะลอการศึกษาของ

นักศึกษาผูใดดวยเหตุเพียงวาผูน้ันขาดแคลนทุนทรัพยเพื่อจายคาธรรมเนียมการศึกษาตาง ๆ แกมหาวิทยาลัยมิได

หลักเกณฑการพิจารณาวานักศึกษาผูใดขาดแคลนทุนทรัพย ใหเปนไปตามระเบียบที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด

มาตรา ๑๒ นอกจากเงินท่ีกําหนดไวในงบประมาณแผนดินมหาวิทยาลัยอาจมีรายได ดังนี้

(๑) เงินผลประโยชน คาธรรมเนยีม คาปรับ และคาบริการตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย

(๒) รายได หรือผลประโยชนที่ไดมาจากการใชที่ราชพัสดุซ่ึงมหาวิทยาลัยปกครอง ดูแล หรือใชประโยชน

(๓) เงินและทรัพยสินซ่ึงมีผูอุทิศใหแกมหาวิทยาลัย

(๔) รายได หรือผลประโยชนที่ไดมาจากการลงทุนและจากทรัพยสินของมหาวิทยาลัย

(๕) เงินอุดหนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือเงินอุดหนุนอื่นที่มหาวิทยาลัยไดรับ

(๖) รายได หรือผลประโยชนอยางอ่ืน

ใหมหาวิทยาลัยมีอํานาจในการปกครอง ดูแล บํารุงรักษา ใชและจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสินของ

มหาวิทยาลัย ท้ังที่เปนท่ีราชพัสดุตามกฎหมายวาดวยท่ีราชพัสดุและท่ีเปนทรัพยสินอ่ืนรายไดของมหาวิทยาลัย

รวมทั้งเบี้ยปรับท่ีเกิดจากการดําเนินการตามวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัยไมเปนรายไดที่ตองนําสง

กระทรวงการคลังตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลังและกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ เวนแต เบี้ยปรับที่เกิด

จากการผิดสัญญาลาศึกษาและเบี้ยปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาซ้ือทรัพยสินหรือสัญญาจางทําของที่ดําเนินการ

โดยใชเงินงบประมาณ

มาตรา ๑๓ บรรดาอสังหาริมทรัพยที่มหาวิทยาลัยไดมาโดยมีผูอุทิศใหหรือไดมาโดยการซ้ือหรือ

แลกเปลี่ยนจากรายไดของมหาวิทยาลัยต้ังแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ไมถือวาเปนที่ราชพัสดุและใหเปน

กรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๑๔ บรรดารายไดและทรัพยสินของมหาวิทยาลัยจะตองจัดการเพ่ือประโยชนภายใต

วัตถุประสงคของมหาวิทยาลัยตามมาตรา ๗

เงินและทรัพยสินที่มีผูอุทิศใหแกมหาวิทยาลัยจะตองจัดการตามเงื่อนไขท่ีผูอุทิศใหกําหนดไวและตอง

เปนไปตามวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย แตถามีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขดังกลาว มหาวิทยาลัย

ตองไดรับความยินยอมจากผูอุทิศใหหรือทายาท หากไมมีทายาทหรือทายาทไมปรากฏ จะตองไดรับอนุมัติจาก

สภามหาวิทยาลัย

Page 75: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

75

หมวด ๒

การดาํเนินการ

--------------------------------------------

มาตรา ๑๕ ใหมหาวิทยาลยัมีสภามหาวิทยาลัย ประกอบดวย

(๑) นายกสภามหาวิทยาลัย ซ่ึงจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ัง

(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตําแหนง ไดแก อธิการบดีและประธานสภาคณาจารยขาราชการ

และพนักงาน

(๓) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจํานวนหกคน ซ่ึงเลือกจากผูดํารงตําแหนงรองอธิการบดี คณบดี

ผูอํานวยการสถาบัน ผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการวิทยาลัย และหัวหนาสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่ฐานะ

เทียบเทาคณะ

(๔) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจํานวนหกคน ซ่ึงเลือกจากคณาจารยประจํามหาวิทยาลัยและขาราชการ

พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่มิใชผูดํารงตําแหนงตาม (๓)

(๕) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิจํานวนสิบส่ีคน ซ่ึงจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ

แตงต้ังจากบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย โดยคําแนะนําของนายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภา

มหาวิทยาลัยตาม (๒) (๓) และ (๔) ท้ังนี้ผูทรงคุณวุฒิดังกลาวตองมาจากผูมีความรู ความเช่ียวชาญดาน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กฎหมาย การงบประมาณและการเงิน การบริหารงานบุคคล การศึกษา

เศรษฐศาสตร และสังคมศาสตร อยางนอยดานละหน่ึงคน และดานอ่ืนๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัยเห็นสมควร

ใหสภามหาวิทยาลัยแตงต้ังรองอธิการบดีคนหนึ่ง ซ่ึงมิใชกรรมการสภามหาวิทยาลัยตาม (๓)

เปนเลขานุการสภามหาวิทยาลัยโดยคําแนะนําของอธิการบดี

ใหสภามหาวิทยาลัยเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิคนหนึ่งเปนอุปนายกสภามหาวิทยาลัย

ทําหนาที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัยเม่ือนายกสภามหาวิทยาลัยไมอาจปฏิบัติหนาที่ได หรือเม่ือไมมีผูดํารง

ตําแหนงนายกสภามหาวิทยาลัย

คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการไดมาซ่ึงนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย

ผูทรงคุณวุฒิ คุณสมบัติของผูเลือก ตลอดจนหลักเกณฑ และวิธีการเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยตาม (๓)

และ (๔) ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

Page 76: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

76

มาตรา ๑๖ นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕)

มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสองป แตจะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังหรืออาจเลือกใหมได

นอกจากการพนตําแหนงตามวาระตามวรรคหนึ่ง นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภา

มหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) พนจากตําแหนงเม่ือ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ขาดคุณสมบัติของการเปนนายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยในประเภทน้ัน

(๔) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก

(๕) สภามหาวิทยาลัยมีมติใหออกเพราะความประพฤติเส่ือมเสีย บกพรองตอหนาที่หรือหยอน

ความสามารถ

(๖) เปนบุคคลลมละลาย

(๗) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ

การพนตําแหนงตาม (๕) ตองมีคะแนนเสียงลงมติไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการสภา

มหาวิทยาลัยเทาที่มีอยู

ในกรณีท่ีตําแหนงนายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยวางลง ไมวาดวยเหตุใดและยัง

มิไดดําเนินการใหไดมาซ่ึงนายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยแทนตําแหนงที่วาง ใหสภา

มหาวิทยาลัยประกอบดวยกรรมการสภามหาวิทยาลัยเทาท่ีมีอยู

ในกรณีที่นายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) พน

จากตําแหนงกอนครบวาระ และไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ัง หรือไดมีการเลือกผูดํารงตําแหนงแทน

แลว ใหผูซ่ึงไดพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ัง หรือไดรับเลือกอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซ่ึงตน

แทน แตถาวาระการดํารงตําแหนงเหลือยูนอยกวาเกาสิบวันจะไมดําเนินการใหมีผูดํารงตําแหนงแทนก็ได

ในกรณีที่นายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) พน

จากตําแหนงกอนครบวาระ แตยังมิไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังนายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการ

สภามหาวิทยาลยัผูทรงคุณวุฒิหรือยังมิไดเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยอ่ืนข้ึนใหม ใหนายกสภามหาวิทยาลัย

หรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยซ่ึงพนจากตําแหนงปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาจะไดมีนายกสภามหาวิทยาลัยหรือ

กรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) ภายในเกาสิบวันนับแตวันท่ีผูพนจากตําแหนง

Page 77: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

77

มาตรา ๑๗ สภามหาวิทยาลยัมีอํานาจและหนาท่ีควบคุมดแูลกิจการทัว่ไปของมหาวิทยาลยัและ

โดยเฉพาะใหมีอํานาจหนาที่ดังนี ้

(๑) วางนโยบาย และอนุมัติแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการศึกษา การสงเสริมวิชาการและ

วิชาชีพช้ันสูงที่เนนการปฏิบัติ ทําการสอน การวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร

และเทคโนโลยีแกสังคม ทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษส่ิงแวดลอม

(๒) วางระเบียบ ออกขอบังคับและประกาศมหาวิทยาลัย และอาจมอบใหสวนราชการใดใน

มหาวิทยาลัยเปนผูวางระเบียบ ออกขอบังคับและประกาศสําหรับสวนราชการน้ันเปนเรื่อง ๆ ไปก็ได

(๓) กํากับมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

(๔) ติดตามและประเมนิผลการดําเนินงานของมหาวทิยาลัย

(๕)พิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐานที่คณะกรรมการการ

อุดมศึกษากําหนด

(๖) พิจารณาการจัดต้ัง การรวม และการยุบเลกิ สํานักงานวิทยาเขต บัณฑิตวิทยาลยั คณะ สถาบัน

สํานัก วิทยาลยัหรือสวนราชการท่ีเรยีกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ รวมท้ังการแบงสวนราชการของสวน

ราชการดังกลาว

(๗) อนุมัติใหปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญาและ

ประกาศนียบัตร

(๘) อนุมัติการรับสถาบันการศึกษาช้ันสูง และสถาบันอ่ืนเขาสมทบ หรือการยกเลิกการสมทบ

(๙) พิจารณาเสนอเรื่องเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ัง และถอดถอนนายกสภามหาวทิยาลยั

กรรมการสภามหาวิทยาลยัผูทรงคุณวุฒิ อธิการบดี ศาสตราจารย และศาสตราจารยพิเศษ

(๑๐) แตงต้ังและถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการสถาบัน ผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการ

วิทยาลัย หรือหัวหนาสวนราชการท่ีเรียกช่ือยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ ศาสตราจารยเกียรติคุณ รอง

ศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารยพเิศษ และกรรมการสภาวิชาการ

(๑๑) อนุมัติงบประมาณรายจายจากเงินรายไดของมหาวิทยาลัย

(๑๒) วางระเบียบและออกขอบังคับเกี่ยวกับการบริหารการเงินและทรัพยสินของมหาวิทยาลัย และการ

จัดหารายไดของมหาวิทยาลัย

Page 78: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

78

(๑๓) พิจารณาดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยตามกฎหมายวาดวยระเบียบ

ขาราชการพลเรือนในสถาบันในสถาบันอุดมศึกษา และตามที่คณะกรรมการขาราชการพลเรือนใน

สถาบันอุดมศึกษามอบหมาย

(๑๔) แตงต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพื่อพิจารณาและเสนอ

ความเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อมอบหมายใหปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดอันอยูในอํานาจและหนาที่ของ

สภามหาวิทยาลัย

(๑๕) พิจารณาและใหความเห็นชอบในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัยตามที่อธิการบดีเสนอ

และอาจมอบหมายใหอธิกาบดีปฏิบัติอยางหนึ่งอยางใดอันอยูในอํานาจและหนาที่ของสภามหาวิทยาลัยก็ได

(๑๖) สงเสริม และสนับสนุน และแสวงหาวิธีการ เพ่ือพัฒนาความกาวหนาของมหาวิทยาลัย

(๑๗) ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนเกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัยท่ีมิไดระบุใหเปนหนาที่ของผูใดโดยเฉพาะ

มาตรา ๑๘ การประชุมสภามหาวิทยาลัย ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๑๙ ใหมหาวิยาลัยมีสภาวิชาการ ประกอบดวย

(๑) อธิการบดี เปนประธานสภาวิชาการ

(๒) รองอธิการบดีฝายวิชาการ เปนรองประธานสภาวิชาการ

(๓) กรรมการสภาวิชาการโดยตําแหนง ไดแก รองอธิการบดีประจําวิทยาเขต คณบดี ผูอํานวยการ

สถาบันเพ่ือการวิจัย และผูอํานวยการวิทยาลัย ถามี

(๔) กรรมการสภาวิชาการจํานวนหกคน ซ่ึงเลือกจากคณาจารยประจําในมหาวิทยาลัย

(๕) กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิจํานวนสิบคน ซ่ึงแตงตั้งจากบุคคลภายนอก โดยความเห็นชอบ

ของสภามหาวิทยาลัย

คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการไดมาซ่ึงกรรมการสภาวิชาการตาม (๔) และ (๕) ใหเปนไปตาม

ขอบังคับของมหาวิทยาลัย

ใหอธิการบดีแตงต้ังคณาจารยประจําในมหาวิทยาลัยคนหนึ่งเปนเลขานุการสภาวิชาการ และอาจแตงต้ัง

คณาจารยประจําในมหาวิทยาลัยอีกไมเกินสองคนเปนผูชวยเลขานุการ

มาตรา ๒๐ วาระการดํารงตําแหนง และการพนตําแหนง ของกรรมการสภาวิชาการ ตลอดจนการ

ประชุมและการดําเนินงานของสภาวิชาการ ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

Page 79: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

79

มาตรา ๒๑ สภาวิชาการมีอํานาจและหนาท่ี ดังน้ี

(๑) พิจารณาเกณฑมาตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตร การเรียนการสอน การวิจัย การวัดผลการศึกษา และการ

ประกันคุณภาพการศึกษาเสนอตอสภามหาวิทยาลัย

(๒) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการรวมและการยกเลิกสาขาวิชาตอสภามหาวิทยาลัย

(๓) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการเปดสอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย

(๔) พิจารณาเสนอความเห็นในเรื่องท่ีเกี่ยวกับวิชาการตอสภามหาวิทยาลัย

(๕) สงเสริมการวิจัยและการบริการทางวิชาการทีสอดคลองกับภารกิจของมหาวิทยาลัยและความ

ตองการของชุมชน

(๖) แตงต้ังคณะอนุกรรมการ หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพื่อกระทําการใด ๆ อันอยูในอํานาจและหนาที่

ของสภาวิชาการ

มาตรา ๒๒ ใหมหาวิทยาลัยมีสภาคณาจารยขาราชการและพนักงาน ประกอบดวยประธานสภา

คณาจารย ขาราชการและพนักงาน และกรรมการสภาคณาจารย ขาราชการและพนักงานซ่ึงเลือกจากคณาจารย

ประจําและขาราชการของมหาวิทยาลัย

จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของ

ประธานสภาคณาจารย ขาราชการและพนักงาน และกรรมการสภาคณาจารยขาราชการและพนักงานตามวรรค

หน่ึง ตลอดจนการประชุและการดําเนินงานของสภาคณาจารยขาราชการและพนักงาน ใหเปนไปตามขอบังคับ

ของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๒๓ สภาคณาจารย ขาราชการและพนักงานมีอํานาจและหนาที่ ดังนี้

(๑) ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะในกิจการของมหาวิทยาลัยและการพัฒนามหาวิทยาลัยแกอธิการบดี

หรือสภามหาวิทยาลัย

(๒) สงเสริมและพัฒนาศักยภาพของคณาจารย ขาราชการและพนักงานในการปฏิบัติหนาท่ีตาม

จรรยาบรรณแหงวิชาชีพ

(๓) พิทักษผลประโยชนของมหาวิทยาลัยและปฏิบัติหนาที่อ่ืนตามที่อธิการบดีหรือสภามหาวิทยาลัย

มอบหมาย

Page 80: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

80

(๔) เรียกประชุมคณาจารย ขาราชการและพนักงานเพื่อพิจารณากิจกรรมของมหาวิทยาลัย และนําเสนอ

ความเห็นตอสภามหาวิทยาลัย ทั้งน้ี ตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

การปฏิบัติหนาท่ีของสภาคณาจารย ขาราชการและพนักงานถือเปนการปฏิบัติหนาที่ราชการ และการ

ดําเนินการใดๆ ในการปฏิบัติหนาที่โดยชอบยอมไดรับความคุมครองและไมเปนเหตุในการดําเนินการทางวินัย

มาตรา ๒๔ ใหมีอธิการบดีเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของมหาวิทยาลัย และอาจมี

รองอธิการบดี หรือผูชวยอธิการบดี หรือจะมีทั้งรองอธิการบดีและผูชวยอธิการบดีตามจํานวนที่สภา

มหาวิทยาลัยแตละแหงกําหนด เพ่ือทําหนาที่และรับผิดชอบตามท่ีอธิการบดีมอบหมายก็ได

มาตรา ๒๕ อธิการบดีนั้นจะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังโดยการสรรหาตามขอบังคับของ

มหาวิทยาลัยจากผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงการมีสวนรวมของบุคลากรของ

มหาวิทยาลัย

อธิการบดีมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละส่ีป และจะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังใหมอีกได แต

จะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได

นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามวรรคสอง อธิการบดีพนจากตําแหนงเม่ือ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ถูกลงโทษทางวินัยอยางรายแรงหรือถูกส่ังใหออกจากราชการ เพราะเหตุมีมลทินหรือมัวหมองใน

กรณีท่ีถูกสอบสวนทางวินัยอยางรายแรง

(๔) เปนบุคคลลมละลาย คนไรความสามารถ หรือคนเสมือนไรความสามารถ

(๕) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก

(๖) สภามหาวิทยาลัยใหพนจากตําแหนง เพราะบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเส่ือมเสีย หรือ

หยอนความสามารถ มติของสภามหาวิทยาลัยใหพนจากตําแหนง ตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา

สองในสามของจํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัยทั้งหมด

รองอธิการบดี ใหสภามหาวิทยาลัยแตงต้ังโดยคําแนะนําของอธิการบดีจากผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖

วรรคหนึ่ง

Page 81: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

81

ผูชวยอธิการบดี ใหอธิการบดีแตงต้ังจากขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาซ่ึงมีคุณสมบัติตาม

มาตรา ๒๖ วรรคสอง และใหอธิการบดีมีอํานาจถอดถอนผูชวยอธิการบดีดวย

เม่ืออธิการบดีพนจากตําแหนง ใหรองอธิการบดีและผูชวยอธิการบดี พนจากตําแหนงดวย

มาตรา ๒๖ อธิการบดีและรองอธิการบดี ตองสําเร็จการศึกษาไมตํ่ากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทาจาก

มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน ๆ ที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และไดทําการสอนหรือมีประสบการณดาน

การบริหารมาแลวไมนอยกวาหาปในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน ๆ ที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

เคยดํารงตําแหนงกรรมการสภามหาวิทยาลัยไมนอยกวาสามป หรือดํารงตําแหนงหรือเคยดํารงตําแหนง

ศาสตราจารย รวมทั้งมีคุณสมบัติอ่ืนและไมมีลักษณะตองหามตามท่ีกําหนดในขอบังคับของมหาวิทยาลัย

ผูชวยอธิการบดีดวย ตองสําเร็จการศึกษาไมตํ่ากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทาจากมหาวิทยาลัยหรือ

สถาบันอุดมศึกษาอ่ืน ๆ ที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และไดทําการสอนหรือมีประสบการณดานการบริหาร

มาแลวไมนอยกวาสามปในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน ๆ ที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง

มาตรา ๒๗ อธิการบดีมีอํานาจและหนาที่ ดังน้ี

(๑) บริหารกิจการของมหาวิทยาลัยใหเปนไปตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของทางราชการและของ

มหาวิทยาลัย รวมทั้งนโยบายและวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย

(๒) บริหารบุคลากร การเงิน พัสดุ สถานที่และทรัพยสินอ่ืนของมหาวิทยาลัยใหเปนไปตามกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอบังคับของทางราชการและของมหาวิทยาลัย

(๓) จัดทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงาน รวมทั้งติดตาม

ประเมินผลการดําเนินงานดานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย

(๔) แตงต้ัง และถอดถอนผูชวยอธิการบดี รองคณบดี รองผูอํานวยการสถาบัน รองผูอํานวยการสํานัก

รองผูอํานวยการวิทยาลัย รองหัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะ หัวหนาภาควิชา

หัวหนาสวนงานราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาภาควิชาและอาจารยพิเศษ

(๕) รายงานเกี่ยวกับกิจการและการดําเนินการของมหาวิทยาลัยตอสภามหาวิทยาลัย

(๖) สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของสภาคณาจารยและขาราชการ คณะกรรมการสงเสริม

กิจการวิทยาเขต และสงเสริมการพัฒนานักศึกษาและกิจการนักศึกษา

Page 82: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

82

(๗) สงเสริมความสัมพันธระหวางมหาวิทยาลัยกับชุมชน รวมทั้งการเขาไปมีสวนรวมในการสราง

ความสัมพันธกับชุมชน

(๘) เปนผูแทนมหาวิทยาลัยในกิจการทั่วไป

(๙) ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนตามระเบียบ ขอบังคับ และประกาศมหาวิทยาลัย ตามท่ีสภามหาวิทยาลัยมอบหมาย

หรือตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของอธิการบดี

มาตรา ๒๘ ในกรณีที่ผูดํารงตําแหนงอธิการบดีไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติราชการได ใหรองอธิการบดี

เปนผูรักษาราชการแทน ถามีรองอธิการบดีหลายคน ใหรองอธิการบดีซ่ึงอธิการบดีมอบหมายเปนผูรักษา

ราชการแทน ถาอธิการบดีมิไดมอบหมาย ใหรองอธิการบดีซ่ึงมีอาวุโสสูงสุดเปนผูรักษาราชการแทน

ในกรณีที่ไมมีผูรักษาราชการแทนอธิการบดีตามความในวรรคหนึ่ง หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได

หรือไมมีผูดํารงตําแหนงอธิการบดี ใหสภามหาวิทยาลัยแตงต้ังผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง เปน

ผูรักษาราชการแทนอธิการบดี

มาตรา ๒๙ ในวิทยาเขตใหมีรองอธิการบดีคนหนึ่งซ่ึงสภามหาวิทยาลัย แตงต้ังโดยคําแนะนําของ

อธิการบดีเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของวิทยาเขตใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ

ขอบังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย และปฏิบัติหนาท่ีอื่นตามอธิการบดีมอบหมาย

มาตรา ๓๐ ในวิทยาเขต ใหมีคณะกรรมการประจําวิทยาเขตคณะหนึ่ง

องคประกอบ จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธกีารไดมา วาระการดํารงตําแหนง และการพนจาก

ตําแหนงของกรรมการประจําวิทยาเขต ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการประจาํวิทยาเขตและการ

จัดระบบบริหารงานในวิทยาเขต ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลยั ท้ังนี ้ตองมีกรรมการท่ีเปน

ผูทรงคุณวุฒิซ่ึงแตงต้ังจากบคุคลภายนอกไมนอยกวาหนึง่ในสาม

มาตรา ๓๑ คณะกรรมการประจําวิทยาเขตมีอํานาจและหนาที่ ดังนี ้

(๑) สงเสริมใหวิทยาเขตดําเนินภารกิจใหสอดคลองกับนโยบาย เปาหมาย และแผนพัฒนาตามท่ีสภา

มหาวิทยาลยักาํหนด

(๒) ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดําเนนิกิจการตาง ๆ ของวิทยาเขตแกอธิการบด ี

(๓) เสนอแนะการเปดสอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลยัในวิทยาเขตตอสภาวิชาการ

Page 83: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

83

(๔) ประสานงานระหวางบณัฑิตวิทยาลัย คณะ สถาบนั สํานัก วิทยาลยั และสวนราชการท่ีเรยีกช่ืออยาง

อ่ืนท่ีมีฐานะเทยีบเทาคณะภายในวิทยาเขต

(๕) พิจารณาวางระเบียบหรอืออกขอบังคับอ่ืนตามท่ีสภามหาวิทยาลยัมอบหมาย

(๖) พิจารณาเสนอแผนพัฒนา แผนงาน และงบประมาณประจําปและจัดทํารายงานผลการดําเนนิกิจการ

ของวิทยาเขตเสนอตออธิการบด ี

(๗) แตงต้ังคณะอนุกรรมการ หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพื่อกระทําการใด ๆ อันอยูในอํานาจและหนาท่ี

ของคณะกรรมการประจําวทิยาเขต

(๘) ปฏิบัติงานอ่ืนตามท่ีอธกิารบดีมอบหมาย

มาตรา ๓๒ ในวิทยาเขต ใหมีคณะกรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขต ประกอบดวย

(๑) ประธานกรรมการสงเสรมิกิจการวิทยาเขต

(๒) กรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขตโดยตําแหนง ไดแก รองอธิการบดีประจําวิทยาเขต คณบด ี

ผูอํานวยการสถาบัน ผูอํานวยการสํานัก และผูอํานวยการวิทยาลัย ถามี

(๓) กรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขตจํานวนส่ีคน ซ่ึงแตงต้ังจากผูแทนศิษยเกา จํานวนหน่ึงคน ผูแทน

ผูปกครอง จํานวนหน่ึงคน และผูแทนนักศึกษา จํานวนสองคน

(๔) กรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขตผูทรงคุณวุฒิจํานวนเทากับจํานวนกรรมการตาม (๒) และ (๓)

รวมกัน ซ่ึงสภามหาวิทยาลยัแตงต้ังจากผูมีความรู ความเช่ียวชาญ หรือมีประสบการณในสาขาวิชาตาง ๆ ตามท่ี

สภามหาวิทยาลัยเห็นสมควร ในจํานวนนี ้ใหแตงต้ังจากบุคคลในเขตพืน้ที่บรกิารการศึกษาของวิทยาเขตไมนอย

กวากึ่งหน่ึง

คุณสมบัติ หลักเกณฑและวธิีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของประธาน

กรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขต และกรรมการสงเสรมิกิจการวิทยาเขตตาม (๓) และ (๔) ตลอดจนการประชุม

และการดําเนนิงานของคณะกรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขต ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลยั

มาตรา ๓๓ คณะกรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขตมีอํานาจและหนาที่ ดังนี้

(๑) สงเสริม สนับสนุน ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะแกวิทยาเขตเพื่อพัฒนาแนวทางการดําเนินงาน

ของวิทยาเขต

Page 84: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

84

(๒) สงเสริมใหมีทุนการศึกษาแกนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย ใหมีโอกาสศึกษาในมหาวิทยาลัยอัน

เปนการสนับสนุนความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา

(๓) สงเสริม และสนับสนุนการสรางสัมพันธภาพและการเรียนรูระหวางมหาวิทยาลัยกับนักศึกษาและ

ประชาชน

(๔) แตงต้ังคณะอนุกรรมการ หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพื่อกระทําการใด ๆ ตาม (๑) (๒) และ (๓)

มาตรา ๓๔ ในบัณฑิตวิทยาลัย ใหมีคณบดีเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของบัณฑิตวิทยาลัย

และจะใหมีรองคณบดีตามจํานวนที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด เพื่อทําหนาที่และรับผิดชอบตามท่ีคณบดี

มอบหมายก็ได

คณบดีนั้น ใหสภามหาวิทยาลัยแตงต้ังโดยการสรรหาตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยจากผูมีคุณสมบัติ

ตามมาตรา ๒๖ วรรคสอง

รองคณบดีน้ัน ใหอธิการบดีแตงต้ังโดยคําแนะนําของคณบดีจากผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคสอง

และใหอธิการบดีมีอํานาจถอดถอนรองคณบดีโดยคําแนะนําของคณบดี

วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงคณบดี ใหนํามาตรา ๒๕ วรรคสอง และวรรคสาม มา

ใชบังคับโดยอนุโลม

การรักษาราชการแทนคณบดี ใหนํามาตรา ๒๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม

เม่ือคณบดีพนจากตําแหนง ใหรองคณบดีพนจากตําแหนงดวย

มาตรา ๓๕ ในบัณฑิตวิทยาลัย ใหมีคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยคณะหนึ่ง ประกอบดวย

คณบดีเปนประธานกรรมการและกรรมการอ่ืนอีกจํานวนหนึ่ง

จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา อํานาจและหนาที่ วาระการดํารงตําแหนง และการพน

จากตําแหนงของกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวทิยาลยั

และการจัดระบบบริหารงานในบัณฑิตวิทยาลัย ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๓๖ ในคณะ ใหมีคณบดีเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของคณะ และจะใหมีรองคณบดี

ตามจํานวนที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด เพื่อทําหนาที่และรบัผิดชอบตามท่ีคณบดีมอบหมายก็ได

คุณสมบัติ การแตงต้ัง วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของคณบดีและรองคณบดีตาม

วรรคหนึ่ง และการรักษาราชการแทน ใหนํามาตรา ๓๔ มาใชบังคับโดยอนุโลม

Page 85: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

85

มาตรา ๓๗ ในคณะ ใหมีคณะกรรมการประจําคณะ ประกอบดวย คณบดีเปนประธานกรรมการ และ

กรรมการอื่นอีกจํานวนหน่ึง

จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของ

กรรมการ ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการประจําคณะและการจัดระบบบริหารงานในคณะ ใหเปนไป

ตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๓๘ คณะกรรมการประจําคณะมีอํานาจและหนาท่ี ดังน้ี

(๑) จัดทําแผนพัฒนาของคณะใหสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย

(๒) พิจารณาวางระเบียบและออกขอบังคับภายในคณะตามที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย

(๓) พิจารณากําหนดหลักสูตรและรายละเอียดเก่ียวกับหลักสูตรสําหรับคณะเพ่ือเสนอตอสภา

มหาวิทยาลัย

(๔) จัดการวัดผล ประเมินผล และควบคุมมาตรฐานการศึกษาของคณะ

(๕) สงเสริมงานวิจัย งานบริการวิชาการแกสังคม งานทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และงานรักษา

ส่ิงแวดลอม

(๖) ใหคําปรึกษาและขอแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินกิจการตาง ๆ ของคณะ

(๗) แตงต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือดําเนินการอยางหน่ึงอยางใดอันอยูในอํานาจและหนาท่ีของ

คณะกรรมการประจําคณะ

(๘) ดําเนินการอ่ืนใดตามที่สภามหาวิทยาลัย สภาวิชาการ หรืออธิการบดีมอบหมาย

มาตรา ๓๙ ในกรณีท่ีมีการแบงภาควิชาหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาภาควชิาใน

คณะ ใหมีหัวหนาภาควิชาหรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาภาควิชาเปน

ผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของภาควิชาหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาภาควิชา

หัวหนาภาควิชาหรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาภาควิชาใหอธิการบดี

แตงต้ังจากคณาจารยประจํา โดยการสรรหาตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยจากผูมีคุณสมบัติเชนเดียวกับคณบดี

และใหอธิการบดีมีอํานาจถอดถอนหัวหนาภาควิชา หรือหัวหนาสวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนที่มีฐานะ

เทียบเทาภาควิชาโดยคําแนะนําของคณบดี

Page 86: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

86

คุณสมบัติ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของหัวหนาภาควิชาหรือหัวหนาสวน

ราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาภาควิชาตามวรรคสอง และการรักษาราชการแทนใหนํามาตรา ๓๔

มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๔๐ ในสถาบันหรือสํานัก ใหมีผูอํานวยการสถาบันหรือผูอํานวยการสํานักเปนผูบังคับบัญชา

และรับผิดชอบงานของสถาบันหรือสํานัก แลวแตกรณี และจะใหมีรองผูอํานวยการสถาบันหรือรอง

ผูอํานวยการสํานักตามจํานวนที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด เพ่ือทําหนาที่และรับผิดชอบตามท่ีผูอํานวยการสถาบัน

หรือผูอํานวยการสํานักมอบหมายก็ได

คุณสมบัติ การแตงต้ัง วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของผูอํานวยการสถาบันหรือ

ผูอํานวยการสํานัก และรองผูอํานวยการสถาบันหรือรองผูอํานวยการสํานักตามวรรคหนึ่งและการรักษาราชการ

แทน ใหนํามาตรา ๓๔ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๔๑ ในสถาบันหรือสํานัก ใหมีคณะกรรมการประจําสถาบันหรือสํานัก แลวแตกรณี

องคประกอบ จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา อํานาจและหนาที่ วาระการดํารงตําแหนง และการ

พนจากตําแหนงของกรรมการประจําสถาบันหรือสํานัก ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการประจําสถาบัน

หรือคณะกรรมการประจําสํานัก และการจัดระบบบริหารงานในสถาบันหรือสํานัก ใหเปนไปตามขอบังคับของ

มหาวิทยาลัย

มาตรา ๔๒ ในกรณีที่มหาวิทยาลัยมีวิทยาลัยหรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ

ใหมีผูอํานวยการวิทยาลัยหรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะเปนผูบังคับบัญชา

และรับผิดชอบงานของวิทยาลัยหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาคณะ แลวแตกรณี และจะ

ใหมีรองผูอํานวยการวิทยาลัยหรือรองหัวหนาสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาคณะตามจํานวน

ที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด เพ่ือทําหนาที่และรับผิดชอบตามท่ีผูอํานวยการวิทยาลัยหรือหัวหนาสวนราชการท่ี

เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะมอบหมายก็ได

คุณสมบัติ การแตงต้ัง วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของผูอํานวยการวิทยาลัย หรือ

หัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะ รวมทั้งผูดํารงตําแหนงรองของตําแหนงดังกลาว

ตามวรรคหนึ่ง และการรักษาราชการแทนใหนําความในมาตรา ๓๔ มาใชบังคับโดยอนุโลม

Page 87: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

87

ในกรณีที่มีการแบงภาควิชา หรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาภาควิชาในวิทยาลัย

ใหนําความในมาตรา ๓๙ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๔๓ ในวิทยาลัยหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะ ใหมีคณะกรรมการ

ประจําวิทยาลัยหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะ แลวแตกรณี

องคประกอบ จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา อํานาจและหนาท่ี วาระการดํารงตําแหนง

และการพนจากตําแหนงของกรรมการประจําวิทยาลัยหรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะ

ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการประจําวิทยาลัยหรือคณะกรรมการประจําสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืน

ที่มีฐานะเทียบเทาคณะ และการจัดระบบบริหารงานในวิทยาลัยหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะ

เทียบเทาคณะ ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๔๔ ผูดํารงตําแหนงอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการ และหัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่

มีฐานะเทียบเทาคณะ จะดํารงตําแหนงดังกลาวเกินหน่ึงตําแหนงในขณะเดียวกันมิได

ผูดํารงตําแหนงตามวรรคหนึ่งจะรักษาราชการแทนตําแหนงอื่นอีกหน่ึงตําแหนงก็ได แตตองไมเกิน

หน่ึงรอยแปดสิบวัน

มาตรา ๔๕ เพื่อประโยชนในการบริหารราชการในวิทยาเขต บัณฑิตวิทยาลัย คณะ สถาบัน สํานัก

วิทยาลัย และภาควิชาหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะหรือภาควิชา อธิการบดีจะมอบ

อํานาจโดยทําเปนหนังสือใหผูดํารงตําแหนงรองอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการ หัวหนาภาควิชาหรือหัวหนา

สวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทาคณะหรือภาควิชา ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีเฉพาะใน

ราชการของสวนราชการนั้นก็ได

ใหผูปฏิบัติราชการแทนตามวรรคหน่ึง มีอํานาจและหนาที่ตามที่อธิการบดีกําหนด

มาตรา ๔๖ ใหผูรักษาราชการแทนตามท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติน้ีมีอํานาจและหนาที่เชนเดียวกับผู

ซ่ึงตนแทน

ในกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําส่ัง หรือมติคณะรัฐมนตรี แตงต้ังใหผูดํารงตําแหนงใดเปน

กรรมการหรือใหมีอํานาจและหนาที่อยางใด ใหผูรักษาราชการแทนทําหนาท่ีกรรมการ หรือมีอํานาจและหนาที่

เชนเดียวกับผูดํารงตําแหนงนั้นในระหวางที่รักษาราชการแทนดวย

Page 88: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

88

หมวด ๓

วิชาการและการใชทรพัยากร

--------------------------------------

มาตรา ๔๗ เพื่อประโยชนในดานวิชาการและการใชทรัพยากรรวมกันของสวนราชการในมหาวิทยาลัย

ใหมีคณะกรรมการประสานความรวมมือจากสวนราชการทุกแหงเปนกรรมการ

ใหกรรมการตามวรรคหนึ่งเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานกรรมการ และเลอืกกรรมการอีกคนหนึง่

เปนเลขานุการ

การประชุมของคณะกรรมการ ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด

มาตรา ๔๘ ใหคณะกรรมการประสานความรวมมือมีอํานาจและหนาท่ี ดังน้ี

(๑) เสนอนโยบายและแผนพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการศึกษา การรวมมือดานวิชาการและการใช

ทรัพยากรรวมกันของสวนราชการตางๆตอสภามหาวิทยาลัยแตละแหง

(๒) จัดใหมีขอตกลงสวนราชการตางๆเกี่ยวกับความรวมมือทางวิชาการและการใชทรพัยากรรวมกนัใน

การปฏิบัติภารกิจ โดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย

(๓) จัดใหมีขอตกลงระหวางสวนราชการตางๆกับสถาบันอาชีวศึกษาท้ังที่เปนของรัฐและเอกชน ใน

การใหความรวมมือดานวิชาการและการศึกษาตอดานวิชาชีพเฉพาะทางระดับปริญญา โดยความเห็นชอบของ

สภามหาวิทยาลัย

(๔) กําหนดแนวทางในการแสวงหาความรวมมือระหวางสวนราชการตางๆกับชุมชน องคกรเอกชน

และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๕) แตงต้ังคณะทํางานหรือบุคคลหน่ึงบุคคลใดเพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นในเรื่องหน่ึงเรื่องใด

หรือเพ่ือมอบหมายใหปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดอันอยูในอํานาจและหนาท่ีของคณะกรรมการประสานความ

รวมมือ

Page 89: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

89

หมวด ๔

ตําแหนงทางวชิาการ

-------------------------------------------------

มาตรา ๔๙ คณาจารยประจําในมหาวิทยาลัยมีตําแหนงทางวิชาการ ดังนี้

(๑) ศาสตราจารย

(๒) รองศาสตราจารย

(๓) ผูชวยศาสตราจารย

(๔) อาจารย

คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการแตงต้ังและถอดถอนคณาจารยประจําตามวรรคหน่ึงใหเปนไปตาม

กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

ศาสตราจารยนั้น จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังโดยคําแนะนําของสภามหาวิทยาลัย

มาตรา ๕๐ ศาสตราจารยพิเศษน้ัน จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังโดยคําแนะนําของสภา

มหาวิทยาลัยจากผูซ่ึงมิไดเปนคณาจารยประจําของมหาวิทยาลัย

คุณสมบัติและหลักเกณฑในการแตงต้ังศาสตราจารยพิเศษ ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๕๑ ศาสตราจารยซ่ึงมีความรูความสามารถและความชํานาญเปนพิเศษ และพนจากตําแหนงไป

โดยไมมีความผดิ สภามหาวิทยาลัยอาจแตงต้ังใหเปนศาสตราจารยเกียรติคุณในสาขาท่ีศาสตราจารยผูนั้นมีความ

เช่ียวชาญเพ่ือเปนเกียรติยศได

คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการแตงต้ังศาสตราจารยเกียรติคุณ ใหเปนไปตามขอบังคับของ

มหาวิทยาลัย

มาตรา ๕๒ สภามหาวิทยาลัยอาจแตงต้ังผูซ่ึงมีคุณสมบัติเหมาะสมและมิไดเปนคณาจารยประจําของ

มหาวิทยาลัยเปนรองศาสตราจารยพิเศษและผูชวยศาสตราจารยพิเศษได โดยคําแนะนําของอธิการบดี

อธิการบดีอาจแตงต้ังผูมีคุณสมบัติเหมาะสมและมิไดเปนคณาจารยประจําของมหาวิทยาลัยเปนอาจารย

พิเศษโดยคําแนะนําของคณบดี ผูอํานวยการหรือหัวหนาสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ

แลวแตกรณี

Page 90: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

90

คุณสมบัติและหลักเกณฑในการแตงต้ังรองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารยพิเศษและอาจารย

พิเศษตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๕๓ ใหผูดํารงตําแหนงศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ ศาสตราจารยเกียรติคุณ รอง

ศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารย และผูชวยศาสตราจารยพิเศษ มีสิทธิใชตําแหนง

ศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ ศาสตราจารยเกียรติคุณ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวย

ศาสตราจารย หรือผูชวยศาสตราจารยพิเศษ แลวแตกรณี เปนคํานําหนานามเพื่อแสดงวิทยฐานะไดตลอดไป

การใชคํานําหนานามตามความในวรรคหนึ่ง ใหใชอักษรยอดังนี้

ศาสตราจารย ใชอักษรยอ ศ.

ศาสตราจารยพิเศษ ใชอักษรยอ ศ. (พิเศษ)

ศาสตราจารยเกียรติคุณ ใชอักษรยอ ศ. (เกียรติคุณ)

รองศาสตราจารย ใชอักษรยอ รศ.

รองศาสตราจารยพิเศษ ใชอักษรยอ รศ. (พิเศษ)

ผูชวยศาสตราจารย ใชอักษรยอ ผศ.

ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ ใชอักษรยอ ผศ. (พิเศษ)

หมวด ๕

ปริญญาและเครือ่งหมายวิทยฐานะ

-------------------------------------------------

มาตรา ๕๔ ปริญญามีสามช้ัน คือ

ปริญญาเอก เรียกวา ดุษฎีบัณฑิต ใชอักษรยอ ด.

ปริญญาโท เรียกวา มหาบัณฑิต ใชอักษรยอ ม.

ปริญญาตรี เรียกวา บัณฑิต ใชอักษรยอ บ.

Page 91: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

91

มาตรา ๕๕ มหาวิทยาลัยมีอํานาจใหปริญญาในสาขาวิชาที่มีการสอนในมหาวิทยาลัย

การกําหนดใหสาขาวิชาใดมีปริญญาช้ันใด และจะใชอักษรยอสําหรับสาขาวิชานั้นอยางไร ใหตราเปนพระราช

กฤษฎีกา

มาตรา ๕๖ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับใหผูสําเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรีไดรับปริญญาเกียรติ

นิยมอันดบัหนึ่ง หรือปริญญาเกียรตินิยมอันดับสองได

มาตรา ๕๗ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับใหมีประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ประกาศนียบัตร

บัณฑิต อนุปริญญา และประกาศนียบัตรสําหรับสาขาวิชาใดได ดังน้ี

(๑) ประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ออกใหแกผูสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาหนึ่งสาขาวิชาใดภายหลังที่

ไดรับปริญญาโทแลว

(๒) ประกาศนียบัตรบัณฑิต ออกใหแกผูสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาหนึ่งสาขาวิชาใดภายหลังที่ไดรับ

ปริญญาตรีแลว

(๓) อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตร ออกใหแกผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรในสาขาวิชาหนึ่ง

สาขาวิชาใดกอนถึงขั้นไดรับปริญญาตรี

(๔) ประกาศนียบัตร ออกใหแกผูสําเร็จการศึกษาเฉพาะวิชา

มาตรา ๕๘ มหาวิทยาลัยมีอํานาจใหปริญญากิตติมศักดิ์แกบุคคลซ่ึงสภามหาวิทยาลัยเห็นวาทรงคุณวุฒิ

สมควรแกปริญญาน้ัน ๆ แตจะใหปริญญาดังกลาวแกคณาจารยประจํา ผูดํารงตําแหนงตาง ๆ ในมหาวิทยาลัย

นายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยในขณะท่ีดํารงตําแหนงน้ันมิได

ช้ัน สาขาของปริญญากิตติมศักดิ์ และหลักเกณฑการใหปริญญากิตติมศักดิ์ ใหเปนไปตามขอบังคับของ

มหาวิทยาลัย

มาตรา ๕๙ มหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีครุยวิทยฐานะหรือเข็มวิทยฐานะเปนเครื่องหมายแสดงวิทย

ฐานะของผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญา และ

ประกาศนียบัตร และอาจกําหนดใหมีครุยประจําตําแหนงกรรมการสภามหาวิทยาลัยหรือคณาจารยของ

มหาวิทยาลัยได

Page 92: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

92

การกําหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และสวนประกอบของครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจํา

ตําแหนงใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา

ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนงจะใชในโอกาสใด โดยมีเงื่อนไขอยางใด ให

เปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๖๐ สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัย หรือ

สวนราชการในมหาวิทยาลัยได โดยทําเปนขอบังคับของมหาวิทยาลัยและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีเครื่องแบบ เครื่องหมาย หรือเครื่องแตงกายนักศึกษาได โดยทําเปน

ขอบังคับของมหาวิทยาลัยและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๖

บทกําหนดโทษ

---------------------------------

มาตรา ๖๑ ผูใดใชตรา สัญลักษณ ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ ครุยประจําตําแหนงเครื่องแบบ

เครื่องหมาย หรือเครื่องแตงกายนักศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยไมมีสิทธิที่จะใชหรือแสดงดวยประการใด ๆ

วาตนมีตําแหนง ปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตร

ของมหาวิทยาลัย โดยที่ตนไมมี ถาไดกระทําเพื่อใหบุคคลอื่น เช่ือวาตนมีสิทธิที่จะใชหรือมีตําแหนง หรือวิทย

ฐานะเชนนั้น ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหาหม่ืนบาท หรือทั้งจําทั้งปรบั

มาตรา ๖๒ ผูใด

(๑) ปลอม หรือทําเลียนแบบซึ่งตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนราชการของ

มหาวิทยาลัยไมวาจะทําเปนสีใด หรือทําดวยวิธีใด ๆ

(๒) ใชตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนราชการของมหาวิทยาลัยปลอม หรือ

ซ่ึงทําเลียนแบบ หรือ

Page 93: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

93

(๓) ใช หรือทําใหปรากฏซ่ึงตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนราชการของ

มหาวิทยาลัยที่วัตถุหรือสินคาใด ๆ โดยไมไดรับอนุญาตจากมหาวิทยาลัย

ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ

ถาผูกระทําความผิดตาม (๑) เปนผูกระทําความผิดตาม (๒) ดวย ใหลงโทษตาม (๒) แตกระทงเดียว ความผิด

ตาม (๓) เปนความผิดอันยอมความได

บทเฉพาะกาล

---------------------------

มาตรา ๖๓ ใหโอนบรรดากิจการ ทรัพยสิน หนี้สิน สิทธิ ภาระผูกพันท้ังปวง ขาราชการ ลูกจาง

อัตรากําลัง เงินงบประมาณ และรายไดของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ และ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการไปเปนของ

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามรายการท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนด โดยตองดําเนินการให

แลวเสร็จภายในหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

ใหขาราชการซ่ึงโอนไปตามวรรคหนึ่งเปนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมายวาดวย

ระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา โดยในระยะเริ่มแรกใหขาราชการดังกลาวยังคงดํารงตําแหนง

และรับเงินเดือน ตลอดจนไดรับสิทธิประโยชนเชนเดิมตอไป จนกวาจะไดรับแตงต้ังใหดํารงตําแหนงตาม

กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

มาตรา ๖๔ ใหสวนราชการที่จัดต้ังข้ึนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการซ่ึงตราข้ึนตามมาตรา ๒๕ แหง

พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่มีอยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราช

กิจจานุเบกษาคงมีอยูตอไป จนกวาจะมีการออกกฎกระทรวงจัดต้ังสวนราชการในมหาวิทยากาฬสินธุซ่ึงออก

โดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติน้ี ท้ังน้ี ตองไมเกินหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัติน้ี ใช

บังคับ

Page 94: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

94

มาตรา ๖๕ ภายใตบังคับมาตรา ๖๓ และมาตรา ๖๔ ใหมหาวิทยาลัยกาฬสินธุตามมาตรา ๕

ประกอบดวยสวนราชการ ดังตอไปนี้

(๑) สํานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ อําเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ

(๒) สํานักงานวิทยาเขตกาฬสินธุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ

(๓) ศูนยวิจัยและฝกอบรมภูสิงห อําเภอสหัสขันธุ จังหวัดกาฬสินธุ

ใหสภามหาวิทยาลัยกําหนดที่ต้ังของสํานักงานอธิการบดี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา

มาตรา ๖๖ ใหผูดํารงตําแหนงนายกสภาสถาบัน อุปนายกสภาสถาบัน และกรรมการสภาตาม

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ. ๒๕๔๘และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ.

๒๕๔๗ อยูในวันที่พระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปฏิบัติหนาที่นายกสภามหาวทิยาลยั อปุนายก

สภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภามหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยเแตละแหงตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป

จนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย

ผูทรงคุณวุฒิ และมีการเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ แลวแตกรณี ตาม

พระราชบัญญัตินี้ ทั้งน้ี ตองไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

มาตรา ๖๗ ใหผูดํารงตําแหนงอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการสถาบัน ผูอํานวยการสํานัก และ หัวหนา

ภาควิชาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ. ๒๕๔๘และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๔๗

อยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา รักษาการในตําแหนงตอไปจนกวาจะมีการแตงต้ังผูดํารง

ตําแหนงดังกลาวข้ึนใหม ทั้งน้ี ตองไมเกินหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

ใหผูดํารงตําแหนงรองอธิการบดี รองคณบดี รองผูอํานวยการสถาบัน และรองผูอํานวยการสํานักของ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ. ๒๕๔๘และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๔๗ .อยูใน

วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา รักษาการในตําแหนงตอไปจนกวาผูดํารงตําแหนง

อธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการสถาบันและผูอํานวยการสํานักตามวรรคหนึ่งจะพนจากตําแหนง

มาตรา ๖๘ การนับวาระการดํารงตําแหนงของอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการสถาบัน ผูอํานวยการ

สํานัก และหัวหนาภาควิชา ใหนับวาระการดํารงตําแหนงตามพระราชบัญญัตินี้เปนวาระแรก

Page 95: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

95

มาตรา ๖๙ ใหผูดํารงตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการประจําวิทยาเขต

คณะกรรมการประจําคณะ คณะกรรมการประจําสถาบันและคณะกรรมการประจําสํานักของมหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ. ๒๕๔๘และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๔๗ อยูในวันที่

พระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา คงปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะไดมีคณะกรรมการประจําวิทยา

เขต คณะกรรมการประจําคณะ คณะกรรมการประจําสถาบัน และคณะกรรมการประจําสํานักตาม

พระราชบัญญัตินี้ ทั้งน้ี ตองไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

มาตรา ๗๐ ใหผูดํารงตําแหนงรองอธิการวิทยาเขตฯตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการครู และ

ประธานกรรมการ และกรรมการบริหารวิทยาเขตกาฬสินธุของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ อยูในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คงปฏิบัติหนาท่ีตอไป

จนกวาจะมีการแตงต้ังผูดํารงตําแหนงตามพระราชบัญญัติน้ี ทั้งน้ี ตองไมเกินหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันที่

พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ เวนแตกรณียังไมมีการออกกฎกระทรวงจัดต้ังสวนราชการซ่ึงออกโดยอาศัยอํานาจ

ตามพระราชบัญญัติน้ี

มาตรา ๗๑ ภายใตบังคับมาตรา ๖๗ ในระหวางท่ียังไมมีสภาวิชาการตามมาตรา ๑๙ ใหมีสภาวิชาการ

ประกอบดวย อธิการบดีเปนประธานสภาวิชาการ รองอธิการบดีฝายวิชาการเปนรองประธานสภาวิชาการ รอง

อธิการบดีประจําวิทยาเขตฯ รองอธิการบดี คณบดี และคณาจารยประจําซ่ึงอธิการบดีแตงต้ังจํานวนหกคนเปน

กรรมการสภาวิชาการ และผูอํานวยการสํานักบริการทางวิชาการเปนเลขานุการสภาวิชาการ ทําหนาที่สภา

วิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขคกาฬสินธุและมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ ตาม

พระราชบัญญัตินี้ จนกวาจะมีการแตงต้ังสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ตามพระราชบัญญัติน้ี ทั้งนี้ ตอง

ไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

มาตรา ๗๒ ภายใตบังคับมาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ ในระหวางท่ียังไมมีอธิการบดีเปนผูบังคับบัญชา

และรับผิดชอบการบริหารงานของมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๕๒ ตามมาตรา ๒๔ ใหสภามหาวิทยาลัย

แตงต้ังผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง ทําหนาที่รักษาการในตําแหนงอธิการบดีของมหาวิทยาลัย

กาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๕๒ เปนการช่ัวคราว จนกวาจะมีการแตงต้ังผูดํารงตําแหนงดังกลาวข้ึนใหม ท้ังนี้ ตองไมเกิน

หน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เวนแตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยา

Page 96: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

96

เขตกาฬสินธุและมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ ใหแตงต้ังผูดํารงตําแหนงอธิการบดีตามมาตรา ๖๗ วรรคหน่ึง

เปนผูรักษาการในตําแหนงอธิการบดี

มาตรา ๗๓ ใหผูซ่ึงเปนศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ

ผูชวยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ และอาจารยประจํามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ.

๒๕๔๘และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๔๗ อยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา มีฐานะเปนศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวย

ศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ และอาจารยประจําของมหาวิทยาลัยตอไปตามพระราชบัญญัตินี้

ใหผูซ่ึงเปนอาจารยพิเศษของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ. ๒๕๔๘และมหาวิทยาลัย

ราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๔๗ ตามพระราชบัญญัติ อยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เปนอาจารยพิเศษของ

มหาวิทยาลัยตอไป ตามพระราชบัญญัตินี้จนครบกําหนดเวลาท่ีไดรับแตงต้ัง

มาตรา ๗๔ ใหผูไดรับประกาศนียบัตรช้ันสูงตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

อีสาน พ.ศ. ๒๕๔๘และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนผูไดรับประกาศนียบัตรบัณฑิตตาม

พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๗๕ ในระหวางที่ยังไมมีพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ขอบังคับ ประกาศและระเบียบ เพ่ือ

ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนําพระราชกฤษฎีกา ขอบังคับ ประกาศและระเบียบ ซ่ึงออกตาม

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ. ๒๕๔๘และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ.

๒๕๔๗ ที่ใชอยูในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษามาใชบังคับโดยอนุโลม

ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติการ อํานาจหนาท่ีของผูดํารงตําแหนง หรือหนวยงานตาง ๆ ตามที่

กําหนดไวในบทเฉพาะกาลน้ี ใหรัฐมนตรีเปนผูมีอํานาจตีความและวินิจฉัยช้ีขาด

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

Page 97: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

97

หมายเหตุ: เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยทีม่าตรา ๓๖ แหงพระราชบญัญัติการศึกษา

แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติใหสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปรญิญาเปนนิติบุคคล เพื่อให

สถานศึกษาของรัฐดําเนินกจิการไดโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการจัดการที่เปนของตนเอง มี

ความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการและอยูภายใตการกํากับดแูลของสภาสถานศึกษา ดังน้ัน สมควรจดัต้ัง

มหาวิทยาลยักาฬสินธุข้ึนแทน เน่ืองจากในปจจุบัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ

พ.ศ. ๒๕๔๘และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ พ.ศ. ๒๕๔๗ ประสบปญหาความไมคลองตัวเกี่ยวกับการจัด

โครงสราง การกําหนดนโยบาย การงบประมาณและการบริหารดานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย ทําใหไมสามารถ

พัฒนาและขยายสาขาวิชาใหสอดคลองกับความตองการและรองรับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม

การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศได ดังน้ัน เพ่ือใหการพัฒนาและการดําเนินงานตามภารกิจของ

มหาวิทยาลยัเปนไปอยางสมบูรณและมีประสิทธิภาพ อันจะนําไปสูความเปน เลิศทางวิชาการ จึงจําเปนตองตรา

พระราชบญัญติันี้ ใหมหาวิทยาลยักาฬสินธุเปนสถาบันอุดมศึกษาของทองถิน่และภูมิภาคดานวิชาชีพและ

เทคโนโลยี มีวัตถุประสงคใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพช้ันสูงที่เนนการปฏิบัติ ทําการสอน การวิจัย

ผลิตครวูิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร สังคมและเทคโนโลย ี ทะนุบํารุงศลิปวัฒนธรรมและ

อนุรักษส่ิงแวดลอม ระดับปรญิญาเปนหลกั

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 98: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

98

 

 

 

 

 

ภาคผนวก 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 99: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

99

คําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ ที่ 270 /2552

เรื่อง ยกเลิกคําสั่งและแตงตั้งคณะกรรมการรวมภาครัฐและเอกชนเพ่ือแกไขปญหาทางเศรษฐกิจจังหวัดกาฬสินธุ 

********************

ตามท่ีจังหวัดกาฬสินธุไดมีคําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ ที่ 124/2550 ลงวนัที่ 31 มกราคม 2550 เรื่อง ยกเลิกคําส่ังและแตงต้ังคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ ไปแลวนั้น

เนื่องจากคําส่ังดังกลาวมีความจําเปนในการเปลี่ยนแปลงชื่อบุคคลที่เปนอนุกรรมการฯ ใหมและเพ่ิมภาคประชาชนเขามามีสวนรวมเปนอนกุรรมการดังนั้น เพื่อใหคําส่ังคณะอนกุรรมการฯ มีความครบถวนและเปนปจจุบันอาศัยอํานาจตามพระราชกฤษฎีกา วาดวยการบริหารงานจงัหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551ขอ 11 (7) จึงใหยกเลกิคําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ ที่ 124/2550 ลงวนัที่ 31 มกราคม 2550 และแตงต้ังคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุใหม ประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี ้

1. ผูวาราชการจังหวดักาฬสินธุ ประธานกรรมการ 2. รองผูวาราชการจังหวัดกาฬสินธุ ทั้ง 2 ทาน รองประธานกรรมการ 3. ปลัดจังหวดักาฬสินธุกาฬสินธุ อนุกรรมการ 4. คลังจังหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 5. เกษตรและสหกรณจังหวดักาฬสินธุ อนุกรรมการ 6. พาณิชยจังหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 7. แรงงานจังหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 8. อุตสาหกรรมจังหวดักาฬสินธุ อนุกรรมการ 9. ผูอํานวยการแขวงการทางกาฬสินธุ อนุกรรมการ 10. ทองถิ่นจงัหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 11. นายกองคการบริหารสวนจังหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 12. นายกเทศมนตรีเมืองกาฬสินธุ อนุกรรมการ /13. ประธานหอ.....

Page 100: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

100

13. ประธานหอการคาจังหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 14. ประธานชมรมธนาคารพาณิชยจังหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 15. ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 16. นายกสมาคมธุรกิจการทองเท่ียวจังหวดักาฬสินธุ อนุกรรมการ 17. นายกสมาคมพอคาจังหวัดกาฬสินธุ อนุกรรมการ 18. นายชัยพล ไชยคําม่ิง (ผูทรงคุณวฒิุ) อนุกรรมการ 19. นางสาวมัณฑนา เล็กสมบูรณ (ผูทรงคุณวุฒิ) อนุกรรมการ 20. นายธวัช เจรญิศรีพงษา (ผูทรงคุณวุฒิ) อนุกรรมการ 21. นางธิดา ชูโชติ (ผูทรงคุณวุฒิ) อนุกรรมการ 22. นายเกษม จิรัฐพิกาลพงศ (ผูทรงคุณวฒิุ) อนุกรรมการ 23. นายสุข ยบุลชู (ผูทรงคุณวุฒิ) อนุกรรมการ 24. หัวหนาสํานักงานจังหวดักาฬสินธุ อนุกรรมการและเลขานกุาร 25. หัวหนากลุมงานยุทธศาสตรและการพฒันาจังหวัด กรรมการและผูชวยเลขานุการ สํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ 26. เลขาธกิารหอการคาจังหวัดกาฬสินธุ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

ใหคณะกรรมการฯ มีอํานาจหนาท่ีดังนี ้ 1. เปนองคกรหลักในการประสานงาน และบูรณาการความรวมมือ/ทรัพยากรจากทกุภาคสวนในสังคม 2. รวมผลักดนั / ขับเคลื่อนยุทธศาตรการพัฒนาจังหวัดไปสูการปฏิบติั 3. ปฏิบัติภารกิจอ่ืนใดตามท่ีคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) มอบหมายท้ังนี้ ต้ังแตบัดนี้เปนตนไป

ส่ัง ณ วันที่ 17 กมุภาพันธ พ.ศ. 2552

Page 101: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

101

คําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ

ท่ี 420 /2552 เรื่อง แตงต้ังคณะทํางานวางกรอบการดําเนินงานและรบัฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศกึษา

มหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดยวิธีประชาพิจารณ

******************

ดวยในคราวประชุมคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ ครั้งที่ 1/2552 เม่ือวันท่ี 3 มีนาคม 2552 ท่ีประชุมคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ มีมติเห็นชอบใหรวมสถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดยกําหนดใหมีการรับฟงความคิดเห็นจากผูเกี่ยวของทุกภาคสวน โดยวิธีประชาพิจารณ ฉะนั้น เพื่อใหการรับฟงความคิดเห็นดังกลาวเปนไปดวยความเรียบรอย อาศัยอํานาจตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ขอ 5 จึงแตงต้ังคณะทํางานวางกรอบการดําเนินงานและรับฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดยวิธีประชาพิจารณ ประกอบดวยบุคคลดังตอไปน้ี

1. รองผูวาราชการจังหวัดกาฬสินธุ (นายสุวิทย สุบงกฎ) หัวหนาคณะทํางาน 2. นายไพรัตน เลื่อนไธสง คณะทํางาน 3. นายพงษศักดิ์ ทิสานนท คณะทํางาน 4. ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ เขต 1- 3 คณะทํางาน 5. ประธานกรรมการอาชีวศึกษาจังหวดักาฬสินธุ คณะทํางาน 6. ประธานหอการคาจังหวดักาฬสินธุ คณะทํางาน 7. ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน 8. แรงงานจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน 9. ทองถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน 10. นายกองคการบริหารสวนจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน 11. นายกเทศมนตรีเมืองกาฬสินธุ คณะทํางาน

Page 102: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

102

12. นายกองคการบริหารสวนตําบลหัวงวั คณะทํางาน 13. นายชัยพล ไชยคําม่ิง คณะทํางาน 14. เลขาธกิารหอการคาจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน 15. เลขาธกิารสภาอุตสาหกรรมจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน 16. นายสุขี ซองศิริ คณะทํางาน 17. หัวหนาสํานักงานจังหวดักาฬสินธุ คณะทํางานและ

เลขานุการ 18. หัวหนากลุมงานขอมูลสารสนเทศและการส่ือสาร คณะทํางานและ ผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี ดังนี ้

1. วางกรอบแนวทางและดําเนินการตามกรอบแนวทางท่ีกําหนดในการรวมสถาบันการศึกษามหาวิทยาลยัราชภัฎกาฬสินธุ และมหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ 2. ดําเนินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และทุกภาคสวน ใหเปนไปตามระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตร ี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ใหดําเนนิการแลวเสร็จภายใน 3 เดือน 3. ดําเนินการอ่ืน ๆ ใด ตามท่ีผูวาราชการจังหวดักาฬสินธุมอบหมาย

ท้ังนี้ ต้ังแตบดันี้เปนตนไป

ส่ัง ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2552

 

 

 

 

Page 103: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

103

 

คําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ

ที่ 663 /2552

เรื่อง แตงต้ังคณะทํางานวางกรอบการดําเนินงานและรบัฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศึกษา

มหาวิทยาลยัราชภัฎกาฬสินธุ และมหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ

เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดยวธิีประชาพิจารณ เพิ่มเติม

*********************

ตามที่จังหวดั ไดมีคําส่ัง ท่ี 420/2552 ลงวันที่ 12 มีนาคม 2552 แตงต้ังคณะทํางาน

วางกรอบการดําเนินงานและรับฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศกึษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ

และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลยักาฬสินธุ เพ่ือดําเนินการ

รับฟงความคิดเห็นของประชาชน และทุกภาคสวน ใหเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการ

รับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 นั้น

เพ่ือใหการวางกรอบการดําเนินงานและรบัฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศึกษา

มหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปน

มหาวิทยาลยักาฬสินธุ เปนไปดวยความเรยีบรอย จึงแตงต้ังคณะทํางานและผูชวยเลขานุการคณะทํางาน

เพ่ิมเติม ประกอบดวย

1.) รศ. จิระพันธ หวยแสน หัวหนาสาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหาร มหาวิทยาลยั

เทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนคณะทํางาน

2.) นายมะนิตย ชัยปญญา นกัวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สํานักงานจังหวัด

กาฬสินธุ เปน ผูชวยเลขานกุารคณะทํางาน

Page 104: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

104

3.) นางสาวสมพร จันทรนนท นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สํานักงาน

จังหวัดกาฬสินธุ เปน ผูชวยเลขานกุารคณะทํางาน โดยใหมีอํานาจหนาท่ีตามคําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ ที่

420/2552 ลงวนัที่ 12 มีนาคม 2552

ทั้งนี้ ต้ังแตบดันี้เปนตนไป

ส่ัง ณ วันท่ี 22 เมษายน พ.ศ. 2552

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 105: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

105

 

 

คําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ 

ที่ 697 /2552 

เรื่อง แตงต้ังคณะทํางานดําเนินงานรวมสถาบันการศกึษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และ

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลยักาฬสินธุ 

*****************

ดวยคณะทํางานวางกรอบการดําเนินงานและรับฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศึกษา มหาวทิยาลยั

ราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

ในคราวประชุมเม่ือวันที่ 23 เมษายน 2552 ไดมีมติเห็นชอบใหแตงต้ังคณะทํางานเพ่ือดําเนินงานตามกรอบแนว

ทางการรวมสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ รวม 3 คณะ โดยมีองคประกอบและอํานาจหนาท่ี ดังน้ี

1. คณะทํางานจัดทําขอมูลเกี่ยวกับโครงการรวมมหาวิทยามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสนิธุ และ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานฯ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ประกอบดวย

(1) อาจารยไพรตัน เลื่อนไธสงค ผช.อธิการบดปีระจําวิทยาเขตกาฬสินธุ เปนประธานคณะทํางาน (2) นายปรีชา วังคะฮาต ผอ.สพท.เขต 1 รองประธานคณะทํางาน (3) นายประเสริฐ ลือชาธนานนท หัวหนาสํานกังานจังหวดักาฬสินธุ คณะทํางาน (4) นายศภุศิษย กอเจรญิยศ หัวหนากลุมงานขอมูลสารสนเทศและการ

ส่ือสาร สํานกังานจังหวดักาฬสินธุ คณะทํางานและเลขานุการ

(5) นายมะนิตย ชัยปญญา นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ

คณะทํางานและผูชวยเลขานกุาร

 

 

Page 106: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

106

มีหนาท่ี   

1. จัดทํารายละเอียดโครงการรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และ มหาวิทยาลยั

เทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ใหผูวาราชการจังหวัดกาฬสินธุให

ความเห็นชอบภายในวันที่ 30 เมษายน 2552

2. แจงสวนราชการ อําเภอ สถานศึกษาทุกแหง และองคกรปกครองสวนทองถิน่

ประชาสัมพนัธรายละเอียดโครงการรวมมหาวิทยาลยัฯ ตามขอ 1 ใหผูมีสวนไดสวนเสียและประชาชนท่ัวไป

ไดรับทราบ

2. คณะทํางานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเพ่ือรวมมหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ

และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน ฯ เปนมหาวิทยาลยักาฬสินธุ ประกอบดวย

(1) อาจารยพงษศกัดิ์ ทิสานนท รองอธิการบดมีหาวิทยาลัยราชภฏักาฬสินธุ ประธานคณะทํางาน (2) นายประยงค โมคภา ผอ.สพท.เขต 2 รองประธานคณะทํางาน (3) นางชะมอย วรามิตร นายกองคการบริหารสวนจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน (4) ผศ.วรีะยุทธ จ้ีเพชร ม.เทคโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ คณะทํางาน (5) อาจารยอุดม วงศสุภา ม.เทคโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสนิธุ คณะทํางาน (6) อาจารยยุทธพงษ มาตย

วิเศษ อาจารย มหาวทิยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ คณะทํางาน

(7) อาจารยณภัทร สรอยจิต อาจารย มหาวทิยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ คณะทํางาน (8) นายสุขี ซองศิร ิ ประธานภาคประชาสังคม คณะทํางาน (9) นางนิตยา สิทธิหงษ ผูแทนภาคประชาชน คณะทํางาน (10) น.ส.ทิพวรรณ จันทรชนะ แรงงานจังหวดักาฬสินธุ คณะทํางานและเลขานุการ (11) น.ส.สมพร จนัทรนนท นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ

สํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

มีหนาท่ี

1. จัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามระเบยีบสํานักนายกรัฐมนตรีวา

ดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ขอ 9

2. จัดทําสรุปรายงานการรบัฟงความคิดเห็นของประชาชน และประกาศใหประชาชน

ทราบภายใน 15 วัน นับแตวันเสร็จส้ินการรับฟงความคดิเห็นของประชาชน

Page 107: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

107

3. คณะทํางานแกไขพระราชบัญญตัริวมมหาวิทยามหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ และ

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน ฯ เปนมหาวิทยาลยักาฬสินธุ ประกอบดวย

(1) รศ.จิระพนัธ หวยแสน หัวหนาสาขาวิชาวทิยาศาสตรการอาหาร มหาวิทยาลยัเทคโลยีราชมงคล ฯ

ประธานคณะทํางาน

(2) นายชัยพล ไชยคําม่ิง ที่ปรกึษาประธานหอการคาจังหวัดกาฬสินธุ รองประธานคณะทํางาน (3) นายคมกริช ออนประสงค ผอ.กองบรกิารวิชาการ ม.ราชภฏักาฬสินธุ คณะทํางาน (4) ผูแทนอัยการจังหวัดกาฬสินธุ สํานักงานอัยการจังหวดักาฬสินธุ คณะทํางาน (5) นายสมชัย ชูศรีนาค นิติกร สพท.เขต 1 คณะทํางาน (6) นายทิวากร ดวงเจต นิติกร 5 สพท.เขต 2 คณะทํางาน (7) นายนําพงศ ไกยเดช นิติกร สพท.เขต 3 คณะทํางาน (8) นายศักดิเ์พชร ณ กาฬสินธุ นิติกรชํานาญการ ที่ทําการปกครองจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางาน (9) นายศุภศิษย กอเจรญิยศ หน.กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการส่ือสาร

สํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ คณะทํางานและเลขานกุาร

(10) นายมะนิตย ชัยปญญา นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการสํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ

คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

มีหนาท่ี  ยกราง พระราชบัญญัติการยบุรวมมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ และ

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวทิยาลยักาฬสนิธุ ใหแลวเสร็จภายในวันท่ี

31 พฤษภาคม 2552 

ทั้งนี้ ต้ังแตบัดน้ีเปนตนไป 

ส่ัง ณ วันท่ี 27 เมษายน พ.ศ.2552 

 

 

Page 108: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

108

 

คําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ 

ที่ 965 /2552 

เรื่อง แตงต้ังคณะทํางานดําเนินงานรวมสถาบันการศกึษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และ

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลยักาฬสินธุ 

*******************

ตามที่จังหวัด ไดมีคําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ ท่ี 697/2552 ลงวันที่ 27 เมษายน 2552 เรื่องแตงต้ัง

คณะทํางานดําเนินงานรวมสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลวิทยาเขต กาฬสินธุ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ รวม 3 คณะ เพื่อดําเนินการรับฟงความคิดเห็นของ

ประชาชนและทุกภาคสวนใหเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟงความคิดเห็นของ

ประชาชน พ.ศ. 2548 ขอ 9 

เพื่อใหการดําเนินงานของคณะทํางานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเพ่ือรวม

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ฯ เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

เปนไปดวยความเรียบรอย จึงแตงต้ัง ดร.สม นาสอาน ผูแทนภาคประชาชน เปนคณะทํางาน คณะท่ี 2 โดยใหมี

อํานาจหนาที่ตามคําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ ที่ 697/2552 ลงวันท่ี 27 เมษายน 2552

ทั้งนี้ ต้ังแตบัดน้ีเปนตนไป 

ส่ัง ณ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 

 

Page 109: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

109

 

 

 

คําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ 

ที่ 1175 /2552 

เรื่อง แตงต้ังท่ีปรึกษาคณะทาํงานวางกรอบการดําเนนิงานและรับฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศกึษา

มหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ และ มหาวทิยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ

เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดยวธิีประชาพิจารณ

*******************

ดวยในคราวประชุมคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัด

กาฬสินธุ ครั้งที่ 1/2552 เม่ือวันที่ 3 มีนาคม 2552 ที่ประชุมคณะอนุกรรมการฯ มีมติเห็นชอบใหรวม

สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโยลีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ

เปน “ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ” โดยวิธีประชาพิจารณ  จังหวัดจึงไดแตงต้ังคณะทํางานวางกรอบการดําเนินงาน

และรับฟงความคิดเห็นการรวมสถาบันการศึกษาทั้ง 2 แหง เปน มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ  

ดังนั้น เพื่อใหการดําเนินงานของคณะทํางานฯ เปนไปดวยความเรียบรอย จึงแตงต้ัง

พระราชพิพัฒนาทร เปนที่ปรึกษาคณะทํางานฯ ในการรวมสถาบันทั้ง 2 แหง เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

ทั้งนี้ ต้ังแตบัดน้ีเปนตนไป

ส่ัง ณ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2552

 

Page 110: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

110

รายงานการประชุม

คณะอนกุรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ

ครั้ง 1/2552 วันที่ 3 มีนาคม 2552

ณ หองประชุม 4/1 ช้ัน 4 ศาลากลางจังหวดักาฬสินธุ

*****************

ผูมาประชุม

1. นายเดชา ตันติยวรงค ผูวาราชการจังหวัดกาฬสินธุ 2. นายสุวทิย สุบงกฎ รองผูวาราชการจงัหวดักาฬสินธุ 3. นายสมเกียรติ สังขขาวสุทธริกัษ ปลดัจังหวัดกาฬสินธุ 4. นายปญจชัย เลื่อมประเสรฐิ แทนหัวหนาสํานักงานจงัหวดักาฬสินธุ 5. นางปยพร อาจอักษร แทนคลังจงัหวดักาฬสินธุ 6. นายศิริชัย ฤทธริงค เกษตรและสหกรณจังหวัดกาฬสินธุ 7. นายพิชัย ศิวานนท พาณิชยจังหวดักาฬสินธุ 8. น.ส.ทพิวรรณ จันทรชนะ แรงงานจังหวดักาฬสินธุ 9. นายรังสรรค สิงหบุตร แทนอุตสาหกรรมจังหวัดกาฬสินธุ 10. นายประสงค มูลศร ี แทนผูอํานวยการแขวงการทางกาฬสนิธุ 11. นายโสภณ ชาเรืองฤทธิ ์ ทองถิน่จังหวดักาฬสินธุ 12. นางชะมอย วรามิตร นายกองคการบริหารสวนจังหวัดกาฬสินธุ 13. น.ส.สุจิตรา จันทรเปลง แทนประธานหอการคาจังหวัดกาฬสินธุ 14. นายรังสรรค อยูสุข ประธานชมรมธนาคารพาณิชยจังหวัดกาฬสินธุ 15. นายนิมิตร งามย่ิงไพศาล ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดกาฬสินธุ 16. นายชัยพล ไชยคําม่ิง ผูทรงคุณวุฒิ 17. น.ส.มัณฑนา เล็กสมบรูณ ผูทรงคุณวุฒิ 18. นายธวัช เจรญิศรพีงษา ผูทรงคุณวุฒิ 19. นางธดิา ชูโชติ ผูทรงคุณวุฒิ 20. นายเกษม จิรฐัพิกาลพงศ ผูทรงคุณวุฒิ 21. นายสุข ยุบลชู ผูทรงคุณวุฒิ 22. นายชนินทร สังขวิเศษ เลขาธกิารหอการคาจังหวดักาฬสินธุ

/ ผูเขารวมประชุม...

Page 111: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

111

ผูเขารวมประชุม

1. นายพงษศกัดิ ์ ทิสานนท รองอธิการบดมีหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ 2. นายไพรัตน เลื่อนไธสง ผูชวยอธกิารบดีประจําวิทยาเขตกาฬสินธุมหาวิทยาลยั

เทคโนโลยรีาชมงคลอีสานฯ 3. นายไพรญั จงจํารสัพันธ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ (สนจ.กส.) 4. นายพฒันพงษ ครองหินลาด นายชางโยธาระดบัปฏิบัติงาน แขวงการทางกาฬสินธุ

ผูไมเขารวมประชุม

1. นายกสมาคมนักธรุกิจการทองเทีย่วจังหวัดกาฬสินธุ ติดภารกจิ

2. นายกสมาคมพอคาจังหวัดกาฬสินธุ ติดภารกจิ

เริ่มประชุมเวลา 10.00 น.

นายเดชา ตันติยวรงค ผูวาราชการจังหวดักาฬสินธุ ประธานในท่ีประชุม ไดกลาวเปดการประชุมตาม

ระเบียบวาระดังตอไปน้ี

ระเบียบวาระท่ี 1 เรื่อง ประธานแจงใหท่ีประชุมทราบ

ประธาน ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบใหยกเลิกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา

ดวยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2546 และระเบียบสํานัก

นายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารงบประมาณจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2549 ไปแลว

น้ันมีผลทําใหคณะ กรอ.กส. หมดวาระลง แตเนื่องจากไดมีการตราพระราชกฤษฎีกา

ว าด วยการบริหารงานจ งหวัดและกลุมจั งหวัดแบบบูรณาการ พ .ศ . 2551

ซ่ึงมีบทบัญญัติครอบคลุมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการและการบริหาร

งบประมาณจังหวัดแบบบูรณาการแลว โดยใหอํานาจ กบจ .สามารถแตง ต้ัง

คณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนในจังหวัดได จึงได

Page 112: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

112

ยกเลิกคําส่ังจังหวัดกาฬสินธุ ที่ 124/2550 ลงวันที่ 31 มกราคม 2550 และ แตงต้ัง

คณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุใหม

จึงแจงใหท่ีประชุมทราบ

ท่ีประชุม รับทราบ

ระเบียบวาระท่ี 2 เรื่อง เพ่ือพจิารณา

2.1 การสนบัสนุนและสงเสริมใหเกดิการกระตุนการทองเท่ียวในจังหวัด

ตามมติ กรอ. ครัง้ท่ี 1/2552

ดวยกระทรวงมหาดไทยแจงวาคณะกรรมการรวมภาครัฐและภาคเอกชน

เพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.) ไดมีการประชุมเม่ือวันพุธที่ 21 มกราคม 2552

มอบหมายใหกระทรวงมหาดไทย นํานโยบายเกีย่วกับการอัดฉีดเงินภาครัฐเพ่ือกระตุน

อุปสงคดานการทองเท่ียวภายในประเทศ โดยประสานกบัองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ดังนั้น เพื่อใหเกิดการกระตุนอุปสงคดานการทองเท่ียวในระดับจังหวดัตามนโยบาย

ของคณะกรรมการรวมภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.)

อีกท้ัง เปนการสนับสนุนและสงเสริมการดําเนินงานของจังหวัดอีกดานหนึ่งในการ

บรรเทาและหรือแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนอันเน่ืองจากภาวะวิกฤต

เศรษฐกิจฯ จึงขอใหจังหวัดพิจารณาดําเนนิการ ดังนี ้

1) บูรณาการรวมกันระหวางสวนราชการ องคกรปกครองสวนทองถิน่ และ

เอกชน ในการสนับสนุนและสงเสริมใหเกดิการกระตุนการทองเท่ียวในจังหวัด เชน

จัดใหมีการประชุมสัมมนาเกีย่วกับการทองเท่ียวในระดับจังหวัดและกิจกรรมอ่ืน ๆ

ตามท่ีเห็นสมควร

2) กระตุนเศรษฐกิจในภาคบริการดานการทองเท่ียว ตามนโยบายของ

คณะกรรมการรวมภาครัฐและเอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.)โดยใช

แนวทางในการดําเนินงานที่เหมาะสมตามท่ีอางถึง

Page 113: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

113

มติท่ีประชุม รับทราบ/ เห็นชอบใหดําเนินการตามแนวทางดังกลาว

2.2 การกําหนดเสนทางท่ีเกีย่วของกับ East – West Economic Corridor

(แขวงการทางกาฬสินธุ)

ผูแขวงการทางฯ ขอนําเรยีนที่ประชุมและเสนอเสนทางท่ีเกีย่วของกับ East – West

Economic Corridor ซ่ึงมีการเสนอเสนทาง 4 เสนทางไดแก สาย A สาย B สาย C และ

สาย D โดยแขวงการทางกาฬสินธุ ไดสรปุเลือกเสนทางสาย C ท่ีจะดาํเนินการโดยจาก

อ.เมืองกาฬสินธุ – อ.กมลาไสย มุงสู อ.กฉิุนารายณ ซ่ึงอยูระหวางการสํารวจเสนทาง

เพื่อดําเนินการ

เลขาธกิารหอการคา ไดเสนอตอท่ีประชุมวา เสนทาง C ถามีโครงการที่จะดาํเนินการแลวก็

ดําเนินการตามแผนโครงการ อาจตองใชเวลานานพอสมควร จึงเสนอเสนทางเดิมที ่

มีอยูแลว คือ เสนทางจาก (กาฬสินธุ – กุฉินารายณ) สวนโครงการท่ีจะดําเนินการ

เสนทาง C ก็ดําเนินการตอไป แตขอใหพิจารณาเสนทางท่ีเสนอกอน

รองประธานหอการคาฯ เสนอเสนทางท่ีมีอยูแลว คือ กาฬสินธุ – สมเด็จ – กุฉินารายณ ถือเปนถนน

สายเศรษฐกจิ ที่ขนถายสินคาทางการเกษตรมาเปนเวลานานและถนนสายนี้เช่ือมไปสู

การทองเท่ียวไดดี เพราะการคมนาคมท่ีสะดวกจะชวยใหการทองเท่ียวกระตุน

เศรษฐกิจใหดข้ึีน

ประธาน สรุปไดวาท่ีประชุมเห็นชอบวา เสนทาง East – West Economic Corridor

ใหมีการพัฒนาเสนทางจาก อ.เมืองกาฬสินธุ – อ.สมเด็จ – อ.กุฉินารายณ เปนเสนทาง

ขนาดชอง 4 ชองจราจร โดยพอถึงเขตอําเภอสมเด็จ และอําเภอกุฉินารายณใหทําเปน

บายพาสหรือวงแหวนโดยดําเนินการเสนนี้ใหแลวเสร็จกอน และเสนทาง C

(สาย ต.ลําพาน อ.เมืองกาฬสินธุ – บ.นาไคร อ.กุฉินารายณ ระยะทาง 80.30

กิโลเมตร) ที่จะดําเนินการตามแผนถาจะกอสรางเพิ่มก็ใหดําเนินการไป และให

Page 114: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

114

ปรับปรุงเสนทางสาย อ.สหัสขันธ – อ.สมเด็จ ใหอยูในสภาพดี เพื่อรองรับการจราจร

จากสะพานขามเข่ือนลําปาวท่ีจะสรางเสร็จในป 2553

มติท่ีประชุม เห็นชอบ

2.3 การรวมสถาบันการศึกษามหาวิทยาลยัราชภัฏกาฬสินธุ และ

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสนิธุ

ประธานสภาอุตสาหกรรม เสนอตอที่ประชุมวา เน่ืองจากจังหวัดกาฬสินธุยัง

ขาดโอกาสทางดานการศึกษา ซ่ึงมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ มีขอจํากัดในเรื่อง

สถานที่ต้ังสาขาวิชาการเรียนการสอน และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

วิทยาเขตกาฬสินธุ มุงเนนไปในการศึกษาวิจัยคนควา ซ่ึงทําใหการผลิตนักศึกษาที่จบ

ออกมา ไมตอบสนองภาครัฐและภาคเอกชนเทาที่ควร ดังนั้น การรวมสถาบันของทั้ง

2 แหง เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ จะเพิ่มความสามารถและประสิทธิภาพของ

นักศึกษาสูตลาดแรงงาน และการทํางานที่ไดดี

แรงงานจังหวดักาฬสินธุ เสนอใหเช่ือมโยงระดับอาชีวศึกษา องคประกอบของอาชีวศึกษามารวมกับ

คณะทํางาน มารวมแสดงความคิดเห็น ในสวนอุดมศึกษาอยากใหมีกรรมการระดับ

ปวช. ปวส. เขารวมดวย และในเรื่องประชาพิจารณอยากใหทําใหละเอียดชัดเจน เห็น

รูปรางหนาตาของมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ผลดีผลเสียท่ีจะเกิดข้ึนกับคนกาฬสินธุและ

จังหวัดขางเคียง

รองผูวาราชการฯ ในเรื่ องการรวมสถาบันระดับ อุดมศึกษา ในสมัยผมรับราชการ ท่ี จั งหวัด

นครพนม มีการจัดต้ังมหาวิทยาลัยนครพนม ซ่ึงเปนการรวมสถาบันทางการศึกษาใน

หลายระดับ ทําใหเปนปญหาในการดําเนินการมาก เพราะใชกฎระเบียบคนละฉบับ

แตหากเปนการรวมระดับอุดมศึกษาในระดับเดียวกัน การดําเนินการนาจะทําไดงาย

และเร็วกวา เพราะใชกฎหมายฉบับเดยีวกันเปนสวนใหญ ในช้ันน้ีควรจะตองมีการต้ัง

คณะทํางานข้ึน เพื่อรับฟงความคิดเห็นเสียกอน

Page 115: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

115

ประธาน สรุปไดวาที่ประชุมมีการเสนอใหรวมสถาบันการศึกษามหาวิทยาลยั

ราชภฏักาฬสินธุ และ มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ

เปนมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดยแตงต้ังคณะทํางานรวมกนัทําประชาพจิารณ

ประกอบดวยผูเกีย่วของสาขาตาง ๆ เขารวมเปนคณะทํางานโดยการจดัทําประชา

พิจารณแสดงความคิดเห็นการรวมสถาบันดังกลาวตลอดจนการวางกรอบท่ีจะ

ดําเนินการตอไป

มติท่ีประชุม เห็นชอบ

ระเบียบวาระท่ี 3 (เรือ่งอืน่ ๆ ) ไมมี

ปดประชุม เวลา 12.00 น.

ไพรญั จงจํารัสพันธ

(นายไพรัญ จงจํารัสพันธ)

นักวเิคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ

บันทึกการประชุม

Page 116: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

116

บทสรุปโครงการจัดตั้งมหาวทิยาลยักาฬสนิธุ เพือ่การรบัฟงความคิดเห็นของประชาชน

(เอกสารนี้เปนแนวทางเพื่อรบัฟงความคิดเห็นของประชาชนทานสามรถเสนอความเห็น

เพื่อการมีสวนรวมไดอยางเตม็ที่เพ่ือใชในการจัดทําโครงการและรางพระราชบญัญัติ

มหาวิทยาลยักาฬสินธุ)

ชื่อมหาวิทยาลยั “มหาวิทยาลยักาฬสินธุ (มกส.)”

มหาวิทยาลยัเพ่ือการพัฒนาภูมิภาค

“Kalasin University, (KSU)”

หลักการจัดตั้ง

รวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ กับวิทยาเขตกาฬสินธุของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

อีสานในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา(สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการใหเปน “มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ”

โดยมีพระราชบัญญัติเปนของตนเองโดยยึดหลักปรัชญาใหเปนมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาภูมิภาค อันหมายถึง

ภาคอีสานตอนบนและตอบสนองการพัฒนาประเทศดวยการสรางโอกาสเขาถึงอุดมศึกษาแกประชาชนใน

ทองถิ่นและสรางโอกาสทางการศึกษาแกประเทศเพื่อนบาน เหตุผลความจําเปนในการจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษา

สังกัด สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา 2 แหง(มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลอีสานวิทยาเขตกาฬสินธุ) ในจังหวัดกาฬสินธุขาดความเปนเอกภาพในการใหบริการการอุดมศึกษาแก

ประชาชนในทองถิ่น ทําใหมีการใชทรัพยากรและงบประมาณไมมีประสิทธิภาพ ทําใหประชาชนในจังหวัด

กาฬสินธุและในภูมิภาคเสียโอกาสในการพัฒนาทองถิ่น สูญเสียงบประมาณอยางไมคุมคา นอกจากน้ัน

ประชาชนยังไมมีโอกาสท่ีจะกําหนดนโยบายในการใหบริการการอุดมศึกษาที่ตรงตอความตองการของทองถิ่น

อยางเปนรูปธรรม

วตัถุประสงคของโครงการ

1. จัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสนิธุ โดยการยุบรวมมหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ กับวิทยาเขตกาฬสินธุของมหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน

2. สรางมหาวิทยาลัยกาฬสินธุใหเปนมหาวิทยาลยัเพื่อการพัฒนาภูมิภาค ตอบสนองความตองการและสรางโอกาสทางการศึกษาแกประชาชนในทองถิ่น

Page 117: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

117

3. มหาวิทยาลยักาฬสินธุเปนมหาวิทยาลยัเปดสอนดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคมศาสตรหรือเปนไปตามความตองการของสังคมโดยใหโอกาสแกประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายของมหาวิทยาลยั

ผูดําเนินการ

การดําเนนิการโดยคณะกรรมการท่ี “คณะอนกุรรมการประสานความรวมมอืภาครัฐและ

ภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ” แตงต้ังข้ึนคณะหนึ่ง โดยการประสานงานของสํานักงานจังหวัดกาฬสินธุ และ

คณะกรรมการดังกลาว มีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามที่ “คณะอนกุรรมการประสานความรวมมอืภาครัฐและ

ภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ” ไดมอบหมายและใหเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวีาดวยการรับฟง

ความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548

สถานท่ีดําเนินการ

สถานที่ต้ังของมหาวิทยาลยักาฬสินธุจะใชพื้นที่เดิมของมหาวิทยาลยัราชภฏักาฬสินธุ และ

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ ตลอดจนทรัพยสินเดมิของสองมหาวิทยาลัย โดย

ไมมีการเวนคืนเพิ่มเติม มีสํานักงานอธิการบดีต้ังอยูที่วทิยาเขตกาฬสนิธุเดิม หรือเปนไปตามพระราชบัญญัติ

มหาวิทยาลยักาฬสินธุ

ขั้นตอนและระยะเวลาดําเนินการ

ระยะเวลาดําเนินการมีเปาหมายท่ีจะสามารถเสนอพระราชบัญญัติเขาสูการพิจารณาภายใน

ปงบประมาณ 2553 โดยมีข้ันตอนการดําเนินการดังน้ี

ขั้นท่ี 1 เสนอเพื่อพิจารณาเห็นชอบในหลักการตอ “คณะอนกุรรมการประสานความรวมมอื

ภาครัฐและภาคเอกชนจังหวดักาฬสินธุ”

ขั้นท่ี 2 เสนอผลการพิจารณาเห็นชอบของ “คณะกรรมการรวมภาครัฐและเอกชนจังหวัด

กาฬสินธุ” ตอผูเกีย่วของ

ขั้นท่ี 3 คณะกรรมการที่ไดแตงต้ัง จัดทําการรับฟงความคดิเห็นของประชาชนอยางกวางขวาง

ขั้นท่ี 4 นําความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียไปจดัทําโครงการและราง

พระราชบญัญติัมหาวิทยาลยักาฬสินธุ โดยการใหความเห็นชอบโดย “คณะอนกุรรมการประสานความรวมมอื

ภาครัฐและภาคเอกชนจังหวดักาฬสินธุ

Page 118: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

118

ขั้นท่ี 5 นําเสนอ สกอ. และกระทรวงศกึษาธิการ

ขั้นท่ี 6 ตรวจสอบดานกฎหมายและเสนอคณะรัฐมนตรเีพ่ือเสนอเปนกฎหมายตอรัฐสภาตอไป

ผลผลิตและผลลัพธของโครงการ

ผลของโครงการจะทําใหเกดิ “มหาวิทยาลยักาฬสินธุ” เปนมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาภูมิภาค

ที่มีเอกภาพ ตอบสนองความตองการและสรางโอกาสทางการศึกษาแกประชาชนในทองถิ่น

ผลกระทบของโครงการ

คณะกรรมการยังไมเห็นผลกระทบท่ีจะเกิดผลเสียตอประชาชนในทองถิ่น หรือผลเสียตอ

ประเทศชาติ แตกลับจะเปนผลดีตอการพัฒนาทองถิ่นและประเทศ หากผูมีสวนไดเสียเห็นถึงผลกระทบใหเสนอ

ตอคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นไดอยางเต็มท่ี

คาใชจายในการดาํเนินการจดัตั้ง

ขอสนับสนุนจากองคการบริหารสวนจังหวัดกาฬสินธุ และงบประมาณการดําเนินการของ

มหาวิทยาลยัเปนไปตามงบประมาณปกต ิ

เดชา ตันติยวรงค เห็นชอบ

(นายเดชา ตันติยวรงค)

ผูวาราชการจังหวัดกาฬสินธุ

Page 119: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

119

แบบสอบถามเพ่ือรับฟงความคดิเห็นของประชาชน

ตอโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลยักาฬสินธุ

คําชี้แจง

ดวยคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ (กรอ.)ไดดําเนิน

โครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ซ่ึงเปนการรวมมหาวิทยาลัยราชภัฎกาฬสินธุและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ โดยใชช่ือวา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ (Kalasin University : KSU) โดยมี

วัตถุประสงคเพ่ือใหเปนมหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาภูมิภาค ทําการสอนในดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี

สังคมศาสตร หรือตามความตองการของสังคมโดยการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดนโยบายของ

มหาวิทยาลัย

และเพ่ือใหเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.

2548 คณะทํางานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเพ่ือรวมมหาวิทยาลัยฯ จึงไดทําแบบสํารวจเพ่ือรับฟง

ความคิดเห็นของประชาชนที่มีสวนไดเสียตอโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

คําตอบของทานจึงเปนประโยชนในการดําเนนิโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยกาฬสินธุเปน

อยางย่ิง

ดวยความขอบคุณ

คณะทํางานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

Page 120: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

120

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

คําชี้แจง โปรดทําเคร่ืองหมาย ลงใน ตามความเปนจริง

1. เพศ ชาย หญิง

2. อาย ุ ตํ่ากวา 20 ป 41 - 50 ป

21 - 30 ป 51 ป ขึ้นไป

31 - 40 ป

3. การศึกษา ตํ่ากวามธัยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน

มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ปริญญาตรี

ปริญญาโท ปริญญาเอก

4. อาชีพ ขาราชการ ผูประกอบการ / ภาคเอกชน

เกษตรกร นักเรียน / นิสิต / นักศึกษา

NGOs/ภาคประชาชน ผูนําหมูบาน/ชุมชน

ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิน่ อ่ืนๆ โปรดระบุ...........................

ตอนท่ี 2 ระดับความคิดเหน็ของผูตอบแบบสอบถามตอการจัดตั้งมหาวทิยาลัยกาฬสินธุ

คําชี้แจง กรุณาทําเคร่ืองหมาย หนาขอความทีท่านเห็นดวยมากท่ีสุด

1. การจัดทาํโครงการยุบรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ กับมหาวทิยาลยัเทคโนโลยีราชมงคล

อีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ ทานเหน็ดวยหรือไม

ไมเห็นดวย เพราะ................................................................................................

......................................................................................................................................

เห็นดวย (หากเห็นดวย กรุณาตอบคําถามขอตอไป)

Page 121: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

121

2. ประโยชนท่ีเกิดขึ้นจากการรวมมหาวิทยาลัย (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

เพือ่เปนการใชทรพัยากรรวมกัน

เพิ่มประสิทธิภาพในการใชจายงบประมาณ

ทําใหมีศักยภาพในการพัฒนาและการแขงขันกับมหาวิทยาลัยอ่ืนเพ่ิมขึน้

กอใหเกิดความสมบูรณในการเปนสถาบันอุดมศึกษาท่ีสามารถตอบสนองความ ตองการของทองถิ่นและ ภูมิภาค

กอใหเกิดประโยชนตอสังคมในภาวการณของประเทศไทยในอนาคต

3. เอกลักษณสําหรับมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ท่ีทานอยากใหเปนมากท่ีสุด (ตอบไดมากกวา 1 ขอโดย

เรียงลําดับตามความสําคัญ 1 2 3 )

มุงเนนดานวิทยาศาสตร มุงเนนดานเทคโนโลย ี

มุงเนนดานสังคมศาสตร มุงเนนความตองการของทองถิ่น

อ่ืน ๆ ………………………………………………………………………………

Page 122: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

122

ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ เพื่อประโยชนในการจัดทําโครงการจัดต้ังมหาวทิยาลัยกาฬสินธุ

……………………………………………………………………………………….…….…………………

……………………………………………………………………………………….…………………..……

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………..……………..………

…………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………

Page 123: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

123

แบบสอบถามเพ่ือรับฟงความคดิเห็นของประชาชน ตอโครงการจัดตั้งมหาวทิยาลยั

กาฬสินธุ

คําชี้แจง

ดวยคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ (กรอ.)ไดดําเนิน

โครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ซ่ึงเปนการรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ โดยใชช่ือวา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ (Kalasin University : KSU) โดยมี

วัตถุประสงคเพ่ือใหเปนมหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาภูมิภาค ทําการสอนในดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี

สังคมศาสตร หรือตามความตองการของสังคมโดยการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดนโยบายของ

มหาวิทยาลัย

และเพ่ือใหเปนไปตามเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟงความคิดเห็นของ

ประชาชน พ.ศ. 2548 คณะอนุกรรมการประสานความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชนจังหวัดกาฬสินธุ จึงไดทํา

แบบสํารวจเพ่ือรับฟงความคิดเห็นของประชาชนที่มีสวนไดเสียตอโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

คําตอบของทานจึงเปนประโยชนในการดําเนนิโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยกาฬสินธุเปน

อยางย่ิง

ดวยความขอบคุณ

คณะทํางานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

Page 124: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

124

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

คําชี้แจง โปรดทําเคร่ืองหมาย ลงใน ตามความเปนจริง

1. เพศ ชาย หญิง

2. อาย ุ ตํ่ากวา 20 ป 41 - 50 ป

21 - 30 ป 51 ป ขึ้นไป

31 - 40 ป

3. การศึกษา ตํ่ากวามธัยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน

มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ปริญญาตรี

ปริญญาโท ปริญญาเอก

4. อาชีพ ขาราชการ(สายวิชาการ/สายสนับสนุน) พนักงานมหาวทิยาลัย(สายวิชาการ/สาย

สนับสนุน)

พนักงานราชการ(สายวิชาการ/สายสนับสนุน) ลูกจาง/เจาหนาทีท่ั่วไป

นักศึกษา (1) มหาวทิยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ อ่ืนๆ โปรดระบุ................................

( 2) มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิยาเขตกาฬสินธุ

Page 125: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

125

ตอนที่ 2 ระดับความคิดเหน็ของผูตอบแบบสอบถามตอการจัดต้ังมหาวทิยาลัยกาฬสินธุ

คําชี้แจง กรุณาทําเคร่ืองหมาย หนาขอความทีท่านเห็นดวยมากท่ีสุด

1. การจัดทาํโครงการยุบรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ กับมหาวทิยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

วิทยาเขตกาฬสินธุ ทานเห็นดวยหรือไม

ไมเห็นดวย

เพราะ………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………..

เห็นดวย (หากเห็นดวย กรุณาตอบคําถามขอตอไป)

2. ประโยชนท่ีเกิดขึ้นจากการรวมมหาวิทยาลัย (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

เพื่อเปนการใชทรัพยากรรวมกัน เพิ่มประสิทธิภาพในการใชจายงบประมาณ

ทาํใหมีศักยภาพในการพัฒนาและการแขงขนักบัมหาวิทยาลัยอ่ืนเพ่ิมขึ้น

กอใหเกิดความสมบูรณในการเปนสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถตอบสนองความตองการ

ของทองถิ่น และ ภูมิภาค

กอใหเกิดประโยชนตอสังคมในภาวการณของประเทศไทยในอนาคต

3. เอกลักษณะสําหรับมหาวิทยาลยักาฬสินธุ ทีท่านอยากใหเปนมากที่สุด (ตอบไดมากกวา 1ขอ)

มุงเนนดานวิทยาศาสตร มุงเนนดานเทคโนโลย ี

มุงเนนดานสังคมศาสตร มุงเนนความตองการของทองถิ่น

อ่ืน ๆ

/ตอดานหลัง…

Page 126: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

126

ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ เพื่อประโยชนในการจัดทําโครงการจัดต้ังมหาวทิยาลัยกาฬสินธุ

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

 

Page 127: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

127

สูตรการกําหนดขนาดตวัอยาง

จากสูตร Total :

Mean :

ขนาดตวัอยาง เม่ือ k = 1.96 N=784,943

ไดตารางขนาดตัวอยางดังนี ้

0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 0.08 .09 0.10 0.15 0.20 0.25 0.30

1.00 36,624 9,488 4,245 2,394 1,534 1,066 783 600 474 384 171 96 61 43

0.95 33,204 8,573 3,833 2,161 1,384 962 707 541 428 347 154 87 55 39

0.90 29,930 7,703 3,442 1,940 1,243 863 635 486 384 311 138 78 50 35

0.85 26,808 6,878 3,072 1,731 1,109 770 566 433 343 277 123 69 44 31

0.80 23,840 6,099 2,722 1,534 982 682 501 384 303 246 109 61 39 27

0.75 21,030 5,365 2,394 1,348 863 600 441 337 267 216 96 54 35 24

0.70 18,383 4,678 2,086 1,175 752 523 384 294 232 188 84 47 30 21

0.70 18,127 4,612 2,056 1,158 742 515 379 290 229 186 82 46 30 21

222

222

ENkkNnx

x

+=

σσ

2'22

22

NEVkVNknrel+

=

V

E'

222

22

NEkNkn

x

x

+=

σσ

Page 128: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

128

0.60 13,590 3,442 1,534 863 553 384 282 216 171 138 61 35 22 15

0.55 11,451 2,894 1,289 726 465 323 237 182 143 116 52 29 19 13

0.50 9,488 2,394 1,066 600 384 267 196 150 119 96 43 24 15 11

0.45 7,703 1,940 863 486 311 216 159 122 96 78 35 19 12 9

0.40 6,099 1,534 682 384 246 171 125 96 76 61 27 15 10 7

0.35 4,678 1,175 523 294 188 131 96 74 58 47 21 12 8 5

0.30 3,442 863 384 216 138 96 71 54 43 35 15 9 6 4

0.25 2,394 600 267 150 96 67 49 38 30 24 11 6 4 3

0.20 1,534 384 171 96 61 43 31 24 19 15 7 4 2 2

0.15 863 216 96 54 35 24 18 14 11 9 4 2 1 1

0.10 384 96 43 24 15 11 8 6 5 4 2 1 1 0

0.05 96 24 11 6 4 3 2 2 1 1 0 0 0 0

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สภาพัฒน)

จากสูตรขางตน อธิบายตัวแปรไดดังนี้

k คือคาจากตาราง Standard Normal, Cumulative Probability ณ จุดที่ใหคาความเช่ือม่ัน 95% ( k = 1.96 )

v คือสัมประสิทธิ์ของความแปรปรวนวัดการกระจายสัมพัทธของขอมูล หรือ Coefficient of variation

(CV) ของตัวประมาณ โดยหลักแลวตองไดจากการศึกษาการกระจายตัวของ N จากการสํารวจคร้ังกอน ๆ มา

แตจะมีคาสูงสุดเทากับ 1 ( v = 1)

E คือสัดสวนความผิดพลาดของคาประมาณท่ีไดจากการสํารวจ

Page 129: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

129

ในการสุมกลุมตัวอยางกลุมประชากรจังหวัดกาฬสินธุ ที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป จํานวน 784,943 คน โดยใช

สูตรการสุมกลุมตัวอยางของสํานักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เพื่อหาคามาตรฐาน

กลุมตัวอยางท่ีมีความนาเช่ือถือและเปนที่ยอมรับได

จากการคํานวณหาคามาตรฐานตามสูตรดังกลาว ปรากฏวามีกลุมตัวอยางในการจัดเก็บขอมูลในครั้งนี้

จํานวน 4,245 คน จังหวัดไดจัดสงแบบสอบถามตามสัดสวนจํานวนประชากรรายอําเภอ จํานวน 4,850 คน

ตอบกลับ จําวน 4,345 คน ซ่ึงมีรายละเอียด ดังนี้

จํานวนประชากร (คน) อําเภอ

ทั้งหมด อายุ 15 ปข้ึนไป

จํานวน

แบบสอบถามฯ ตอบกลบั

คิดเปนรอยละ

อําเภอเมืองกาฬสินธุ 146,166 116,103 650 628 96.62 อําเภอนามน 35,584 28,263 200 153 76.50 อําเภอกมลาไสย 69,475 56,231 350 304 86.86 อําเภอรองคํา 16,336 13,008 100 81 81 อําเภอกุฉินารายณ 101,184 81,487 500 441 88.20 อําเภอเขาวง 35,035 28,778 200 156 78 อําเภอยางตลาด 129,022 104,904 600 567 94.50 อําเภอหวยเม็ก 50,270 40,069 250 217 86.80 อําเภอสหัสขันธ 41,879 33,465 200 181 90.50 อําเภอคํามวง 48,033 37,944 250 205 82 อําเภอทาคันโท 37,214 29,098 200 167 83.50 อําเภอหนองกงุศร ี 65,671 52,297 300 283 94.33 อําเภอสมเด็จ 62,117 49,542 300 268 89.33 อําเภอหวยผึ้ง 30,608 24,769 150 134 89.33 อําเภอสามชัย 25,622 20,370 150 137 91.33 อําเภอนาคู 31,515 26,044 150 141 94 อําเภอดอนจาน 25,720 20,566 150 139 92.66 อําเภอฆองชัย 27,132 22,005 150 143 95.33 978,583 784,943 4,850 4,345 89.59

Page 130: บทนํา123.242.175.89/office/gov/university.pdf1 บทน า จ งหว ดกาฬส นธ เป นจ งหว ดขนาดกลางม ประชากร

130

ตารางแสดงรายชือ่มหาวิทยาลัยและคณะท่ีมีคนเลอืกสมคัรมากท่ีสุด 20 ลําดับ 

ลําดบั ช่ือคณะ ช่ือมหาวิทยาลยั 1 คณะพยาบาลศาสตร ม.บรูพา 2 คณะบริหารธรุกิจ สาขาวิชาบญัชี ม.เกษตรศาสตร 3 คณะอักษรศาสตร ม.ศิลปากร 4 คณะสังคมศาสตร สาขาวิชาการจัดการการทองเท่ียว

และการโรงแรม ม.ศรนีครินทรวโิรฒ

5 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สาขาวิชานิเทศศาสตร

ม.ศิลปากร

6 คณะบริหารธรุกิจ ม.เชียงใหม 7 คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี

หลักสูตรบริหารธรุกิจบณัฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั

8 คณะวิศวกรรมศาสตร กลุมวศิวกรรมไฟฟา สถาบนัเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

9 คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั 10 คณะมนุษยศาสตร สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ม.เกษตรศาสตร 11 คณะมนุษยศาสตร วชิาเอกภาษาอังกฤษ ม.ศรนีครินทรวโิรฒ 12 คณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.เกษตรศาสตร 13 คณะจิตวทิยา (รูปแบบท่ี 3) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั 14 คณะนิติศาสตร ม.ขอนแกน 15 คณะเศรษฐศาสตร ม.ธรรมศาสตร 16 สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สาขาวชิาการพยาบาล ม.แมฟาหลวง 17 คณะศิลปศาสตร สาขาวชิาภาษาไทย ม.มหิดล 18 คณะแพทยศาสตร ม.ขอนแกน 19 คณะวิทยาศาสตร กลุมวิชาวทิยาศาสตรชีวภาพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั 20 คณะพยาบาลศาสตร ม.ขอนแกน

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการอดุมศึกษา ปการศกึษา 2552