จังหวะ ลี ลาใบตอง · kitsada jarujasada : system feeling baitong...

113
จังหวะ ลีลา ใบตอง โดย นายกฤษดา จารุเจษฎา วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2546 ISBN 974 – 653 – 647 - 8 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 04-Oct-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

จังหวะ ลีลา ใบตอง

โดยนายกฤษดา จารุเจษฎา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิตสาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผาภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรปการศึกษา 2546

ISBN 974 – 653 – 647 - 8ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

SYSTEM FEELING BAITONG

ByKitsada Jarujasada

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the DegreeMASTER OF FINE ARTSDepartment of Ceramics

Graduate SchoolSILPAKORN UNIVERSITY

2003ISBN 974 – 653 – 647 - 8

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “จังหวะ ลีลาใบตอง” เสนอโดย นายกฤษดา จารุเจษฎา เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชา เครื่องเคลือบดินเผา

…………………………………..(ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยวันที่……...เดือน………………….พ.ศ……….

ผูควบคุมวิทยานิพนธ 1. ผูชวยศาสตราจารยปรีชา อมรรัตน 2. อาจารยณัฏฐินี ศตวรรษธํารง 3. ผูชวยศาสตราจารยเข็มรัตน กองสุข

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ

………………………………………ประธานกรรมการ(อาจารยประเสริฐ พิชยะสุนทร) ..……../………./………

………………………………………กรรมการ ………………………………………กรรมการ(ผูชวยศาสตราจารยปรีชา อมรรัตน) (อาจารยณัฏฐินี ศตวรรษธํารง) ..……../………./……… ..……../………./………

………………………………………กรรมการ ………………………………………กรรมการ(ผูชวยศาสตราจารยเข็มรัตน กองสุข) (ศาสตราจารยเกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว) ..……../………./……… ..……../………./………

K43365001 : สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผาคําสําคัญ : ผลิตภัณฑภาชนะใสผลไม

กฤษดา จารุเจษฎา : จังหวะ ลีลา ใบตอง (SYSTEM FEELING BAITONG) อาจารยผูควบคุมศิลปนิพนธ : ผูชวยศาสตราจารยปรีชา อมรรัตน อาจารยณัฏฐินี ศตวรรษธํารง และ ผูชวยศาสตราจารยเข็มรัตน กองสุข 100 หนา ISBN 974 – 653 – 647 – 8

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบภาชนะ สําหรับใสผลไมโดยมีแนวความคิดจากใบตอง การบรรจุภัณฑจากใบตอง เนื่องจากลักษณะรูปทรงที่สวยงามมีเอกลักษณ การบรรจุภัณฑจากการหอพับ มาออกแบบโดยผานกระบวนการเครื่องเคลือบดินเผา สําหรับผลิตผลิตภัณฑภาชนะใสผลไม ซ่ึงมีรูปแบบในลักษณะหอหุมผลไมเหมือนหอดวยใบตอง เพื่อใชประดับตกแตง เพื่อความสวยงามของที่พักอาศัยและบนโตะอาหาร และสรางบรรยากาศสดชื่น

แนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ1. เปนการออกแบบผลิตภัณฑภาชนะสําหรับใสผลไม โดยนํารูปแบบจากใบตองการ

บรรจุภัณฑจากใบตองที่มีความสวยงาม โดยผานกระบวนการเครื่องเคลือบดินเผา สามารถนํามาใชงานไดอยางเหมาะสม และนําไปออกแบบพัฒนาอุตสหกรรมเครื่องเคลือบดินเผา เกิดเปนทางเลือกใหม และเปนการเพิ่มรูปแบบใหกับผูบริโภค

2. เนื้อดินในการออกแบบใชเนื้อดินปนริมแมน้ํามูล อ.เมือง จ.อุบลราชธานี เปนการขึ้นรูปโดยนําผลการทดลองไดจากการหาอัตราสวนที่มีคุณสมบัติ การหดตัวรอยละ 14 การดูดซึมน้ํานอย เปนเนื้อดินชนิดสโตนแวร เผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส มีสีหลังการเผาสีน้ําตาลแดง ซ่ึงสวนผสมที่ดีที่สุดประกอบดวยดินเหนียวริมแมน้ํามูล รอยละ 40 หินฟนมารอยละ 20 ดินดําปราจีน รอยละ 30 และ ซิลิกา รอยละ 10

3. น้ําเคลือบที่นํามาใชเปนเคลือบขี้เถา เผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียสเปนเคลือบที่เกิดจากการเพิ่มเซอรโคเนียมซิลิเกตรอยละ 7 โดยน้ําเคลือบที่ใชมีอัตราของความเขมขนของเคลือบที่ตางกัน ทําใหเกิดจังหวะของน้ําหนักในตัวผลิตภัณฑ

ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2546ลายมือช่ือนักศึกษา …………………………………..ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ 1………………….2……………………3…………………...

K 43365001 : MAJOR : CERAMICSKEY WORD : FRUITS PACKAGING

KITSADA JARUJASADA : SYSTEM FEELING BAITONGT H E S I S A D V I S O R S : A S S T . P R O F . P R E C H A A M O N R A T , N U T T I N E E SATTAWADOMRONG, ASST.PROF.KHEMRAT KONGSOOK 100 pp.ISBN 974–653–647–8

The purposes of this research were to design the fruits packaging that base on the concept of Baitong. This design became to the packaging that made from Baitong. Though the individual of shape and pattern of Baitong modified to the design of baked clay coated ware. The baked clay coated ware also had a beautiful model that can be package fruits and it seems look like package with Baitong. Additional, this packaging ware also useful for interior house decorates.

The results of production design1. In order of designing of fruits packaging by the usage of Baitong’s pattern, passed

the baked clay coated process, it could be successful. This package was appropriated to use and could be development in the line of commercial products.

2. Clay in this research was red clay from waterside of the moon river. Muang District, Ubonratchathani Province. The model formed by using results of the calculated the property ratio. The results of the calculate such as huddle property ratio was 14 percents, less water absorption, stoneware clay grains, These ingredients were fired at temperature 1,250 celsius in reduction firing, and color after firing was red – brown. The best materials mixing was include of 40 percents waterside of the moon river red clay, 20 percents of postass feldspar, 20 percents of Prajeanbury ball clay, and 10 percents of quartz.

3. The glaze was composed of ash. The ware was burned at 1,250 Celsius, by increased, 7 percents of Zirconium Silicate, and the concentrate ratio of the coat solution was different, so it make a weight system in product.

Department of Ceramics Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2003Student’s signature………………………….…….…….…….Thesis Advisors’ signature 1. …….…………..…2.... …….…….…….3. …….…….…….…….

กิตติกรรมประกาศ

ในการทําวิทยานิพนธคร้ังนี้สําเร็จลงไดเกี่ยวเนื่องกับบุคคลหลายทาน สําคัญที่สุดคือบิดา มารดา ที่ลวงลับไปแลวเปนแรงยึดเหนี่ยวจิตใจ และครอบครัวของขาพเจาที่คอยใหกําลังใจและสนับสนุนใหทํางานสําเร็จลุลวงดวยดีตลอดมา ขอขอบคุณพี่สาวที่คอยชวยเหลือเกี่ยวกับงานดูแลบาน

สําหรับแรงบันดาลใจของการทําเคลือบเกิดจากขอมูล “เคลือบขี้เถา” โดยศาสตราจารยเกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว กอนที่ขาพเจาจะไดมาศึกษาที่แหงนี้จนเกิดผลสําเร็จในปจจุบัน สวนการเตรียมเนื้อดินเกิดจากการศึกษาคนควาขอมูลจากงานหาเนื้อดินสโตนแวร โดยอาจารยศุภกา ดอกไม, ผูชวยศาสตราจารยเข็มรัตน กองสุข ที่ไดกรุณาเปนอาจารยที่ปรึกษาซึ่งใหคําแนะนําที่เปนประโยชนอยางยิ่ง, ผูชวยศาสตราจารยปรีชา อมรรัตน ที่เปนอาจารยที่ปรึกษาซึ่งใหคําแนะนําชวยตรวจผลงานและเอกสาร, อาจารยณัฏฐินี ศตวรรษธํารง ที่เปนอาจารยที่ปรึกษาซึ่งชวยตรวจผลงานและเอกสาร ขอขอบคุณ ผูชวยศาสตราจารยสน สีมาตรัง ที่ชวยช้ีแนะแนวทางวิธีในการวิจัย และขอบพระคุณอาจารยทุกทานที่ขาพเจาอาจจะไมไดเอยนามไว ณ ที่นี้ ที่มีสวนชวยใหการทํางานสําเร็จดวยดีตลอดมา

และกลุมของนองที่เรียนมาดวยกัน และใหความดูแล แนะแนวทางในการเรียน เอาใจใสเปนอยางดี ตอขาพเจาที่ขาพเจาอาจจะไมไดเอยนาม ณ ที่นี้ ที่มีสวนชวยใหการทํางานสําเร็จลุลวงได ขอขอบคุณในความเปนเพื่อนที่ดีและเอาใจใสตลอดมา

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย ………………………………………………………………….………….…... งบทคัดยอภาษาอังกฤษ…………………………………………………………………………..…….จกิตติกรรมประกาศ…….……………………………………………………………………………...ฉสารบัญตาราง ……………..…………………………………………………………………….….. ฌสารบัญภาพ …………………………..……………………………………………………………....ฎบทที่ 1 บทนํา ………….……..…………………………………………………..…….……………...1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา……………………………..………………...…..1วัตถุประสงคของการศึกษา………………………………………………………..……….1ความสําคัญของปญหา………………………………………………………………….….1สมมุติฐานของการศึกษา……………………………………………………………..…….2ขอบเขตของการศึกษา……………………………………………………………………...2ขั้นตอนของการศึกษา………………………………………………………………………3คําจํากัดความที่ใชในการศึกษา………………………………………………….…………4

2 เอกสารและผลงานที่เก่ียวของ………………………………………………………………….5ที่มารูปทรงผลิตภัณฑจากใบตอง……………………………………………...…….……..5ผลงานการออกแบบสรางสรรคจากความงามของใบตอง…………………………………11วัตถุดิบและกระบวนการเตรียมวัตถุดิบ………………………………….………………..15การคํานวณหาอัตราสวนผสมของเนื้อดินดวยแผนภาพสี่เหล่ียมจัตุรัส……………………16การทดสอบคุณสมบัติทางฟสิกสของเนื้อดินปนสโตนแวร……………………………….19

3 ขั้นตอนการดําเนินการ………………………………………………………………………...22การออกแบบราง 2 มิติ……...……………………………………………………………..22การออกแบบราง 3 มิติ……...……………………………………………………………..28

บทที่ หนาการทดลองหาอัตราสวนผสมของดินสโตนแวร…………………………..……………..38ขั้นตอนและกระบวนการผลิต……………………………………………………………42

4 การสรางสรรคและพัฒนาผลงาน……………………………………….………………….…45วิเคราะหที่มาของการออกแบบ…………………………………………………………...45ผลการทดลองเนื้อดินปนสโตนแวร………………………………………………………46ผลงานผลิตภัณฑ……………………………………………………………………….…72

5 สรุปผลการออกแบบ………………………………………………………………….…….….83สรุปผลการออกแบบ…………………………………………………………….………...83อภิปรายผลการออกแบบ………………………………………………………….……….84ขอเสนอแนะ…………………………………………………………….……………...…84

บรรณานุกรม………………………………………….…………………………………………….86

ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………...87งานเขียนแบบ……………………………………………………….………………….….88

ประวัติผูวิจัย………………………………………………………………………...……………..100

สารบัญตารางตารางที่ หนา 1 แสดงผลงานวิเคราะหทางเคมีของวัตถุดิบที่ใชในการทดลอง…………………………...16 2 แสดงแผนภาพสี่เหลี่ยมจัตุรัสและวิธีอานคาอัตราสวนผสม……………..……………….17 3 แสดงตารางแสดอัตราสวนผสมของวัตถุดิบโดยใชแผนภาพสี่เหล่ียมจัตุรัสทั้ง 30 จุด……18 4 แสดงแผนภาพตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 30 จุด……………..……………..………....…39 5 แสดงอัตราสวนของวัตถุดิบโดยใหแผนภาพสี่เหล่ียมจัตุรัสทั้ง 30 จุด……………..……..40 6 ภาพตารางสี่เหล่ียมจัตุรัสขนาด 9 จุด…….…..……………..……………..………………41 7 ตารางสวนผสมของวัตถุดิบโดยใชแผนภาพสี่เหล่ียมจัตุรัสขนาด 9 จุด…..…..…………..41 8 โดยใชอัตราสวนของดินปนสโตนแวรจากสูตร 4…………………..……………..……...42 9 แสดงขั้นตอนและกระบวนการผลิต……………..……………..……………..………….43 10 แสดงคุณสมบัติของเนื้อดินกอนการเผา……………..……………..……………..………47 11 แสดงการทดสอบความแข็งของเนื้อดิน……………..……………..……………..………48 12 ผลการทดลองการหดตัวหลังเผาที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส บรรยากาศ Oxidation…49 13 ผลการทดลองการหดตัวหลังเผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส บรรยากาศ Oxidation…50 14 ผลการทดลองการหดตัวหลังเผาที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส บรรยากาศ Reduction…51 15 ผลการทดลองการหดตัวหลังเผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส บรรยากาศ Reduction…52 16 ผลการทดลองการดูดซึมน้ําที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส บรรยากาศ Oxidation….…...53 17 ผลการทดลองการดูดซึมน้ําที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส บรรยากาศ Oxidation….…...54 18 ผลการทดลองการดูดซึมน้ําที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส บรรยากาศ Reduction ...…...55 19 ผลการทดลองการดูดซึมน้ําที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส บรรยากาศ Reduction ...…...56

20 ผลการทดลองหาคาโกงงอหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียสบรรยากาศ Oxidation ....…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… ..57

21 ผลการทดลองหาคาโกงงอหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียสบรรยากาศ Oxidation ...... .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .……58

22 ผลการทดลองหาคาโกงงอหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียสบรรยากาศ Reduction ...... .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…...59

ตารางที่ หนา23 ผลการทดลองหาคาโกงงอหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส

บรรยากาศ Reduction ...... .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…… .…..60 24 ภาพตารางสี่เหล่ียมจัตุรัสขนาด 9 จุด……………………………………………………...61 25 แสดงสวนผสมของวัตถุดิบ โดยใชแผนภาพสี่เหล่ียมจัตุรัสขนาด 9 จุด…………………..61 26 แสดงผลการทดลองของเนื้อดินสโตนแวร……….……….……….……….……….…….62 27 แสดงผลการทดลองการหดตัวหลังเผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส……….……….…62 28 แสดงผลการทดลองการดูดซึมน้ําหลังเผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส………….….…63 29 แสดงผลการทดลองมีความโกงงอหลังเผาที่อุณภูมิที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส……...63 30 แสดงผลการทดลองของเนื้อดินสโตนแวรโดยการเพิ่มดินเชื้อ Grog..…………………….64 31 แสดงผลการทดลองของเนื้อดินสโตนแวรทั้ง 9 ชุด…………………………………… …64

สารบัญภาพภาพที่ หนา

1 แสดงภาพประกอบรูปใบตอง………………………………………………………….…82 แสดงภาพประกอบรูปใบตอง………………………………………………………….…83 แสดภาพประกอบการหอดวยใบตองรูปแบบตางๆ………………………………….……94 แสดภาพประกอบการหอดวยใบตองรูปแบบตางๆ…………………………………….…95 แสดภาพประกอบการหอดวยใบตองรูปแบบตางๆ…………………………………….…106 แสดงภาพผลงานศิลปกรรมของคุณอรัญ หงษโต………………………………………...117 แสดงภาพผลงานศิลปกรรมของคุณอรัญ หงษโต…………………………………….…..128 แสดงภาพผลงานศิลปกรรมของคุณอรัญ หงษโต…………………………………….…..129 แสดงภาพผลงานศิลปกรรมของคุณอรัญ หงษโต………………………………….……..1310 แสดงภาพผลงานรองเทาแตะใบตอง……………………………………………………...1411 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2312 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2313 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2414 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2415 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2516 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2517 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2618 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2619 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2720 แสดงการออกแบบราง 2 มิติ………………………………………………………………2721 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ………………………………………………………………2922 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ………………………………………………………………2923 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ………………………………………………………………3024 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ………………………………………………………………3025 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ………………………………………………………………3126 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ………………………………………………………………31

ภาพที่ หนา27 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3228 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3229 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3330 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3331 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3432 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3433 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3534 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3535 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3636 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3637 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3738 แสดงการออกแบบราง 3 มิติ……………………………………………………………3739 แบบจําลอง 3 มิติเพื่อประกอบการพิจารณา.……………………………………………3840 แสดงภาพผลงานการทดลองดินสโตนแวรในอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส…………….6541 แสดงผลงานการทดลองการหดตัวของดินสโตนแวรในบรรยากาศ Oxidation ในอุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส และ 1,250 องศาเซลเซียส……………………………6642 แสดงผลงานการทดลองการหดตัวของดินสโตนแวรในบรรยากาศ Reduction

ในอุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส และ 1,250 องศาเซลเซียส……………………………6743 แสดงภาพผลการทดลองความโกงงอในบรรยากาศ Oxidation

ในอุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส และ 1,250 องศาเซลเซียส……………………………6844 แสดงภาพผลการทดลองความโกงงอในบรรยากาศ Reduction

ในอุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส และ 1,250 องศาเซลเซียส……………………………6945 แสดงภาพผลการทดลองจากสูตร 9 ในบรรยากาศ Reduction

ในอุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส……………………………………………………….7046 แสดงรูปแบบแมพิมพที่ใชในการทํางานผลงานผลิตภัณฑใบตอง………………………7147 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม……………………………………………………………7348 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………73

ภาพที่ หนา49 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม…………………………………………………………….7450 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………7451 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม…………………………………………………………….7552 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………7553 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม…………………………………………………………….7654 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………7655 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม……………………………………………………………7756 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………7757 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม…………………………………………………………….7858 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………7859 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม…………………………………………………………….7960 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………7961 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม…………………………………………………………….8062 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………8063 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม…………………………………………………………… 8164 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………8165 แสดงผลงานภาชนะใสผลไม…………………………………………………………….8266 แสดงการใชงานภาชนะใสผลไมบนโตะอาหาร…………………………………………8267 แสดงผลงานครบชุดจํานวน 10 ชิ้น ……………………………………………………...8368 แสดงผลงานครบชุดจํานวน 10 ชิ้น …………………………………………………….. 83