อ.อรจนา จันทรประยูร - onjana sanchai chantraprayoon · 2012. 8....

47
อ.อรจนา จันทรประยูร 1 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จันทรประยูร

Upload: others

Post on 25-Jan-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • อ.อรจนา จันทรประยูร

    1 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • The Shrinking Globe

    2 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Transportation Products การขนส่งเป็นการเคลื่อนย้าย (movement) ผลิตผลและผู้โดยสาร

    การขนส่งเป็นการบริการ (service) และท าให้สินค้ามีค่า (utility)

    3 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • การขนสง่ผู้โดยสาร : Passengers ผู้โดยสารเดินทางด้วยวัตถุประสงค์แตกต่างกันไป

    ผู้เดินทางต้องการบริการที่สะดวกสบายและเชื่อถือได ้

    บริการที่ตรงต่อเวลาทั้งที่ต้นทางและปลายทางมีความส าคัญต่อการเดินทางเป็นอย่างมาก

    ผู้โดยสารโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวมีความอ่อนไหวต่อราคาค่าโดยสาร ซึ่งในบางครั้งไม่ต้องการความสะดวกสบายมากนัก

    4 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • การขนสง่นักท่องเที่ยว ต้องเป็นกิจกรรมที่ต้องมีการเคลื่อนย้ายบุคคลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่

    หนึ่ง

    เป็นการเคลื่อนย้ายที่ต้องกระท าด้วยอุปกรณ์การขนส่ง ก็คือยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง

    เป็นการเคลื่อนย้ายที่ต้องเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลผู้ที่ต้องการขนส่ง

    5 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • รูปแบบการขนส่ง รถยนต์

    รถไฟ

    เรือ

    เครื่องบิน

    6 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • การเดินทาง การเดินทางอาจใช้พาหนะของตนเอง บริการสาธารณะหรือบริการรถเช่า

    บริการระยะสั้น เช่น การเดินทางด้วยรถประจ าทางในเมือง ผู้โดยสารไม่คาดหวังเรื่องความสบายมากนักแต่ต้องการความถี่บริการ (service frequency) เพื่อจะได้ไม่ต้องรอนาน

    ขณะที่ผู้เดินทางไกลต้องการบริการที่สะดวกสบาย ปลอดภัยและตรงต่อเวลา

    7 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • การเดินทาง บริการขนส่งแต่ละรูปแบบการขนส่งมีความแตกต่างกัน การเลือก

    รูปแบบการขนส่งเพื่อเดินทางขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น

    อัตราค่าโดยสาร

    ความรีบด่วน

    ความสบาย

    ความปลอดภัย

    การบริการ

    8 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • หลักการการขนสง่ : Transportation Principles ขนาดการผลิตที่ประหยัดในอุตสาหกรรมขนส่งเกิดจาก 2 ปัจจัย

    ขนาดของยานพาหนะที่ใช้ เช่น เครื่องบินขนาดใหญ่ต้นทุนต่อที่นั่งผู้โดยสารก็จะต่ ากว่าเครื่องบินขนาดเล็ก หากมีการบรรทุกเต็มทุกที่นั่ง

    จ านวนยานพาหนะ (fleet size) บริษัทที่มีจ านวนยานพาหนะที่มากจะมีต้นทุนต่อหน่วยต่ ากว่าบริษัทที่มีจ านวนยานพาหนะจ านวนน้อย ความได้เปรียบเกิดจากการกระจายต้นทุนบริการ (administrative costs) ได้แก่ ต้นทุนระบบสารสนเทศ ต้นทุนการบ ารุงรักษา ต้นทุนการจัดซื้อ ต้นทุนส่ิงอ านวนความสะดวก (facilities) เช่น สถานีขนส่ง (terminal)

    9 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • 11 นวัตกรรมส าหรับสายการบินในปี 2011 Air New Zealand เปิดตวัที่นัง่ในชั้นประหยัด 3 ประเภท ไดแ้ก ่

    1.1. Regular Economy ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้โดยสารสามารถจองท่ีนัง่ข้างๆ ไดใ้นนาทีสุดท้าย

    1.2. Skycoach ซึ่งประกอบด้วยทีน่ั่งในชั้นประหยัด 3 ทีใ่นแนวขวาง และสามารถยกที่วางขาเพื่อประกอบเปน็ที่นอนติดกับท่ีนัง่แถวข้างหน้าได ้

    1.3. Spaceseat ซึ่งแบง่ออกเปน็ 2 ลักษณะคือ - Outer Space ซึ่งอยู่ริมหน้าต่าง ส าหรับผู้โดยสารทีเ่ดินทางคนเดียว และตอ้งการความเป็นส่วนตัว - Inner Space ส าหรับผู้โดยสารทีส่ามารถหันหน้าเพื่อนัง่หรอืรับประทานอาหารร่วมกนั

    10 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • 11 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • All Nippon Airways เสนอ Theme การบรกิารใหม่ “Inspiration of Japan” ส าหรับเที่ยวบินระยะไกลด้วยห้องพกัส่วนตวั เตียงนอน จอ LCD ขนาด 23 นิ้วระบบสมัผัส และตู้เสือ้ผา้ส่วนตัว

    12 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Lufthansa เป็นสายการบินแรกในยุโรปที่ประกาศความร่วมมือ ทางธุรกิจร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์แบบ foursquare โดยให้คะแนนพิเศษแก่คนที่มา check-in ในสถานที่ของ Lufthansa ช่วงเทศกาล Oktoberfest และบัตรก านัลมูลค่า 20 ยูโร และ Lufthansa’s My Sky Status ที่เปิดโอกาสให้นักเดินทางสามารถ update สถานที่ระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีบริการ Flynet หรือ บริการอินเตอร์เน็ตระหว่างเที่ยวบิน

    13 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Delta ได้ปรบัที่นัง่ในช้ันธุรกจิในเทีย่วบินระยะไกลเปน็ แบบทีน่อน (Full-flat Seats) นอกจากนี้ ยังมีการเพิ่มบริการแบบ Premium economy ที่เพิ่มพื้นที่ส าหรับวางเทา้ และการใหบ้รกิาร in-flight Wi-Fi ตั้งแตเ่ดอืนพฤศจกิายน 2010 ทีผ่่านมา

    14 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Finnair เพิ่มที่น่ังแบบปรับนอนได้ (Full-flat Bed) ในชั้นธุรกิจ และบรกิารสปา และซาวน่าในหอ้งรับรองของสายการบนิ

    15 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Southwest ยังคงเดนิหนา้นโยบายที่จะไม่คิดค่าบรกิารเพิ่ม เตมิจากผู้โดยสารเช่นเดียวกนักับสายการบินหลกัอืน่ๆ ของอเมรกิา เช่น โครงการ “free bags fly here” การให้บริการเครื่องดื่มพิเศษในโอกาสต่างๆ เช่น เครื่องดื่มส าหรับคณุแมใ่นวันแม่

    16 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • KLM เปดิตัวโครงการ “Upcycling” ที่น ายูนิฟอรม์ของพนักงานกว่า 11,000 ชดุ มาดัดแปลงส าหรับใช้งานอืน่ หรือตัดเป็นชิ้นเล็กๆ เพือ่น ามาท าผลติภัณฑใ์หม ่

    17 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Virgin America เปิดตัวระบบ “Red” ที่ผู้โดยสารสามารถใช้ระบบ เพื่อเข้าถึงความบันเทงิทั้งหลายบนเที่ยวบิน เช่น ดูโทรทัศน์ chat กับผู้โดยสารคนอื่นๆ เล่นเกมส์ 3D และสามารถสัง่อาหาร และเครื่องดื่มท่ีตนเองต้องการ นอกจากนี้ Virgin America พยายามใหบ้ริการอาหารตามฤดกูาลในทอ้งถิน่ที่ปลูกพืชแบบออรแ์กนิกส์ จากแคลิฟอร์เนีย และซานฟรานซสิโก ซึง่เป็นฐานการบนิของตนเอง

    18 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Cathay Pacific มีโครงการส าหรบัการขยายที่น่ังแบบ “Bed Extension” ในชั้นธุรกิจ และ Premium Economy ในปี 2012 นอกจากนี้ยังมแีผนท่ีจะให้บริการ อาหารปรุงใหม่บนเที่ยวบิน เช่น ข้าวที่หุงใหม่ ขนมปัง และกาแฟทีป่รุงเสร็จใหม ่

    19 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Emirates ให้บริการที่สามารถเข้าถึงวัฒนธรรมของผู้โดยสาร มากขึ้น เช่น ในเดือนรอมฎอน ผู้โดยสารที่รอขึ้นเครื่องในเวลาใกล้พระอาทิตย์ตกดินจะได้รับกล่องอาหารที่ เรียกว่า “Iftar” นอกจากนี้พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินยังสามารถเข้าถึงข้อมูลของผู้โดยสารได้ แบบ Realtime จากฐานข้อมูลของสายการบิน เช่น ความชื่นชอบส่วนตัว และสามารถ upgrade ผู้โดยสารที่ต้องการย้ายที่นั่งได้ในนาทีสุดท้ายพร้อมระบบการช าระเงินด้วย ไมล์สะสม

    20 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • Asiana เปิดตัวพอ่ครัวบนเที่ยวบิน เช่น พ่อครัวซูชิบนเที่ยวบินไปยังลอสแองเจลีส ตัง้แต่เดอืน พฤศจกิายน 2010 เช่นเดียวกบัการให้บรกิารทีน่ั่งแบบ Full-flat Seats ในที่นัง่ชั้นประหยัด

    21 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • เทคโนโลยีสารสนเทศกับการด าเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ธุรกิจสายการบิน ธุรกิจสายการบินยังขยายการใช้เว็บไซต์ในการเข้าถึงลูกค้าโดยตรงผ่านทางเว็บไซต์ของ

    ตนเอง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทส าคัญในการท าให้กระบวนการจัดจ าหน่ายทุกขั้นตอน ตั้งแต่

    การแสดงค่าโดยสารไปจนถึงการช าระเงินและการออกบัตรโดยสารเป็นระบบอัตโนมัติ สายการบินยังใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการช่วยบริหารจัดการการปฏิบัติงาน

    ประจ าวันที่ซับซ้อน ในการวิเคราะห์รายได้ ราคา รูปแบบการขายที่ผ่านมา และอัตราค่าบริการ เพื่อที่จะตั้งราคาค่าโดยสารที่ท าให้สายการบินได้รายได้มากที่สุด รวมทั้งยังช่วยในการบริหารจัดการตารางการบิน ตารางการท างานของลูกเรือ การปฏิบัติงานต่างๆ ในสนามบิน ทั้งการเรียกดูข้อมูลการเช็คอิน ระบบการจัดการที่นั่ง การขึ้นเครื่องบิน กระเป๋าสัมภาระ ฯลฯ

    22 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • โดยปกติการพัฒนาระบบต่างๆ นั้นมีราคาแพง แต่อย่างไรก็ตาม ระบบเหล่านี้สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการท างานและลดต้นทุนได้ โดยการโอนย้ายงานเอกสารต่างๆ ไปให้ลูกค้าเป็นผู้ด าเนินการ

    การจัดจ าหน่ายบัตรโดยสารผ่านทางเว็บไซต์จะมีการมอบหมายให้ลูกค้าเข้าถึง ข้อมูลผู้โดยสารด้วยตนเอง เพื่อเป็นการลดงานที่ใช้แรงงานคนและงานเอกสารทั่วไปแก่สายการบิน

    ในลักษณะเดียวกันกับการพัฒนาการออกบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ ช่วยอ านวย ความสะดวกในการเช็คอิน ทางสายการบินจะให้ลูกค้าพิมพ์ตั๋วโดยสารในรูปแบบกระดาษออกมาเอง เพ่ือช่วยในการลดต้นทุน

    23 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • ในปัจจุบันการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนมีมากขึ้นเรื่อยๆ สายการบินจึงมีการใช้ระบบออกบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางโทรศัพท์ โดยไม่มีการใช้บัตรโดยสารแบบกระดาษ

    บัตรโดยสารจะถูกส่งไปทางอีเมล์หรือข้อความทางโทรศัพท์ ซึ่งลูกค้าจะใช้โทรศัพท์มือถือเป็นบัตรผ่านขึ้นเครื่องบิน (Boarding pass) แทนกระดาษ เทคโนโลยีนี้ถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติทั่วไปมากกว่าเป็นข้อยกเว้น เนื่องจากท าให้สายการบินมีประสิทธิภาพในการท างานมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายด้านงานเอกสารอีกด้วย

    24 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • รถไฟและรถโดยสารประจ าทาง โดยระบบจะช่วยในการเพิ่มยอดขายและอ านวยความสะดวกต่างๆ ให้แก่ลูกค้า

    การแปรรูปบริษัทให้บริการระบบขนส่งประเภทนี้ให้เป็นบริษัทมหาชนนั้น ท าให้มีการแข่งขันสูง ผู้ประกอบการจึงหันมาสนใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการท างานมากขึ้น โดยในปัจจุบันผู้ประกอบการรถไฟและรถโดยสารต่างๆ ได้ทดลองใช้ระบบการให้บริการผ่านโทรศัพท์มือถือ ทั้งการจองที่นั่งและการออกบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งช่วยเพิ่มความสามารถในการให้บริการและเพิ่มยอดขายได้อย่างมาก

    25 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • เนื่องจากความนิยมใน ‘แอพพลิเคชั่น’ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในธุรกิจนี้ ดังนั้นเพื่อเป็นการตอบสนองความนิยมในการใช้โทรศัพท์มือถือ iPhone ผู้ประกอบการธุรกิจรถไฟและรถโดยสารจ านวนมากจึงหันมาให้ความสนใจในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นต่างๆ เพื่อช่วยอ านวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าในการหาข้อมูลและท าการจองตั๋วโดยสาร ทั้งในโทรศัพท์มือถือ iPhone, Blackberry และ Android ซึ่งต่างจากเว็บไซต์ทั่วไปตรงที่แอพพลิเคชั่นเหล่านี้จะเน้นให้บริการเฉพาะ เท่านั้น จึงท าให้เกิดผลดีต่อลูกค้า เนื่องจากผู้ใช้แอพพลิเคชั่นเหล่านี้จะถูกหันเหความสนใจโดยโฆษณาต่างๆ ในเว็บไซต์น้อยลง

    26 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • ผู้ให้บริการรถเช่า ผู้ประกอบการให้บริการรถเช่าก็มีการพัฒนาเว็บไซต์ของตนเพื่อติดต่อกับลูกค้า

    โดยตรงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเห็นได้จากบริษัทให้บริการรถเช่าทั่วโลกรายใหญ่ที่สามารถเพิ่มภาพลักษณ์ ที่แข็งแกร่งของบริษัทตนเองได้ โดยการติดต่อกับลูกค้าโดยตรง

    เนื่องจากสินค้าในธุรกิจประเภทนี้ในแต่ละบริษัทแทบจะไม่มีข้อแตกต่างกัน ลูกค้าจึงสามารถเปลี่ยนบริษัทได้ค่อนข้างง่าย อีกทั้งระบบการจัดจ าหน่ายผ่านทางเว็บไซต์ ท าให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง เมื่อบริษัทให้บริการรถเช่าบริษัทหนึ่งเสนอสินค้าบริการและรถรุ่นเดียวกัน ให้แก่ลูกค้าเช่นเดียวกับคู่แข่ง ท าให้บริษัทนี้ต้องรีบหาวิธีที่จะท าให้รถของตนแตกต่างจากบริษัทอื่น เพื่อหลีกเลี่ยงการเป็นแค่รถเช่าธรรมดา

    27 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • ความประหยัดจากระยะทาง : Economic of Distance การขนส่งทางไกลและขนส่งปริมาณมาก เช่น การขนส่งโดยเรือ

    จะมีความได้เปรียบทางด้านต้นทุนขนส่งต่อหน่วยมากที่สุด

    การขนส่งทางรถไฟจะมีต้นทุนต่อหน่วยต่ ากว่าหากระยะทางขนส่งมากกว่า 800 กิโลเมตร

    ต้นทุนผันแปรจะเพิ่มสูงตามระยะทาง เช่น ค่าเชื้อเพลิง

    ต้นทุนคงท่ี เช่น ต้นทุนบริหาร ค่าจ้างพนักงานควบคุมยานพาหนะ

    28 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • ความพึงพอใจของลกูค้า : Customer Satisfaction ต้องเข้าใจว่า.....

    ผู้โดยสารมีชีวิตจิตใจ มีความรู้ต่อสภาพแวดล้อมการขนส่ง

    ผู้โดยสารรับรู้ทุกขั้นการขนส่ง ตั้งแต่จองตั๋ว ซื้อตั๋ว กระบวนการผ่านตั๋ว (Check-in) สภาพยานพาหนะ อุปกรณ์ยานพาหนะ บริการบนยานพาหนะ อัธยาศัยของพนักงานประจ ายานพาหนะ

    29 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • อนาคตของการท่องเที่ยว สังคมมีคนสูงอายุมากขึ้น

    ความเป็นปัจเจกบุคคล (individualism) มีมากขึ้น – ความต้องการเดินทางแบบส่วนตัวมีมากขึ้น ในขณะที่การเดินทางแบบ package tours จะมีความนิยมน้อยลง

    โครงสร้างทางครอบครัวแบบใหม่ – มีคนโสดมากขึ้น ครอบครัวมีบุตรน้อยลง

    ความระมัดระวังด้านสุขภาพมีสูงขึ้น

    30 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • เวลาหยุดพักผ่อนลดลง – คนในยุโรปตะวันตกต้องท างานยาวขึ้น การขยายอายุการเกษียณจาก 60 ปี เป็น 65-67 ปี ท าให้การเดินทางท่องเที่ยวของผู้สูงอายุมีอัตรการเติบโตน้อยลง การเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย – เทคโนโลยีการสื่อสาร การคมนาคม – การเชื่อมโยงเส้นทางระยะไกลมีมากขึ้น เร็วขึ้น

    ถูกลง มีบริการด้านการค้นหาข้อมูลและแผนที่ใหม่ๆ เช่น Geo-tagging,

    Google Earth และแผนที่แบบ GPS 31 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • บริการติดตามนักท่องเที่ยว (Tracking) ท าให้สามารถทราบว่านักท่องเที่ยวอยู่ที่ใด ท าให้ชี้จุดที่นักท่องเที่ยวเดินทางไปถึงได้ วิศวกรรมขั้นสูง – การเปิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ๆ เช่น โรงแรมใต้น้ า

    และการเดินทางท่องเที่ยวอวกาศ แรงกดดันทางการแข่งขันที่มีมากขึ้น นักท่องเที่ยวคาดหวังว่าจะได้

    มากขึ้นในขณะที่จ่ายน้อยลง เอเชียมาแรง – ความมั่งคั่งและอ านาจจะย้ายมาอยู่ทางซีกโลก

    ตะวันออก 32 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • การจราจรติดขัดจะทวีความรุนแรงขึ้น ผลกระทบจะมีมากยิ่งขึ้นและท าให้การเดินทางทรมานมากขึ้น ชั้นโอโซนเป็นรู แสงอาทิตย์จะอันตรายขึ้น ความไม่แน่นอนทางการเมืองจะเพิ่มมากขึ้นและมีผลกระทบต่อการ

    เดินทางท่องเที่ยว อัตราการก่อการร้ายจะสูงขึ้น การเปิดประเทศของจีน ท าให้เกิดการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวยอด

    นิยมของโลก

    33 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • การท่องเท่ียวในปี 2020 คาดว่าจะไม่มีการแบ่งกลุ่ม (segments) การท่องเที่ยวเพื่อการ

    พักผ่อนอย่างชัดเจน เนื่องจากการเดินทางท่องเที่ยวจะถูกน าไปผูกรวมไว้กับกิจกรรมอื่นๆ

    การจัดการแพ็กเกจแบบลูกผสมจะมีการเติมโตมากขึ้น เช่น โรงแรมที่รวมคลินิกแพทย์ สถานศึกษา และพิพิธภัณฑ์ไว้ในตัว ตึกที่มีรีสอร์ทเกี่ยวกับ wellness ภายใน

    34 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • จะไม่มีแหล่งท่องเที่ยวที่ไม่เป็นที่รู้จักอีกต่อไป เนื่องจากได้มีการเดินทางส ารวจกันทั่วโลกแล้ว นักท่องเที่ยวชาวยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่แทนที่จะมองหาแหล่งท่องเที่ยวที่แปลก เร้าใจ นักท่องเที่ยวต้องการสถานที่ที่เงียบสงบและประสบการณ์ด้านจิตวิญญาณมากขึ้น เนื่องจากเหน็ดเหนื่อยกับชีวิตในสังคม

    35 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • อนาคตการท่องเที่ยว ความจริงเสมือน (Virtual Reality)

    36 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • มีการน าเทคโนโลยีความจริงเสมือน (Virtual Reality หรือ VR) มาใช้ในด้านการท่องเที่ยวมากมาย เนื่องจากเทคโนโลยี VR ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในอนาคตการใช้ VR หรือแอพพลิเคชัน จึงจะมีเพิ่มขึ้นอีกมาก

    การใช้ VR เพื่อสร้างการท่องเที่ยวเสมือนจริงทดแทนการท่องเที่ยวสถานที่ที่ถูกคุกคาม สามารถช่วยอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ได้

    37 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • 38 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • 39 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • 40 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • ตอบสนอง : การเข้าถึงของแหล่งท่องเที่ยว ด้วยเหตุผลว่าสถานที่ท่องเที่ยวดังกล่าวนั้น ไกลเกินไป ค่าใช้จ่ายแพง

    เกินไป ไม่เปิดรับการท่องเที่ยว อันตรายเกินไป สถานที่ท่องเที่ยวนั้นเปราะบางเกินไป หรือสถานท่ีที่ไม่มีอยู่อีกต่อไปแล้ว ตัวอย่างเช่น ถ้ าที่เมืองตุนหวง ในประเทศจีนซึ่งไม่เปิดให้นักท่องเที่ยว

    เข้าชมแล้วเนื่องจากพบว่าการเข้าชม ของนักท่องเที่ยวรวมถึงปัจจัยอื่น ๆ ท าลายหลายส่วนของถ้ า จึงได้เปิดส่วนจัดแสดงด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนขึ้นที่ชื่อ CAVE ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกทิศทางซึ่งจ าลองถ้ าสองถ้ าขึ้นมาเพื่อฉายแสงดูภาพเขียน ผนังและมีเสียงบรรยายให้ข้อมูลไปพร้อม ๆ กัน

    41 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • นอกจากนี้ความสามารถของความจริงเสมือนยังเอื้อประโยชน์ให้ทุกคนรวมถึงคนพิการ ซึ่งเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวซึ่งมักถูกมองข้าม นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มักเจออุปสรรคหลากหลายเช่น สถาปัตยกรรมที่ไม่เอื้อต่อความสะดวกในการเข้าถึง ความยากล าบากในการเดินทาง และทัศนคติที่ไม่ดี

    42 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • ตอบสนอง : การอนุรักษ ์ รายชื่อสถานที่และวัตถุโบราณที่สามารถเข้าถึงได้ผ่านความเสมือนจริงมี

    มากขึ้น เรื่อย ๆ มีสถานที่และวัตถุจ านวนมากถูกท าเป็นโมเดลเสมือนจริงสามมิติ แม้จะยังไม่ได้น าออกสู่สาธารณะ

    ตัวอย่าง เช่น รูปปั้นเดวิดและรูปปั้นปีเอตาของไมเคิลอันเจโล รูปปั้นกว่า 150 รูป จากวิหารพาเชนอน พระพุทธรูปสลักขนาดใหญ่จากอัฟกานิสถาน ส่วนต่าง ๆ ของนครวัดในกัมพูชา ตุ๊กตาดินเผารูปนักรบจากเมืองจีน ปราสาทต่าง ๆ ทางเหนือของอิตาลี ภาพเขียนสีจาก House of the Vettil ในปอมเปอี มัสยิดฮาเกียโซเฟีย ในอินตันบูล พีระมิดฮาวาระในอียิปต์ เป็นต้น

    43 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • ใช้ความจริงเสมือนเป็นการท่องเที่ยวทดแทน ผลส ารวจออกมาว่านักท่องเที่ยวยังปฏิเสธการใช้ความจริงเสมือนเป็นการ

    ท่องเที่ยวทดแทน ด้วยเหตุผลว่าขาดความเป็นธรรมชาติ ขาดโอกาสในการพักผ่อน และไม่ได้ซื้อของฝาก

    ยิ่งไปกว่านั้นการใช้ความจริงเสมือนเป็นการท่องเที่ยวทดแทนนั้นอาจให้ผลตรงกันข้ามคือยิ่งกระตุ้นให้คนไปเที่ยวยังสถานที่จริงมากขึ้น

    ข้อดีของการใช้ความจริงเสมือนเป็นการท่องเที่ยวทดแทนได้แก่ ค่าใช้จ่ายต่ ากว่า ไม่ต้อรอคิว ไม่มีความยุ่งยากเรื่องการเดินทาง ปลอดภัยกว่า ไม่มีปัญหาเรื่องภาษา ไม่มีเรื่องเอกสารวีซ่า ไม่ต้องกังวลเรื่องสภาพอากาศ และมีการรับประกันประสบการณ์ภาพรวม

    44 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • การประหยัดพลังงานขนสง่ การขนส่งนอกจากการก าหนดความเร็วแล้ว มีการอบรมให้พนักงานขับรถ

    ค านึงถึงการประหยัดพลังงาน กฎจราจร เส้นทางในการขนส่ง รายละเอียดการประกันภัย การบ ารุงรักษาสภาพรถให้ดีตามก าหนดเวลา

    ปัจจุบันมีการใช้กล่องด าหรือวิธีอื่น ๆ มาใช้ตรวจสอบการท างานของรถแต่ละคัน และตรวจสอบวิเคราะห์การสิ้นเปลืองของการใช้น้ ามันเชื้อเพลิง

    ในต่างประเทศที่เจริญมากมีการใช้ระบบดาวเทียมติดตามการเดินทางของรถแต่ละคัน ซึ่งท าให้สามารถสื่อสารกับพนักงานขับรถได้ตลอดเวลา

    45 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • อนาคตการขนส่งกับ AEC ไทยจะเติบโตทางเศรษฐกิจได้จ าเป็นจะต้องสร้างจุดขาย โดยท าให้ไทยเป็น

    ศูนย์กลาง (HUB) ซึ่งจะต้องร่วมมือกันในส่วนภูมิภาคหรือส่วนท้องถิ่น เพื่อดึงมาเปิดตัวจุดขายร่วมกัน ทั้งนี้การผลักดันให้เชียงรายเป็นจังหวัดต้นแบบการท่องเที่ยวรบั AEC เพราะเชียงรายมีจุดเชื่อมโยงกับสิบสองปันนา ฝั่งโขง พม่า ดังนัน้ต้องผลักดันสายการบินต่างประเทศให้บินตรงมาเชียงรายให้มากขึ้น อาทิ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย

    46 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร

  • กลุ่มที่จะได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่และมีโอกาสขยายตัวมาก ได้แก ่ธุรกิจในภาคการขนส่งและบริการ ซึ่งเห็นได้จากตัวเลขการเติบโตของสายการบินโลว์คอสต์ที่สูงขึ้นถึง 51% จากระดับ 3%

    47 เรียบเรียงโดย อ.อรจนา จนัทรประยูร