มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599...

6
1 SAFET Y LIFE นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) หมายถึง การประยุกตใชความรูทางวิทยาศาสตร ในการจัดการและควบคุมสสารระดับนาโนสเกล เพื่อใชประโยชนจากสมบัติหรือปรากฏการณทีขึ้นกับขนาดหรือโครงสรางของสสาร โดยสมบัติ หรือปรากฏการณดังกลาวแตกตางที่พบในอะตอม หรือโมเลกุล หรือวัสดุขนาดใหญ ซึ่งการจัดการ และควบคุมสารนั้นรวมถึงการสังเคราะหวัสดุดวย ทั้งนี้ นาโนสเกล (Nanoscale) ที่กลาวถึง คือมิติของวัสดุในชวง 1 -100 นาโนเมตร โดย ประมาณ (1 นาโนเมตร = 1/1,000,000,000 เมตร หรือมีขนาดเล็กกวาเสนผมมนุษยแปด หมื่นถึงหนึ่งแสนเทา) โดยวัสดุนาโนที่นํามาใชในกระบวนการ นาโนเทคโนโลยีเปนวัสดุที่อยูนาโนสเกลซึ่งมี อยูดวยกัน 2 กลุม ไดแก 1. วัสดุนาโนจากธรรมชาติ และ 2. วัสดุนาโนจากการผลิต วัสดุนาโนจากธรรมชาติเปนวัสดุนาโน ที่เกิดขึ้นจากระบวนธรรมชาติ กระบวนการให ความรอนและกระบวนการอื่นๆ ซึ่งกอใหเกิด วัสดุนาโนได วัสดุนาโนจากการผลิตเปนวัสดุนาโนที่ผลิต ขึ้นสําหรับใชในวัตถุประสงคทางการคาเพื่อให มีสมบัติและองคประกอบที่จําเพาะ แบงออก เปน 2 กลุมยอยไดแก วัตถุนาโน (Nano-object) คือวัสดุที่มี มิติภายนอก 1 มิติ 2 มิติ หรือ3 มิติอยูในระดับ นาโนสเกล วัสดุโครงสรางนาโน (Nanostructured Material) คือวัสดุที่มีโครงสรางภายในอยูใน ระดับนาโนสเกล หรือมีโครงสรางพื้นผิวอยูใน ระดับนาโนสเกล ตัวอยางวัสดุโครงสรางนาโน เชน นาโนคอมโพสิต (Nano-composite) ซึ่ง เปนวัสดุที่มีวัตถุนาโนฝงอยูในเมทริกซที่เปน ของแข็ง หรือเปนวัตถุนาโนที่ยึดเกาะกันดวย การขจัดเรียงตัวแบบสุมงายๆ ในรูปของอนุภาค กอนเกาะแนนและอนุภาคกอนเกาะหลวม หรือ จัดเรียงตัวอยางเปนระเบียบในรูปแบบของผลึก เชน กลุมผลึกของฟูเลอรีนส หรือกลุมของ CNT นอกจากนี้ยังจัดจําแนกวัสดุนาโนออก เปนกลุมไดจากการพิจารณาจํานวนมิติและ องคประกอบพื้นฐานทางเคมีตามกระบวนการ ผลิตวัสดุนาโน การกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโน ลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ โดยทั่วไป ตองระบุถึงชื่อทางการคา ระดับคุณภาพของ ผลิตภัณฑ ขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ขอมูลความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑ วันที่ผลิต คําเตือน หนังสือรับรอง และขอความโฆษณา ลักษณะจําเพาะของผลิตภัณฑสําหรับผู ทํา ผูจัดจําหนาย หรือผูสงมอบ แสดงใหเห็นถึง ขีดความสามารถของกระบวนการผลิตสินคา และเปนการสรางความแตกตางของผลิตภัณฑ ที่มีระดับคุณภาพแตกตางกัน ลักษณะจําเพาะของผลิตภัณฑสําหรับผูใช หรือผูรับมอบ แสดงใหเห็นถึงความแตกตางของ ผูจัดจําหนายแตละราย หรือผลิตภัณฑแตละ รายการ ลักษณะจําเพาะของผลิตภัณฑสําหรับผูทํา ผูจัดจําหนาย และผูใช เปนตัวชี้วัดระดับองคกรใน ดานที่เกี่ยวกับระบบคุณภาพเพื่อใหแนใจวามีการ ผลิตสอดคลองกับคุณภาพของผลิตภัณฑซึ่งเปน พื้นฐานที่สําคัญในการจัดกิจกรรมเชิงพาณิชย เชน การแกปญหาขอรองเรียน การเรียกคืน ผลิตภัณฑ การรับประกันคุณภาพผลิตภัณฑ ทั้งนี้ พบวาวัสดุนาโนที่ผลิตขึ้นในแตละ รอบการผลิตมีความไมสม่ําเสมอเกิดขึ้นบอยครั้ง ซึ่งยอมสงผลตอความสม่ําเสมอของกระบวนการ ผลิตขั้นตอไปที่มีการนําวัสดุนาโนที่ผลิตขึ้นนั้นๆ ไปใชงาน และ/หรือมีผลตอความสม่ําเสมอของ ประสิทธิภาพการใชงานในผลิตภัณฑสุดทายทีไดจากการใชวัสดุนาโนที่ผลิตขึ้นนั้นๆ โดยความ ไมสม่ําเสมอดังกลาวเกิดขึ้นจากสาเหตุที่อธิบาย ไมไดอยางครบถวนทั้งในสวนของผูสงมอบและผู รับมอบ ดังนั้นสิ่งสําคัญที่นําไปสูการแกไขปญหา ในความไมสม่ําเสมอดังกลาวนี้ คือ การที่ทั้ง ผูสงมอบและผูรับมอบตองมีมาตรฐานเดียวกัน ในการพัฒนาขอกําหนดเฉพาะของวัสดุนาโน จากการผลิตที่เกิดจากการตกลงรวมกันและ ยอมรับกันไดทั้งสองฝาย โดยที่แนวทางในการ จัดเตรียมขอกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโน ที่ระบุในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้มี ความสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกัน กับขอปฏิบัติตามมาตรฐานอุตสาหกรรมของ กลุมผูทําและจัดจําหนายผลิตภัณฑตางๆ ซึ่ง แนวทางดังกลาวนี้นําไปใชในการจัดเตรียมขอ กําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโนสําหรับการ ใชงานในทุกรูปแบบโดยเฉพาะการระบุเอกลักษณ ของผลิตภัณฑ รูปรางและขนาด หรือการทีผลิตภัณฑนั้นมีขนาดในระดับนาโนสเกลหรือไม โดยแนวทางการกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุ นาโนเหลานี้ใชไดกับวัสดุนาโนที่มีการสงแบบ ในลักษณะที่เปนผงแหง หรือมีการสงมอบใน ลักษณะที่เปนสารแขวนลอย โดยมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ไดมีการจําแนกวัสดุ มาตรฐาน มอก. 2691 เลม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยสําหรับผูมีอาชีพเกี่ยวของกับนาโนเทคโนโลยี www.safetylifethailand.com

Upload: others

Post on 22-Sep-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

1SAFET Y LIFE

นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology)หมายถงึ การประยุกตใชความรูทางวิทยาศาสตรในการจดัการและควบคุมสสารระดับนาโนสเกลเพ่ือใชประโยชนจากสมบัติหรอืปรากฏการณที่ขึน้กับขนาดหรอืโครงสรางของสสาร โดยสมบัติหรอืปรากฏการณดังกลาวแตกตางทีพ่บในอะตอมหรอืโมเลกุล หรือวัสดุขนาดใหญ ซ่ึงการจัดการและควบคุมสารนัน้รวมถงึการสงัเคราะหวัสดุดวย

ทัง้นี ้นาโนสเกล (Nanoscale) ทีก่ลาวถงึคือมิติของวัสดุในชวง 1 -100 นาโนเมตร โดยประมาณ (1 นาโนเมตร = 1/1,000,000,000เมตร หรือมีขนาดเล็กกวาเสนผมมนุษยแปดหม่ืนถึงหนึ่งแสนเทา)

โดยวัสดุนาโนที่นํามาใชในกระบวนการนาโนเทคโนโลยีเปนวัสดุที่อยูนาโนสเกลซ่ึงมีอยูดวยกัน 2 กลุม ไดแก

1. วัสดุนาโนจากธรรมชาติ และ2. วัสดุนาโนจากการผลิตวัสดุนาโนจากธรรมชาติเปนวัสดุนาโน

ที่เกิดขึ้นจากระบวนธรรมชาติ กระบวนการใหความรอนและกระบวนการอื่นๆ ซ่ึงกอใหเกิดวัสดุนาโนได

วัสดุนาโนจากการผลติเปนวัสดุนาโนท่ีผลติขึ้นสําหรับใชในวัตถุประสงคทางการคาเพ่ือใหมีสมบัติและองคประกอบที่จําเพาะ แบงออกเปน 2 กลุมยอยไดแก

วัตถุนาโน (Nano-object) คือวัสดุทีมี่มิติภายนอก 1 มิติ 2 มิติ หรอื3 มิติอยูในระดับนาโนสเกล

วัสดุโครงสรางนาโน (NanostructuredMaterial) คือวัสดุที่มีโครงสรางภายในอยูในระดับนาโนสเกล หรือมีโครงสรางพ้ืนผิวอยูใน

ระดับนาโนสเกล ตัวอยางวัสดุโครงสรางนาโนเชน นาโนคอมโพสิต (Nano-composite) ซ่ึงเปนวัสดุที่มีวัตถุนาโนฝงอยูในเมทริกซที่เปนของแข็ง หรือเปนวัตถุนาโนที่ยึดเกาะกันดวยการขจดัเรยีงตัวแบบสุมงายๆ ในรปูของอนภุาคกอนเกาะแนนและอนภุาคกอนเกาะหลวม หรอืจดัเรยีงตัวอยางเปนระเบียบในรปูแบบของผลึกเชน กลุมผลึกของฟูเลอรีนส หรือกลุมของ CNT

นอกจากนี้ยังจัดจําแนกวัสดุนาโนออกเปนกลุมไดจากการพิจารณาจํานวนมิติและองคประกอบพ้ืนฐานทางเคมีตามกระบวนการผลิตวัสดุนาโน

การกําหนดลักษณะเฉพาะของวสัดนุาโนลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ โดยทั่วไป

ตองระบุถึงชื่อทางการคา ระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ ขอมูลเก่ียวกับผลิตภณัฑ ขอมูลความปลอดภัยของผลิตภัณฑ วันที่ผลิต คําเตือนหนังสือรับรอง และขอความโฆษณา

ลักษณะจําเพาะของผลิตภัณฑสําหรับผูทํา ผูจดัจําหนาย หรือผูสงมอบ แสดงใหเห็นถึงขีดความสามารถของกระบวนการผลิตสินคาและเปนการสรางความแตกตางของผลิตภัณฑที่มีระดับคุณภาพแตกตางกัน

ลักษณะจาํเพาะของผลิตภณัฑสาํหรบัผูใชหรอืผูรบัมอบ แสดงใหเหน็ถงึความแตกตางของผูจัดจําหนายแตละราย หรือผลิตภัณฑแตละรายการ

ลักษณะจาํเพาะของผลิตภณัฑสาํหรบัผูทาํผูจดัจาํหนาย และผูใช เปนตัวชีวั้ดระดับองคกรในดานทีเ่ก่ียวกับระบบคุณภาพเพ่ือใหแนใจวามีการผลิตสอดคลองกับคุณภาพของผลิตภณัฑซ่ึงเปนพ้ืนฐานที่สําคัญในการจัดกิจกรรมเชิงพาณิชย

เชน การแกปญหาขอรองเรียน การเรียกคืนผลิตภัณฑ การรับประกันคุณภาพผลิตภัณฑ

ทั้งนี้ พบวาวัสดุนาโนที่ผลิตขึ้นในแตละรอบการผลิตมีความไมสมํ่าเสมอเกิดขึน้บอยครัง้ซ่ึงยอมสงผลตอความสมํ่าเสมอของกระบวนการผลิตขัน้ตอไปทีมี่การนาํวัสดุนาโนทีผ่ลิตขึน้นัน้ๆไปใชงาน และ/หรอืมีผลตอความสมํ่าเสมอของประสทิธิภาพการใชงานในผลิตภัณฑสุดทายที่ไดจากการใชวัสดุนาโนทีผ่ลิตขึน้นัน้ๆ โดยความไมสมํ่าเสมอดังกลาวเกิดขึน้จากสาเหตุทีอ่ธบิายไมไดอยางครบถวนทัง้ในสวนของผูสงมอบและผูรบัมอบ ดังนัน้สิง่สาํคัญทีน่าํไปสูการแกไขปญหาในความไมสมํ่าเสมอดังกลาวนี้ คือ การที่ทั้งผูสงมอบและผูรบัมอบตองมีมาตรฐานเดียวกันในการพัฒนาขอกําหนดเฉพาะของวัสดุนาโนจากการผลิตที่เกิดจากการตกลงรวมกันและยอมรับกันไดทั้งสองฝาย โดยทีแ่นวทางในการจดัเตรยีมขอกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโนที่ระบุในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้มีความสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกันกับขอปฏิบัติตามมาตรฐานอุตสาหกรรมของกลุมผูทําและจัดจําหนายผลิตภัณฑตางๆ ซ่ึงแนวทางดังกลาวนี้นําไปใชในการจัดเตรียมขอกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโนสาํหรบัการใชงานในทุกรปูแบบโดยเฉพาะการระบุเอกลกัษณของผลิตภัณฑ รูปรางและขนาด หรือการที่ผลิตภณัฑนัน้มีขนาดในระดับนาโนสเกลหรอืไมโดยแนวทางการกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโนเหลานี้ใชไดกับวัสดุนาโนที่มีการสงแบบในลักษณะที่เปนผงแหง หรือมีการสงมอบในลักษณะที่ เปนสารแขวนลอย โดยมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนีไ้ดมีการจําแนกวัสดุ

มาตรฐาน มอก. 2691 เลม 7-2599วิธปีฏิบตัเิก่ียวกับสุขภาพและความปลอดภัยสําหรับผูมีอาชีพเก่ียวของกับนาโนเทคโนโลยี

www. s a f e t y l i f e tha i l and . c om

Page 2: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

2SAFET Y LIFE

นาโนออกเปนกลุมตางๆ โดยการพิจารณาจาํนวนมิติภายนอกของวัสดุนาโนทีมี่ขนาดระดับนาโนสเกล ดังนี้

(1) วัสดุนาโนที่ มีมิติภายนอกอยู ในระดับนาโนสเกลทั้ง 3 มิติ ไดแก อนุภาคนาโน

(2) วัสดุนาโนที่ มีมิติภายนอกอยู ในระดับนาโนสเกลจาํนวน 2 มิติ ไดแก เสนใยนาโน

(3) วัสดุนาโนที่ มีมิติภายนอกอยู ในระดับนาโนสเกลจาํนวน 1 มิติ ไดแก แผนนาโน

กระบวนการผลิตวัสดนุาโนวัสดุนาโนมีความหลากหลายและผลิต

ไดโดยวิธีการที่แตกตางกัน วิธกีารทัว่ไปที่ใชในการผลิตวัสดุนาโน ไดแก การผลิตละอองลอย(Aerosol Generation) การสะสมดวยไอ (VaporDeposition) การสังเคราะหในเฟสของเหลว(Liquid Phase Method) การพอลิเมอรดวยไฟฟาและการสะสมสารดวยไฟฟา (Electro-polymerization and Electrodeposition) การปนเสนใยดวยไฟฟา (Electro-spinning) และกระบวนการทางกล (Mechanical Process)

อันตรายจากวัสดุนาโน อันตรายของวัสดนุาโนตอสขุภาพโดยทั่วไป แนวโนมของความเสี่ยงตอ

สขุภาพของสารมีความเก่ียวของกับปรมิาณและระยะเวลาของการรบัสารนัน้ การคงอยูของสารในรางกาย ความเปนพิษของสาร ความไวตอการรับสัมผัสหรือสภาวะรางกายของผูที่ รับสัมผัส สําหรับผลกระทบตอสุขภาพของวัสดุนาโนนั้นยังไมเปนที่ทราบแนชัด เนื่องจากนาโนเทคโนโลยีเปนสาขาความรูใหม ทาํใหเกิดขอจํากัดในแงของความรูทีเ่ก่ียวของกับปจจัยที่จาํเปนสาํหรบัการประเมินความเสีย่งตอสขุภาพเชน ชองทางการรับสัมผัส การเคล่ือนที่ของวัสดุนาโนเม่ือเขาสูรางกาย และปฏิกิริยาของสารกับระบบชีววิทยาของรางกาย

ผลการศึกษาการรบัสมัผสัและตอบสนองตออนุภาคในระดับนาโนสเกล หรืออนุภาคที่หายใจเขาไปได รวมถึงขอมูลพิษวิทยาที่มีอยูเก่ียวกับสารทดลองขนาดใหญในหลอดทดลองในสัตวทดลองและในมนุษย เปนการประเมิน

ผลกระทบเบ้ืองตนที่อาจเกิดขึน้ตอสุขภาพจากการรับสัมผัสกับวัสดุที่มีลักษณะเหมือนกันในระดับนาโนสเกล อยางไรก็ตามสิง่ทีค่วรระลึกไวเสมอคือความไมแนนอนและความแปรปรวนอยางมีนยัสาํคัญในการคาดการณผลกระทบทีอ่าจเกิดกับมนุษยจากผลการศึกษาในสัตวทดลองมักเกิดขึน้ไดเสมอ

ในปจจุบัน วิธีการทดสอบโดยการเล้ียงเซลลนั้นนิยมใชกันมากเพ่ือใชอธิบายกลไกความเปนพิษ โดยทั่วไปแลวขอมูลที่ไดจากการทดสอบในหลอดทดลองนัน้ไมสามารถใชประเมินกับมนษุยโดยไมมีขอมูลเพ่ิมเติม เชน ขอมูลจากการทดสอบในสัตวทดลอง การศึกษาในสัตวทดลองไดเหน็การตอบสนองทางชวีวิทยา (ไมวาดานบวกหรือดานลบ) ตออนุภาคนาโนนั้นมีมากกวาการตอบสนองตออานภุาคทีมี่ขนาดใหญกวาที่มีองคประกอบทางเคมีคลายกันและมวลเทากัน นอกเหนอืจากจาํนวนอนภุาคและพ้ืนที่ผวิรวมแลวนัน้ ลักษณะเฉพาะอืน่ๆ ของอนุภาคอาจมีอทิธพิลตอการตอบสนองทางชวีวิทยาดวยอยางเชน ความสามารถในการละลาย รูปรางประจุและเคมีพ้ืนผิว สมบัติเปนตัวเรงปฏิกิริยาการดูดซับมลพิษ (เชน โลหะหนกั หรอื เอนโด-ทอกซิน) รวมไปถึงระดับการเกาะกอนแบบหลวมของอนภุาค

มักมีการเคลือบพ้ืนทีผ่วิของวัสดุนาโนหรอืเพ่ิมหมูฟงกชั่นเพ่ือปองกันการจับตัวเปนกอนใหไดสมบัติตามตองการ เชน ใชประโยชนทางเภสชักรรม รวมถงึการปนเปอนของพ้ืนผวิอนภุาคดวยสิง่เจอืปน สามารถนําไปสูการเปล่ียนแปลงการตอบสนองทางชีววิทยาได ยังมีงานวิจัยจาํนวนมากทีอ่ยูระหวางการศึกษาถงึผลกระทบจากสมบัติของอนภุาคตอสิง่มีชวิีตตางๆ และผลกระทบเชิงลบที่อาจมีขึ้น

อันตรายทางกายภาพของวัสดนุาโนทีท่าํใหเกิดอัคคภียั

แมวาขอมูลทีมี่อยูในขณะนียั้งไมเพียงพอสาํหรบัใชคาดการณโอกาสของความเสีย่งในการเกิดอัคคีภัยและการระเบิดจากวัตถุนาโนในรูปของผง วัสดุนาโนมีความเสีย่งสงูตอการติดไฟได

งายกวาวัสดุชนิดเดียวกันแตมีขนาดใหญกวาเนื่องจากเม่ือวัสดุมีขนาดเล็กลงทําใหพลังงานตํ่าสุดที่ใชในการจุดติดไฟลดลงและอัตราการเผาไหมสงูขึน้ นอกจากนียั้งทาํใหวัสดุทีไ่มติดไฟหรือวัสดุเฉ่ือยมีโอกาสติดไฟ

เม่ือวัสดุนาโยทีติ่ดไฟไดกระจายตัวอยูในอากาศจะทาํใหเกิดความเสีย่งสงูกวาการระเบิดของฝุน เม่ือเทยีบกับวัสดุชนดิเดียวกันแตมีขนาดใหญกวา ทั้งนี้ปจจัยสาํคัญที่ใชในการวิเคราะหลักษณะเฉพาะความปลอดภัยทีเ่ก่ียวของกับฝุนคือ พลังงานและอุณหภูมิตํ่าสุดที่ใชในการจุดติดไฟ

เนื่องจากวัสดุนาโนที่มีสมบัติเปนตัวเรงปฏิกิริยาสามารถชวยเพ่ิมอัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาเคมี หรือลดอุณหภูมิที่ใชในการเกิดปฏิกิรยิาใหตํ่าลง ทาํใหปฏิกิรยิาสามารถเกิดขึน้ไดในของเหลวหรอืแกส สงผลใหการระเบิดและการเกิดอัคคีภยัมีแนวโนมที่สูงขึน้ดวย โดยควรพิจารณาจากองคประกอบและโครงสรางของวัสดุนั้นดวย

วัสดุนาโนบางชนดิไดรบัการออกแบบใหสามารถสรางความรอนได โดยอาศัยการเกิดปฏิกิรยิาแบบกาวหนาในระดับนาโนสเกลซ่ึงเปนพ้ืนฐานความรูสาํหรบัการวิจยัทางดานพลังงานนาโน ทําใหวัสดุนาโนกลุมนี้ติดไฟไดเร็วกวาวัสดุทีมี่ขนาดใหญกวาไดหลายเทาตัว

ขอควรพจิารณาดานความปลอดภยัในการผลิตวัสดนุาโน

การผลิตวัสดุนาโนและวัสดุอื่นๆ ขึ้นมาใหมนั้นทําไดทั้งการผลิตระดับตนแบบซ่ึงเปนกิจกรรมในการวิจยัและพัฒนาไปจนถงึการผลิตในระดับอุตสาหกรรม ในปจจุบัน การผลิตวัสดุนาโนประกอบดวยกระบวนการทีใ่ชพลังงานสงูหลายชนิด เชน การแยกสลายดวยเปลวไฟ การแยกสลายดวยความรอนจากเลเซอร การทาํใหเปนไอดวยเลเซอร (Laser Vaporization) การสังเคราะหดวยพลาสมาความรอน (ThermalPlasma) ไมโครเวฟพลาสมา (MicrowavePlasma) กระบวนการสปตเตอรงิ (Sputtering)และการระเหดิดวยเลเซอร (Laser Ablation) ซ่ึง

Page 3: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

3SAFET Y LIFE

ตองมีประเด็นความปลอดภัยที่เฉพาะเจาะจงอันตรายที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยจากกระบวนการเหลานี้ประกอบดวย การทํางานกับถังทรงกระบอกทีอ่ัดความดันสูง เครือ่งมือที่ใชความดันตํ่า แกสพิษ และแกสเฉ่ือย วัสดุที่มีอณุหภมิูสงู การทาํงานกับไฟฟาแรงสงู เครือ่งมือที่ปลดปลอยรังสีแมเหล็กไฟฟา เลเซอร และแหลงกําเนดิแสงทีมี่ความเขมขนของแสงสงู เชนรังสีอัลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด และรังสีที่ตามองเหน็ การทาํงานในสภาวะทีเ่ปนอนัตรายเหลานี้ตองการการฝกปฏิบัติงานที่เหมาะสมและเปนไปตามแนวทางการทํางานที่ปลอดภัยในหองปฏิบัติการ

การประเมนิการรับสมัผัสกับวัสดนุาโน ชองทางการรับสมัผัสชองทางการรบัสมัผสักับวัสดุนาโนของผู

ปฏิบัติงานมี 3 ชองทางหลัก ไดแก ทางการหายใจทางปาก และทางผวิหนงั โดยมีรายละเอยีดดังนี้

การรับสัมผสัทางการหายใจการรบัสมัผสัทางการหายใจเปนเสนทาง

หลักทีวั่สดุนาโนเขาสูรางกาย เนือ่งจากอนุภาคสวนใหญในสถานทีป่ฏิบัติงานอยูในรปูแบบอสิระและลอยอยูในอากาศ อนภุาคนาโนทีเ่ขาสูรางกายผานทางการหายใจจะสะสมบรเิวณทางเดินหายใจซ่ึงขึ้นอยูกับขนาดของอนุภาค โดยทั่วไปแลวอนภุาคนาโนจะตกคางในทกุสวนของระบบทางเดินหายใจ โดยมีสดัสวนการสะสมในบรเิวณตางๆไดแก ชองจมูก (Nasopharyngeal) หลอดลม(Tracheobronchial) และถงุลม (Alveolar Region)ซ่ึงจากการใชแบบจาํลองทางคณติศาสตรในการคาดการณ (ตามคณะกรรมาธิการนานาชาติวาดวยการปองกันอันตรายจากรังสี (ICRP;International Commission on RadiologicalProtection) พบวา โอกาสทีอ่นภุาคขนาด 1 นาโนเมตร (nm) สะสมในชองจมูกมีมากถงึ 80% ในหลอดลม 20% และในถงุลมนอยกวา 1% สาํหรบัอนภุาคทีมี่ขนาด 20 นาโนเมตร พบวามีโอกาสสะสมในถุงลม 50% ในชองจมูกและหลอดลมในสัดสวนที่เทากันคือ 25%

การรับสัมผัสทางปากในสถานที่ปฏิบัติงาน วัสดุนาโนในรูป

อนภุาคสามารถเขาสูรางกายทางปากจากการกลนืเมือก (หรือน้ํามูก) ที่สะสมอยูในระบบหายใจจากการบรโิภคอาหารหรอืน้าํทีป่นเปอนอนภุาคนาโน หรือจากการไดรับเขาทางปากผานมือหรอืผวิหนงัทีป่นเปอน ทัง้นี ้การศึกษาเรือ่งการตกคางของอนภุาคนาโนในระบบทางเดินอาหารยังมีจํานวนนอยมาก

การรับสัมผัสทางผวิหนังในสถานที่ปฏิบัติงาน ผูปฏิบัติงานอาจ

เกิดการรบัสมัผสัวัสดุนาโนทางผวิหนงัในระหวางกระบวนการผลิตหรือใชงาน หรือโดยการรับสมัผสัพ้ืนผวิทีป่นเปอนวัสดุนาโน อยางไรก็ดี ในปจจบัุนยังเปนทีถ่กเถยีงวาอนภุาคนาโนสามารถทะลุผานเขาทางผวิหนงัปกติและทาํใหเกิดผลรายหรือไม และปริมาณเทาใดที่จะทําเกิดลักษณะนั้น งานวิจัยสวนใหญศึกษาการรับสัมผัสทางผิวหนังในสภาวะปกติกับวัสดุนาโนเฉพาะชนิดเชน TiO2 และ ZnO แตยังไมพบวามีการศึกษาถงึผลกระทบตอผิวหนังในรูปแบบอื่น เชน การทะลุผานผิวหนังที่ไดรับบาดเจ็บ รวมถึงการศึกษาถึงบทบาทของตัวทําละลายในการดูดซึมอนภุาคนาโนผานทางผวิหนงัในขณะทีป่ฏิบัติงานสวนการรบัสมัผสัผานทางการฉีดเขาสูสวนตางๆทีเ่กิดขึน้ในสถานปฏิบัติงาน สวนใหญเนือ่งจากอุบัติเหตุ

การประเมนิความเสีย่งดานอาชีวอนามยัสวนนี้กลาวถึงสถานะปจจุบัน เปนการ

ประเมินความเสีย่งในการผลิตและกระบวนการแปรรปูวัสดุนาโน ซ่ึงเนนเฉพาะปจจยัทีเ่ก่ียวของดานอาชวีอนามัน เชน โรงงานผลิต หองทดลองหรือหองปฏิบัติการ แตไมไดพิจารณารวมถึงความปลอดภยัของผูบรโิภคหรอืความปลอดภยัตอสิ่งแวดลอม

วัสดุนาโนที่มีลักษณะเปนอนุภาคอิสระที่เกาะเปนกลุม ลวนเก่ียวของกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย วัสดุที่ มีโครงสรางนาโนสเกล ชัน้นาโน หรอืของแขง็ทีมี่อนภุาคนาโนฝงตัวอยู เชน สารประกอบพอลิเมอร สารเคลือบหรือสารตกแตง กอใหเกิดการรับสัมผัสไดและมีผลกระทบเม่ือมีการรับสัมผัส จากการศึกษาภาคสนามพบวา กระบวนการแปรรูวัสดุดวยวิธกีารทาํลายของสารประกอบพอลิเมอรทีมี่วัสดุนาโนฝงอยูจะทําใหเกิดละอองลอยของเสนใยนาโนที่ เปนชนิดกอนเกาะแนน แตไมปลอยอนภุาคนาโนชนดิกอนเกาะหลวมซ่ึงละอองลอย

นี้อาจเปนสวนผสมของอนุภาคลอยของเสนใยนาโนที่เกิดขึ้นโดยไมต้ังใจและอนุภาคนาโนที่สรางขึ้น ดังนั้น จงึจําเปนตองวิเคราะหลักษณะสมบัติของละอองลอยอยางถกูตองและเหมาะสม

ในขณะทีอ่นัตรายทางกายภาพซ่ึงมาจากการแปรรปูดวยวิธเีฉพาะ เชน การใหความรอนสงู การใหแรงดันไฟฟาสงูใชในงานทีเ่ก่ียวของกับวัสดุนาโน เนือ้หาในสวนนีมุ้งเนนอนัตรายทีเ่กิดจากความเปนพิษมากกวาอันตรายจากอคัคีภยัและการระเบิด โดยทัว่ไปแลว หลีกเล่ียงผลกระทบแบบเฉียบพลันไดโดยใชหลักการพ้ืนฐานและขอกําหนดขั้นตนของอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในกรณีมขีอมลูพิษวิทยาของวัสดุนาโนนัน้อยางไรก็ตามความเสี่ยงตอสุขภาพเนื่องจากการรบัสมัผสัวัสดุนาโนในปรมิาณตํ่าแบบสะสมประเมนิไดยากและทาทายตอการกําหนดแนวทางการปฏิบัติ การประเมินความเสี่ยงดําเนินการโดยผูเชี่ยวชาญรวมกับผูมีอํานาจตัดสินใจในการจัดทําขอกําหนดในการจัดการความเสี่ยงและจําเปนตองใชขอมูลอยางละเอียดทั้งของผลิตภัณฑและกระบวนการแปรรูป

การประเมนิความเสีย่งสําหรับวสัดนุาโน(Risk Assessment for Nanomaterial)

การประเมินความเสีย่งเปนการวิเคราะหผลกระทบเชิงลบตอสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นทั้งในปจจบัุนอนัเกิดจากสารเคมีอนัตรายโดยปราศจากการกระทําใดๆ ที่จะควบคุมหรือลดการรับสัมผัสสารเคมีนั้น

การประเมินความเสี่ยงในการประกอบอาชพี ประกอบดวย การระบุความเปนอนัตราย

Page 4: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

4SAFET Y LIFE

การประเมินอนัตราย การประเมินการรบัและการจําแนกความเสี่ยง เปาหมายของการประเมินความเสี่ยง ตองประเมินวา ความเสีย่งทีมี่อยูในสภาพแวดลอมของสถานที่ทาํงานอยูเกินระดับการยอมรับ เพ่ือเปนขอมูลใหกับผู มีอํานาจตัดสินใจเพ่ิมความเขมงวดในการจัดการความเสี่ยงตอไป

กระบวนการประเมินความเส่ียง ประกอบดวย(1) ระบุชนิดสารที่ เปนอันตรายเม่ือ

ไดรับและมีความเสี่ยง(2) ประเมินการตอบสนองเม่ือไดรับ

สัมผัสอันตราย เปนการระบุผลกระทบเชิงลบตอสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากสารอันตรายในสถานที่ปฏิบัติงานที่ไดมีการระบุไว

(3) ประเมินการรับสัมผัสสารอันตรายเปนการประเมินวิธทีีบุ่คคลมีโอกาสรบัสมัผสักับสารอันตรายที่มีอยูในสถานที่ปฏิบัติงาน

(4) วิเคราะหความเสี่ยงรวมกับขอมูลที่ไดกลาวมาแลวจากขอ “วัตถนุาโนและการผลิต”จนถงึขอ “การประเมินการรบัสมัผสัวัสดุนาโน”ขางตนมาพิจารณารวมกันเพ่ือประเมินความเสีย่งในแตละสถานที่ปฏิบัติงาน

การประเมินความเสีย่งในสถานทีป่ฏิบัติงาน เริ่มจากการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการประเมินอนัตรายจากนัน้จงึใชกระบวนการตรรกะในการประเมินปรมิาณการรบัสมัผสัและการเขาถึงสารอันตราย ดังนั้น การประเมินความเสี่ยงจึงเปนการสังเคราะหขอมูลของอันตรายและการรับสัมผัส

วิธกีารประเมินความเสีย่งของวัสดุนาโนใหเปนไปตาม มอก.2691 เลม 6

การประเมนิความเสีย่งเชิงปริมาณการประเมินความเสีย่งเชงิปรมิาณขึน้อยู

กับขอมูลการรับสัมผัสเชิงปริมาณซ่ึงแสดงถึงโอกาสและระดับการรบัสมัผัส และขดีจาํกัดของปรมิาณการรบัสมัผสั ขดีจาํกัดของการรบัสมัผสัพัฒนามาจากความสมัพันธระหวางปรมิาณการ

รับสัมผัส การตอบสนอง และระดับของการรับสมัผสัทีมี่ความเสีย่งเชงิลบตอสขุภาพ แมวามีคาตํ่ากวาระดับทีย่อมรบัไดก็ตาม สวนประกอบอืน่ของการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ ไดแกการวัดการประมาณคาการรับสัมผัสที่แทจริงหรือโอกาสการรับสัมผัสในสถานทีป่ฏิบัติงาน

การประเมนิความเสีย่งเชิงสขุภาพในกรณไีมมีขอมูลสาํหรบัใชในการประเมิน

ความเสีย่งเชงิปรมิาณ ขอมูลทีข่าดไปนีท้ดแทนไดโดยการใชความเหน็จากบุคคล คณะบุคคล หรอืหนวยงานทีมี่ความเชีย่วชาญดานนาโนเทคโนโลยีการประเมินความเสี่ยงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมกับการประมาณการจากขอมูลที่มีอยูของวัสดุที่คลายกัน

การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพดวยวิธีนีน้าํมาใชจดักลุมชวยใหเกิดการพัฒนาเทคนคิการควบคุมเพ่ือประเมินความเสีย่งและแนะนําเทคนคิในการจดัการความเสีย่งอยางเหมาะสม

สวนประกอบที่ สําคัญอื่ นๆ ของการประเมินความเสี่ ยงเชิงคุณภาพ ไดแก การประเมินขอมูลอันตรายและการรบัสัมผสัทีมี่อยูอยางสมํ่าเสมอ

การระบุลักษณะอันตราย (HazardIdentification)

การระบุลักษณะอันตรายเพ่ือระบุและติดตามอนัตรายของสารท่ีอาจสงผลกระทบรนุแรงตอการรบัสมัผสัและความเสีย่ง ในกรณนีีมุ้งเนนการจัดทํารายการของอันตรายที่เกิดจากการเปนพิษ (สารเคมีหรอืวัสดุนาโน) และอันตรายทางกายภาพ (เชน สนามแมเหล็กไฟฟา แหลงกําเนิดแสงที่มีความเขมแสงสูง เสียงที่มีความเขมสูง วัสดุติดไฟและวัตถุระเบิด ความดันสูงหรอืสญุญากาศ) แมวาจะมีกระบวนการควบคุมทางวิศวกรรม โอกาสการไดรับสารในระดับตํ่าหรอืการไดรบัสารทีมี่อนัตรายในระดับตํ่าจาํเปนตองทําการระบุลักษณะอันตรายทั้ งหมดที่เก่ียวของกับการไดรบัสมัผสัจากการปฏิบัติงาน

ขอมูลทีใ่ชสาํหรบัการระบุอนัตรายไดจากบทความวิชาการ เอกสารความปลอดภยั (SDS)เอกสารความปลอดภัยสารเคมี (ICSC) ขอมูลจากผูผลิต ประกาศ กฎกระทรวง และขอมูลผลการทดสอบ ขอมูลในเอกสารตางๆ สวนใหญไมระบุขอมูลเฉพาะของวัสดุนาโนหรอืเกณฑปรมิาณสารทีไ่ดรบั ดังนัน้ ขอมูลจากเอกสารขางตนอาจไมเพียงพอตอการวิเคราะหอันตรายของวัสดุนาโน ในกรณีนี้ทดสอบเพ่ือใชเปนขอมูลได

ขั้นตอไปนี้ประกอบดวยการวิเคราะหปรมิาณวัสดุหรอืสารเคมีทีเ่ปนอนัตราย ปรมิาณวัสดุหรอืสารเคมีทีใ่ชหรอืมีอยูในสถานทีป่ฏิบัติงานเปนปจจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอโอกาสในการรบัสมัผสั สถานทีป่ฏิบัติงานซ่ึงมีปริมาณของวัสดุเพียงเล็กนอยทาํใหมีโอกาสการรบัสมัผสัตํ่ากวาเม่ือเปรียบเทียบกันสถานที่ปฏิบัติงานที่ มีการใชวัสดุในปริมาณมาก การวิเคราะหสถานที่ปฏิบัติงานชวยในการประเมินโอกาสการรับสัมผัสของผูปฏิบัติงานในหนาที่หรือในสถานที่ ดังกลาวได ซ่ึ งนําไปสู การระบุกลุ มประชากรที่เปนเปาหมาย

การระบุอนัตรายประกอบดวยการสาํรวจสถานที่ปฏิบัติงาน ข้ันตอนการทํางาน กระบวนการผลิตและการวัดความปลอดภยัในสถานทีป่ฏิบัติงาน รวมถึงการใชระบบควบคุมทางวิศวกรรมและ PPE เพ่ือใชในการอธิบายถึงการรับสัมผัสและการระบุโอกาสในการรับสัมผัสสารเคมีที่เปนอนัตรายของผูปฏิบัติงานทัง้ในหนาทีแ่ละในสถานที ่หากการสํารวจเบ้ืองตนระบุวามีโอกาสของการรับสัมผัสตองรวบรวมและวิเคราะหขอมูลเพ่ีอประเมินการรบัสมัผสัในสถานทีป่ฏิบัติงานดังกลาว ขอมูลที่นํามาใชในการวิเคราะหไดแก ความเขมขนโดยมวล จาํนวนอนภุาค การกระจายตัวของขนาดอนภุาค พ้ืนทีผ่วิ และขอมูลวิเคราะหสมบัติทางเคมี

การประเมินการตอบสนองตอการรับสัมผัส (Exposure-response Assessment)

อันตรายทางพษิวิทยาในการจัดการดานอาชีวอนามัยนั้น การ

ปองกันผลกระทบจากความเปนพิษทําไดโดยการลดปริมาณการรับสัมผัสสารที่เปนพิษใหตํ่ากวาคาปรมิาณทีร่ะดับปลอดภยัซ่ึงอยูในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได ผลกระทบจากความเปนพิษจําแนกได 2 ชนิด คือ ชนิดมีจุดเปล่ียน(Threshold) และชนิดไมมีจุดเปล่ียน (Non-threshod) ชนิดมีจุดเปล่ียนระบุเกณฑการรับสมัผสัทีไ่มกอใหเกิดอนัตรายตอสขุภาพ สวนชนดิไมมีจุดเปล่ียนคือ ไมระบุเกณฑการรับสัมผัส

Page 5: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

5SAFET Y LIFE

ที่สงผลตอสุขภาพได ในการระบุเกณฑความปลอดภยัจาํเปนตองวิเคราะหในเชงิปรมิาณ ดังนี้

(1) หาคา NOAEL หรอื BMD โดยใชขอมูลตอบสนองตอการรับสัมผัสในสัตวหรือมนุษย

(2) ประมาณเกณฑสําหรับมนุษยจากเกณฑของสตัว (พิจารณาคาไมแนนอนประกอบ)โดยใชแบบจําลอง เชน แบบจําลองปอดมนุษยในการประมาณความเขมขนที่ไดรับตลอดอายุการทาํงาน

(3) คํานวณขีดจํากัดของการรับสัมผัสจากการปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความเปนไปไดทางเทคนคิ ความแปรปรวน และความไมแนนอนของแบบจําลอง การประมาณการ และระบบความเสี่ยงที่ยอมรับได

สมบัติความเปนพิษของวัสดุนาโนอาจเกิดจากองคประกอบเคมีที่อยูภายในของวัสดุไดแก สวนประกอบในสารต้ังตน ไดมีการศึกษาทางพิษวิทยาของวัสดุนาโน เชน CNT ซ่ึงมีลักษณะแตกตางจากคารบอนทีมี่ขนาดใหญ

นยิาม วิธีการ และมาตรฐานสาํหรบัการทดสอบพิษวิทยาของวัสดุนาโนอยูในระหวางการพัฒนา ควรตรวจสอบมาตรฐานระหวางประเทศทีอ่างองิได เชน มาตรฐานของ OECD เพ่ือใชเปนแนวทางการปฏิบัติ นิอกจากนี้ การวิเคราะหทางพิษวิทยาของวัสดุนาโนนัน้ จําเปนตองระบุการกระจายตัวของอนภุาคนาโน เนือ่งจากวัสดุนาโนที่มีความเขมขนสูงจะเกิดเปนกอนเกาะหลวมอยางรวดเรว็ อนัเปนผลจากการเคล่ือนที่แบบบราวนและแรงดึงดูดระหวางอนุภาคนาโนซ่ึงเกิดขึ้นไดในระหวางกระบวนการผลิตและกระบวนการบรรจุลงในบรรจุภัณฑ ดังนัน้ การรับสัมผัสจึงอาจเกิดขึ้นจากอนุภาคนาโนหรือเกิดจากอนุภาคกอนเกาะหลวม

หมายเหตุ การเคล่ือนที่แบบบราวน(Brownian Motion) หมายถึง อนุภาคนาโนที่แขวนลอยในของเหลวมีการเคล่ือนที่แบบสุมอยางสมํ่าเสมอ ซ่ึงเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางอนุภาคกับโมเลกุลของเหลว

รายงานผลจากการศึกษาทางพิษวิทยาจํานวนหนึ่งพบวา บางครั้ง ความเปนพิษไดมาจากวัสดุทดสอบที่ไมทราบสมบัติอยางชัดเจนเนือ่งจากขอจํากัดทางเทคนคิ ดังนัน้ ในปจจบัุนจึงมีขอมูลอันตรายที่พิสูจนยืนยันจากผลการศึกษาพิษวิทยาสาํหรบัอาชวีอนามัยอยูอยางจาํกัดและเชื่อวาในอนาคตจะมีเกณฑการรับสัมผัสของวัสดุนาโนที่สรางขึ้นเพียงไมก่ีชนิดเทานั้นตัวอยางรายงานผลการวิเคราะหความเสีย่งของวัสดุนาโน เชน TiO2 คารบอนและอนุภาคที่

เกิดจากทอไอเสียเครื่องยนตดีเซลจากขอมูลทีมี่ไมมากนกัในปจจบัุนพบวา

ขอมูลความเปนอันตรายจากความเปนพิษของวัสดุนาโนนั้นไมไดมีการประเมินอยางสมบูรณทั้งนี้ สิง่ที่ควรพิจารณาในปจจุบันประกอบดวย

(1) พิษวิทยาของวัสดุนาโนนัน้คาดการณจากพิษวิทยาของสารนั้นๆ ที่มีขนาดใหญไมไดเสมอไป

(2) วัสดุนาโนบางชนดิ มวลไมใชปรมิาณที่เหมาะสมสําหรับหารวิเคราะหการรับสัมผัสและใหใชพ้ืนที่ผวิของวัสดุนาโนและจํานวนของอนุภาคนาโนในการวิเคราะหแทน

ดังนั้ นขีดจํากัดของการรับสัมผั สในสถานทีท่าํงาน (Occupational Exposure Limit)สําหรับวัตถุขนาดใหญที่มีลักษณะเปนฝุนผงอาจใชสําหรับวัสดุนาโนที่มีสวนประกอบทางเคมีเหมือนกันไมได

อันตรายทางฟสิกส (Physical Hazard)อันตรายจากอัคคีภัยและการระเบิดอัน

เนือ่งมาจากวัสดุนาโนนัน้มีรายงานนอยมาก หากอนภุาคนาโนกอใหเกิดเหตุอคัคีภยัและระเบิดไดความรนุแรงจะมีมากกวาอนภุาคขนาดใหญหรอืวัสดุขนาดใหญ ดังนัน้จงึตองมีการทดสอบเพ่ิมเติมเพ่ือประเมินสภาพลุกไหมได สภาพระเบิดไดและความไวปฏิกิริยาของวัสดุนาโน เกณฑวิธีการทดสอบอนัตรายเหลานีมี้อยูแลวสาํหรบัการทดสอบวัสดุขนาดใหญทีเ่ปนฝุนผงและนํามาใชกับวัสดุนาโนได เกณฑวิธดัีงกลาวประกอบดวยการวัดอัตราการ เผาไหม การวัดอุณหภูมิการจุดติดไฟ และการวัดสมบัติความเปนระเบิด

สภาพลุกไหมไดของวัสดุนาโนประเมินตาม ASTM E-918-83 สมบัติความเปนระเบิดวิเคราะหดวยวิธ ีFallhammer และ Koenen ดังนัน้เม่ือมีขอมูลอนัตรายจากลักษณะเฉพาะทางฟสกิสแลว การประเมินความเสี่ยงอันเกิดจากเหตุอัคคีภัยและการระเบิดได ใหใชเทคนิคที่มีอยู

เนือ่งจากขอมูลอนัตรายของวัสดุนาโนมีอยูอยางจํากัด การแบงกลุมความเปนอันตรายของวัสดุนาโนจึงอางอิงตามความเห็นของผูเชี่ยวชาญระบบการติดฉลากระบุระดับอนัตรายในสหภาพยุโรปประกอบดวยขอมูลดังนี้

(1) ระดับความรุนแรงของอันตรายไดแก ความเปนพิษมาก เปนพิษ อันตรายกัดกรอน และระคายเคือง

(2) ระดับความเสี่ยงเพ่ืออธิบายระดับความเปนอันตราย

ขอมูลเก่ี ยวกับการจําแนกความเปนอันตรายดูไดจากขอ “อันตรายของวัสดุนาโน”และ “ภาคผนวก ค. อันตรายของวัสดุนาโนตอสุขภาพ (รายละเอียดสัมผัส)”

การประเมินการรับสัมผัส (ExposureAssessment)

การรบัสมัผสัวัสดุนาโนเกิดขึน้ไดจากการรบัสมัผสัโดยตรง ในกรณขีองอนุภาคนาโนตองพิจารณาแนวโนมการปลดปลอยของอนุภาคนาโนดวยซ่ึงหาไดจากความสามารถของอนภุาคนาโนในแตละชนิดที่เกิดการรับสัมผัสโดยตรงกับผิวหนังของมนุษยหรืออวัยวะอื่นๆ ได เชนปอด ปจจยัทีต่องพิจารณาสาํหรบัการปลดปลอยอนุภาคนาโนในอากาศ ไดแก สมบัติทางเคมี-ฟสิกส และกระบวนการแปรรู ซ่ึงสมบัติเคมี-ฟสิกสประกอบดวยขนาด การเคลือบผิว ประจุการฟุงกระจาย การพิจารณาวิธกีารวิเคราะหควรตรวจสอบวาสถานะของวัสดุนั้นๆ ดวยวาอยูใน

Page 6: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

6SAFET Y LIFE

ตัวกลางทีเ่ปนของเหลวหรอืของแขง็ กระบวนการเชงิกล เชน การกวน การเจาะ การเล่ือย การบดการครดู และการตัด อาจทาํใหเกิดการปลดปลอยอนภุาคนาโนหรอืวัสดุทีท่าํใหเกิดโครงสรางนาโนสเกลได เชน การใชเลเซอรสําหรับเจาะ การเชือ่มดวยพลาสมา นอกจากนีก้ระบวนการทางวิศวกรรมทั้ งที่ อยูในระบบปดและระบบเปดลวนแลวแตมีโอกาสในการรับสัมผัสวัสดุนาโนทั้งสิ้น ความเสี่ยงของการรับสัมผัสเกิดจากปจจยัตางๆ เชน การใชงานทีไ่มถกูตอง เครือ่งมือทาํงานผดิปกติความรูเทาไมถงึการณของผูปฏิบัติงานและการขาดประสบการณของผูปฏิบัติงาน

ในการประเมินการรบัสัมผัสจําเปนตองเขาใจภาพรวมของการรับสัมผัสที่เกิดขึ้นจริงการสูดดม และการซึมผานผิวหนังเปนชองทางทั่วไปของการรับสัมผัสในสถานที่ปฏิบัติงานสวนการรับสัมผัสทางปากนั้นเกิดขึ้นนอยมาก(แมวาการบรโิภคเปนสวนหนึง่ของการรบัสมัผสัทางการหายใจจากการกลืนเสมหะและการกลืนอนภุาคนาโนจากการหายใจเขาไป) การรบัสมัผสัทางปากมักเกิดอยางไมต้ังใจจากมือที่สัมผัสวัสดุนาโน การรับสัมผัสจากอุบัติเหตุ เชน ทางเขม็ฉีดยา ผลการศึกษารายงานวาอนภุาคนาโนทะลุผานผิวหนังชั้นในของหมูไมได ในขณะที่งานวิจัยอื่นๆ ไดแสดงใหเห็นวาอนุภาคนาโนสามารถผานหนงักําพราชัน้สตราตัมคอรเนยีม(Stratum Corneum) และเขาสูชั้นผิวหนังและชั้นผิวหนังบนสุดของหมูและมนุษยได

การรบัสมัผสัทางการหายใจวิเคราะหไดดวยวิธีการวัด เชน การนับจํานวนอนุภาค การวัดขนาด ขณะทีก่ารรบัสมัผสัทางผวิหนงัสามารถวิเคราะหไดโดยใชตัวอยางของกระดาษเช็ดมือทําการทดสอบทางเคมีและกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ซ่ึงวิธกีารเหลานี้มีความยุงยากจากการทวนสอบ การสอบเทียบ และการประมาณ

คาความไมแนนอน อยางไรก็ตาม ขนาดอนภุาคจํานวน และการกระจายตัวเปนปจจัยที่สาํคัญที่จาํเปน รวมถงึพ้ืนทีผ่ิวหรอืขอมูลสมบัติทางเคมี

ในกรณทีี่ขอมูลการรับสมัผัสไมเพียงพอใหนําเทคนิคเชิงคุณภาพมาใชประเมินได เชนใชสมบัติการฟุงกระจายในการกําหนดโอกาสในการรับสัมผัส คือ ตํ่า ปานกลาง และสูง

การประเมินการไดรับเขาสู ร างกายเก่ียวของกับการวิเคราะหตัวอยางจากภายในรางกาย เชน เนือ้เย่ือ ของเหลวจากรางกาย และอากาศที่หายใจเขาไป ในทางอาชีวอนามัยจึงกําหนดใหมีวิธีการที่งายขึ้นโดยใชตัวอยางจากผม ปสสาวะ และอากาศที่หายใจออกมาแทน

การระบุปรมิาณที่รับเขาสูรางกายทําไดโดยการวัดปริมาณวัสดุนาโนที่ สนใจ หรือเมแทบอไลตของวัสดุนาโน นอกจากนี ้ยังมีการใช “ตัวระบุทางชีวภาพ” (Biomarker) ซ่ึงเปนสารทีเ่กิดขึน้จากอนัตรกิรยิาระหวางสารพิษกับระบบในรางกายมนษุยเปนหลักฐานในการแสดงถึงการไดรับสัมผัสสารพิษของรางกาย หากตัวระบุนั้นๆ มีความสัมพันธอยางจําเพาะกับสารพิษที่ไดรับเขาสูรางกาย โดยการวัดปริมาณตัวระบุทางชีวภาพมีขอดีคือ สามารถใหขอมูลการรบัสมัผสัได ไมวาการรบัสมัผสันัน้จะเกิดขึน้ผานเสนทางใด การวัดปรมิาณตัวระบุยังสามารถนํามาใชสาํหรบัการตรวจคัดกรองและตรวจติดตาม

พนกังานทีท่าํงานกับวัสดุนาโนได อยางไรก็ตามขอมูลการศึกษาตัวระบุทางชวีภาพสาํหรบัการรบัสมัผสัวัสดุนาโนยังอยูในชวงเริม่ตน และมีความซับซอนอนัสบืเนือ่งมาจากความหลากหลายทางฟสิกสและเคมีของวัสดุนาโนซ่ึงสงผลใหการตรวจสอบทางชีวภาพมีความหลากหลายไปดวย จากการศึกษาการรับสัมผัสวัสดุนาโนที่มีความเปนพิษตํ่าและความสามารถในการละลายตํ่าผานทางการหายใจ พบวาเปนสาเหตุใหเกิดการอักเสบ ซ่ึงมีการเสนอใหไนทรกิออกไซดในลมหายใจออกของมนษุยเปนตัวระบุทางชวิีภาพของการเกิดกระบวนการอักเสบในรางกาย

ลักษณะเฉพาะของความเสี่ยง (RiskCharacterization)

ลกัษณะเฉพาะของความเสีย่งประกอบดวยการทบทวนและการรวมขอมูลทีไ่ดจากขัน้ตอนการระบุอนัตราย การประเมินการตอบสนองตอการรบัสมัผสั และการประเมินการรบัสมัผสั คาประมาณการความเสี่ยงเชิงปริมาณประเมินไดจากความไมแนนอนทางสถิติและทางชีวภาพการอธิบายลักษณะของความเสี่ยงใชในการประเมินอันตรายและการรับสัมผัส ณ สถานที่ใดๆ วามีความเสี่ยงเกินเกณฑทีย่อมรับได และมีประชากรกลุมเสี่ยงหรือไม การจัดการความเสี่ยงอาจนํามาใชเพ่ือลดระดับความเสี่ยงใหตํ่ากวาเกณฑที่ยอมรับได มาตรการในการลดความเสี่ยงอาจเปนการแนะนาํใหกําจัดอนภุาคนาโนที่ เปนอันตรายหรือใชสารอื่นทดแทนรวมถึงปรับปรุงกระบวนการผลิต และ/หรือการใชการควบคุมทางวิศวกรรม มาตรการระดับองคกร เชน คูมือความปลอดภัย PPEและ SOP

บทสรุปการประเมินความเสีย่งของการรบัสมัผสั

วัสดุนาโนในทีท่ํางานประกอบดวยการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณและ/หรือเชิงคุณภาพในกรณีที่มีขอมูลวิชาการกําจัด หรือวัสดุนั้นมีลักษณะจาํเพาะ อาจประเมินดานคุณภาพเพียงอยางเดียว หากมีขอมูลการรับสัมผัสและการตอบสนอง (เชน พิษวิทยาและระบาดวิทยา) ใหทาํการประเมินดานปรมิาณได ในปจจบัุนขอมูลการรับสัมผัสและอันตรายดานปริมาณสําหรับวัสดุนาโนทีเพียงสวนนอยเทานั้น ดังนั้นการประเมินความเสี่ยงตอสุขภาพสําหรับสถานที่ปฏิบัติงานในปจจุบันจงึขึน้อยูกับความเห็นของผูเชี่ยวชาญในการระบุอันตราย โอกาสการรับสัมผัส และการนํามาตรการความปลอดภัยที่เหมาะสมไปใชงาน