ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 –...

32
ถอดรหัสถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหาร .. 2475 – 2549 จากเนื้อหา สู ตัวเลขเชิงสถิติ โดย ฐนน จุลเวช ดุษฎีนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก แผนภูมิแสดงโครงสรางของดุษฎีนิพนธ โดย ฐนน จุลเวช

Upload: others

Post on 09-Sep-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ถอดรหัสถอดรหัส ปฏิวัติ รฐัประหาร พ.ศ. 2475 – 2549 จากเนื้อหา สู ตัวเลขเชิงสถิติ

โดย

ฐนน จุลเวช

ดุษฎีนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของ หลักสูตรปรัชญาดษุฎีบัณฑติ (สื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก

แผนภูมิแสดงโครงสรางของดุษฎีนิพนธ โดย ฐนน จุลเวช

Page 2: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ดุษฎีนิพนธ

ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหาร พ.ศ.2475-2549 จากเนื้อหา สู ตัวเลขเชิงสถิติ

บริบท ที่เอื้อตอการ ปฏิวัติ รัฐประหาร

ปจจัย ที่นําพาไปสูการ ปฏิวัติ รัฐประหาร

กรอบแนวคิดทฤษฎี ของดุษฎีนิพนธ

งานวิจัยเชิงคุณภาพ งานวิจัยเชิงปริมาณ

-แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ -บทสัมภาษณเจาะลึก -งานวิจัยเอกสาร เพื่อ พิสูจนหาบริบท และ ปจจัยนําตางๆใชเขารหัส

-เครื่องมือตนแบบใชใน การวิจัยเพื่อเขารหัส -กระบวนการถอดรหัส -ผลลัพธการถอดรหัส -การอภิปรายผล

ปญหานําวิจัย

แผนภูมิแสดงองคประกอบของดุษฎีนิพนธ โดย ฐนน จุลเวช

Page 3: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ที่มาและความสําคัญ ของปญหา

ปญหานําวิจัย บริบทที่เอื้อตอการปฏิวัติ รัฐประหาร

ปจจัยที่นําพาไปสูปฏิวัติ รัฐประหาร

กรอบแนวคิดงานวิจัย

ระเบียบวิธีวิจัย งานวิจัยเชิง คุณภาพ

งายวิจัยเชิง ปริมาณ

กระบวนการถอดรหัส เหตุผล สถิติ

การขึ้นสูอํานาจตามจารีตประเพณี

การแยงชิงและขึ้นสูอํานาจที่ผิดแปลกไปจากจารีตประเพณี

วัตถุประสงคของดุษฎีนิพนธ ปริญญาเอก

เคร่ืองมือวิจัย เพื่อถอดรหัสขอมูล โดย ฐนน จุลเวช

การปฏิวัติรัฐประหารในยุคสมัยตาง ๆ ของการเมืองไทย นับแตการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

ยุคท่ี 1. สมัยคณะราษฎร (มิ.ย. 2475 – พ.ย. 2490)

ปฏิวัติ รัฐประหาร กบฏ

Page 4: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

1) 24 มิ.ย. 2475 โดยคณะราษฎรปฏิวัติรัฐประหารเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง

*

2) 21 มิ.ย. 2476 โดยพระยาพหลฯ ยึดอํานาจคืนจากรัฐบาลพระยามโนปกรณฯ

*

3) 11 ต.ค. 2476 โดยนายทหารที่จงรักภักดีตอระบอบเดิมปฏิวัติคณะราษฎร กบฏบวรเดช

*

4) 3 ส.ค. 2478 โดยสิบเอกสวัสดิ์ มหะหมัด ที่จงรักภักดีตอระบบเดิม จับกุมพระยาพหลฯ และหลวงพิบูลสงครามไวเปนตัวประกัน

*

5) 29 ม.ค. 2482 โดยพระยาทรงสุรเดช ที่จงรักภักดีตอระบบเดิม และถูกเนรเทศออกไปนอกราชอาณาจักร

*

6) 8 พ.ย. 2490 โดยพลโทผิน ชุณหะวัณ เปนหัวหนา ยึดอํานาจจากรัฐบาลพลเรือตรีถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์

*

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแสในภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจสวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

1 * * * * (4) 2 * * * * (4) 3 * * (2) 4 *

(1) 5 *

(1) 6 * * *

(3) (2) (-) (2) (3) (3) ( - ) (1) (4) =15 ยุคท่ี 2. สมัยคณะรัฐประหาร จอมพล ป. (พ.ย. 2490 – ก.ย. 2500)

ปฏิวัติ รัฐประหาร กบฏ

7) 28 ก.พ. 2491 กบฏแบงแยกดินแดน ในภาคอีสานออกจากประเทศไทย

*

8) 6 เม.ย. 2491 โดยคณะนายทหารที่ทําการ 8 พ.ย.2490 บังคับใหนายควง อภัยวงศลาออก แลวมอบตําแหนงใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม

*

9) 01 ต.ค. 2491 กบฏเสนาธิการโดยพลตรีสมบูรณ ศรานุชิต และพลตรีเนตร เขมะโยธิน ตองการลมรัฐบาลจอมพล ป.

*

10) 26 ก.พ . 2492 กบฏวังหลวง โดยนายปรีดี พนมยงครวมกับนายทหารเรือและพลเรือน ตองการลมรัฐบาลจอมพล ป.

*

Page 5: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

11) 29 มิ.ย. 2494 กบฏแมนฮัตตัน โดย น.อ.อานน บุญฑริกธาดาและนาวาตรี มนัส จารุภา ตองการลมรัฐบาลจอมพล ป.

*

12) 29 พ.ย. 2494 โดยจอมพลป. พิบูลสงคราม รัฐประหารยึดอํานาจตนเอง นํารัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใชอีกครั้ง

*

13) 8 พ.ย. 2497 กบฏสันติภาพโดยกุหลาบ สายประดิษฐ รัฐบาลจอมพลป. พิบูลสงคราม เห็นวาเปนภัยตอรัฐ

14) 16 ก.ย. 2500 โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ยึดอํานาจรัฐบาลจอมพลป. พิบูลสงคราม

*

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแสในภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจสวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

7 * * (2)

8 * * * (3)

9 * * (2)

10 * * (2)

11 * * (2)

12 * (1)

13 * * (2)

14 * * * (3)

(1) (-) (2) (3) (5) (-) (-) (5) = 16

ยุคท่ี 3. สมัยคณะปฏิวัติ จอมพลสฤษดิ์ (ก.ย. 2500 – ต.ค. 2516)

ปฏิวัติ รัฐประหาร กบฏ

15) 20 ต.ค. 2501 โดยจอมพลสฤษดิ์ ในนามคณะปฏิวัติลมรัฐธรรมนูญและสภาผูแทน จอมพลถนอม ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี

*

16) 17 พ.ย. 2514 โดยจอมพลถนอม รัฐประหารตนเอง เพื่อผูกขาดอํานาจ

*

17) 14 ต.ค. 2516 โดยขบวนการประชาชน เพื่อโคนลมขั้วอํานาจ ถนอม – ประภาส – ณรงค กิตติขจร

(*) *

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง

Page 6: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

การปกครองกระแสโลก

กระแสในภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจสวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

15 * * (2) 16 * * (2) 17 * * * * (4) (1) (1) (1) (-) (2) (1) (-) (2)= 8

ยุคท่ี 4. สมัยคณะปฏิรูป (ต.ค. 2516 – ก.ย. 2528)

ปฏิวัติ รัฐประ หาร

กบฏ

18) 06 ต.ค.2519 โดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู เขายึดอํานาจการปกครองประเทศ มอบใหนายธานินทร กรัยวิเชียร เปนนายกรัฐมนตรี

*

19) 26 มี.ค. 2520 พลเอกฉลาด หิรัญศิริ นํากําลังพลจากกองพล9 เขายึดสถานที่ราชการ 4 แหง ถูกปราบปรามโดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู

*

20) 20 ต.ค. 2520 โดยคณะปฏิรูปเดิมในชื่อใหมวาคณะปฏิวัติโดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู ลมรัฐบาลนายธานินทร กรัยวิเชียร

*

21) 1 เม.ย. 2524 โดยกลุมทหารหนุมระดับ ผบ.กรมที่คุมกําลัง เขายึดอํานาจปกครองประเทศ จากรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท

*

22) 9 ก.ย. 2528 โดยกลุมที่เรียกตนเองวาคณะปฏิวัติ นําโดยพลเอกเสริม ณ นคร พยายามเขายึดอํานาจรัฐบาลพลเอกเปรม

*

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแสในภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจสวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะรัฐบาล/การเมือง

18 * * * * (6) 19 * * (2) 20 * * * * (4) 21 * * (2) 22 * * (2) (-) (-) (3) (2) (4) (1) (2) (2)=14

ยุคท่ี 5. ยุคการเมืองปจจุบัน ( ก.ย.2528 – ก.ย.2549)

ปฏิวัติ รัฐ ประหาร

กบฏ

23) 23 ก.พ. 2534 โดยคณะ รสช. ยึดอํานาจจากรัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ

*

24) 20 พ.ค. 2535 วิกฤตการณพฤษภาทมิฬขับไลการตอยอดอํานาจของแกนนําคณะ รสช. ที่ พล.อ. สุจินดา คราประยูร ไดรับการเสนอชื่อ

(*)

Page 7: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรี 25) 19 ก.ย. 2549 โดยคณะ คมช. ยึดอํานาจจากรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ

ชินวัตร หลังจากฝายพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดดําเนินการขับไลมากอนหนา

*

รวม 25 คร้ัง 1 13 11

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแส ใน ภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจ สวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

23 * * * * (4) 24 * * (2) 25 * * * (3)

(-) (-) (-) (1) (1) (2) (2) (3) = 9

รวม (4) (1) (8) (9) (15) (4) (6) อันดับ (6) (8) (4) (3) (2) (6) (5)

(16) = 62 (1)

Page 8: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ปฏิวัติ รัฐประหาร พ.ศ.2475 – 2549 จากเนือ้หาสูตัวเลขเชิงสถิติ The Decoding of Thailand’s Coup d’e tat from 1932-2006

“From Contents to Statistical Analysis”

ฐนน จุลเวช Ta-nond Jullavech

บทคัดยอ ดุษฎีนิพนธฉบับนี้ถูกจัดทําขึ้นโดยมวีัตถุประสงคหลัก 2 ประการ กลาวคือ 1) เพื่อสืบคน แสวงหาและนําเสนอ มูลเหตุที่แทจริง ตอสาธารณชนทัว่ไป และเพื่อประโยชนตอการศึกษาในเชิงกวางสําหรับเยาวชนรุนหลัง ถึงบริบทและปจจัยหลักๆที่นาํพาไปสูการกบฏ ปฏิวัติ รัฐประหาร ทั้ง 25 คร้ังของไทยในชวงเวลา 75 ป นับแตการปฏิวัติเพื่อเปล่ียนแปลงการปกครองพ.ศ.2475เปนตนมา มูลเหตทุี่แทจริงนี้ไดมาจากทั้งปจจยัภายในและภายนอกอางอิงจากแหลงขอมูลทางประวัติศาสตร ทั้งในอดตีและในปจจบุัน เพื่อใหไดมูลเหตุที่แทจรงิที่แมนยําที่สุด กอนทีจ่ะนาํขอมูลที่ไดเหลานี้เขาสู 2) กระบวนการถอดรหัส ที่ไดถูกออกแบบเปนการเฉพาะสําหรับดษุฎีนิพนธฉบับนี้ เพื่อใชเนื้อหาจากขอสรุปที่ได แปลงเปนตัวเลขในเชิงสถิติ และนําใชในการวิเคราะหศึกษาเหตุการณ กบฏ ปฏิวัติ รัฐประหารที่ผานมาไดอยางตรงไปตรงมา อีกทั้งยังจะทําใหสามารถเขาใจและสะทอนใหเห็นถึงภาพรวมของเหตุการณที่สําคัญเหลานี้ ที่ไดทําใหชาติบานเมืองของเราเดินทางตามวถีิของความเปนประชาธิปไตยมาอยางทุลักทุเลตลอดระยะเวลา75ปทีผ่านมาไดงายขึ้น ดุษฎีนิพนธฉบับนี้แบงออกเปน 2 สวน สวนที่1) เกีย่วของกับการศกึษาเนื้อหา ขอมูลเชิงประวัติศาสตร และกรอบแนวคิดทฤษฎีทีเ่กี่ยวของตรงกนั เพื่อใชอางอิงในการหาบริบทที่เอื้อตอการกบฏ ปฏิวัติ รัฐประหาร ที่ผานมา ที่มีขึ้นทั้งกอนและหลังการปฏิวัติเพื่อเปล่ียนแปลงการปกครอง ภายใตหลักเกณฑและรูปแบบของงานวิจยัเชิงคุณภาพ และสวนที่2) จะเปนการหาปจจัยที่กอใหเกิดการปฏิวัติ รัฐประหารในสวนที่1 แลวนําเขาสูกระบวนการถอดรหัส เพื่อใหไดมาซึ่งขอสรุปที่เปนตัวเลขในเชิงสถิติ ภายใตหลักเกณฑและรูปแบบงานวิจยัเชิงปริมาณควบคูกันไป ตามหลักเกณฑที่กาํหนดโดยวทิยาลัยส่ือสารการเมือง ผลจากการวิเคราะหขอมูลทั้ง 2 สวน ที่อิงเหตุผลที่ไดกลาวไวแลวขางตน มีดังนี้ - สวนที่1) ในเชงิคุณภาพ – พบวาเนื้อหาสาระในทางประวัติศาสตร ที่เกี่ยวของและสมัพันธโดยตรงกับการกบฏ ปฏิวัติ รัฐประหารทั้ง 25 คร้ังนั้น เนื้อหาสาระในอดีตและที่มีอยูในปจจุบันนัน้ คอนขางมีความแตกตางกันทั้งในเนื้อหา และน้ําหนกัของการใหเหตุผลสนับสนุนเหตกุารณที่เกิด ขึ้น จึงสามารถสะทอนใหเห็นไดงายถึง -

Page 9: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

1.การรวบรัดตดัตอนในการเปลี่ยนการปกครองพ.ศ.2475 ที่เปนParadigm Shift ทางการเมืองการปกครองโดยความตองการของคณะบุคคลเพียงหยิบมือเดยีวที่มีอิทธิพลตอกองกําลังทหาร ขาราช การชั้นสูง (Bureaucrat) กลุมปญญาชน (Technocrat) และชนชั้นนํา (Elite group) ที่เพยีรพยายามจะกระทําตามกระแสโลกโดยที่ยังขาดการ ให ความรู ความเขาใจผานกระบวนการกลอมเกลาทางการเมืองสูประชาชน (Political socialization)อีกทั้งยังขาดการเรียกรองและสนับสนุน(support & demand) จากประชาชนคนในชาติเองเกือบทั้งส้ิน 2.ระดับของความเบาบางในสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ภายใตการปกครองของรัฐบาลทหาร 3.ทัศนคติ คานิยม และประเพณีปฏิบัติในการแยงชิง ลมลาง และการเขาสูอํานาจทางการเมืองการปกครอง มีสวนที่เปนผลพวงมาจากการสบืทอดวัฒนธรรมแยงชิงอํานาจจากอดตี(Political Culture) 4.วัตถุประสงคที่แอบแฝงในการเขาสูอํานาจ การรักษาอํานาจ รวมไปถึงการใชอํานาจของผูนําประเทศจากอดีตสูปจจุบันยงัคงมีอยู 5.ระดับของการมีสิทธิและเสรีภาพในการนาํเสนอขอมูลขาวสารที่เปนกลาง สูพี่นองประชาชนทั้งจากภาครัฐ และจากสื่อมวลชนเองยังคงมีการปดกั้นในระดับตางๆที่คลายคลึงกันจากอดีตสูปจจุบัน 6.กระบวนการสื่อสารทางการเมืองจากภาครัฐเพียงไดเร่ิมใชอยางเปนจริงเปนจัง นับแตพ.ศ.2543 (เร่ิมตนที่การรณรงคหาเสียงของพรรคไทยรักไทยและรัฐบาลทักษิณ) เปนตนมา สวนที่2) ในเชงิสถิติ - ไดพบวาทั้งจากตัวแปรภายนอกและภายในที่ไดถูกกําหนดขึ้นเพื่อใหสามารถครอบคลุมในทุกๆมิติที่เปนปจจัยทีก่อใหเกิดการกบฏ ปฏิวัติ รัฐประหารทั้ง25คร้ังนั้น 1.มีจํานวน4คร้ังเทานั้นที่มีปจจัยมาจากการเรียกรองหรือการมีสวนจากประชาชนรวมอยูดวย นอก เหนือจากนั้นพบวาเปนเรื่องของความพยายามที่จะสืบทอดกระแสหลักจากโลกตะวนัตก ในเรือ่งของการเขาสู และสืบทอดอาํนาจทางการเมือง และระบอบการปกครอง 2.จากจํานวน25คร้ัง พบวานบัจาก พ.ศ.2489เปนตนมา มีการกบฏ ปฏิวัติ รัฐประหารมากถึง 20 ครั้งที่ไดกระทําไปตอหนาพระเนตร พระกัณฑขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัรัชกาลที่ 9 (ที่ยังขาดไรซ่ึงการนํามาตั้งเปนประเด็นในการวิจัยถึงระดับของความจงรักภักดี และการเทิดทูนไวเหนอืเกลาของราชวงศ นับแตรัชกาลที่7เปนตนมา จากผูนําทางการเมืองที่มาจากเหลาทัพ) 3.การสืบทอดวัฒนธรรมในการแยงชิง และสืบทอดอาํนาจของผูนําประเทศฝายทหารในแตละยคุสมัยทางการเมืองนั้น สวนใหญตางมีผลมาจากทัศนคติ คานิยม และประเพณีปฏิบัติที่มีมานับแตอดีตกาล ที่ขดัแยงตอหลักการการปกครองในระบอบเสรีประชาธิปไตย และที่ผูกระทําการยดึและแยงชิงอํานาจเองยังเล็งเห็นตางกันไปวาอะไรคือ ประโยชนของประชาชนและชาติบานเมือง และอะไรคือประโยชนแหงตนและพวกพอง อนึ่ง ความสําคัญในการจัดทําดุษฎีนิพนธฉบับนี้อีกประการหนึ่ง คือ ความพยายามที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบในการศึกษาและเขาถึงเนื้อหาของการกบฏ ปฏิวตัิ รัฐประหาร ทั้ง 25 ครั้งทีแ่ตเดิมนั้นมีลักษณะเปนบทความ บทวรรณกรรมทางประวัติศาสตร ทีท่ําใหยากตอการมองเห็นภาพ

Page 10: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

รวมของเหตุการณคร้ังสําคัญๆเหลานี้ การนําเสนอของผูเขียนที่ใชตัวเลขและทฤษฎีในลักษณะที่เปนแผนภูมิเพือ่อธิบายความนั้น ยอมทําใหเขาใจและมองเห็นบริบทและปจจยัสําคญัอื่นๆไดมากขึ้นและงายขึ้นโดยธรรมชาติของมันเองผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวาสารประโยชนจากดษุฎีนิพนธนี้จะไดทําใหเยาวชนคนรุนหลังไดตระหนักถึงทั้งคุณประโยชนจากการกระทําการปฏิวัตรัิฐประหารเพือ่ประโยชนสุขของชาติบานเมืองในนอยครั้งที่ไดเคยเกิดขึน้และไดตระหนักถึงผลเสียในหลายๆครั้งของปฏิวัติ รัฐประหาร ที่ไดกระทําไปเพื่อเพียงตอบสนองประโยชนสุขแหงตนและพวกพองเทานัน้ คําสําคัญ เนื้อหา ถอดรหัส สถิติ

Abstract This dissertation contains the results of both reliable facts and statistical figures that are direct causes and outcomes derived from Thailand’s past 25 coup d’e tat . The main objective of this research is divided into two parts : 1) to reveal and put forth for the general public, the predominate factors from various reliable sources that can neutrally explained the real causes and effects of each individual coup d’e tat , and 2) to decode these predominate factors into a statistical model that has been uniquely and appropriately designed to explain each particular event and the events as a whole. The main purpose of this dissertation is to bring about ways and means for a better and easier understanding of the events that have caused this nation much political as well as democratic turmoil and decays for almost 76 years. This dissertation is divided into two parts, the first part contains contents of each individual coup d’e tat that took place based on the primary and secondary sources and other related documents. The second part contains the assessment of the first part’s contents decoded into statistical figures, such combining, both Qualitative and Quantitative Research, as required by the Faculty. The samplings for this research are drawn and classified respectively from the actual events that took place in it’s exact numbers within each respective political era and regime. Research Results

1. Content - wise, the causes and outcomes of each individual coup d’e tat from this dissertation are somewhat varied proportionally from the past contents due to the liberality of the past and present day’s democratic atmosphere. Furthermore such causes and outcomes can strongly support the presence of traditional culture of “overthrowing leaders by force” is still intact from past to present.

Page 11: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

2. Statistics - wise, out of 25 coup d’e tat , only 4 events shown the involvement of the people’s demands and supports, other than that are mostly power play by the military and each respective political era leaders.

Research Recommendation From the writer point of view, the number of 25 coup d’e tat in 75 years alone is self- explanatory. Not withstanding the turning point of this nation revolutionized political system back in 1932 that excluded both the political participation, consensus and demands from the general public. Thus, raised the question on how could it be possible to accomplish the democratic goals by revolutionists who have named themselves “ The People’s Committee” along with many other leaders beyond that. Thus, 75 years from then, the succession and the patterns of obtaining the ultimate governing power had hardly changed. Is this a question of the familiarity in the attitude, the value and the tradition to come to power by the military leaders, or is it the question of the inability of our past rulers in ruling and governing this nation and or is it the dubious tactics from those who have been governing this nation for the sake of self-interest. This dissertation has all the necessary answers, and the two that needed the most are the Political Culture Reform naming “The New Politics” and the political will, commitments and participation of all the people of this great nation that will unite them as the “Real and Active Public Sector” making politics the business of the people and not that of the politicians themselves alone. Keywords contents decode statistics

บทนํา ในการสืบคนเนื้อหาในทางประวัติศาสตรของนานาอารยะประเทศที่ไดเกิดการปฏิวัติเพื่อ

เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังจากสงครามครูเสดสิ้นสุดลง ก็เกิดการเปล่ียนแปลงขึ้นในยุโรป เชน ระบอบฟวดัล (feudal) เร่ิมเสื่อมถอย กษัตริยขึ้นมามีอํานาจแทนขุนนางและเจาของที่ดิน บรรดาพอคาใหการสนับสนุนกษัตริยเพื่อแลกกับความสะดวกในการคาขาย ผูคนเริ่มตั้งคําถามตอความเชื่อทางศาสนาแบบงมงายที่มีอยูเดิม หันมาใชเหตุผลและความสําคัญของความเปนมนุษยมากขึ้น ทั้งยังมีการรื้อฟนอารยะธรรมโบราณแบบคลาสสิคของกรีกและโรมันขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง ทําใหเรียกยุคนี้วา ยุคฟนฟู ศิลปวิทยาการ และจากทัศนคติที่เปล่ียนไปและการเกิดขึ้นของการ พิมพ ไดทําใหความรูตางๆแพรขยายไปอยางรวดเร็ว นําไปสูการปฏิรูปศาสนา และการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร จนกระทั่งเมื่อเทคโนโลยีตางๆกาวหนาขึ้น กษัตริยตองการขยายเขตอํานาจ และพอคาตองการแสวงหาเสนทางการคาใหมๆ จึงนําไปสูการออกเดินทางสํารวจดินแดนอ่ืนๆโดยมีโปรตุเกสและสเปนเปนผูนํา

Page 12: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

หลังเกิดการตอสูชวงชิงอํานาจกันระหวางกษัตริยกับชนช้ันสูง ฝายกษัตริยเองมักจะไดรับชัยชนะ ทําใหระบอบการปกครองที่มีการรวบอํานาจเขาสูสวนกลางเกิดขึ้นทั่วไปในยุโรป โดยเรียกระบอบนี้วา “สมบูรณาญาสิทธิราชย” (absolute monarchy) แตก็มีการกบฏตอตานกษัตริยเกิดขึ้นอยูเสมอมาซึ่งครั้งที่รุนแรงที่สุดเกิดขึ้นในอังกฤษซึ่งไดสงอิทธิพลตอแนวคิดทางการเมืองที่วาประชาชนควรมีสิทธิมีเสียงในการปกครองประเทศ ก็ไดเปดทางไปสูการปฏิวัติฝร่ังเศสตอมา ดังนั้นการที่บุคคลใดจะไดกาวขึ้นสูการเปน “เจาผูปกครอง” (The Absolute Ruler) ที่มีสมญานามตางกันไปไมวาจะเปน “ขาน”(Khan)“กษัตริย/พระราชา” (King)(Czar) “จักรพรรดิ หรือ ฮองเต” (The Emperor) และที่ในชาติบานเมืองของเราที่ทรงเปนพระเจาแผนดิน ผูซ่ึงทรงเปนสมมติเทพ ผูทรงอํานาจปกครองแผนดินดวยบริบทแหงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ที่ผูคนในชาติตางเคารพ สักการบูชา และยอมรับเทิดทูนกันมานับแตสมัยราชอาณาจักรสุโขทัย มาสู อยุธยา กรุงธนบุรี กระทั่งถึงยุครัตนโกสินทร นั้น ตางลวนแลวหาไดเปนมาและเปนไป ตามครรลองของจารีตประเพณีที่สืบทอดกันมา หรือไดเปนไปตามพระราชประสงค พระราชอํานาจ แหงเจาผูปกครองหรือ พระมหากษัตริยในราชวงศตางๆแตโดยดุสดีไม ทวา ในการที่จะขึ้นสูและสืบทอดอํานาจ ของ “ผูถืออํานาจสูงสุด” ( The Absolute Power)ในแตละวาระ ในแตละสมัยโดยทั่วๆไปนั้น ตางก็ตองประสพพบเจอกับปญหาอุปสรรคในทางขัดแยง ที่เกี่ยวของโดยตรง กับการแยงชิงอํานาจทั้งจากบุคคลภายนอกและบุคคลภายในกันเอง ไมนับรวมถึงความกังขาในความสมบูรณแบบของภาวะผูนํา ความชอบธรรมและไมชอบธรรมในการขึ้นสูอํานาจ ความละโมบโลภมากของเหลาขุนพล ขุนศึก ขุนนาง หรือแมกระทั่งผูที่ใกลชิด ที่ตางหลงใหลใน “อํานาจอันสูงสุด” (The Ultimate Power) ที่ระบอบดังกลาวไดเอื้อไว หรือ ไดถูกกําหนดใหมี ใหเปน ที่ไดทําใหการเปลี่ยนผาน การสืบทอดและไดมาซึ่งอํานาจอันสูงสุดนี้สวนใหญจะบรรลุผลไดก็ดวยศักยภาพแหงปลายหอก ปลายดาบและปลายปนของผูที่มีกองกําลังที่เหนือกวา จากผูที่มีแรงสนับสนุนจากกองทัพที่มากกวา และจากผูที่สามารถคุมกําลังกองทัพไดอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาด มูลเหตุพื้นฐานเหลานี้จึงเปนสิ่งที่ประจักษ สามารถเรียนรูและเขาถึงไดจากการศึกษาประวัติศาสตร

ส่ิ งที่ ไดกล าวมาข างตนนี้ ไดกลาย เปนอดีตที่ ขมขื่นสํ าหรับเจ า ผูปกครอง หรือพระมหากษัตริย หลายตอหลายพระองคในชาติบานเมืองที่มีอายะธรรมอันเกาแก ที่ตางเริ่มตนการปกครองชาติบานเมืองดวยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยที่วานี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อไดมีการเรียกรอง บังคับขมขู หรือแมกระทั่งยึดอํานาจการปกครองที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดนี้ เพื่อเปลี่ยนแปลงไปสูการปกครองภายใตระบอบที่เปนรูปแบบอื่น ที่ไดถูกวิวัฒนาการขึ้นตามกระแสของระบบโลกใหม ตามกระแสกลางทางแหงโลกาวิวัฒน และดวยกระแสแหง สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคเทาเทียมกันของประชาชนที่ไดถูกใหความสําคัญมากยิ่งขึ้นจากเหลาผูนํายุคใหมที่ใหการสนับสนุนระบอบประชาธิปไตยที่มาจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประวัติศาสตรของชาติบานเมืองเราก็

Page 13: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

เชนเดียวกัน ที่ถูกขึ้นชื่อวาเปนอารยะธรรมอันเกาแก ประกอบไปดวยชนชาติที่หลากหลายไมต่ํากวา16เผาพันธุ สถาปนาและสืบทอดการปกครองแผนดินดวยระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย โดยมีพระเจาแผนดินทรงเปนผูถืออํานาจสูงสุดปกครองไพรฟาไพรแผนดิน และที่สําคัญยิ่ง หลายๆพระองค ในหลายยุคสมัย ในหลายรัชกาล ตางก็ตองประสพพบเจอกับการถูกแยงชิงอํานาจ แยงชิงราชบัลลังก อันเปนปรากฏการณตามธรรมชาติในยุคสมัยกอนๆอยางที่ไดกลาวไวในตอนตน ที่ไมไดแตกตางอะไรกับนานาอารยะประเทศในอดีตกาล

แตทวา การเปลี่ยนผาน เปลี่ยนแปลงอํานาจในการปกครองครั้งสําคัญที่สุดของชาติบานเมืองเรา ก็คือการลมระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ซ่ึงโดยเนื้อหาในทางประวัติศาสตร และบทวรรณกรรมตางๆ ที่มีอยูมากมายจากหลากหลายมุมมองของนักคิดนักเขียนและนักวิชาการ ที่ตางก็ไดช้ีใหถึงขอเท็จจริงจากตนตอการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญยิ่งนี้ ทวา ในการนําเสนอดุษฎีนิพนธฉบับนี้ ผูเขียนมีเจตนาที่จะชี้ชัดใหเห็นถึง ปจจัยในการแยงชิงอํานาจ จากคณะบุคคลที่ตองการเปนขั้วอํานาจใหม รวมไปถึงเหตุการณสําคัญอื่นๆที่ไดเกิดขึ้นตามมาอีก 24 ครั้ง วานาจะมีรูปแบบและอิทธิพลมาจากการเดินรอยตามประวัติศาสตรที่เปน “มรดกตกทอดมาจากอดีตกาล” ของการแยงชิงอํานาจ ที่ไดเร่ิมตนขึ้นดวยความอุจอาจหาญกลาของบุคคลกลุมหนึ่ง ที่เรียกตนเองวา “คณะราษฎร”

การที่กลุมคนกลุมหนึ่งหาญกลาพอที่จะลมลางเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเดิม เพื่อเปลี่ยนผานไปสูระบอบใหมตามหลังประเทศตางๆในยุโรปดังที่ไดกลาวไวในขางตน ซ่ึงแมจะโดยการยินยอมจากพระเจาแผนดินในขั้นตน และแมจะมิไดรับการเรียกรองจากประชาชนสวนใหญเพราะยังจนดวยปญญาในสิ่งที่แปลกใหมนี้ วาจะสามารถเปลี่ยนผานชาติบานเมืองนี้ใหไปสู “ส่ิงที่ดีกวา” เพื่อประโยชนสุขของผูคนชนในชาติ หรือ เพื่อประโยชนสุขแหงตนดวยการยึดครองอํานาจจากพระเจาแผนดินมาเปนของตน การปฏิวัติที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวของชาติบานเมืองเรานี้ จึงผิดแปลกแตกตางไปจากนานาอารยะประเทศที่ไดกระทําการเปลี่ยนแปลงดวยเสียงเรียกรองจากผูคนชนในชาติ ที่ตองการ “ชีวิตที่ดีกวา จากสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคในการดําเนินชีวิต และการมีสวนรวมในการปกครองประเทศ” ที่ เปนผลพวงมาจากขอดีที่มีใหตามวิ ถีแหงระบอบประชาธิปไตยเชนวา แตทวาผลเสีย นานานับประการที่ไดเกิดขึ้นตามหลังการปฏิวัติครั้งนี้สําเร็จลง ก็ยังเปนมรดกตกทอด(ที่ไมพึงประสงค) ที่ยังมีใหเห็นกันอยู แมเวลาจะผานเลยมาแลวกวา75ป

อีกทั้ง สวนที่สําคัญยิ่งอีกสวนหนึ่งของดุษฎีนิพนธฉบับนี้ คือการนําปจจัยตางๆ ที่ไดนี้ เขาสูกระบวนการถอดรหัส ที่ไดถูกออกแบบมาเปนการเฉพาะ ที่ยังไมเคยมีการจัดทําขึ้นมากอน เพื่อหาคาในเชิงสถิติ เพื่อนําใชในการวิเคราะหหาคาผลลัพธอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของกับการเมือง การปกครอง

Page 14: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ในมิติอ่ืนๆที่เปนประโยชนตอการศึกษาเรียนรู อีกทั้ง ยังจะสามารถนําใชเปนเครื่องมือในการวิเคราะหความเปนไปไดที่เหตุการณที่ไมพึงประสงคนี้จะเกิดขึ้นหรือไมเกิดขึ้นอีกในอนาคต

วัตถุประสงค ดุษฎีนิพนธฉบับนี้ ผู เขียนไดจัดทําขึ้น โดยมีวัตถุประสงคหลัก 5 ประการที่มีความเกี่ยวของตรงกัน ตอการหาคําตอบใหกับปญหานําวิจัย ที่เกี่ยวของกับบริบทและปจจัยที่นําพาไปสูการปฏิวัติ รัฐประหารที่ผานมา ดังนี้ - 1.เพื่อสืบคน สภาพการณ สถานการณ และเหตุการณที่เปนเหตุของความขัดแยง ที่เอื้อตอการโคนลมและแยงชิงอํานาจดวยการกบฏ ปฏิวัติ และรัฐประหาร นับแตยุคสมัยอยุธยา กรุงธนบุรี จนถึงยุคสมัยปจจุบัน 2. ลําดับเหตุการณของการกบฏ ปฏิวัติ รัฐประหารของประเทศไทยที่เคยมีมาทั้ง 25 คร้ัง โดยการอางอิงจากแหลงขอมูลเชิงประวัติศาสตรทั้งในอดีตและปจจุบัน เพื่อพิสูจนจํานวนครั้งที่แนนอนในทางประวัติศาสตรที่ขัดแยงกัน รวมถึงการหามูลเหตุจูงใจที่นําพาไปสูการเกิดของสภาพการณ สถานการณ และเหตุการณเหลานั้น 3. เพื่อคนหาปจจัยนําตางๆ ที่นําพาไปสูการกบฏ ปฏิวัติ และรัฐประหาร ที่ผานมาทั้ง 25 ครั้ง 4. เพื่อหาคาในเชิงสถิติที่จะสามารถใชพิสูจนและรองรับผลลัพธอ่ืนๆที่ไดจากการศึกษาวิจัย ดวยเครื่องมือวิจัยที่ไดถูกคิดคนขึ้นโดยผูเขียนดุษฎีนิพนธเอง เพื่อใหเห็นภาพรวมทั้งหมด ที่จะสามารถทําใหเขาใจเนื้อหาสาระของการกบฏ ปฏิวัติและรัฐประหารไดอยางตรงไปตรงมา แมนยําขึ้น และงายขึ้นตอการศึกษาและสืบคนขอมูลตอไปในอนาคต 5. เพื่อเสริมเติมขอมูลในทางประวัติศาสตรที่เกี่ยวของกับการปฏิวัติ รัฐประหารที่พึงมีอยูในปจจุบันและนําใช ทฤษฎีระบบการเมืองไทย และเครื่องมือในการวิจัยที่ไดคิดคนขึ้นใหมเปนการเฉพาะสําหรับดุษฎีนิพนธฉบับนี้ ใหเกิดประโยชนตอการศึกษาวิจัยตอไปในอนาคต

วิธีการศึกษา ศึกษาวิจัย เนื้อหาเชิงคุณภาพโดย ทฤษฎีระบบการเมืองไทย ฉบับประยกุต โดย ฐนน จุลเวช ศึกษาวิจัย เนื้อหาเชิงปริมาณโดย ตนแบบเครื่องมือวิจัย โดย ฐนน จุลเวช

ทฤษฎีระบบการเมืองไทยฉบับประยุกต ผูเขียนดษุฎีนิพนธไดประยุกตขึน้จากตนแบบทฤษฎีระบบ ของ David Easton และไดทําการปรับปรุงเสริมเติมในสวนขององคประกอบตางๆที่ไดมาจากรูปแบบของอาจารยสมชาย ภคภาคววิัฒน และจากอาจารยลิขิต ธีรเวคิน ที่ใชส่ือในการเรียนการสอนในหองเรยีนของนักศึกษาระดับปริญญาเอกที่ผูเขียนดษุฎีนิพนธเขาศึกษา ผูเขียนจงึไดรวบรวมเอาปจจัยที่สําคญัๆตางๆที่อาจารยทั้งสองทานไดแสดงไว ในตางกรรมตางวาระที่จะสามารถสนับสนุนซึ่งกันและกันได ผนวกเขารวมกนั เพื่อใหเปนตนแบบของทฤษฎีที่มีเอกลักษณ

Page 15: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

เฉพาะของไทย(ที่มีหลักการคงเดิมแตองคประกอบทางการเมืองในแตละประเทศที่ใชระบบรัฐสภาอาจแตกตางกนัไปบาง)โดยที่มีโครงสรางและองคประกอบถูกตองตรงกันกับหลักการเมืองการปก ครองของไทย ที่จะสามารถใชอธิบาย และอภิปรายถึงปรากฏการณทางการเมืองตางๆที่ไดเกิดขึน้ในชาติบานเมอืงของเราไดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ โดยเฉพาะอยางยิ่งในทางสื่อสารการเมือง ดังจะปรากฏในดุษฎนีิพนธฉบับนี้ตอไป อนึ่ง กรอปแนวคิดในการถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหาร พ.ศ.2475 -2549 นี้นอกจากจะมีที่มาและความสําคัญของปญหา รวมถึงปญหานําวิจัยที่ไดกลาวไวในบทที่1. เปนมูลเหตุจูงใจในการจัดทําดุษฎีนิพนธฉบับนี้แลว ผูเขียนยังพบวา ไมวาจะเปนการอธิบายความ ใหเหตุใหผล สนับสนุนผลลัพธ ที่ไดจากการศึกษาวิจัยในประเด็นดังกลาวที่ผานมา ยังมีจุดออน ที่สําคัญยิ่งในการใหเหตุผลที่มาจากการอางอิง หลักการและเหตุผลจากทฤษฎีตางๆ ที่อาจจะยังไมแมนยํา หรือ ยังไมถูกตองตรงกันกับองคาพยพในทางโครงสรางทางการเมืองการปกครองของประเทศไทยเรา ซ่ึงก็พอเปนที่เขาใจได เนื่องเพราะองคความรูทั้งเกาและใหมๆสวนใหญแลวก็เกิดขึ้นจากนักคิดจากชาติตะวันตก ผนวกกับความนิยมชมชอบเปนพิเศษในทฤษฎีตะวันตกของผูศึกษาวิจัยทั่วๆไป ที่มีอยูเปนทุนเดิม จากเหตุผลขางตน ผูเขียนจึงเริ่มตนกรอปแนวคิดและทฤษฎีสําหรับดุษฎีนิพนธฉบับนี้ ดวยทฤษฎีระบบการเมืองไทยฉบับประยุกตโดยผูเขียนเองเปนการนํารอง สืบเนื่องจากเหตุผลตางๆดังนี้ 1. ผูเขียนเช่ือวา ทฤษฎีระบบ(ตนแบบของDavid Easton) และนิยามความหมายของคําวาระบบเองนั้น เปนปจจัยพื้นฐาน ที่มีอยูในทุกสรรพสิ่ง และมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะทําใหทุกสรรพสิ่งนั้นใชงานและดํารงความเปนระบบของตนเองเอาไวได ระบบการเมืองก็เชนเดียวกันไมแตกตางไปจากส่ิงอ่ืนๆ ที่จําตองมีองคประกอบตางๆ ที่ตองปฏิสัมพันธกัน ทําหนาที่ระหวางกันและกัน เพื่อใหใชงานและรักษาความเปนระบบนั้นเอาไวได ดังนั้น ในการศึกษาวิจัยเพื่อใหคําอธิบายและใหเหตุผลตอส่ิงที่เกิดขึ้นในชาติบานเมืองของเรา ก็ควรที่จะใชทฤษฎีที่มาจากโครงสรางของบานเราเองเปนตัวอธิบาย ความ เปนตัวอางอิง และเปนตัวดัชนีช้ีวัด ควบคูไปกับทฤษฎีตะวันตก ที่มักนิยมใชกัน แตโดยลําพัง 2. ผูเขียนเชื่อวา โครงสรางระบบการเมืองที่เปนของไทยเอง ดังปรากฏในทฤษฎีระบบการเมืองไทยของผูเขียนเองที่ไดจัดทําขึ้นเปนการเฉพาะนี้ จะสามารถใชอธิบายความ ใหเหตุใหผล และพิสูจนการอภิปรายผลของการถอดรหัสปฏิวัติ รัฐประหารไดแมนยํามากขึ้น อันจะทําใหดุษฎีนิพนธฉบับนี้มีความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้นตามไปดวย 3. ผูเขียนเชื่อวา การใหเหตุผล และการอภิปรายผล ของการถอดรหัสปฏิวัติ รัฐประหารไมวาจะในทางสื่อสารการเมือง หรือ การพิสูจนขอเท็จจริงที่พบเจอ จําเปนที่จะตองมีตัวช้ีวัดที่มาจากแหลงเดียวกัน ไมใชมาจากหลากหลายตัวช้ีวัด ที่นอกจากจะทําใหลดความนาเชื่อถือของงานศึกษาวิจยัลง

Page 16: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

แลว ยังอาจทําใหไมอยูในรูปแบบที่เปนมาตรฐาน และทําใหเกิดความสับสนและขอกังขาตอการอภิปรายผลที่ไดตางๆเหลานัน้

ดังนั้น กรอปแนวคิดและทฤษฎีในการถอดรหัสปฏิวัติ รัฐประหาร ของผูเขียนจึงมทีี่มาจากการประยกุตใชทฤษฎีดังกลาว ผนวกกับการนําใชทฤษฎีตางๆที่เกี่ยวเนื่องทั้งในทางตรงและในทาง ออมกับการปฏิวัติ รัฐประหาร เชน ทฤษฎีระบบ ทฤษฎีการพัฒนาและการผุกรอนทางการเมอืงรวมถึงทฤษฎีการสื่อสารทางการเมืองเพื่อใชอภิปรายผลตางๆที่ได เพื่อหาคําตอบใหกับปญหานาํวิจัยทีไ่ดนาํเสนอไวขางตนไดอยางสมบูรณแบบ ทฤษฎีระบบการเมืองไทย ฉบับประยุกตโดย ฐนน จุลเวช

โครงสรางสวนบน

โครงสรางสวนกลาง

รัฐธรรมนูญ

1.บริหาร 2. นิติบัญญัติ

3.ตุลาการ

OUT PUT 1.นโยบาย/งานบริหาร 2.พ.ร.บ./พ.ร.ก./พ.ร.ฏ 3.คําพิพากษา/วินิจฉัย 4.กฎกระทรวง / กรม 4.ขาราชการสวนกลาง

สื่อสาร การเมือง

ทหาร พลเรือน

สื่อ มวลชน

กลุมผล ประโยชน

กลุม กดดัน

องคการปกครองสวนทองถิ่น

ประชาชน

โครงสรางสวนลาง

ขาราชการสวนภูมิภาค

การสนับสนุน INPUT ขอเรียกรอง

สื่อสาร การเมือง

Page 17: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

เคร่ืองมือวิจัย เพื่อถอดรหัสขอมูล โดย ฐนน จุลเวช

การปฏิวัติรัฐประหารในยุคสมัยตาง ๆ ของการเมืองไทย นับแตการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

ยุคท่ี 1. สมัยคณะราษฎร (มิ.ย. 2475 – พ.ย. 2490)

ปฏิวัติ รัฐประหาร กบฏ

1) 24 มิ.ย. 2475 โดยคณะราษฎรปฏิวัติรัฐประหารเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง

*

2) 21 มิ.ย. 2476 โดยพระยาพหลฯ ยึดอํานาจคืนจากรัฐบาลพระยามโนปกรณฯ

*

3) 11 ต.ค. 2476 โดยนายทหารที่จงรักภักดีตอระบอบเดิมปฏิวัติคณะราษฎร กบฏบวรเดช

*

4) 3 ส.ค. 2478 โดยสิบเอกสวัสดิ์ มหะหมัด ที่จงรักภักดีตอระบบเดิม จับกุมพระยาพหลฯ และหลวงพิบูลสงครามไวเปนตัวประกัน

*

5) 29 ม.ค. 2482 โดยพระยาทรงสุรเดช ที่จงรักภักดีตอระบบเดิม และถูกเนรเทศออกไปนอกราชอาณาจักร

*

6) 8 พ.ย. 2490 โดยพลโทผิน ชุณหะวัณ เปนหัวหนา ยึดอํานาจจากรัฐบาลพลเรือตรีถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์

*

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแสในภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจสวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

1 * * * * (4) 2 * * * * (4) 3 * * (2) 4 * (1) 5 * (1) 6 * * * (3)

(2) (-) (2) (3) (3) ( - ) (1) (4) =15

ยุคท่ี 2. สมัยคณะรัฐประหาร จอมพล ป. (พ.ย. 2490 – ก.ย. 2500)

ปฏิวัติ รัฐประหาร กบฏ

7) 28 ก.พ. 2491 กบฏแบงแยกดินแดน ในภาคอีสานออกจากประเทศไทย

*

8) 6 เม.ย. 2491 โดยคณะนายทหารที่ทําการ 8 พ.ย.2490 บังคับใหนายควง อภัยวงศลาออก แลวมอบตําแหนงใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม

*

9) 01 ต.ค. 2491 กบฏเสนาธิการโดยพลตรีสมบูรณ ศรานุชิต และพลตรีเนตร เขมะโยธิน ตองการลมรัฐบาลจอมพล ป.

*

Page 18: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

10) 26 ก.พ . 2492 กบฏวังหลวง โดยนายปรีดี พนมยงครวมกับนายทหารเรือและพลเรือน ตองการลมรัฐบาลจอมพล ป.

*

11) 29 มิ.ย. 2494 กบฏแมนฮัตตัน โดย น.อ.อานน บุญฑริกธาดาและนาวาตรี มนัส จารุภา ตองการลมรัฐบาลจอมพล ป.

*

12) 29 พ.ย. 2494 โดยจอมพลป. พิบูลสงคราม รัฐประหารยึดอํานาจตนเอง นํารัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใชอีกครั้ง

*

13) 8 พ.ย. 2497 กบฏสันติภาพโดยกุหลาบ สายประดิษฐ รัฐบาลจอมพลป. พิบูลสงคราม เห็นวาเปนภัยตอรัฐ

14) 16 ก.ย. 2500 โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ยึดอํานาจรัฐบาลจอมพลป. พิบูลสงคราม

*

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแสในภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจสวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

7 * * (2) 8 * * * (3) 9 * * (2) 10 * * (2) 11 * * (2) 12 * (1) 13 * * (2) 14 * * * (3)

(1) (-) (2) (3) (5) (-) (-) (5) = 16

ยุคท่ี 3. สมัยคณะปฏิวัติ จอมพลสฤษดิ์ (ก.ย. 2500 – ต.ค. 2516)

ปฏิวัติ รัฐประหาร กบฏ

15) 20 ต.ค. 2501 โดยจอมพลสฤษดิ์ ในนามคณะปฏิวัติลมรัฐธรรมนูญและสภาผูแทน จอมพลถนอม ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี

*

16) 17 พ.ย. 2514 โดยจอมพลถนอม รัฐประหารตนเอง เพื่อผูกขาดอํานาจ

*

17) 14 ต.ค. 2516 โดยขบวนการประชาชน เพื่อโคนลมขั้วอํานาจ ถนอม – ประภาส – ณรงค กิตติขจร

(*) *

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแสในภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจสวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

15 * * (2)

Page 19: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

16 * * (2) 17 * * * * (4) (1) (1) (1) (-) (2) (1) (-) (2)= 8

ยุคท่ี 4. สมัยคณะปฏิรูป (ต.ค. 2516 – ก.ย. 2528)

ปฏิวัติ รัฐประหาร กบฏ

18) 06 ต.ค.2519 โดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู เขายึดอํานาจการปกครองประเทศ มอบใหนายธานินทร กรัยวิเชียร เปนนายกรัฐมนตรี

*

19) 26 มี.ค. 2520 พลเอกฉลาด หิรัญศิริ นํากําลังพลจากกองพล9 เขายึดสถานที่ราชการ 4 แหง ถูกปราบปรามโดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู

*

20) 20 ต.ค. 2520 โดยคณะปฏิรูปเดิมในชื่อใหมวาคณะปฏิวัติโดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู ลมรัฐบาลนายธานินทร กรัยวิเชียร

*

21) 1 เม.ย. 2524 โดยกลุมทหารหนุมระดับ ผบ.กรมที่คุมกําลัง เขายึดอํานาจปกครองประเทศ จากรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท

*

22) 9 ก.ย. 2528 โดยกลุมที่เรียกตนเองวาคณะปฏิวัติ นําโดยพลเอกเสริม ณ นคร พยายามเขายึดอํานาจรัฐบาลพลเอกเปรม

*

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแสในภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจสวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะรัฐบาล/การเมือง

18 * * * * (6) 19 * * (2) 20 * * * * (4) 21 * * (2) 22 * * (2) (-) (-) (3) (2) (4) (1) (2) (2)=14

ยุคท่ี 5. ยุคการเมืองปจจุบัน ( ก.ย.2528 – ก.ย.2549)

ปฏิวัติ รัฐประหาร กบฏ

23) 23 ก.พ. 2534 โดยคณะ รสช. ยึดอํานาจจากรัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ

*

24) 20 พ.ค. 2535 วิกฤตการณพฤษภาทมิฬขับไลการตอยอดอํานาจของแกนนําคณะ รสช. ที่ พล.อ. สุจินดา คราประยูร ไดรับการเสนอชื่อขึ้นเปนนายกรัฐมนตรี

(*)

25) 19 ก.ย. 2549 โดยคณะ คมช. ยึดอํานาจจากรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หลังจากฝายพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดดําเนินการขับไลมากอนหนา

*

Page 20: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

รวม 25 คร้ัง 1 13 11

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน จํานวนปจจัย / คร้ัง การปกครองกระแสโลก

กระแส ใน ภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจ สวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

23 * * * * (4) 24 * * (2) 25 * * * (3)

(-) (-) (-) (1) (1) (2) (2) (3) = 9

รวม (4) (1) (8) (9) (15) (4) (6) อันดับ (6) (8) (4) (3) (2) (6) (5)

(16) = 62 (1)

ผลการศึกษา และการอภิปรายผล

1. คาความถี่ของปจจัยท่ีนําพาไปสูการปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏ ท่ีผานมา จากปจจัยภายนอก จากปจจัยภายใน

การปกครองกระแสโลก

กระแสใน ภูมิภาค

แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน

แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม

เพื่ออํานาจ สวนตัว

ประชาชนเรียกรอง/ มีสวนรวม

สภาวะสังคม/เศรษฐกิจ

สภาวะ รัฐบาล/การเมือง

4 คร้ัง 1 คร้ัง 8 คร้ัง 9 คร้ัง 15 คร้ัง 4 คร้ัง 6 คร้ัง 16 คร้ัง

อันดับ 6 รวม

อันดับ 8 นอยสุด

อันดับ 4 อันดับ 3 อันดับ 2 อันดับ 6 รวม

อันดับ5 อันดับ 1 มากสุด

ลําดับของปจจยัที่นําพาไปสูการปฏิวัติรัฐประหารและกบฏ ทั้ง 25 ครั้ง ที่ใชมากสุดไปจนถึงนอยสุด มีดังนี้ – อันดับ 1. สภาวะของรัฐบาล/ การเมือง รวม 16 คร้ัง อันดบั 2. เพื่ออํานาจสวนตวั รวม 15 ครั้ง อันดบั 3. แยงชิงอํานาจฝายตรงขาม รวม 9 คร้ัง อันดบั 4. แยงชิงอํานาจฝายเดียวกัน รวม 8 คร้ัง อันดบั 5. สภาวะสังคม / เศรษฐกจิ รวม 6 คร้ัง อันดบั 6. การปกครองกระแสโลก รวม 4 คร้ัง อันดบั 6. ประชาชนเรียกรอง / มสีวนรวม รวม 4 คร้ัง อันดับ 8. กระแสในภูมิภาค รวม 1 คร้ัง

Page 21: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่1. ผลลัพธที่ไดจากงานวจิัยหัวขอนี้ ช้ีชัดใหเห็นไดวา-

1.กอนที่จะเกดิการลมลางระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยไปเปนระบอบประชาธิปไตยนั้น ปจจัยนําปจจยัหนึ่งมาจากความคุนเคยในการแยงชิงอํานาจจากราชบัลลังกที่เคยปรากฏขึ้นบอยครั้งมาอยางตอเนือ่งในทางประวัติศาสตรนับแตสมัยราชอาณาจักรสุโขทยั อยุธยา กรุงธนบุรี มาจนถึงยุดสมัยรัตนโกสินทร จึงอาจกลาวไดวาปจจยัดังกลาวนี้เปนมรดกตกทอดมาแตอดีตกาลของชาติบานเมืองที่ขมขื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งหากไดพิจารณาจากประกาศของคณะราษฎรแลว จะเห็นไดชัดวาขาดไรซ่ึงความสักการบูชา ยําเกรงตอพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวัรัชกาลที่7 อยางนาใจหาย เหตุการณที่เกดิจึงมาจากจุดแตกหกัโดยสิ้นเชิงระหวางขั้วอํานาจใหมและเกา

2.กอปรกับในยุคสมัยดังกลาวกระแสหลักในระบบการเมอืงการปกครองของโลกตะวนัตกก็ไดผันแปรจากระบบกษัตริยมาสูระบอบประชาธิปไตยในหลายๆประเทศมาอยางตอเนื่อง การที่มีคณะบุคคลจากขั้วอํานาจใหมและชนชั้นนาํในขณะนัน้ไดเขารับการศกึษาในตางแดน ไดสัมผัสรับรูเปนอยางดีถึงระบอบการปกครองใหมนีย้อมยิ่งทําใหกระตุนใหเกดิความตองการทีจ่ะสรางการเปลี่ยนแปลงใหบังเกิดขึน้รวมอยูดวย

3.นับแตเร่ิมเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475เปนตนมา นัยทางการเมืองของกลุมคน คณะบุคคล และบุคคลที่ไดเขาสูอํานาจบริหารชาติบานเมืองนั้น เกือบทั้งหมดตางมุงหวังและกระทําการณเพื่อตอบสนองความตองการของตนเปนหลัก ประชาชนและชาติบานเมืองนั้นเปนแตเพียงขอกลาวอางในการที่จะทําใหไดมาซึง่อํานาจดังกลาว ดังนั้นเหตแุละผลที่สามารถชี้ชัดไดก็คอื การขาดความตองการ การเรียกรอง และความเหน็ชอบเห็นดวยในการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากภาคประชาชนเอง และเมื่อการณเปนดังนี้จงึเปนการเปดโอกาสใหผูที่ยดึ ที่เขาสูอํานาจตางมีอิสระ มีเอกภาพมากพอที่จะดําเนินการทางการเมอืงไปในรูปแบบที่ตนประสงค โดยไมจําเปนตองฟงเสียงจากภาคประชาชนแตอยางใด การเมืองในยุคสมยัตนๆ จึงเปนเรื่องที่เกี่ยวของสัมพันธโดยตรงกับนักการเมือง และผูที่อยูในอํานาจแตโดยลําพัง และถึงแมวาจะเกิดเหตุการณ 14 ตุลา ที่ประชาชนรวมตัวกันเรียกรองการปลดแอกจากรัฐบาลทหาร จากเผด็จการรัฐสภาก็ตามท ี ทวา รูปแบบการเมืองที่เคยเปนมา กย็ังสามารถหวนคืนกลับมาภายในระยะเวลาเพยีงไมกี่ปใหหลัง

4.ที่นาใจหายกวาส่ิงอ่ืนใดกค็ือ จากจํานวนการกบฏ ปฏิวัติ และรัฐประหารทั้ง 25 คร้ังนั้น จํานวน 20 คร้ัง นับแตพ.ศ.2489เปนตนมา ไดเกิดขึน้ตอหนาพระเนตรพระกัณฑขององคพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั รัชกาลที่ 9

5.ปจจัยในหวัเร่ืองประชาชนเรียกรอง/มีสวนรวม ก็เปนตัวแปรที่สําคัญยิ่ง ที่สามารถสะทอนใหถึงความไมชอบธรรมของการปฏิวัติ รัฐประหารที่ผานมาในหลายๆครั้ง และที่นาสนใจยิ่ง ที่ผิดแปลกไปจากเหตกุารณอ่ืนๆ ก็คอื การปฏิวัติ รัฐประหารเมื่อ 19 กันยายน 2549 ที่มีประชาชนจากหลายภาคสวน จากหลายชนชั้น ตางออกมาเรียกรอง เดินขบวนขับไลรัฐบาลภายใต

Page 22: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

การนําของพ.ต.ท.ทักษณิ ชินวัตร ซ่ึงหากเปนไปตามรูปแบบในอดตีแลว ประชาชนเหลานี้ คงอาจจะถูกรัฐบาลสั่งสลายการชุมนุมและควบคุมสถานการณดวยกําลังทหาร หรือ ตํารวจ เพื่อใหเหตุการณคืนสูสภาวะปกต ิ แตทวาในครั้งนี้ ทหารเองกลับเปนฝายออกมาอยูเคียงขางประชาชน กระทําการณรัฐประหารยดึอาํนาจจากรัฐบาลเสียเอง ไมสืบทอดอํานาจ คืนอํานาจใหแกประชาชนโดยที่ไมมีขอแมใดๆทั้งส้ิน เหตุการณคร้ังนี้จึงสะทอนใหเห็นไดวา ภาคประชาชนในปจจุบนันัน้ มีบทบาทและมคีวามสําคัญตอภาคการเมืองมากมายกวาในอดีตนัก จนอาจสามารถกลาวในหลักการที่วา แทจริงแลวการเมืองเปนเรื่องของประชาชน เพราะประชาชนเองเปนผูเลือกตัวแทนของเขา เปนศูนยกลางในการกําหนดนโยบายของรฐับาลเพื่อใหสอดรับ สอดคลองกับความตองการและความเหมาะสมกับประชาชนคนในชาตนิัน้ อาจกําลังเกดิขึ้นจริงในชาติบานเมืองของเรา ซ่ึงเมื่อจริงแทเต็มรูปแบบเมื่อไรทัศนคตใินทางการเมอืงของเหลานักการเมืองที่เคยมีมา ก็จาํที่จะตองปรับ เปลี่ยนและเปลี่ยนผานไปสูการใหความสําคัญ ใหความเกรงใจและจรงิใจ ตอภาคประชาชนนี้ควบคูกันไป ซ่ึงเมื่อนั้น การเมืองไทยก็อาจจะไมใชเร่ืองน้ําเนา ไมใชเร่ืองของการแยงชงิอํานาจกันดวยวิธีสกปรกที่คุนเคย หรือ อาจไมใชเร่ืองของการตอบแทนบุญคุณของคนกันเองภายใตระบบอุปถัมภ อยางที่เปนมา อีกตอไป 2. คาเฉลี่ยของจํานวนปจจัยท่ีใชในการทําปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏ แบบแยกประเภท

คาเฉลี่ยของจํานวนปจจัย ประเภท จํานวนครั้ง จํานวนปจจัยที่ใช

ปจจัยรวมที่กําหนด ที่ใช ผลที่ไดรับ

การปฏิวัติ 1 4 8 4 สําเร็จ

การรัฐประหาร 13 40 104 3.08 สําเร็จ

การกบฏ 11 18 88 1.64 ไมสําเร็จ

รวม 25 62 200 2.48

การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่ 2 – ผลลัพธที่ไดจากงานวจิัยหัวขอนี้สามารถชี้ชัด และสนับสนุนไดอยางมีน้ําหนกัในประเด็นของความไมมีเหตุอันพอเพียงที่เกี่ยวของกบัสภาพการณของชาติบานเมือง ในการที่จะกระทําการ ปฏิวัติ รัฐประหาร จากหลายๆครั้งที่ผานมา ดังจะเห็นไดวาโดยเฉลี่ยแลวปจจัยที่นําพาไปสูการปฏิวัติรัฐประหารโดยรวมนัน้ ใชอยูเพียง 2 ปจจยักวาๆเทานั้น หรือ (2.48) ในขณะทีก่ารทาํรัฐประหารที่ไมสําเร็จลุลวงนั้น(กบฏ) มปีจจัยเฉลีย่อยูที่ไมถึง2 ปจจัย หรือ (1.64) และในรัฐประหารทีท่ําสําเร็จ ก็มีปจจัยเฉลีย่อยูที่ 3ปจจัยกวาๆเทานั้น (3.08) จากคาเฉลี่ยขางตน จึงพอสรุปไดวา การปฏิวัติรัฐประหารในบานเราที่ผานมา สวนใหญเปนการปฏิวัตเิพื่อตนเอง โดยการแยงชิงอํานาจระหวางผูคนที่อยูฝายเดียวกันเอง และที่อยูฝายตรงขาม มากถึง 21 คร้ัง มีการปฏิวัติที่ดูเหมอืนวาจะกระทาํไปเพื่อชาติบานเมืองและประชาชน แตใน

Page 23: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ทายสุดแลว การณก็มิไดเปนดังวาเสียทเีดยีว จํานวน 1 คร้ังในพ.ศ.2475 และมีอยูเพยีง 3 คร้ังเทานัน้ ที่มีเหตุ มีการเรียกรองและมสีวนรวมมาจากภาคประชาชนเอง 3. คาความถี่ของการปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏ ตามยุคสมัยตางๆของการเมืองไทย

ยุคสมัยทางการเมือง ชวง พ.ศ. จํานวนป จํานวนครั้ง

จํานวนรวม

(ครั้ง)

คาความถี่/จํานวนป

คา % ของจํานวนครั้งที่เกิด/สมัย

1. สมัยคณะราษฎร 2475-2490 15 6 25 2.5 ป / คร้ัง 24% (2) 2. สมัยคณะรัฐประหาร 2490-2500 10 8 25 1.25ป/ คร้ัง 32% (1) 3. สมัยคณะปฏิวัติ 2500-2516 16 3 25 5.3 ป / คร้ัง 12% (4) 4. สมัยคณะปฏิรูป 2516-2528 12 5 25 2.4 ป / คร้ัง 20% (3) 5.สมัยการเมืองปจจุบัน 2528-2549 21 3 25 07 ป / คร้ัง 12% (5) คาเฉลี่ย 74 25 03ป / คร้ัง

การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่ 3 – ผลลัพธที่ไดจากงานวจิัยหัวขอนี้สามารถชี้ชัดใหเห็นวา นับเวลาแต พ.ศ.2475 – 2549 รวมเวลา 74 ปนัน้ มีการปฏิวตัิรัฐประหารและกบฏ ถึง 25 ครั้ง ทําใหคาเฉลี่ยความถี่ในการทําปฏิวัติรัฐประหาร อยูที่ 3 ปตอคร้ัง ซ่ึงนับไดวาเปนตัวเลขที่นาตกใจยิ่ง และทําใหเกิดคําถามขึ้นมาในใจวา บานเมืองของเรารอดมาถึงจุดนี้วนันี้ไดอยางไร และพวกเราคนไทยกันเองไดเรียนรู ไดบทเรียนอะไรมาบางจากเหตกุารณอันเลวรายที่ผานมา ที่จะทาํใหพวกเราตืน่ตัว และไมสมยอม ไมยอมจํานนตอความเลวรายในการใชอํานาจของผูนําประเทศ และในทางการเมือง

4. ปฏิทินการเมือง แสดงปท่ีเกิดการปฏิวัติ รัฐประหารและกบฏ ในแตละคร้ัง (รวม25 ครั้ง)

2475 2476 2477 2478 2479 2480 2481 2482 2483 2484 2485 2486-89 2490

ครั้งท่ี 1 2,3 4 5 6

2490 2491 2492 2493 2494 2495 2496 2497 2498 2499 2500

คร้ังท่ี 7,8,9 10 11,12 13 14

2500 2501 2502 2503 2504 2505 2506 2507 2508 2509 2510 2511-15 2516

คร้ังท่ี 15 (2514) 16 17

2516 2517 2518 2519 2520 2521 2522 2523 2524 2525 2526 2527 2528

คร้ังท่ี 18 19,20 21 22

2528 2529 2530 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539-48 2549

คร้ังท่ี 23 24 25

การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่ 4 –

Page 24: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

จากปฏิทินการเมืองที่ผูวิจัยออกแบบขึ้นเอง สามารถทําใหมองเห็นภาพใหญใน 2 ประเด็นสําคัญๆก็คือ 1.หากภายในสถาบันทหารนั้น ไมมีเหตขุองความขัดแยงกันเองบนพืน้ฐานของความตองการขึ้นสูอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศแลว เหตุผลที่ไดนําพาไปสูการปฏิวตัิ รัฐประหารในยุคสมัยทางการเมืองตางๆจะไมมีไมเกดิขึ้น2.กอปรกับชวงเวลาที่ปลอดการปฏิวัติรัฐประหารนัน้ผูนําประเทศสวนใหญตางกล็วนแลวแตเปนนายทหารทีม่ีทั้งอิทธิพลจากกองทัพ และที่มีอิทธิพลเหนือเหลานักการเมืองและพวกเสรีนยิมอยางเหน็ไดชัด

5. การเรียงอันดับยุคสมัยของการเมืองไทยท่ีมีการปฏิวัติ รัฐประหาร มากสุด - นอยสุด

อันดับที่ ยุคสมัยทางการเมือง ผูมีอํานาจในยุคสมัย จํานวน

1 คณะรัฐประหาร พ.ศ. 2490 - 2500 จอมพล ป. / สฤษดิ์ 8 คร้ัง ในชวงเวลา 10ป

2 คณะราษฎร พ.ศ.2475 - 2490 แกนนําคณะราษฎร 6 คร้ัง ในชวงเวลา 15ป

3 คณะปฏิรูป พ.ศ.2516 - 2528 ถนอม / พล.ร.อ.สงัด 5 คร้ัง ในชวงเวลา 12ป

4 คณะปฏิวัติ พ.ศ.2500 - 2516 จอมพล สฤษดิ์ / ถนอม 3 คร้ัง ในชวงเวลา 16ป

5 การเมืองปจจุบัน พ.ศ.2528 - 2549 พล.อ เปรม ติณสูลานนท 3 คร้ัง ในชวงเวลา 21ป

การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่ 5 – ในยุคสมัยที่มปีฏิวัติ รัฐประหารนอยสุด สองอันดับสุดทาย คือ 1. ยุคสมัยคณะปฏิวัติ 2500 -2516 และ 2. ยุคสมัยการเมืองปจจุบัน 2528 - 2549

ทั้ง 2 ยุคสมัยเกิดการปฏิวัต ิรัฐประหารในยุคสมัยละ3 คร้ัง ในชวงเวลาที่ใกลเคียงกนัคือ 16 และ 21 ปตามลําดับ ส่ิงที่นาสังเกตกค็ือ ในยุคสมยัคณะปฏิวตัินัน้รัฐบาลมีความมั่นคงอยูมาก เนื่องจากมีผูนาํที่ทรงอิทธิพลทั้งทางการเมืองและทางการทหาร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต และจอมพลถนอม กิตติขจร สามารถกุมอํานาจทั้งในสภาและนอกสภาไดอยางเบ็ดเสร็จเดด็ขาด สามารถสืบทอดและผูกขาดอํานาจของตนเองไวไดตลอดชวงยุคสมัยทางการเมืองของทั้งสอง

สวนในยุคสมยัการเมืองปจจบุัน ก็จะพบวาในชวงตนสมัยที่เปนของรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท สภาพการเมืองตกอยูในสภาพที่จําเปนตองมีคนกลาง ที่มีบารมีมากพอ เขาทําหนาที่ผูนําประเทศ เพื่อใหเกิดความยินยอมพรอมใจกนัระหวางขั้วอํานาจเกาและใหม ที่ยังหวาดระแวงซึ่งกันและกันอยู ทั้งตัวรัฐบาลเอง และการนําของพลเอกเปรม จึงมีความมั่นคงอยูมากพอควร อีกทั้งนับแตป 2544ที่มีรัฐบาลพ.ต.ท.ดร.ทักษณิ ชินวัตร เขาสูอํานาจดวยการเปนรัฐบาลพรรคเดียว ผูคนจากทุกภาคสวน ตางเห็นตรงกันวา รัฐบาลภายใตการนาํของพ.ต.ท.ทักษิณ นี้ อาจจะทําใหการเมอืงมีความนิ่ง มีเสถียรภาพทางการเมือง เทียบเทาในชวงของยุคจอมพลสฤษดิ์ และจอมพลถนอมได และจากสภาพความเปนจริงที่ผานมาก็พิสูจนใหเหน็แลววา สภาพการณดังกลาวมคีวามเปนไปได

Page 25: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

คอนขางสูง แมกระทั่งจากตวัพ.ต.ท.ทักษณิเองที่เคยกลาวตอหนาสาธารณะถึงความตองการที่จะอยูในอํานาจถึง 12 ป ทั้งนี้ หากเหตุการณในวนัที่ 19 กันยายน 2549 นั้น ไมเกิดขึ้นเสยีกอน

6. จํานวนนายกรัฐมนตรี รัฐบาล และรัฐธรรมนูญ ในชวงเปลี่ยนผานทางการเมือง

ยุคสมัยทางการเมือง

ปฏิวัติ รัฐประหาร

นายก รัฐมนตรี

รัฐบาล

รัฐธรรมนูญ

คณะราษฎร พ.ศ.2475-2490 6 ครั้งใน15ป 8 18 4

คณะรัฐประหาร พ.ศ.2490-2500 8 ครั้งใน10ป (3 คนเดิม) 10 2

คณะปฏิวัติ พ.ศ.2500-2516 3 ครั้งใน16ป 3 6 3

คณะปฏิรูป พ.ศ.2516-2528 5 ครั้งใน12ป 5 10 4

การเมืองปจจุบัน พ.ศ.2528-2551 3 ครั้งใน23ป 9(1คนเดิม) 13 5

รวม 25คร้ัง/76ป 25 คน 57 คณะ 18 ฉบับ

การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่ 6 – ผลลัพธที่ได นับแตยุคสมยัของการเริ่มตนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ที่มีการปฏิวัติรัฐประ หาร 8 คร้ัง มีรัฐบาลมากถึง 18 ชุด และมีรัฐธรรมนูญถึง 4 ฉบับ ช้ีชัดใหเห็นถึงความไมพรอม การขาดการเตรียมการที่มาจากความรูความสามารถและประสบการณที่มากพอ รวมถึงวันเวลาทีย่ังไมสุกงอมมากพอ ที่จะกระทําการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญนี้ อีกทั้งก็ยงัสามารถที่จะตั้งสมมติฐานถึงหายนะที่จะตามมาที่ไดถูกสะทอนใหเหน็ไดโดยชัด ผานเนื้อหาใจความในพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเดจ็พระปกเกลาเจาอยูหวั รัชกาลที่7 ที่มีตอคณะราษฎร รวมถึงพระราชหัตถเลขาจากลนเกลารัชกาลที่5และ6ที่มีมากอนหนา และเมื่อการณเปนดังกลาวจึงไมตองสงสัยเลยวาในทายที่สุด(ซ่ึงกย็ังไมแน) ประเทศไทยของเราจึงมีการปฏิวัติรัฐประหารมากถึง 25 ครั้ง มีรัฐบาลมาแลวถึง 57 ชุด (ไมนับรวมการปรับคณะรัฐมนตรีในรัฐบาลแตละชดุอีกเปนหลายๆรอยชุด) และมีรัฐธรรมนูญถึงปจจุบันเปนฉบับที่ 18 (และเปนฉบับที่รัฐบาลชุดของนายสมัคร สุนทรเวช ดิน้รนขวนขวาย เหลือเกินที่จะแกไขเปลี่ยนแปลงอยูในเวลานี้) การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่ 7 – (มิไดนําเสนอตารางเนื่องจากมีความยาว 3 หนา) 1. นับแต พ.ศ.2475 – 2528 การเขาสูตําแหนงของนายกรัฐมนตรีทั้ง 16 คน จะมาจากสภาแตงตั้งโดยในยุคที่ผูนําเปนสายพลเรือนจะมกีารแตงตั้งสมาชิกวุฒิสภา สวนในยุคที่ฝายทหารเปนผูนําสวนใหญก็จะเปนสภาที่มาจากการแตงตั้งทั้งสองสภา หรือ เปนพรรคเสียงขางมากในสภาที่มีผูนําสายทหารกํากับ ดแูล ควบคุมอยูเบื้องหลัง

Page 26: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

2. ตั้งแต พ.ศ.2528 เปนตนมา สภาผูแทนราษฎรจึงไดเขามามีบทบาทอยางเปนจริงเปนจังในทางรัฐสภา ระบอบประชาธิปไตยแบบครึ่งใบของประเทศ ที่มีมาแตคร้ังเปลี่ยนแปลงการปกครองจงึคอยๆเปล่ียนผานมาสูความเปนประชาธิปไตย อยางเต็มใบ 3. ทวา นับแตการประกาศใชรัฐธรรมนูญ ฉบับพ.ศ.2550 ความเปนประชาธิปไตยแบบครึ่งใบก็ไดเร่ิมหวนคนืมา ดวยการกําหนดใหมีสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกสรรแตงตั้งในจํานวนเกือบกึง่หนึ่งของสมาชิกทั้งส้ิน 150 คน ซ่ึงตางก็กาํลังทําหนาที่ในสภาอยูในปจจุบันนี ้4. จะเหน็ไดวาการแกไข หรือ นํารัฐธรรมนูญฉบับในอดีตมาใชแทนรัฐธรรมนูญที่เปนปจจุบนัในแตละยุคสมัยทางการเมืองที่ผานมานั้น เกดิขึ้นอยูตลอดเวลาทุกยุคทกุสมัย ไมเวนในยุคสมัยปจจบุัน ที่รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวชก็ไดเคยพยายามที่จะกระทํา และตอเมื่อโดนคัดคานอยางหนักจากกลุมคนที่ไมเอาระบอบทักษิณ การณจึงไดสงบไปอยูพักหนึ่ง แตกม็ิไดหมายความวาความพยายามเชนวาจะไมเกดิขึ้นอีก 5. มีอยูเพียงรัฐบาลเดียว จากทั้งส้ิน 56 คณะ นับแตพ.ศ.2475 – 2551 ที่อยูครบวาระ 4 ป คือรัฐบาลในสมัยของ พ.ต.ท.ดร.ทักษณิ ชินวัตร ตั้งแต 17 ก.พ.2544 – 11 มี.ค.2548 6. รัฐบาลที่มีอายุส้ันที่สุด จากทั้ง 56 คณะ นับแตพ.ศ.2475 - 2551 คือรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค ที่มีอายุเพยีง 2 วัน จาก 8 ม.ิย.2489 – 9 มิ.ย.2489 ตามดวยรัฐบาลของ ม.ร.ว.เสนยี ปราโมช และรัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่มีอายุนอยสุดตามมาที่ 6 และ 7 วนั ตามลําดับ 7. มีการยุบสภาทั้งส้ิน 10 ครั้ง จากรัฐบาล 56 คณะ 8. มีนายกรัฐมนตรีลาออกจากตําแหนงทัง้ส้ิน 18 คร้ัง จากรัฐบาล 56 คณะ และอยูในยุคสมัยของคณะราษฎร พ.ศ.2475-2490 มากสุดถึง 11 ครั้ง 8. นายกรัฐมนตรีท่ีอยูในรัฐบาล จํานวนสมัยมากสุด 5 อันดับแรก

อันดับ / ชื่อ จํานวนสมัย / ป ยุคสมัยทางการเมืองไทย 1. จอมพล ป. พิบูลสงคราม 8 15ป23วัน ยุคสมัยรัฐประหาร พ.ศ.2490-2500 2. พระยาพหลพลพยุหเสนา 5 5.6 ป ยุคสมัยคณะราษฎร พ.ศ.2475-2490 3. จอมพลถนอม กิตติขจร 4 9.7 ป ยุคสมัยคณะปฏิวัติ พ.ศ.2500-2516 3. นายควง อภัยวงศ 4 1.8 ป ยุคสมัยคณะราษฎรและคณะปฏิวัติ 3. ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช 4 11 เดือน ยุคสมัยคณะปฏิรูป พ.ศ.2516-2528

การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่ 8 – นายกรัฐมนตรทีี่อยูในรัฐบาล จํานวนสมัยมากอันดับ 1 คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม 8 สมัย นายกรัฐมนตรทีี่อยูในรัฐบาล จํานวนสมัยมากอันดับ 2 คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา5 สมัย นายกรัฐมนตรทีี่อยูในรัฐบาล จํานวนสมัยมากอันดับ 3 คือ จอมพลถนอม กิตติขจร 4 สมัย นายกรัฐมนตรทีี่อยูในรัฐบาล จํานวนสมัยมากอันดับ 4 คือ นายควง อภัยวงศ 4 สมัย นายกรัฐมนตรทีี่อยูในรัฐบาล จํานวนสมัยมากอันดับ 5 คือ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช 4 สมัย

Page 27: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

9. นายกรัฐมนตรีท่ีอยูในอํานาจนานที่สุด จํานวน 5 อันดับแรก

อันดับ / ชื่อ จํานวนป ยุคสมัยทางการเมืองไทย 1. จอมพล ป. พิบูลสงคราม 15 ป 23วัน ยุคสมัยรัฐประหาร พ.ศ.2490-2500 2. จอมพลถนอม กิตติขจร 9ป 6เดือน 22วัน ยุคสมัยคณะปฏิวัติ พ.ศ.2500-2516 3. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท 8 ป 5เดือน ยุคสมัยการเมืองปจจุบัน2528- ปจจุบัน 4. นายชวน หลีกภัย 6 ป 28 วัน ยุคสมัยการเมืองปจจุบัน2528- ปจจุบัน 5. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร 5 ป 7เดือน ยุคสมัยการเมืองปจจุบัน2528- ปจจุบัน

การอภิปรายผลท่ีไดจากการถอดรหัส ตารางที่ 9 – นายกรัฐมนตรทีี่อยูในอํานาจนานที่สุด อันดับ 1 คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม 15ป23วัน นายกรัฐมนตรทีี่อยูในอํานาจนานที่สุด อันดับ 2 คือ จอมพลถนอม กิตติขจร 9ป7เดือน นายกรัฐมนตรทีี่อยูในอํานาจนานที่สุด อันดับ 3 คือ พลเอกเปรม ติณสูลานนท 8ป5เดือน นายกรัฐมนตรทีี่อยูในอํานาจนานที่สุด อันดับ 4 คือ นายชวน หลีกภยั 6ป28วัน นายกรัฐมนตรทีี่อยูในอํานาจนานที่สุด อันดับ 5 คือ พ.ต.ท.ดร.ทักษณิ ชินวัตร 5ป7เดือน

บทสรุป โดยเนื้อหาสาระที่ผูเขียนไดนําเสนอจากการไลเรียงลําดับความเปนมาและเปนไปของปจจัยสําคัญตางๆที่มีมาทั้งกอนและหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475ที่ไดนําพาไปสูการกบฏ ปฏิวัติ และรัฐประหาร ทั้ง 25 คร้ังภายในชวงเวลา 75 ป ผูเขียนดุษฎีนิพนธมั่นใจวาไมมากก็นอยเนื้อหารวมถึงผลลัพธที่ไดนําเสนอไวในดุษฎีนิพนธฉบับนี้ จะไดทําใหเกิดความเขาใจ การเขาถึงขอมูลในหลายๆดานหลายมิติที่อาจเปนเรื่องแปลกใหม และยังไมเคยปรากฏที่ใดมากอน โดยเฉพาะอยางยิ่งปจจัยในเรื่องของการดํารงอยูของการสืบทอดประเพณีในการโคนลม แยงชิงอํานาจ และสืบทอดอํานาจทางการเมืองการปกครอง ที่ดูเสมือนหนึ่งวาจะเปนมรดกตกทอดมา นับแตยุคสมัยสุโขทัยมาสูปจจุบัน ที่เปนหนึ่งในปจจัยนําของเหตุการณและเรื่องราวในประวัติศาสตรของชาติไทย ที่ผูเขียนเชื่อวาเปนเรื่องที่สมควรจะศึกษา แตไมสมควรที่จะนํามาเปนเหตุผลในการกระทําในสิ่งที่ไมพึงปรารถนาอีกตอไป ผูเขียนจึงขอใชบทสรุป และขอเสนอแนะในบทสุดทายนี้เปดและปดประเด็นที่ยังไมเคยมีคําตอบมากอน เพื่อสนับสนุนเจตนาของผูเขียนที่ไมอยากเห็นเหตุการณที่ไมพึงประสงคนี้เกิดขึ้นอีก แมแตคร้ังเดียว ทั้งนี้ ยังมีอยูอีกหนึ่งประเด็น อีกหนึ่งคําถามที่สําคัญยิ่ง ที่ผูเขียนเองเจตนาที่จะไมใหคําอธิบายภายในเนื้อในของดุษฎีนิพนธ แตตั้งใจที่จะนํามาอธิบาย และนําเสนอในบทสรุปเพื่อปดทายดุษฎีนิพนธฉบับนี้ ดวยคําถามที่มีหลักใหญใจความที่วา “ แมนหากวาสถาบันทหาร เปนผูที่ใหความสําคัญยิ่งตอสถาบันพระมหากษัตริยมาโดยตลอด แลวไฉนเลย ผูนําทางการทหารที่ไดสลับสับเปลี่ยนกันขึ้นสูอํานาจทางการเมืองในฐานะผูนําประเทศ จึงไดกระทําการปฏิวัติ รัฐประหาร ตอหนาพระเนตร พระกัณฑ ขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่9 นี้ มากมายถึง 20 คร้ัง

Page 28: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ตลอดชวงเวลาที่พระองคทรงครองราชยอยู ” และหากแมนวา คํากลาวอางในประกาศของคณะราษฎรที่วาการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย จะทําใหประเทศชาติเจริญรุงเรือง มากกวาระบบกษัตริย แลวไฉนเลย “ ความจงรักภักดีของประชาชนตอระบบกษัตริย ตอพระมหากษัตริยนับแตรัชกาลที่ 7 ที่8 และที่9 จึงมิเคยเสื่อมคลายลง นับวันมีแตจะทวีคูณมากยิ่งขึ้นจวบจนทุกวันนี้” คําตอบที่ผูเขียนจะไดนําเสนอตอไปนี้หาไดมาจากอารมณและความรูสึกแตอยางใด แตทั้งหมดทั้งปวงนั้นจะเปนการหยิบยกเอาเหตุและผล ที่มาจากหลักฐานที่อางอิงไวในบทวรรณกรรมตางๆที่นําเสนอไวในดุษฎีนิพนธฉบับนี้ โดยมีหลักใหญใจความดังตอไปนี้ – นับแตชวงเวลากอนและเริ่มตนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากประวัติศาสตรทําใหเห็นไดชัดวาปจจัยภายนอกที่สําคัญยิ่งที่เปนเหตุผลหลักนําพาไปสูแนวคิดและการนําปฏิบัติของคณะราษฎรตอความตองการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้นมาจากกระแสหลักของระบอบการปกครองในโลกตะวันตก ที่ไดเปล่ียนผานจากระบบกษัตริยมาเปนระบอบการปกครองที่อิงหลักการของทุนนิยม และที่อิงหลักการของความเสมอภาคเทาเทียมกันในทางเศรษฐกิจ นั่นก็คือ ระบอบประชาธิปไตย และระบอบสังคมนิยม ที่ตางไดทําใหนานาอารยะประเทศไดกาวเขาสูความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ผนวกกับปจจัยภายในที่คณะราษฎรเห็นวามีความไดเปรียบรัฐบาลกษัตริย อยูก็คือ พวกตน(คณะราษฎร)มีความจําเริญทางการเมืองสมัยใหมมากกวาผูคนในรัฐบาลที่สวนใหญเปนพวกราชวงศ ที่ยังยึดติดอยูกับระบบ รูปแบบ และหลักปฏิบัติแบบเดิมๆ ทั้งสองสวนนี้จึงเปนประเด็นที่ขัดแยงกันอยางรุนแรง และเปนการขัดแยงกันระหวางผูปกครอง กับ ชนชั้นนํา (คลายคลึงกับทฤษฎีการพัฒนาและผุกรอนทางการเมืองของ S. Huntington) อีกทั้งเมื่อคณะราษฎรไดคิดคํานวณตัวเลขของแนวรวมในการปฏิวัติคร้ังสําคัญนี้ วาแบงออกเปน 3 ฝาย ฝายตนมีอยู 15% ฝายกษัตริย(อํานาจเกา)มีอยู 15% และที่เหลือ 70% เปนฝายประชาชนที่ไปไหนไปดวย เมื่อเห็นวาไดเปรียบหากเริ่มลงมือกอน จึงไดกระทําการยึดอํานาจ และ นับแตการยึดอํานาจ เปลี่ยนแปลงการปกครองนับแต พ.ศ.2475 เปนตนมา โดยเนื้อแทในทางการเมืองการปกครอง ประเทศไทยเกือบที่จะไมไดกาวเดินไปขางหนาอยางที่คณะราษฎรไดวาดฝนไวเลย นับจากวันที่สมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่7 ทรงสละราชบัลลังก จวบจนวันที่สมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่8 ทรงเสด็จสวรรคต กอนที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่9 จะทรงขึ้นครองราชย แทน ผูคนที่เปนแกนนําในคณะราษฎรก็ไดแตแยงชิงอํานาจ สลับสับเปลี่ยนกันขึ้นสูอํานาจ มีการกระทําการกบฏ และรัฐประหาร กันถึง 5 คร้ัง จาก พ.ศ.2475 – 2489 โดยที่ไมไดมีฝายประชาชน 70 % ที่อางวาไปไหนไปดวย ใหการสนับสนุน มีสวนรวม หรือรวมดวยอยางที่ตนคิด การกบฏ และรัฐประหารที่เกิดขึ้นจึงเกิดขึ้นและเปนไปโดยฝายทหารและฝายการเมืองแตโดยลําพังเพียงสองฝาย ตรงกันขามกับประชาชนสวนใหญที่ยังคงใหความเคารพบูชา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยของตนในรูปแบบที่มิไดเส่ือมคลายไปจากเดิม สามารถเห็นได

Page 29: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ชัดจากภาพขาวถึงความเศราโศกเสียใจของเหลาพสกนิกรทั่วบานทั่วเมืองเมื่อพระเจาอยูหัว รัชกาลที่8 ทรงเสด็จสวรรคต

ชวงเวลาของการเปลี่ยนแปลงการปกครองนี้ ช้ีชัดใหเห็นไดวา เปนความตองการของคณะบุคคลเพียงหยิบมือเดียว แตก็เปนกลุมชนชั้นนําที่มีกําลังปญญา และมีกําลังทหารสนับสนุน ที่ฉวยโอกาสแยงชิงอํานาจ เปลี่ยนแปลงการปกครอง ในขณะที่ประเทศชาติและประชาชนยังขาดความรูเทาทัน และความพรอมที่จะกาวสูความเปนประชาธิปไตย ความคิดของผูคนในสังคมจึงแบงออกเปน 3 ฝาย ฝายการเมืองก็ตั้งหนาตั้งตาพยายามนํารัฐนาวาเขาสูระบอบการปกครองใหม ฝายทหารบางสายก็พยายามที่จะนําประเทศชาติกลับคืนสูระบบกษัตริยตามเดิม บางสายก็พยายามหาแนวทางเขาแยงชิงอํานาจ หรือ เขารวมกับสายที่กุมอํานาจ ที่อยูในอํานาจ สวนประชาชนเองก็ไดแตรูสึกนึกคิดและใชชีวิตไปตามเดิม ไมไดรับประโยชนจากการเปลี่ยนแปลงมากนัก และยังมีสํานึกถึงบุญบารมีแหงพระเจาแผนดินของตนอยางไมเสื่อมคลาย

และเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่9 ทรงเสด็จขึ้นครองราชยแทน จวบจนปจจุบัน การปฏิวัติ รัฐประหารจากฝายทหาร กับ พลเรือนเพื่อแยงชิงอํานาจสลับกันไปมา ไดเกดิขึน้อีก 20 คร้ัง ตอหนาพระเนตรพระกัณฑ โดยระหวาง พ.ศ.2490 ถึง 2501ที่พระองคทานขึ้นครองราชย ไดเกิดเหตุขึ้นมากถึง 10 คร้ัง ราวกับวาการมีพระมหากษัตริยที่ทรงอยูภายใตรัฐธรรมนูญ ที่ทรงหามยุงเกี่ยวกับการเมือง มีแตเพียงหนาที่ลงพระปรมาภิไธยโปรดเกลาแตงตั้งบุคคลที่ขึ้นสูอํานาจในทางการเมือง เทานั้นหรือ ผูที่อยูในอํานาจ และฝายที่มีอํานาจปกครอง มีอภิสิทธิ์เหนือพระบารมี เหนือพระองคทาน กระนั้นหรือ ประเด็นดังกลาวนี้จึงชี้ชัดใหเห็นไดวา “ การเปลี่ยนแปลงการปกครองที่เร่ิมโดยคณะราษฎรนั้น อาจมีเจตนาที่แทจริง ที่ตองการลมลางสถาบันกษัตริยเสียดวยซํ้า และหากประชาชนที่คาดวามีอยู 70 % ไดเห็นดีเห็นชอบตอการเปลี่ยนแปลงและไดใหการสนับสนุนพวกตนจริง เจตนาเชนวาก็อาจจะบรรลุผลไปแลว แตทวา ส่ิงที่คณะราษฎรไดประกาศ ไดกลาวหา และไดกระทําไปนั้น เปนแตเพียงกลอุบายในการแยงชิงอํานาจ โดยคงสถาบันกษัตริยไวเพื่อไมใหประชาชน 70 % ที่ก็ไมไดมีสวนเรียกรอง หรือ ใหการเห็นชอบและสนับสนุนมากนัก ตองเกิดความไมเห็นดวยและตอตานการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญนี้ ”

จึงเปนเรื่องที่ไมตองสงสัยเลยวาเหตุใดพระองค จึงทรงออกหางการเมือง และเริ่มการปกครองแผนดินโดยธรรมอยางใกลชิดพสกนิกรของพระองคทาน ดวยการดําเนินพระราชกรณียกิจอันทรงคุณคายิ่งแกแผนดิน ดวยทุน และดวยตัวพระองคเอง นับแตวันนั้น จวบจนทุกวันนี้ ดวยเหตุนี้ประชาชนคนในชาติทุกหมูเหลาจึงมีแตความจงรักภักดีตอพระองคทานเสมอมา

แตในทางกลับกัน ทุกองคาพยพในทางการเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งเหลานักการเมืองนับแตการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนตนมา กลับไดทําใหประชาชนตองผิดหวัง ตองเสื่อมศรัทธามาอยางตอเนื่อง จวบจนทุกวันนี้ที่พี่นองประชาชนที่ไดรับการกลอมเกลาทางการเมืองเพื่อใหมีความจําเริญทางการเมือง ไดมีจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ จนอาจจะมากกวาหรือเทียบเทา พวกที่ไมรู หรือ ที่รู

Page 30: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

แตไมสนใจ ไดทําใหระบอบประชาธิปไตยที่ไดเร่ิมตนมาเมื่อ 76 ปกอน เร่ิมที่จะเปนรูปเปนรางอยางเปนรูปธรรม ตามวิถีของมัน ที่ตองมีประเด็นของความคิดที่แตกตาง และท่ีขัดแยงกันบางตามธรรมชาติของมัน ที่ผานมาประเทศชาติ พระมหากษัตริยและพสกนิกรของพระองคจึงไมใชตัวปญหา แตตัวการที่บอนทําลายชาติมาโดยตลอดก็คือการเมือง และตัวนักการเมืองเองทั้งส้ิน ในทายสุดของดุษฎีนิพนธฉบับนี้ จากการผูเขียนไดพยายามลําดับความเปนมาของการกบฏ ปฏิวัติ และรัฐประหาร โดยใชหลักวจิัยในเชิงคณุภาพ และในเชิงปริมาณควบคูกนัไป เพื่อเปดมุมมองใหมในเรื่องที่สําคัญดังกลาวที่มีตวัเลขในเชิงสถิติ อางอิงเนื้อหาสาระควบคูกันไป แทนการนําเสนอเฉพาะเนื้อหาแตโดยลําพัง และทัง้หมดทั้งปวงที่ไดนําเสนอไปก็คือ ความเปนมาในอดตี ที่จะสามารถบงบอกถึงอนาคตได วา การปฏิวัติ รัฐประหารนั้นจะเกิดขึน้อีกหรือไม อยางไร ในชาติบานเมืองของเรา โดยผูเขยีนจะขอนําเสนอ และพิสูจนความเปนไปได หรือ ความเปนไปไมได อางอิงจากผลลัพธในเชิงสถิติที่ไดมา ดังตอไปนี ้ ทั้งนี้ หากผูอานไดพจิารณาถึงผลลัพธที่ไดจากผลของการวิเคราะหขอมูลที่วาดวยคาความถี่ของตัวแปรทีน่ําพาไปสูการปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏที่ผานมาจะพบนยัที่เปนหัวใจสําคัญ 2 ประการ ดังนีค้ือ –

1. ถึงแมวา สภาวะทางการเมือง และรัฐบาล จะเปนปจจัยนําที่มีมากที่สุดถึง 16 คร้ังที่ไดทําใหเกิดการปฏิวตัิ รัฐประหารทั้ง 25 คร้ังก็ตามที แตนัยดังกลาวนี้กด็ูเปนเรื่องธรรมดา ที่เปนไปตามธรรมชาติในทางการเมือง ในเวลาที่ประชาชนรูสึกไดวา พวกเขาผิดหวัง ไมไดรับในส่ิงที่พวกเขาคาดหวัง หรือที่สําคัญสุดคือ พวกเขาหมดแลวซ่ึงศรัทธา ตอรัฐบาลชุดนั้นๆ ปจจัยนี้จึงเปนปจจัยหลักในทางการเมืองของประเทศที่เจริญแลวสําหรับประชาชนที่จะไมเลือกผูนําและรัฐบาลที่พวกเขาไมตองการ โดยมีนยัสําคัญที่แตกตางไปจากบานเราก็คือสวนใหญแลวพวกเขาไมไดรีบรอนที่จะไมเอา หรือ ขับใสไลสงรัฐบาลที่ไมพึงปรารถนาของพวกเขานี ้ กอนวาระการทําหนาที่ของรัฐบาลจะหมดสิ้นลง เพื่อเขาสูกระบวนเลือกตั้งเพื่อเลือกผูนําหรือรัฐบาลใหมที่พวกเขาตองการ ซ่ึงผิดแปลกแตกตางไปจากบานเราอยางเห็นไดชัด กอปรกับปจจัยนําตัวนีย้ังมักถูกใชเปนเหตุผล และเปนตนเหตุที่ทําใหฝายทหารหรือผูนําทางการทหารเอง ใชโจมตีรัฐบาลพลเรือน รวมถึงรัฐบาลทหารเองในความผิดพลาด ลมเหลว และการหมดความชอบธรรมที่จะบริหารปกครองประเทศอีกตอไปและนํามาซึ่งการกระทําปฏิวัติ รัฐประหาร ในทายที่สุดทุกครั้งไปในอดีต

2. แตทวา ปจจยันํา ที่มีนัยที่สําคัญยิ่งกวาสภาวะทางการเมืองและรัฐบาล และอาจกลาวไดเลยวา “คือตัวการที่สําคัญที่สุดในการกอใหเกดิการกบฏ ปฏิวัติ และรัฐประหาร รวมแลวถึง 21 คร้ัง จาก 25 ครั้งนั้น ก็คือ การแยงชิงอํานาจ “เพื่ออํานาจสวนตวั” (ที่มีมากเปนอนัดับ2) “จากฝายตรงขาม” (มีมากเปนอันดับ3)และ “จากฝายเดยีวกัน” (เปนอันดับ4) ปจจยัทั้ง3นี้สามารถบงบอกไดอยางชัดเจน โดยไมตองกังขาหรือสงสัยเลยวา อดีตทีเ่ปนมานั้น ก็มาจาก

Page 31: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

ความตองการที่จะเขาและขึน้สูอํานาจในทางการเมืองการปกครอง จากฝายทหารเองอยางชัดเจนแนนอน

ทั้งสองปจจัยนี้จึงสามารถชี้ชัดใหเห็นไดวา ตราบใดที่ทหารยังมีความตองการที่จะเขาและขึ้นสูอํานาจทางการเมืองการปกครองแลว การปฏิวัติ รัฐประหารจะเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงมไิด และอยากที่จะปองกนัได และหากยอนกลับไปดูเหตกุารณ เมื่อป 2535 (ซ่ึงอาจถือไดวาเปนการรัฐประหารครั้งทายสุดที่ปจจยันําดังกลาวสามารถที่จะใชอางอิงได) ก็จะพบวาเหตุที่เกิดก็เพียงมาจากความตองการที่จะสืบทอดอาํนาจ จากคณะผูกอการรัฐประหารเองเปนสําคัญ เหตกุารณเมื่อวันที ่ 19 กันยายน 2549 จึงผิดแปลกแตกตางไปจากการปฏิวตัิ รัฐประหารทุกๆครั้งในอดีต เพราะขาดไรซ่ึงปจจัยในการเขาสู ขึ้นสู และสืบทอดอํานาจทั้งปวงนี้จากคณะผูกอการ “การปฏิวัติเพื่อประชาชน” จึงเปนสิ่งที่มิอาจกลาวขานกันไดอยางลอยๆ โดยปราศจากเหตุผลรองรับ ส่ิงที่เกิดยอมมีเหตุมีผลในตัวของมันเองที่ชัดเจน การรัฐประหารเมื่อ 19 กนัยายน 2549 จึงอาจเปนการรัฐประหารครั้งสุดทายในชาติบานเมืองเรา เพราะนอกจากจะเปนการบอกเหตใุหประชาชนไดรูวา 1. ทหารไมมคีวามตองการที่จะกาวขึ้นสูอํานาจทางการเมอืงอีกตอไปแลว กอปรกับสิ่งที่ไดกระทําไปนั้น กด็วยเจตนาที่ดีที่เปนภาระหนาที่ตอพี่นองประชาชนในการที่จะหยุดยั้ง “ภยัคุกคามที่ไดเกิดขึ้นตอชาต ิ ศาสนา และพระมหากษตัริย” ปราศจากวัตถุประสงคแอบแฝงอยางที่เคยเปนมา และ2. ในเมื่อทหารเองขาดความตองการที่จะกลับคืนสูอํานาจอีกตอไปแลว ปญหาในทางการเมือง จึงเปนเรื่องที่กระบวนการทางการเมืองและพี่นองประชาชนเองจะตองเปนผูเยยีวยาแกไข ดวยการตระหนักถึงความสําคัญของเรื่องการเมืองที่ควรเปนเรื่องของประชาชน หาใชเรือ่งของนักการเมืองแตโดยลําพังอีกตอไป

เหตุการณเมื่อ 19 กันยายน 2549 นี้ จึงเปนตัวช้ีวัดที่สําคัญยิ่งตอสภาพการณตางๆที่ยังคุกกรุนตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน(ธันวาคม พ.ศ.2551 ) ที่ผูคนตางฝายตางก็หวาดระแวงถึงการจะเกดิหรือไมเกิดของการรัฐประหาร ถึงแมวาผูบัญชาการทหารบก และผูนําเหลาทัพจะไดออกมายืนยันโดยตลอดวาจะไมเกิดขึ้นอกี ดังนั้น “อดีตที่เปนมา และอนาคตที่จะเปนไป” ก็นาที่จะผิดแปลกแตกตางกันออกไป อยางนอยสุดกใ็นชวงเวลา 5 ป 10 ปนี้

ดังนั้น ผูเขยีนขอยืนยันฟนธงเพื่อปดทายดุษฎีนิพนธฉบับนี้เลยวา “หาก...ทหารยงัขาดไรซ่ึงเจตนารมณในการกลับคืนสู และขึ้นสูอํานาจทางการเมืองแลว การปฏวิัติ รัฐประหาร จะไมเกิดขึน้อีกในชาติบานเมืองของเรา ตราบใดที่ประเทศไทยของเรา ยังคงรักษาไวซ่ึงการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข เทานั้น

Page 32: ถอดรหัส ปฏิวัติ รัฐประหารพ ศ 2475 – 2549km.nida.ac.th/home/images/pdf/1-7.pdf · พิบูลสงคราม * ป ัจจยภายนอก

บรรณานุกรม 1.ศาสตราจารย ดร. ลิขิต ธีรเวคิน.2550.วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย ฉบบัพิมพคร้ังที่10 แกไขปรับปรงุ สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2.ศาสตราจารยดร.ลิขิตธีรเวคิน.2543.การเมืองการปกครองไทยของไทย สํานักพิมพมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร 3.รศ. สุขุม นวลสกุล รศ.วิศิษฐ ทวีเศรษฐ. 2543. การเมืองและการปกครองไทย Thai Government And Politics พิมพคร้ังที่14 สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง 4.ภูมิหลังประวัติศาสตรประวัติการเมืองการปกครองไทย สถาบันพระปกเกลา ฐานขอมูลการเมืองไทย5.หนังสือพิมพผูจัดการรายวัน วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 แซมมูเอล ฮันติงตัน ทฤษฎีการพัฒนาทางการเมืองและการผุกรอนทางการเมอืง (political development and political decay )