โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน...

22
โครงการ เครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา เสนอ มาสเตอรดอน วิภา จัดทําโดย 1. นายอัชฌา คําจันวงค สาขาวิชาโลหะการ เลขที2 2. นายดนัย คําสี สาขาวิชาโลหะการ เลขที4 3. นายวิมล หมั่นศรี สาขาวิชาโลหะการ เลขที5 4. นายสุรชัย วองไว สาขาวิชาเครื่องมือกลและซอมบํารุง เลขที5 5. นายอภิชาติ บุญตะวัน สาขาวิชาเครื่องกล เลขที8 6. นายสมปอง ภานุรักษ สาขาวิชาเครื่องกล เลขที11 7. นายธีรชิต ทิพยพาราชน สาขาวิชาเครื่องกล เลขที12 เอกสารเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาโครงการ ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนอัสสัมชัญเทคนิคนครพนม

Upload: others

Post on 24-Jan-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

โครงการ เครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา

เสนอ

มาสเตอรดอน วิภา

จัดทําโดย

1. นายอัชฌา คําจันวงค   สาขาวิชาโลหะการ เลขท่ี 2 2. นายดนัย คําสี สาขาวิชาโลหะการ        เลขท่ี 4 3. นายวิมล หมั่นศร ี       สาขาวิชาโลหะการ เลขท่ี 5 4. นายสุรชัย วองไว สาขาวิชาเครื่องมือกลและซอมบํารุง เลขท่ี 5 5. นายอภิชาติ บุญตะวัน     สาขาวิชาเครื่องกล เลขท่ี 8 6. นายสมปอง ภานุรักษ สาขาวิชาเครื่องกล เลขท่ี 11 7. นายธีรชิต ทิพยพาราชน สาขาวิชาเครื่องกล เลขท่ี 12

เอกสารเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาโครงการ

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552

โรงเรียนอัสสัมชัญเทคนิคนครพนม  

 

 

Page 2: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

โครงการ เคร่ืองปนไฟฟาพลังงานน้ํา

อาจารยท่ีปรึกษาโครงการ

...................................................

( )

อาจารยประจําวิชา

.....................................................

( )

ผูอํานวยการ

.....................................................

( )

ณ วนัที่.......................................................

Page 3: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

กิตติกรรมประกาศ

การทําโครงการเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําในครั้งนี้ สําเร็จลุลวงไปไดดวยดีนั้น ผูจัดทาํไดรับคําแนะนําและความอนุเคราะหชวยเหลือในดานตาง ๆ ทาํใหงานสามารถดําเนินลุลวงไปไดดวยดี จึงใครขอขอบพระคุณบุคคลดังรายนามตอไปนี ้

มาสเตอร จํานงค ตารบัตร อาจารยที่ปรึกษาที่ไดใหคําปรึกษา คําแนะนาํ ขอเสนอแนะการทําโครงการในคร้ังนี้ จนทําใหโครงการเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําประสบความสําเร็จลุลวงไปไดดวยด ี

มาสเตอรประจําโครงการภาควิชา ตางๆ ในโรงเรียนอัสสัมชัญเทคนิคนครพนมทุกทาน ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู และอบรมสั่งสอนตลอดระยะเวลาที่ผานมา

ขอบคุณพี่ๆ เพื่อนๆ นองๆ ในการใหความชวยเหลือเร่ืองโครงการเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา ที่ใชในการทํางาน ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการแกไขงาน และเปนกําลังใจที่ดีเสมอมา

และสุดทายขอกราบขอบพระคุณคณะมาสเตอรทุกทาน ที่ใหการสนับสนุนเปนแรงใจ ใหอดทนสูตอไป จึงประสบความสําเร็จและไดมาถึงจุดนี้

โครงการนี้จะไมสามารถสําเร็จลุลวงไปไดหากปราศจากแรงสนับสนุนจากบุคคลดังรายนามขางตน ทางผูจัดทําจึงขอขอบคุณทุกๆ ทานเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

Page 4: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

คํานํา

รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาโครงการ เครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา ไดจัดทําโครงการนี้ขึ้นมา ไดศึกษาคนควาเกี่ยวกับกระบวนการทํางานของไดนาโม การผลิตกระแสไฟฟา เพื่อใหเราหันมาใชพลังงานทดแทนมากขึ้น ไมวาจะเปนพลังงานจากแสงอาทิตย พลังงานน้าํขึ้นน้ําลง พลังงานจากน้ําตก เนื่องจากปจจุบันโลกของเรารอนขึ้นเรื่อยๆ ซ่ึงโครงการนี้สามารถชวยลดภาวะโลกรอนไดอีกดวย และเปนโครงการที่สามารถชวยประหยดัคาใชจายในบานเราได

ดังนั้น หวังเปนอยางยิ่งวา โครงการนี้ จะมปีระโยชนตอผูที่สนใจ ศึกษาควา สามารถใชในชีวิตประจําวันได และเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน

Page 5: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

สารบัญ บทท่ี 1. บทนํา เร่ือง 1.1 หลักการและเหตุผล 1 เร่ือง 1.2 วัตถุประสงค 1 เร่ือง 1.3 เปาหมาย 1 เร่ือง 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1 เร่ือง 1.5 การดําเนินงาน 2 บทท่ี 2. เอกสารที่เก่ียวของ เร่ือง 2.1 หลักการทํางานของไดนาโม 3 เร่ือง 2.2 การคํานวณหาแรงเคลื่อนที่ของใบพัด 3 เร่ือง 2.3 พลังงานน้ํา 3 เร่ือง 2.4 งานกลึง 3 เร่ือง 2.5 การเชื่อม 4 บทท่ี 3.วิธีดําเนินการ เร่ือง 3.1 วัสดอุุปกรณ 5 เร่ือง 3.2 ขั้นตอนการดําเนนิงาน 6 เร่ือง 3.3 แบบแปลน 7 เร่ือง 3.4 ตารางบันทึกการทดสอบ 8 บทท่ี 4. คูมือการใช เร่ือง 4.1 อุปกรณของเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา 9 เร่ือง 4.2 การติดตั้งไดนาโม ,ทาสโีครงสราง ,และการตอไฟ 10 เร่ือง 4.3 ประกอบใบพัดการประกอบพลูเลยและประกอบหลอดไฟ 10 บทท่ี 5. บทสรุป เร่ือง 5.1 สรุปผลการดําเนิน 11 เร่ือง 5.2 ปญหาและอุปสรรค 11 เร่ือง 5.3 ขอเสนอแนะ 11 บรรณานุกรม 12

Page 6: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

สารบัญตาราง ตารางที่ 1 การดําเนินงาน 2 ตารางที่ 2 ตารางบันทึกการทดสอบ 8

Page 7: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

สารบัญรูปภาพ

ภาพที่ 1 โครงสรางไดนาโม 7 ภาพที่ 2 ใบพดัและชอน 9 ภาพที่ 3 แผนกั้นน้ํากระเดน็ 9 ภาพที่ 4 หวัฉดี 9 ภาพที่ 5 พลูเลยไดนาโม 9 ภาพที่ 6 ไดนาโมเพลาลอย 9 ภาพที่ 7 โครงสรางไดนาโม 9 ภาพที่ 8 เครื่องไดนาโม 10 ภาพที่ 9 ทาสี 10 ภาพที่ 10 ตอไฟ 10 ภาพที่ 11 ประกอบใบพัด 10 ภาพที่ 12 ประกอบหลอดไฟ 10 ภาพที่ 13 ประกอบพลูเลย 10 ภาพที่ 14 การติดตั้งใบพดั 14 ภาพที่ 15 แผงวงจรไฟ 14 ภาพที่ 16 พลูเลยดานหลังไดนาโม 14 ภาพที่ 17 การตอชุดไฟของไดนาโม 14 ภาพที่ 18 ประกอบพลูเลยดานหลังไดนาโม 14 ภาพที่ 19 เข็มมิเตอรวัดกระแสไฟ 14 ภาพที่ 20 หวัฉีด 15 ภาพที่ 21 ตอหลอดไฟเขาแผงวงจร 15 ภาพที่ 22 ทาสรีองพื้นและสนี้ํามัน 15 ภาพที่ 23 ทอน้ําเขาหวัฉีด 15 ภาพที่ 24 ใบพดั 15 ภาพที่ 25 เครือ่งสมบูรณ พรอมใชงาน  

 

 

 

Page 8: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

บทท่ี 1 บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล ปจจุบันพลังงานถือเปนสิ่งสําคัญในการดํารงชีวิต พลังงานไฟฟาก็ถือวาเปนพลังงานอีกประเภทหนึ่งที่มี

ความจําเปนมาก ไมวาจะเปนงานอุตสาหกรรม โรงงาน บริษัท อาคาร บานเรือน จึงสงผลทําใหความตองการพลังงานไฟฟาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากประชากรเพิ่มขึ้น จนทําใหองคกรตางๆ หันมาใชพลังงานทดแทนมากขึน้ ไมวาจะเปนพลังงานจากแสงอาทิตย พลังงานน้ําขึ้นน้ําลง พลังงานจากน้าํตก พลังงานจากนิวเคลียร

พลังงานจากน้าํถือวาเปนพลังงานที่ใชคาใชจายในการสรางไมมากนัก ใชวัสดุนอย จงึมีแนวคดิที่จะจัดทําเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา เพื่อทดลองใชภายในโรงเรียน 1.2 วัตถุประสงค

1.2.1 เพื่อประดิษฐเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําทดแทน 1.2.2 เพื่อศึกษาคนควากระบวนการทําเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา 1.2.3 เพื่อสรางความสามัคคีในหมูคณะ

1.3 เปาหมาย - เปาหมายเชงิปริมาณ

เครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําจาํนวน 1 เครื่อง - เปาหมายเชงิคณุภาพ

เครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําผลิตกระไฟฟาได 30 แอมแปร สามารถใชกับหลอดไฟได 1 ชุด และพัดลม 1 ตัว ใชไฟฟาไดตลอด ( เครื่องปนไฟฟาทํางานตลอดเวลา

1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1.4.1 เครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําผลิตกระแสไฟฟาใชแทนไฟฟาตามอาคารบานเรือนได เชน

หลอดไฟหลอดเล็ก 14w พัดลม เปนตน 1.4.2 นักเรียนมีความรูความเขาใจ กระบวนการทําเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา

Page 9: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

1.5 การดําเนินงาน

กิจกรรม

เดือนตุลาคม

พ.ศ 2552

เดือนพฤศจิกายน

พ.ศ 2552

เดือนธันวาคม

พ.ศ 2552

เดือนมกราคม

พ.ศ 2553

เดือนกุมภาพันธ

พ.ศ 2553

เดือนมีนาคม

พ.ศ 2553 หมายเหตุ

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

ศึกษาขอมูล

เสนอโครงการ

วางแผนการทํางาน

ดําเนินงาน

นําเสนอ

สรุปผล

ตารางที่ 1 การดําเนินงาน

Page 10: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวของ

ในการดําเนินโครงการ เร่ือง เครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ํา คณะผูจัดทาํไดศึกษาคนควาจากแนวคิดแนวทางเชิงทฤษฎีและเอกสารวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของดังตอไปนี้

1. หลักการทํางานของไดนาโม 2. การคํานวณหาแรงเคลื่อนที่ความเร็วของใบพัด 3. พลังงานน้ํา 3. งานกลึง 4. การเชื่อม

หลักการทํางานของไดนาโม การเกิดกระแสโดยแกนขดลวดทองแดง เคลื่อนที่ตัดสนามแมเหล็ก ทําใหเกดิกระแส โดยกระแสที่เกิดขึน้จะเปนกระแสสลับ เกิดการเปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็ก ทําใหอิเล็กตรอนในลวดตัวนํา เดินทางไปตามขดลวดและออกมาถึงสายไฟฟาออกมาใช การคํานวณหาแรงเคลื่อนท่ีความเร็วของใบพัด อันดบัแรก หาความเร็วเคลื่อนทีข่องน้ําหนักทีไ่หลลงมากอนวา มีความเรว็เทาไร ตอนแรกตองหาน้ําหนักของน้ํากอน เทื่อได m แลวก็มาเขาสูตร กฎขอที่ 2 ของนิวตัน F=ma เนื่องจากการไหลลงจะได mg=T mg โดยที ่T คือแรงที่วัตถุกระทําเมื่อเราไดความเรว็ของน้ําที่มาหมุนใบพัดของเจนเนอเรเตอร แลวเราก็ตองเอามาคํานวณถึงขนาดใบของเจนเนอเรเตอร เพื่อจะไดรอบตามที่ตองการในการแปลงกระแส หรือแรงดันตามที่ตองการ จากสูตร V= IR พลังงานน้าํ พลังงานน้ําเปนรูปแบบหนึง่ของการสรางกําลัง โดยอาศยัพลังงานของน้ําที่เคลื่อนที่ ปจจุบันมีพลังงานน้ําสวนมาก จะถกูใชในการผลิตไฟฟา เชน พลังงานจากน้ําตก เราใชไดนาโมเปนตัวผลิตไฟฟา โดยอาศัยพลังงานจากน้ําตก สามารถผลิตกระแสไดตามที่ตองการ การทําเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟา นอกจากนีแ้ลว พลังงานน้ํายังถูกน้ําไปใชในการชลประทาน พลังงานของมวลน้ําที่เคลื่อนที่ได ถูกมนุษยมาใชงานมานานแลวศควรรษ ปจจบุันนี้พลังงานน้ําไดถูกใชเพื่อการผลิตไฟฟา ทําใหสามรถสงตอพลังงานไปใชในที่ทีห่างจากแหลงน้ําได งานกลงึ งานกลึง คือ การตัดโลหะโดยใหช้ินงาน ( word piece )หมุนรอบตัวเอง มีดกลึงเคลื่อนที่เขาหาชิ้นงาน การกลึงลักษณะใหญคือ การกลึงปดหนา คือ การตัดโลหะโดยใหมดีตดัชิน้งานไปตามแนวขวาง การกลึงปลอก คือ การตัดโลหะโดยใหมีดตดเคลื่อนที่ตัดชิ้นงานไปตามแนวขนานกับแนวแกนของชิ้นงาน ปจจัยสําคัญทีท่ําใหเกิดกระยวนการของการกลึงปอกคืออัตราปอน ความเร็วตัด ระยะปอนลึก มีดกลึง และช้ินงานที่ตองการทําการตัดเฉือน และเมื่อมีกระบวนการในการกลึงปอกเกิดขึน้ ผลที่เกิดขึ้นก็คือ ขนาดของชิ้นงาน ความละเอียดของชิ้นงาน เศษกลึง ( Chip ) การสึกหรอของมีดกลึง

Page 11: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

การเชื่อม การเชื่อม เปนขบวนการทีใ่ชสําหรับตอวสัดุ สวนใหญเปนโลหะและพลาสติก โดยใหรวมตวัเขาดวยกันปกติใชวิธีทําใหช้ินงานหลอมละลายและเพิ่มเนื้อโลหะ เติมลงในแองหลอมละลายของวัสดุที่หลอมเหลว เมื่อเย็นตัวรอยตอจะมคีวามแข็งแรง บางครั้งในแรงดันรวมกับความรอน หรืออยางเดยีว เพื่อใหเกิดรอยเชื่อม ซ่ึงตรงขามกับการบัดกรอีอนและการบัดกรีแข็ง ซ่ึงไมมีการหลอมละลายของชิ้นงาน มีแหลงพลังงานหลายอยางสําหรับนําไปใชในการ เชื่อม เชน การใชความรอนจากเปลวแกส การอารกโดยใชกระแสไฟฟา ลําแสงเลเซอร การใชอิเล็กตอรอนบีม การเสียดสี การใชคล่ืนเสียง เปนตน ในอุตสาหกรรมมีการนํามาใชในสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน เชน การเชื่อมในพื้นที่โลง พืน้ที่อับอากาศ การเชื่อมใตน้าํ การเชื่อมมีอันตรายเกดิขึ้นไดงาย จึงควรมีการระมัดระวังเพื่อปองกันอนัตราย เชน ทีเ่กิดจากกระแสไฟฟา ความรอน สเก็ดไฟ ควันเชื่อม แกสพิษ รังสีอารค ช้ินงานรอน ฝุนละออง ในยุคเริ่มแรกจนถึงสตวรรษที่ สิบเกา มีการใชงานเฉพาะการเชื่อมทุบ (Forge welding) เพื่อใชในการเชื่อตอโลหะ เชนการทําดาบในสมัยโบราณ วิธีนี้รอยเชือ่มที่ไดมีความแข็งแรงสูง และโครงสรางของเนื้อรอยเช่ือมมีคุณภาพอยูในนาพอใจ แตมีความลาชาในการนําไปใช งานในเชิงอุตสาหกรรม หลังจากนั้นไดมกีารพัฒนามาสูการเชื่อมอารคและการเชื่อมโดยใชเปลวแกสออกซิเจนและหลังจากนั้นมีการเชื่อมแบบความตานทานตามมา เทคโนโลยีการเชื่อม ไดมีการพัฒนาอยางรวดเรว็ในสตวรรษที่ ยี่สิบ ซ่ึงอยูในชวงสงครามโลก คร้ังที่หนึ่งและครั้งที่สองเทคโนโลยีการเชื่อมแบบใหมๆ ไดมีการเรงพัฒนาเพื่อรองรับตอการสูรบในชวงเวลานั้น เพื่อทดแทนการตอโลหะแบบเดิม เชน การใชหมุดย้ําซึ่งมกีารลาชาอยางมาก ขบวนการเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุมฟล๊ักซ(SMAW) เปนขบวนการหนึ่งทีพ่ฒันาขึ้นมาใชในชวงนั้นและกระทั่งปจบนั ยังคงเปนกรรมวิธีที่ใชงานการมากที่สุดในประเทศไทยและประเทศพฒันาทั้งหลาย

Page 12: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

บทท่ี 3 วิธีดําเนินงาน

3.1 วัสดุอุปกรณ 1. ไดนาโม 1 เครื่อง 100 W 6,000 บาท 2. แผนไมอัด , แผนเหล็ก อยางละ 1 แผน 550 บาท 3. ตัวเก็บประจุ จํานวน 1 ตวั 550 บาท 4. เหล็ก 1 นิว้คร่ึง จํานวน 1 เสน 350 บาท 5. พัดลมเล็ก 1 ตัว 300 บาท

6. หลอดไฟ 1 หลอด 250 บาท 7. ทอน้ําประปา PVC 1 หุน 1 ทอ 200 บาท

8. สีกันสนิม 1 กระปอง , แปรงทาสี 1 อัน 150 บาท 9. ชอนสแตนเลส 2 โหล 150 บาท

10. สายไฟ 10 เมตร 100 บาท 11. แผงควบคมุไฟฟา 1 แผง 100 บาท 12. น็อตตัวผู ตัวเมีย จํานวน 6 ตัว 60 บาท 13. ปลกตัวเมยี 1 ตัว 50 บาท รวม 8,810 บาท

Page 13: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

3.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน 3.2.1 คณะผูจดัทําไดประชมุปรึกษาหารือกัน ทําโครงการเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําและเขามาพบอาจารยที่ปรึกษาเกีย่วกับการดําเนินงานและไดแบงหนาที่การงานทุกคน ใหรับผิดชอบหนาที่แตละอยาง ซ่ึงแตกตางกนัออกไป โดยใหเตรียมอุปกรณใหพรอมตามแผนที่วางไว 3.2.2 เตรียมวสัดุอุปกรณดังนี้ เหล็กฉาก1 นิ้วคร่ึง1 เสน , ไดนาโมเพลาลอย1 เครื่อง , สายไฟออน3เมตร1เสน ,ชุดหลอดไฟ1ชุด ,ชอนสแตนเลส 2 โหล , แผนเหล็กวงกลม9 mm 1 แผน และแผน3mm.,สีน้ํามัน 3 กระปอง ,แปรงทาสี 1อัน ,ตลับเมตร 1 ตัว ,และฉากเหล็ก 1 อัน 3.2.3 เมื่อเสร็จใหวดัขนาดและตัดตามที่กําหนดไวเมื่อตดัเสร็จ ทําการเชื่อมใหไดตามที่ตองการ เสร็จแลวเอาไดนาโมมาวางบนโครงสราง เพื่อวัดขนาดและทําการเจาะรูโครงสรางเพื่อยึดไดนาโม แลวเอาแผนกันน้ํากระเดน็มาทับหนาไดนาโมเพื่อทําการเจาะรู ใหแกนเพลาไดนาโมเขาไปไดเวลาเจาะตองเจาะใหไดศูนย นําโครงสรางไปทาสีรองพื้นกอน ปลอยทิ้งไวจนสีใหแหงเสียกอน แลวคอยทาสีตามที่ตองการ แผนกันน้ํากระเดน็ใหทาสีเชนเดยีวกันกับโครงสราง 3.2.4 นําแผนเหล็กที่ตัดเปนรูปวงกลม 3 แผนมาเจาะรูตรงกลาง ใหไดศนูยกับแกนไดนาโม โดยใชวงเวียนทําองศา เสร็จแลวเอาไปกลึงใหไดขนาดทีก่ําหนด นําแผนเหล็ก 9 mm. มาตัดผาใหลงลึก 3 เซนติเมตร และแบงชองทั้งหมด 24 ชอง เทาๆกัน ใชวงเวยีนเปนตัวกําหนดชอง เมื่อเสร็จนําไปเจาะรู 4 รู 3.2.5 ตัดขาชอนสแตนเลสออกใหเหลือ 3 เซนติเมตร นําชอนที่ตัดเสร็จแลวมาใสลงในลองลึก และตีพับขาชอนใหเขากับแผนเหล็กนําแผนเหล็ก ที่เหลือ 2 แผนมาขบกับแผนที่เอาชอนเสียบแลวขันน็อตใหแนนทั้ง 4 ตัว 3.2.6 นําแผนกันน้ํากระเดน็ที่ทาสีเสร็จแลวใหขนัน็อตเขากับโครงสรางน็อต 4 ตัว นาํเครื่องไดนาโมมาตั้งบนโครงสรางและจัดใหไดศนูยกับรูของแผนกันน้ํากระเด็นที่เจาะไว เสร็จแลวจึงขันน็อต 4 ตัวใหแนน จากนั้นทาํการประกอบใบพัด ใสล่ิมของใบพัดแลวตล่ิีมเขาไปใหแนน 3.2.7 ตัดเหล็กฉากครึ่งนิ้วมา 3 ช้ิน ทําการเชื่อมตั้งขึ้นใหมุมทุกมุมเปนมุมฉาก นําไมอัดมาตัดใหไดขนาดของโครงที่เชื่อมเพื่อที่จะตอวงจรไฟฟา เมือ่เสร็จแลวทําการตอไฟจากเครื่องไดนาโมเขาแผงวงจรไฟฟา 3.2.8 เมื่อทุกอยางเสร็จเรียบรอยแลวนําเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําไปทดลองโดยใชน้าํฉีดเขาที่หัวฉีดผลปรากฏวาเข็มวัด volt ไมขึ้น สาเหตุที่ไมขึ้นคือ แรงดันฉีดของน้ําไมเพียงพอไดรอบที่ไมถึงที่กําหนด รอบของเครื่องตัวนี้คือ 1,500 รอบ/นาที ดังนั้นไดเพิม่อุปกรณอีกตวัหนึ่งคือ การติดตั้งพลูเลยดานหลังของไดนาโมเพื่อที่จะสามารถไปปนกับจกัรยานต ได หรือใชกบัเครื่องไถนาไดเชนเดียวกนั เมื่อติดเสร็จแลวนําเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําไปทดลองอีกครั้ง โดยใชเครื่องไถนาปนพลูเลยของไดนาโม ผลที่ไดคือเครื่องไดรอบตามที่ตองการและผลิตกระแสไดตามที่ตองการ กระแสที่ผลิตได คือ 220 Volt (AC)หรือไดมากกวาขึน้อยูกบัอัตราความเร็วของเครื่องไถนา เปนตน

Page 14: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

3.3 แบบแปลน

ภาพที่ 1 โครงสรางไดนาโม

Page 15: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

3.4 ตารางบันทึกการทดสอบ ลําดับ ผลการทดสอบ 1 ทดสอบครั้งแรก ผลปรากฏวาเข็มวดั Volt ไมขึ้น เนื่องจากแรงดันน้ําไมพอ ไดรอบไมถึงที่กําหนด 2 ทดสอบครั้งที่สอง โดยใชเครื่องไถนาปนพลูเลยของไดนาโม ผลปรากฏวาเข็มวดั Volt ขึ้นถึง 220 Volt

( AC) เข็มจะขึน้ไดก็ตอเมื่อไดรอบ 1,500 / นาที

ตารางที่ 2 ตารางบันทึกการทดสอบ

Page 16: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

บทท่ี 4 คูมือการใช

4.1 อุปกรณของเคร่ืองปนไฟฟาพลงังานน้ํา

ภาพที่ 2 ใบพัดและชอน ภาพที่ 3 แผนกันน้าํกระเดน็

ภาพที่ 4 หวัฉีด ภาพที่ 5 พลูเลยไดนาโม

ภาพที่ 6 ไดนาโมเพลาลอย ภาพที่ 7 โครงสรางไดนาโม

Page 17: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

4.2 การติดตั้งไดนาโมและทาสีโครงสราง

ภาพที่ 8 เครื่องไดนาโม ภาพที่ 9 ทาสี 4.3 การตอวงจรไฟและประกอบใบพัด

ภาพที่ 10 ตอไฟ ภาพที่ 11 ประกอบใบพดั

4.4 การประกอบพลูเลย และประกอบหลอดไฟ                                                                                                                            

                                             

ภาพที่ 12 ประกอบหลอดไฟ ภาพที่ 13 ประกอบพลูเลย 

Page 18: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

บทท่ี 5 บทสรุป

5.1 สรุปผลการดําเนิน จากการทําโครงการมาในครั้งนี้ คณะผูจดัทําไดทําเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําขึ้นมา ผลปรากฏวา

เครื่องผลิตกระแสไฟฟาไมไดตามที่กําหนด เนื่องจากแรงดันของน้ําไมเพียงพอ ไดรอบไมถึงที่กําหนด รอบของเครื่องปนไฟฟาพลังงานน้ําเครื่องนี้คือ 1,500 / นาที ดังนัน้ กลุมของขาพเจาไดเพิ่มอุปกรณอีกตัวหนึ่งคือ พลูเลย ซ่ึงติดตั้งอยูดานหลงัของไดนาโม เพื่อใหใชกบัรถจักรยานได หรือ ใชกับเครื่องไถนาก็ได กลุมขาพเจาไดทดสอบใชกับเครื่องไถนาใหหมนุพลูเลยของไดนาโม ผลปรากฏวา เครื่องสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดดั่งที่ตองการ และไดรอบตามที่ตองการดวย

5.2 ปญหาและอุปสรรค 5.2.1 ไดนาโมราคาแพงกวางบที่กําหนด 5.2.2 ไดอุปกรณไมครบตามที่กําหนด 5.2.3 อุปกรณและชิ้นสวนราคาคอนขางแพง 5.3 ขอเสนอแนะ แรงดันของน้ําไมเพียงพอ เครื่องไมสามารถผลิตกระแสไฟฟาได รอบไมถึง เครื่องที่ทําขึ้นมา

ตองการแรงดนัของน้ํามากพอสมควร ถาเอาน้ําที่ไหลลงมาจากที่สูงประมาณ 25-50 เมตร หรือกวายิ่งดี เครื่องสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดตามที่ตองการ

Page 19: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

บรรณานุกรม

- http://www.hikarithi.com/index.php - http://wwwthaiwindmill.com/forum/showthread.php - http://www.otherpower.com/17page1.html - http://www.dede.go.th/dede/index.php - [email protected] - Scigw/[email protected]

Page 20: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

ภาคผนวก

Page 21: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

ภาพการปฏิบตัิงาน

ภาพที ่14 การติดตั้งใบพัด ภาพที่ 15 แผงวงจรไฟ

ภาพที่ 16 พลูเลยดานหลังของไดนาโม ภาพที่ 17 การตอชุดไฟของไดนาโม

ภาพที่ 18 ประกอบพลูเลยดานหลังไดนาโม ภาพที่ 19 เข็มมิเตอรวัดกระแสไฟ

Page 22: โครงการ เครื่องป นไฟฟ าพลังงาน ...โครงการ เคร องป นไฟฟ าพล งงานน า เสนอ

ภาพที่ 20 หัวฉีด ภาพที่ 21 ตอหลอดไฟเขาแผงวงจร

ภาพที่ 22 ทาสีรองพื้นและสีน้ํามัน ภาพที่ 23 ทอทางน้ําเขาหวัฉีด

ภาพที่ 24 ใบพดั ภาพที่ 25 เครื่องสมบูรณ พรอมใชงาน