ปรากฏการณ ขนส ง (transport...

49
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 1 ปรากฏการณขนสง (Transport Phenomena) ปรากฏการณที่มีการเคลื่อนยายหรือสงผานปริมาณในระดับมหภาค ในบทนี้จะกลาวถึงเฉพาะ - การฟุงของโมเลกุล (Molecular Diffusion) - การนําความรอน (Heat Conduction) - ความหนืด (Viscosity)

Upload: others

Post on 16-Jan-2020

10 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 1

ปรากฏการณขนสง (Transport Phenomena)

ปรากฏการณที่มีการเคลื่อนยายหรือสงผานปริมาณในระดับมหภาค

ในบทนี้จะกลาวถึงเฉพาะ

- การฟุงของโมเลกุล (Molecular Diffusion)

- การนําความรอน (Heat Conduction)

- ความหนืด (Viscosity)

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 2

จากการทดลองพบวา

- การฟุงจะเกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลมีการกระจายไมสม่ําเสมอ

- การฟุงจะมีทิศทางออกจากบริเวณที่มีความเขมขนของโมเลกุลมาก

ไปยังบริเวณที่มีความเขมขนของโมเลกุลนอย

พิจารณากาชอุดมคติ ซึ่งถูกกั้นดวยผนังดังรูป

แตมีอุณหภูมิ และความดันเทากันทั้งสองดาน

จะเห็นไดวาทางดานที่มีความเขมขนมากจะมี

อัตราการชนกันมากกวาดานที่มีความเขมขนนอย

การฟุงของโมเลกุล (Molecular diffusion)

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 3

ดังนั้นเมื่อยกผนังกั้นออกก็จะมีโมเลกุลกระจายเขาสูดานที่มีความเขมขนนอย

มากกวากระจายออกจากดานที่มีความเขมขนนอย

เกิดเปนผลลัพธของกระแสการฟุงของโมเลกุลจากทางดานที่มีความเขมขนมาก

ไปยังดานที่มีความเขมขนนอย

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 4

จากการทดลองพบวา

xnDJ x ∂∂

−= กฎของฟกส

(Fick’s law)

โดย J : ความหนาแนนกระแสอนุภาค (Particle current density)

จํานวนอนุภาคสุทธิซึ่งเคลื่อนที่ผานพื้นที่ 1 หนวย ซึ่งตั้งฉาก

กบัทิศทางการฟุง ใน 1 หนวยเวลา (m-2s-1)

n : ความเขมขนของโมเลกลุ (Particle density)

จํานวนอนุภาคตอปริมาตร (m-3)

D : สัมประสิทธิ์การฟุง (Diffusion coefficient) (m2s-1)

xn∂∂

: เกรเดียนทของความเขมขนในแนวแกน x

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 5

พิจารณาปริมาตรเล็ก ๆ ดังรูป SdxdV =

xJxJ ′

dx

S

xxx JJdJ −′=

การเพิ่มขึ้นของอนุภาค

ในปริมาตร dV( ) ( ) SdtdJdN txx constconst == −=

SdxdxdJ

dtdN

t

x

x constconst

==

⎟⎠⎞

⎜⎝⎛−=⎟

⎠⎞

⎜⎝⎛

xJ

tn x

∂∂

−=∂∂ จะได

ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 6

จากกฎของฟกส จะไดวา

2

2

xnD

tn

∂∂

=∂∂ สมการการฟุง

(Diffusion Equation)

ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 7

การฟุงในสถานะคงตัว (Stationary diffusion)

การฟุงในกรณีที่ความเขมขนของโมเลกุลที่ตําแหนงตาง ๆ มีคาคงที่ตลอดเวลา

นั่นคือ

จะไดวา 0 =∂∂

xJ x constant =

∂∂xn

และ

0 =∂∂

tn

นั่นคือ 0 nxDJn x +−=นั่นคือ มีคาเทากัน

ทุกตําแหนง หรืออัตราการฟุงเขา

เทากันอัตราการฟุงออก

xJ

โดย คือความเขมขนเมื่อ 0n 0 =x

พื้นที่หนาตัดใด ๆ

ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่ ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 8

ที่สถานะคงตัว CO2 ฟุงผานทอพื้นที่หนาตัด 1.5x10-3 m2 ยาว 0.25 m

มีความหนาแนนกระแสอนุภาค 5.1x1017 m-2s-1 ปลายทั้งสองขางมี

ความเขมขนของ CO2 เทากับ 1.41x1022 m-3 to 8.6 x1021 m-3 ตามลําดับ

ตัวอยาง

1. จงคํานวณหาสัมประสิทธิ์การฟุงของ CO2

0 nxDJn x +−=จาก

แทนคา ( ) 2217

21 1041.1 0.25101.5 108.6 ×+×

−=×D

จะได125- sm 102.32 −×=D

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 9

2. จงคํานวณหาจํานวนโมเลกลุของ CO2 ที่ฟุงออกจากทอนี้ใน 1 วินาที

SJ ⋅=

( )317 105.1)101.5( −××=

1-14 s 1065.7 ×=

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 10

การถายเทความรอน (Heat Transfer)

การนําความรอน (Heat Conduction)

การพาความรอน (Heat Convection)

การแผรังสีความรอน (Thermal Radiation)

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 11

จากการทดลองพบวา

- การนําความรอนจะเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิไมสม่ําเสมอ

- การนําความรอนจะมีทิศทางออกจากบริเวณที่มอุณหภูมิสูง

ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ํา

พิจารณากาชอุดมคติ ซึ่งถูกกั้นดวยผนังดังรูป

มีอุณหภูมิตางกัน แตความดันและความเขมขน

เทากันทั้งสองดาน

จะเห็นไดวาทางดานที่มีอุณหภูมิสูงจะมี

อัตราเร็วเฉลี่ยสูงกวา ดังนั้นอัตราการชนกัน

มากกวาดานที่มีอุณหภูมิต่ํา hT cT

การนําความรอน (Heat conduction)

การถายเทความรอนโดยไมมีการถายเทมวล

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 12

แตเนื่องจากทั้งสองดานมีความเขมขนเทากัน ดงันั้นเมื่อยกผนังกั้นออกจึงไมมี

การฟุงของอนุภาคสุทธิ นั่นคือจํานวนอนุภาคเคลื่อนที่เขาเทากับออก

แตพลังงานของอนุภาคทั้ง 2 ขางไมเทากัน จึงเกิดเปนผลลัพธของกระแส

การถายเทของความรอนจากทางดานที่มีอุณหภูมิสูงไปยังดานที่มีอุณหภูมิต่ํา

hT cT hT cT

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 13

จากการทดลองพบวา

xTKJE ∂∂

−= กฎของฟูเรียร

(Fourier’s law)

โดย JE : ความหนาแนนกระแสพลังงาน (Energy current density)

ปริมาณพลังงานสุทธิซึ่งเคลื่อนที่ผานพื้นที่ 1 หนวย ซึ่งตั้งฉาก

กับทิศทางการนําความรอน ใน 1 หนวยเวลา (J.m-2s-1)

T : อุณหภูมิ (oC)

K : สัมประสิทธิ์การนําความรอน (Thermal conductivity) (J.m-1s-1 C-1)

xT∂∂ : เกรเดียนทของอุณหภูมิในแนวแกน x

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 14

พิจารณามวลเล็ก ๆ ดังรูป Sdxm ρ =

EJEJ ′

dx

SEEE JJdJ −′=

การเพิ่มขึ้นของ

พลังงานในมวล m( ) ( ) SdtdJdTmC tEx constconst == −=

Sdxdx

dJdtdTCSdx

t

E

x constconst

==

⎟⎠⎞

⎜⎝⎛−=⎟

⎠⎞

⎜⎝⎛ρ

xJ

tTC E

∂∂

−=∂∂ ρจะได

ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 15

จากกฎของฟกส จะไดวา

2

2

xT

CK

tT

∂∂

=∂∂

ρสมการการนําความรอน

(Equation of thermal conduction)

โดย : ความหนาแนนของสาร (kg.m-3)ρ

: ความรอนจําเพาะของสาร (J.kg-1 K-1)C

แมเราจะพิสูจนสมการนี้จากกาซอุดมคติ แตสมการนี้สามารถขยายไปใชกับ

ของเหลวและโลหะไดดวย เนื่องจากของเหลวก็มีลักษณะการเคลื่อนที่ที่

ปนปวนเชนเดียวกับกาซ และโลหะก็มีอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนที่ไดอยางอิสระ

เชนเดียวกับกาซเปนตัวนําความรอน

ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 16

การนําความรอนในสถานะคงตัว (Stationary heat conduction)

การนําความรอนในกรณีที่อุณหภูมิที่ตําแหนงตาง ๆ มีคาคงที่ตลอดเวลา

นั่นคือ

จะไดวา 0 =∂∂

xJE constant =

∂∂

xT

และ

0 =∂∂

tT

นั่นคือ 0 TxKJT E +−=

นั่นคือ มีคาเทากันทุกตําแหนง

หรืออัตราการสงผานพลังงานเขา

เทากบัอัตราการสงผานพลังงานออก

EJ

โดย คือความเขมขนเมื่อ 0T 0 =x

พื้นที่หนาตัดใด ๆ

ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่ ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 17

ทอนโลหะพื้นที่หนาตัด 5 cm2 มีฉนวนหุม ปลายดานหนึ่งเปนทองแดง

ยาว 100 cm จุมอยูในน้ํา 100°C อีกปลายทําดวยเหล็กยาว L2 จุมใน

น้ําแข็ง 0 °C ที่สถานะคงตัวพบวาอุณหภูมิที่รอยตอโลหะเปน 60 °C

สัมประสิทธิ์การนําความรอนของทองแดง และเหล็กเปน 0.92 และ 0.12

cal / s/cm/ºC ตามลําดับ

ตัวอยาง

1. จงคํานวณหาความยาวของเหล็ก (L2)

เนื่องจากอุณหภูมิที่ตําแหนงตาง ๆ

มีคาคงที่ไมเปลี่ยนแปลงไปกับเวลา

การนําความรอนในสถานะคงตัว

และพื้นที่หนาตัดคงที่

0 TxKJT E +−=

และ เทากันตลอดทั้งเสนEJ

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 18

ที่รอยตอ สําหรับทองแดง ( ) 001 10092.0

06 +−=copperEJ

สําหรับเหล็ก 06 12.0

0 2 +−= LJ ironE

12scal.m 0.368 −−=copperEJจะได

06 12.0368.0 0 2 +−= L

จะได cm 19.57 2 =L

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 19

2. ปริมาณความรอนที่ไหลผานไปยังน้ําแข็งใน 1 วินาที

tSJE Δ⋅⋅=

( )( )( )15368.0 =

cal 1.84 =

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 20

โลหะทรงกลมกลวงรัศมีภายใน R1อุณหภูมิ T1

และรัศมีภายนอก R2 อุณหภูมิ T2

ตัวอยาง

จงหาอุณหภูมิบนผิวเสมือนซึ่งมีรัศมี r โดยที่ R1< r <R2

เนื่องจากอุณหภูมิที่ตําแหนงตาง ๆ

มีคาคงที่ไมเปลี่ยนแปลงไปกับเวลาการนําความรอนในสถานะคงตัว

T1

T2

r

Tเนื่องจากพื้นที่สงผานความรอนไมคงที่

จะไมคงที่ แตอัตราการสงผาน

ความรอน ( ) จะคงที่EJ

SJE ⋅

1 คะแนน

2 คะแนน

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 21

rTKJE ∂∂

−= จากกฏของฟูเรียร พิจารณาในแนวรัศมี

จะได ( ) const 4 2 =∂∂

−= rrTKSJE π

24const

rdr

KdT ⎟

⎠⎞

⎜⎝⎛−=

π

∫∫ ⎟⎠⎞

⎜⎝⎛−=

r

R

T

T rdr

KdT

11

24const π

11

114const T

RrKT +⎟⎟

⎞⎜⎜⎝

⎛−⎟

⎠⎞

⎜⎝⎛=

πดังนั้น

1 คะแนน

1 คะแนน

1 คะแนน

1 คะแนน

1 คะแนน

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 22

เมื่อ จะได 2 Rr = 2 TT =

นั่นคือ ( ) ⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛−

−=21

21124 const

RRRRTTKπ

( ) 112

1212 T

RRRr

rRTTT +⎟⎟

⎞⎜⎜⎝

⎛−−

⎟⎠⎞

⎜⎝⎛−=จะได

1 คะแนน

1 คะแนน

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 23

ผนังบานหลังหนึ่งประกอบดวยชั้นตาง ๆ ดังรูป เมื่อทําการวัดอูณหภูมิ

ที่ตําแหนงตาง ๆ พบวา T1 = 25oC, T2 = 20oC และ T5 = -10oC คงที่

ไมเปลี่ยนไปกับเวลา โดย Ld = 2La และ Kd = 5Ka

ตัวอยาง

จงหาอุณหภูมิ T4

T1 T2 T3 T4 T5

a b c dการนําความรอนในสถานะคงตัว

และพื้นที่หนาตัดคงที่

0 TxKJT E +−=

อุณหภูมิไมขึ้นกับเวลา

2 คะแนน

1 คะแนน1 คะแนน

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 24

12 TLKJT a

a

E +−=

T1 T2 T3 T4 T5

a b c d

จะไดวา

และ 45 TLKJT d

d

E +−=

นั่นคือ( ) 5214 TTT

LKLKT

ad

da +−=

แทนคาตาง ๆ ที่โจทยกําหนดมาให

จะได( )

( ) ( ) ( )C10 C20C255

2 ooo4 −+−=

aa

aa

LKLKT

C8 o−=

1 คะแนน

1 คะแนน

2 คะแนน

1 คะแนน

1 คะแนน

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 25

ความหนืด (Viscosity)

ความหนืดเปนสมบัติเฉพาะของของไหล (กาซ และของเหลว)

เนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคไมมากอยางเชนของแข็ง

ทําใหอนุภาคสามารถเคลื่อนที่ไปมาไดอยางคอนขางอิสระ

เมื่อสวนใดสวนหนึ่งของของไหลถูกทําใหเคลื่อนที่ อนุภาคสวนที่เคลื่อนที่

และสวนอื่น ๆ ก็ยังคงมีการเคลื่อนที่แลกเปลี่ยนไปมาได ทาํใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงโมเมนตัมในทั้งสองสวน

ซึ่งการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมนี้ก็คือ แรงตานการเคลื่อนที่ของของไหล

ซึ่งเรียกวา แรงหนืด (viscous force) นั่นเอง

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 26

yvเมื่อยังไมมีการไหลy

x

พิจารณาของไหลซึ่งมีความหนาแนนสม่ําเสมอ ขณะยังไมมีการไหลก็จะไมมี

การสงผานโมเมนตัม แตเมื่อสวนทางดานซายมีถูกทาํใหเคลื่อนที่ จะทําใหมี

โมเมนตัมสงออกไปเนื่องจากอนุภาคมีอัตราเร็ว ทําใหทางดานขาวมีโมเมนตัมดวย

นั่นคือทางดานขาวจะมีการไหลดวย

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 27

จากการทดลองพบวา

xv

J yp ∂

∂−= η

กฎของการไหลที่มคีวามหนืด

(Law of viscous flow)

โดย Jp : ความหนาแนนกระแสโมเมนตัม (Momentum current density)

ปริมาณโมเมนตัมในทิศทางการไหลสุทธิซึ่งเคลื่อนที่ในแนว

ตั้งฉากกับการไหลผานพื้นที่ 1 หนวย ซึ่งตั้งฉากกับทิศทาง

การถายเทโมเมนตัม ใน 1 หนวยเวลา (kg.m-1s-2)

ซึ่งก็คือความเคนเฉือน (shear stress) ในผิวของของไหลนั่นเอง

xvy

∂∂ : เกรเดียนทในแนวแกน x ของความเร็วของการไหล

: สัมประสิทธิ์ความหนืด (viscosity) (N.s.m-2)η

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 28

พิจารณาปริมาตรเล็ก ๆ ดังรูป SdxdV =

ppp JJdJ −′=

การเพิ่มขึ้นของโมเมนตัม

ในปริมาตร dV ( ) ( ) SdtdJdvNmtpxy constconst

==

−=

SdxdxdJ

dtdv

Nmt

p

x

y

constconst

==

⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛−=⎟⎟

⎞⎜⎜⎝

จะได

pJ pJ ′

dx

Syv

xJ

tv py

∂∂

−=∂∂

ρ

ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 29

( )py J

xtv

−∂∂

=∂∂

τρ

แตถามีแรงภายนอกมากระทํากับของไหลในทิศเดียวกับการไหล

ทําใหเกิดความเคนเฉือน ในผิวของของไหลτ

จากกฏการไหลที่มีความหนืด

จะไดวา

จะไดวาxx

vt

v yy

∂∂

+∂∂

=∂∂ τ

ρρη 1 2

2

สมการการเคลื่อนที่ของของไหลที่มีความหนืด

(Equation of motion of viscous flow)ในกรณีพื้นที่หนาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 30

การไหลในสถานะคงตัว (Stationary flow)

การไหลที่ความเร็วของการไหลที่ตําแหนงตาง ๆ มีคาคงที่ตลอดเวลา

นั่นคือ

จะไดวา 0 =∂∂

xJ p

0 =∂∂

tvy

นั่นคือ มีคาเทากันทุกตําแหนง

หรือการถายเทโมเมนตัมระหวาง

ชั้นของของไหลมีคาเทากนัทั้งหมด

pJxx

v y

∂∂

−=∂∂ τ

η1 2

2และ

พื้นที่หนาตัดใด ๆ

ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่ ในกรณีพื้นทีห่นาตัดคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 31

การไหลในสถานะคงตัว 0 =∂∂

tvy

y l

a

นั่นคือ ความเร็วในการไหลที่ตําแหนงตาง ๆ คงที่

จากกฏขอที่ 1 ของนิวตัน แสดงวาแรงลัพธที่กระทํากับ

ชั้นตาง ๆ ของของเหลวมีคาเทากบัศูนย

นั่นคือ แรงหนืด = แรงภายนอก

หรือความเคนเฉือน

จากแรงหนืด= ความเคนเฉือน

จากแรงภายนอก

พื้นที่หนาตัดในการฟุง

ของโมเมนตัมไมคงที่

จงหาอัตราการไหลในสถานะคงตัวของของเหลวผานทอทรงกระบอก

รัศมี a ยาว l ความดันที่ปลายทอทั้งสองตางกัน p และของเหลวมี

ความหนืด ความหนาแนน

ตัวอยาง

η ρ

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 32

y

l

a

r

หรือ

ความเคนเฉือน

จากแรงหนืด= ความเคนเฉือน

จากแรงภายนอก

สําหรับการไหล

ในสถานะคงตัว

ทุกรูปแบบ

τ =pJ

พิจารณาชั้นของไหลทรงกระบอกหนา dr

รัศมี r ยาว l ดงัรูป

τη =∂∂

−xvyหรือ

จะไดl

prrlrp

2

2)(

2

==ππτ

และ rdrl

pdvy η2 −=

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 33

rdrl

pdvy η2 −=

∫∫ −=r

a

v

y rdrl

pdvy

η2

0

( )22

4 ra

lpvy −=η

อัตราการไหล (dQ) เนื่องจากทรงกระบอกหนา dr

dSvdQ y⋅= ρ

( )( )rdrral

p πη

ρ 24

22 −⎟⎠

⎞⎜⎝

⎛⋅=

yl

a

r

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 34

y

l

a

r

( )( )rdrral

pdQ πη

ρ 24

22 −⎟⎠

⎞⎜⎝

⎛⋅=

อัตราการไหล Q

( )( )∫ −⎟⎠

⎞⎜⎝

⎛⋅=a

rdrralpQ

0

22

42 ηπρ

lpaQη

ρπ8

4

=

กฎของปวเชย (Poiselle’s law)

( )1-kg.s

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 35

ระยะยทางเสรีเฉลี่ย (Mean free path)

ระยะทางเฉลี่ยที่อนุภาคเคลื่อนที่ไปไดโดยไมชนกับอนุภาคอื่น ๆ

พิจารณากาซอุดมคติความหนาแนน n แตละอนุภาคมีมวล m รัศมี r

และมีอัตราเร็วเฉลี่ย v

อนุภาคจะชนกันก็ตอเมื่อระยะหางระหวาง

อนุภาคเทากบั 2rr r

m m

2r

m

m

เพื่อใหงาย เราจะพิจารณาวาอนุภาคที่เราสนใจ

มีรัศมี 2r อนุภาคอื่นที่เหลือเปนจุด

และประมาณวาอนุภาคที่เปนจุดนั้นหยุดนิ่ง

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 36

ระยะเสรีเฉลี่ย (l) = ระยะทางที่อนุภาคเคลื่อนที่ไป

จํานวนครั้งที่ชน

ระยะทางที่อนุภาคเคลื่อนที่ไป

จํานวนอนุภาคที่อยูในปริมาตรซึ่งเกิดจากอนุภาคที่พิจารณาเคลื่อนที่=

( )( )tvrntvl

ΔΔ

= 22

πr r

m m

2r

m

m

จะได

nr 241 π

=

แตเนื่องจากอนุภาคอื่น ๆ มิไดหยุดนิ่งอยางที่ประมาณ

nrl 224

1 π

=ดังนั้น

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 37

กาซอุดมคติที่อุณหภูมิ 300 K ความดัน 1.01x105 Pa

และโมเลกุลมีเสนผานศูนยกลาง 290 pmตัวอยาง

1. จงคํานวณหาระยะเสรีเฉลี่ย

จากnr

l 2241 π

=

และ NkTPV =kTP

VNn ==

ดังนั้นPr

kTl 224

π=

( )( )( ) ( )5212

23

1001.1102/290243001038.1

××

×=

π

m 101.1 7−×=

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 38

2. ถาโมเลกุลมีอัตราเร็วเฉลี่ย 450 m/s

จงคํานวณหาระยะเวลาเฉลี่ยที่อนุภาคไมมีการชนกับอนุภาคอื่น

450101.1

7−×==

velocitymeanpathfreemeant f

s 102.44 10−×=

เวลาเสรีเฉลี่ย

(Mean free time)

3. ใน 1 วินาที อนุภาค 1 ตัวจะชนกับอนุภาคอื่นกี่ครั้ง

ระยะเวลา จะชนกับอนุภาคอื่น 1 ครั้งs102.44 10−×

ใน 1 วินาที จะชนกับอนุภาคอื่น ครั้ง910 101.4

102.441

×=× −

ดังนั้น

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 39

ทฤษฎีโมเลกุลของปรากฏการณขนสง

เพื่อเชื่อมโยงคาสัมประสิทธิ์ตาง ๆ เขากับสมบัติของโมเลกุลของสาร

การฟุง (Diffusion)

พิจารณา

x x + lx - l

2l

n- n+v v

โดย n- , n+ : ความเขมขนของอนุภาค

v : อัตราเร็วเฉลี่ยของอนุภาค

l : ระยะเสรีเฉลี่ย

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 40

โอกาสที่อนุภาคจะเคลื่อนที่ไป

ในทิศทางที่เราสนใจคือ 1 ใน 6

ความหนาแนนกระแสอนุภาคผานตําแหนง x ในทศิทาง +x คือ

ความหนาแนนกระแสอนุภาคผานตําแหนง x ในทศิทาง -x คือ

vnJ6

−+ =

vnJ6

+− −=

2l

x x + lx - l

n- n+v v

ดังนั้น

+ x- x+ y

+ z

- z

- y

ความหนาแนนกระแสอนุภาคสุทธิผานตําแหนง x คือ+− += JJJ x

( )+− −= nnvJ x 6

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 41

2l

x x + lx - l

n- n+v v

เกรเดียนทความเขมขนของโมเลกุล

( )lnn

xn

2 −+ −=

∂∂

จะไดวา

เทียบกบักฏของฟกสxnDJ x ∂

∂−=

นั่นคือ vlD31 =

xnvlJ x ∂

∂−=

31

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 42

จากที่ผานมา เราทราบวาn

l 1 ∝Tv ∝

แตkTP

VNn ==

และ

ดังนั้น 1 −∝ Tl

นั่นคือ

ขอสังเกต ความหนาแนนกระแส Z

( )( )( )particleZvelocitymeandensityparticleJ Z / =

23 TD ∝ เมื่อความดันคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 43

การนําความรอน (Heat Conduction)

พิจารณา

x x + lx - l

2l

T- T+v v

โดย T- , T+ : อุณหภูมิ

v : อัตราเร็วเฉลี่ยของอนุภาค

l : ระยะเสรีเฉลี่ย

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 44

โอกาสที่อนุภาคจะเคลื่อนที่ไป

ในทิศทางที่เราสนใจคือ 1 ใน 6

ความหนาแนนกระแสพลังงาน

ผานตําแหนง x ในทศิทาง +x คือ

ความหนาแนนกระแสพลังงาน

ผานตําแหนง x ในทศิทาง -x คือ

⎟⎠⎞

⎜⎝⎛= −+ kTvnJ

23

6

⎟⎠⎞

⎜⎝⎛−= +− kTvnJ

23

6

+ x- x+ y

+ z

- z

- y

ความหนาแนนกระแสพลังงานสุทธิผานตําแหนง x คือ

( )+−−+ −=−= TTvnkJJJ E 4

x x + lx - l

2l

T- T+v v

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 45

เกรเดียนทของอุณหภูมิ

( )lTT

xT

2 −+ −=

∂∂

จะไดวา

เทียบกบักฏของฟูเรียรxTKJ E ∂

∂−=

นั่นคือ vnklK21 =

xTvnklJ E ∂

∂−=

21

x x + lx - l

2l

T- T+v v

21 T∝

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 46

ความหนืด (Viscosity)

พิจารณา

โดย vy- , vy+ : ความเร็วของการไหล

v : อัตราเร็วเฉลี่ยของอนุภาค

l : ระยะเสรีเฉลี่ย

x x + lx - l

2l

vy- vy-v v

vy

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 47

โอกาสที่อนุภาคจะเคลื่อนที่ไป

ในทิศทางที่เราสนใจคือ 1 ใน 6

ความหนาแนนกระแสโมเมนตัม

ผานตําแหนง x ในทศิทาง +x คือ

ความหนาแนนกระแสโมเมนตัม

ผานตําแหนง x ในทศิทาง -x คือ

( )−+ = ymvvnJ6

( )+− −= ymvvnJ6

+ x- x+ y

+ z

- z

- y

ความหนาแนนกระแสโมเมนตัมสุทธิผานตําแหนง x คือ

( )+−−+ −=−= yyp vvvnmJJJ 6

x x + lx - l

2l

vy- vy-v v

vy

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 48

เกรเดียนทของความเร็วในการไหล

( )lvv

xv yyy

2 −+ −=

∂∂

จะไดวา

เทียบกบักฏของการไหลที่มีความหนืดxv

J yp ∂

∂−= η

นั่นคือ vnml31 =η

xv

vnmlJ yp ∂

∂−=

31

lvρη31 =หรือ

x x + lx - l

2l

vy- vy-v v

vy

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกัษ ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรากฏการณขนสง 49

โดยสรุป vlD31 =

vnklK21 =

vnml31 =η

จะเห็นไดวาคาสัมประสิทธิ์ตาง ๆ

ลวนขึ้นอยูกับสมบัติของโมเลกุลของสาร

ทําใหคาสัมประสิทธิ์สามารถเชื่อมโยง

กันไดทั้งหมด

ที่เปนเชนนี้ก็เนื่องจาก การเคลื่อนที่ปนปวนของโมเลกุลของของไหลนั่นเอง