คู่มือการส ารวจท าแผนที่...

111
คู่มือการสารวจทาแผนที่ธรณีวิทยา คู่มือการสารวจทาแผนที่ธรณีวิทยา สำนักธรณีวิทยำ กรมทรัพยำกรธรณี สำนักธรณีวิทยำ กรมทรัพยำกรธรณี

Upload: others

Post on 20-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

คู่มือการส ารวจท าแผนที่ธรณีวิทยาคู่มือการส ารวจท าแผนที่ธรณีวิทยา

ส ำนักธรณีวิทยำ กรมทรพัยำกรธรณี ส ำนักธรณีวิทยำ กรมทรพัยำกรธรณี

Page 2: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

คําบรรยายภาพหนาปก

1 การสลับชั้นของหินทรายและหินโคลนของหมูหินหวยประคอง หมวดหินหวยบอโขงบริเวณหวยประคอง อําเภอน้ําปาด จังหวัดอุตรดิตถ

2 ซากดึกดําบรรพ bivalve และ ammonite ท่ีพบในหินโคลนของกลุมหินหัวฝายอําเภอแมสอด จังหวัดตาก

3 การศึกษาธรณีวิทยาโครงสรางจากภาพดาวเทียม4 การคดโคงรูปประทุนของหินทรายและหินทรายแปง กลุมหินโคราช

บริเวณอําเภอดานซาย จังหวัดเลย

1

2

3

4

Page 3: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีนายนิทัศน ภูวัฒนกุล

ผูอํานวยการสํานักธรณีวิทยานายมนตรี เหลืองอิงคสุต

ผูอํานวยการสวนมาตรฐานธรณีวิทยา นายสันต อัศวพัชระ

จัดพิมพโดย สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณีถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ10400โทรศัพท 0 2621 9664

พิมพคร้ังที่ 1 กันยายน 2555จํานวน 200 เลม

ขอมูลการลงรายการบรรณานุกรม

สํานักธรณีวิทยาคูมือการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา โดย สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี กรุงเทพฯ :

2555.100 หนา : ภาพประกอบ 29 ภาพ

Page 4: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

สารบัญ

บทท่ี 1 หลักเกณฑท่ัวไปในการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา...................................... 11.1 วัตถุประสงคของการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา…………………………… 11.2 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา …………………………………………..……… 11.3 ข้ันตอนหลักของงานสํารวจ……………………………………………………….. 2

1.3.1 การเตรียมการออกสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา………………….. 21.3.2 การสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาในสนาม………………………. 31.3.3 การวิเคราะหวิจัยตัวอยางหิน.................................................. 41.3.4 การทําแผนท่ีธรณีวิทยาตนฉบับ.............................................. 51.3.5 การทําแผนท่ีธรณีวิทยาตนฉบับพิมพ...................................... 6

1.4 ขอมูลท่ีควรมีบนแผนท่ีธรณีวิทยาตามเกณฑมาตรฐาน…………………. 61.5 การเก็บตัวอยางและขนาด………………………………………………………… 71.6 สัญลักษณ ตัวยอและรูปแบบ…………………………………………………….. 91.7 เทคนิคการศึกษาธรณีวิทยาในภาคสนาม…………………………………….. 12

บทท่ี 2 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณหินตะกอน........................................ 142.1 การเรียกชื่อหินตะกอน……………………………………………………………… 14

2.1.1 เรียกชื่อหินตามขนาดของตะกอนท่ีแตกตางกัน...................... 152.1.2 เรียกชื่อหินตามสวนประกอบของหิน..................................... 152.1.3 เรียกชื่อหินตามลักษณะของเนื้อหิน....................................... 15

2.2 การบรรยายลักษณะของหิน............................................................... 192.2.1 ลักษณะของหิน....................................................................... 192.2.2 โครงสรางหินตะกอน............................................................... 222.2.3 กระแสน้ําโบราณ..................................................................... 272.2.4 รูปทรงเรขาคณิต..................................................................... 282.2.5 ซากดึกดําบรรพ……………………………………………………………… 29

2.3 การวัดลําดับชั้นหิน............................................................................. 302.4 การจําแนกลําดับชั้นหินและการตั้งชื่อหนวยหิน................................ 31

2.4.1 การจําแนกลําดับชั้นหิน.......................................................... 312.4.2 ชื่อและการตั้งชื่อหนวยหิน...................................................... 31

2.5 ขอแนะนําสําหรับการสํารวจซากดึกดําบรรพ..................................... 342.6 ขอแนะนําสําหรับการศึกษาหินมหายุคซีโนโซอิก............................... 352.7 ขอแนะนําในการสํารวจทําแผนท่ีทรัพยากรหินคารบอเนต................ 352.8 ขอแนะนําในการสํารวจเพ่ือประเมินแหลงหินออนและหินประดับ.... 362.9 ขอแนะนําการศึกษาหินตะกอนในภาคสนาม..................................... 37

Page 5: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

สารบัญ(ตอ)บทท่ี 3 การสํารวจธรณีวิทยาควอเทอรนารี…………………………………………………………. 44

3.1 วัตถุประสงค......................................................................................... 443.2 ขอบเขตของงาน................................................................................... 443.3 ข้ันตอนการปฏิบัติงาน.......................................................................... 44

3.3.1 การเตรียมการออกสํารวจ......................................................... 443.3.2 การสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาในสนาม………………………… 443.3.3 การทําแผนท่ีธรณีวิทยาควอเทอรนารีตนฉบับ........................... 453.3.4. การบันทึกและนําเขาขอมูล...................................................... 45

บทท่ี 4 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณหินอัคนี................................................. 524.1 การสํารวจธรณีวิทยาบริเวณหินอัคนีระดับลึก...................................... 52

4.1.1 ขอสังเกตท่ัวไป......................................................................... 524.1.2 ลักษณะการเกิด....................................................................... 524.1.3 เนื้อหินและโครงสรางในหินอัคนีระดับลึก................................. 534.1.4 การจําแนกหินอัคนีระดับลึก..................................................... 534.1.5 Collecting sheet for granitic rocks………………………………. 54

4.2 การสํารวจธรณีวิทยาบริเวณหินภูเขาไฟ………………………………………… 554.2.1 ลักษณะการสัมผัสกับหินขางเคียง............................................. 554.2.2 ลักษณะการเกิด......................................................................... 564.2.3 เนื้อหินและโครงสรางขนาดเล็ก…………………………………………. 574.2.4 การจําแนกหินภูเขาไฟ............................................................... 574.2.5 การเก็บตัวอยางหินภูเขาไฟ……………………………………………….. 57

บทท่ี 5 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณหินแปร.................................................. 595.1 หินแปรสภาพบริเวณไพศาล (Regional metamorphic rocks)……… 59

5.1.1 Regional dynamothermal metamorphic rocks.............. 595.1.2 ขอแนะแนวการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณ

หินแปรบริเวณไพศาล............................................................... 605.1.3 Regional burial metamorphic rocks…………………………… 605.1.4 ขอแนะแนวการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณ

หินแปร Regional burial metamorphic rocks……….......... 615.2 หินแปรสัมผัส (Contact metamorphic rocks)………………………….. 61

5.2.1 ขอแนะแนวการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณหินแปรสัมผัส............................................................................ 61

5.3 หินแปรบดอัด (Cataclastic metamorphic rocks)……………………… 625.3.1 ขอแนะแนวการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาหินแปรบดอัด… 62

Page 6: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

สารบัญ(ตอ)

บทท่ี 6 การสํารวจธรณีวิทยาโครงสราง........................................................................ 636.1 ชั้นหิน (bed)......................................................................................... 63

6.1.1 การอานคาการวางตัวของชั้นหิน………………………………………… 656.2 โครงสรางริ้วขนาน (foliation)…………………………………………………….. 66

6.2.1 ริ้วขนานในหินตะกอน หรือหิน แปรเกรดต่ํา............................. 666.2.1.1 แนวแตกเรียบประชิด (fracture cleavage)…………… 666.2.1.2 แนวแตกเรียบรอยหยัก (crenulation cleavage)…… 666.2.1.3 แนวแตกเรียบแบบหินชนวน (slaty cleavage)......... 666.2.1.4 แนวแตกเรียบระนาบแกน (axial plane cleavage).. 66

6.2.2 ริ้วขนานในหินแปรข้ันกลางและข้ันสูง....................................... 676.2.2.1 การเรียงตัวแบบหินชีสต (schistosity)…………………… 676.2.2.2 การเรียงตัวแบบหินไนส(gneissosity)……………………. 67

6.2.3 ริ้วขนานกับรอยคดโคง.............................................................. 676.3 โครงสรางลายเสน (lineation)…………………………………………………….. 67

6.3.1 แนวรอยไถล (slickenside striae)…………………………………… 676.3.2 แนวการคดโคง (folds as lineations)……………………………… 686.3.3 แนวเสนท่ีเกิดจากการเรียงตัวของแร (mineral lineations)… 686.3.4 การเรียงตัวของเม็ดตะกอนในชั้นหิน (detrital grains)............ 686.3.5 โครงสรางเชิงเสนท่ีเกิดจาก boudins และ mullions…………. 68

6.4 ชั้นหินคดโคง (fold)............................................................................. 696.4.1 ชนิดการคดโคงตามขนาดของมุมระหวางสวนขาง

(Inter limb angle)................................................................. 706.4.2 ชนิดการคดโคงตามทิศทางแนวระนาบแกน (Axial plane)….. 716.4.3 การคดโคงตามแกนการคดโคง (Fold axis)………………………… 726.4.4 สมมาตรของการคดโคง (Fold symmetry)……………………….. 726.4.5 รูปรางการคดโคง (fold form)................................................. 736.4.6 ชนิดของการคดโคงตามแนวภาพตัดขวาง................................. 73

6.5 รอยเลื่อนและรอยแตก (fault และ joint)…………………………………….. 746.5.1 รอยเลื่อน(Fault)....................................................................... 76

6.6 รอยชั้นไมตอเนื่อง(Unconformity)..................................................... 77บทท่ี 7 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณแหลงทรัพยากรธรณีท่ีมีคุณคาทาง

เศรษฐกิจและแหลงอันควรอนุรักษทางธรณีวิทยา…………………………………… 787.1 คํานิยาม…………………………………………………………………………………… 787.2 การจําแนกชนิดแหลงแร....................................................................... 78

Page 7: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

สารบัญ(ตอ)

7.2.1 แหลงแรท่ีมีกําเนิดเก่ียวของกับกระบวนการทางธรณีวิทยาบนผิวโลก.............................................................................................................. 79

7.2.1.1 แหลงแรแบบลานแร (placer deposits)...................... 797.2.1.2 แหลงแรตกคางสะสม (residual deposits)................ 797.2.1.3 แหลงแรชะละลายสะสม (Supergene deposits)....... 797.2.1.4 แหลงแรแบบชั้น (Sedimentary deposit).................. 79

7.2.2 แหลงแรท่ีมีกําเนิดสัมพันธกับกระบวนการทางธรณีวิทยาภายใตผิวโลก................................................................................................... 80

7.2.2.1 แหลงแรท่ีมีกําเนิดสัมพันธกับหินอัคนีชนิดเมฟกและอัลตราเมฟก.............................................................................................. 80

7.2.2.2 แหลงแรท่ีมีกําเนิดสัมพันธกับหินชนิดเฟลซิก……………. 807.2.2.3 แหลงแรท่ีมีกําเนิดจากสารละลายน้ํารอน...................... 80

7.3 ขอแนะแนวการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณแหลงแร........... 817.4 การสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณแหลงหิน ดิน ทราย และ

กรวด.................................................................................................... 817.5 การสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณแหลงอันควรอนุรักษทาง

ธรณีวิทยา............................................................................................. 82เอกสารอางอิง.................................................................................................. 98

สารบัญรูป

รูปท่ี 2.1 การจําแนกหินตะกอน………………………………………………………………….……… 15รูปท่ี 2.2 ก) การเรียกชื่อหินทราย ตาม Pettijohn (1975)………………………………….. 17

ข) การเรียกชื่อหินทราย ตาม Folk (1974).................................................. 17ค) การเรียกชื่อของหินตะกอนภูเขาไฟ…………………………………………….…….. 18

รูปท่ี 2.3 การเรียกชื่อหินปูน (ดัดแปลงจาก Dunham, 1962 and Folk, 1962)….…. 18รูปท่ี 2.4 แผนภาพแสดงการเรียกชื่อตามการคัดขนาด………………..………………………… 19รูปท่ี 2.5 แสดงการเรียกชื่อความมน (roundness) และความกลม (sphericity) ของ

เม็ดตะกอน……………………………………………………..…………………………………. 20รูปท่ี 2.6 ภาพประมาณจํานวนเปอรเซ็นตของแรในหิน……………………………………… 20รูปท่ี 2.7 แสดงชนิดและคุณลักษณะของ Textural maturity (จาก Murray,

1981)……………………………………………………………….………………………………. 21

Page 8: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

สารบัญรูป(ตอ)

รูปท่ี 2.8 ศัพทท่ีใชเรียกชื่อของชั้นหิน และ laminae (จาก Reineck and Singh,1975)……………………………………………………………………………………………… 21

รูปท่ี 2.9 ภาพแสดงรูปรางแบบตางๆของชั้นหินและชื่อท่ีใชเรียก(ดัดแปลงจากReineck and Singh, 1975)………………………………………………………….…… 22

รูปท่ี 2.10 ก) ภาพแสดงลําดับชั้นของ Bouma sequence และการแปลความหมาย(จาก Pickering et al., 1989)……………………………………………….……………. 23ข) ภาพถาย Bouma sequence จาก Ta ถึง Te บริเวณหวยประคองจังหวัดอุตรดิตถ …………………………………………………………………………….….. 23ค) แสดงการเปลี่ยนแปลงลักษณะของชั้นหินท่ีเกิดจากตะกอนขุนขนตามระยะทางท่ีเคลื่อนไป………………………………………………………………………..… 24

รูปท่ี 2.11 ภาพแสดงโครงสรางหินตะกอนกับการบอกการวางตัวบน/ลางของชั้นหิน(ดัดแปลงจาก Roberts, 1982)…………………………………………………….……… 24

รูปท่ี 2.12 ภาพแสดงการวางตัวของกอนกรวดท่ีเกิดจากกระบวนการ Fluvialprocess (กระแสน้ําปกต)ิและ Resedimented process (กระแสน้ํารุนแรง) ซึ่งแกนยาวของกอนกรวดจะสัมพันธกับทิศทางไหลของกระแสน้ํา(จาก Walker, 1984)………………………………………………………………………… 25

รูปท่ี 2.13 ภาพแสดงสนัของโครงสรางหินตะกอนแบบ cross stratification ท่ีรูปรางเปลี่ยนเม่ือความเร็วของกระแสและความลึกของน้ําเพ่ิมข้ึนA) มีขนาดเล็กเปนเซนติเมตร B) มีขนาดใหญ เปนสิบๆเซนติเมตร………..… 25

รูปท่ี 2.14 Hummocky Cross Stratification…………………………………………………….. 26รูปท่ี 2.15 ภาพแสดงความสัมพันธระหวาง marine ichnofacies กับระดับความลึก

ของน้ําทะเล………………………………………………………………………………..…….. 26รูปท่ี 2.16 ภาพสามมิติของ cross bedding ลูกศรชี้ทิศทางการเคลื่อนท่ีของกระแสน้ํา

หรือลม A) Straight crest, B) sinuous crest, C) linguoid crest และD) asymmetric wave ripples (จาก Chamley, 1990)……………………..… 28

รูปท่ี 2.17 ตัวอยางการหาทิศทางการไหลของตะกอนโบราณจากโครงสรางชั้นหินแนวระนาบ…………………………………………………………………………………….……….. 29

รูปท่ี 2.18 แสดงการวัดลําดับชั้นหินตามลักษณะหิน บนท่ีสูงชันโดยขึงเทปวัดใหตึง....... 30รูปท่ี 2.19 ภาพแสดงความแตกตางในการแบงลําดับชั้นหินของวิธีจําแนกลําดับ

ชั้นหินแบบตางๆ…………………………………………………………………………………. 33รูปท่ี 4.1 การจําแนกหินอัคนีระดับลึก ตาม USGS……………………………………………….. 54รูปท่ี 4.2 Collecting sheet for granitic rocks…………………………………………………. 55รูปท่ี 4.3 การจําแนกหินภูเขาไฟ (S.E. Claboug, 1976)………………………………………. 58รูปท่ี 6.1 การเรียกชื่อลักษณะของชั้นหินตะกอน (Campbell, 1976)......................... 64รูปท่ี 6.2 การกําหนดความหนาของชั้นหิน (Ingram, 1954)........................................ 64รูปท่ี 6.3 แสดงทิศทางการวางตัวของชั้นหิน(แนวระดับ, ทิศทางการเอียงเท, มุมเท)…. 65

Page 9: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

สารบัญตาราง

ตารางท่ี 2.1 การเรียกชื่อหินตามขนาดของเม็ดตะกอน (Udden-Wentworth grain-size scale)............................................................................................... 16

ตารางท่ี 2.2 การเรียกชื่อหินปูนกับหินโดโลไมต (Murray, 1981)…………………………… 16ตารางท่ี 2.3 รูปแบบและทิศทางการไหลของกระแสน้ําโบราณท่ีมีผลมาจากชนิดของ

แองสะสมตะกอน…………………………………………………………………………… 27ตารางท่ี 2.4 แสดงชื่อ ลําดับชั้นหิน และตัวอยางของหนวยหินท่ีใชในการจําแนก

ลําดับชั้นหิน…………………………………………………………………………………… 32ตารางท่ี 2.5 ลักษณะเดนของ Fluvial facies (จาก Tucker, 2003)……………………… 38ตารางท่ี 2.6 ลักษณะเดนของ Aeolian facies (จาก Tucker, 2003)……………………… 39ตารางท่ี 2.7 ลักษณะเดนของ Lacustrine facies (จาก Tucker, 2003)………………… 39ตารางท่ี 2.8 ลักษณะเดนของ Glacial facies (จาก Tucker, 2003)……………………… 40ตารางท่ี 2.9 ลักษณะเดนของ Deltaic facies (จาก Tucker, 2003)……………………… 40ตารางท่ี 2.10 ลักษณะเดนของ Shallow-marine siliciclastic facies

(จาก Tucker, 2003)……………………………………………………………………… 41ตารางท่ี 2.11 ลักษณะเดนของ Deep-marine siliciclastic facies

(จาก Tucker, 2003)................................................................................ 42ตารางท่ี 2.12 ลักษณะเดนของ Shallow-marine carbonate facies

(จาก Tucker, 2003)…………………………………………………………………… 42ตารางท่ี 2.13 ลักษณะเดนของ Deep-water carbonates and other pelagic

facies (จาก Tucker, 2003)…………………………………………………………… 43ตารางท่ี 2.14 ลักษณะเดนของ Volcaniclastic facies (จาก Tucker, 2003)…………… 43

Page 10: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

1 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

บทท่ี 1 หลักเกณฑ�ท่ัวไปในการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

1.1 วัตถุประสงค�ของการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ทรัพยากรธรณีเป�นสิ่งจําเป�นต�อการดํารงชีพของมนุษยชาติ วัตถุรอบกายเรามากกว�าร(อยละ 80 ล(วนมีส�วนผสมของทรัพยากรธรณีไม�มากก็น(อย ดังนั้นประเทศท่ีพัฒนาแล(วทุกประเทศจึงให(ความสําคัญกับการผลิตแผนท่ีธรณีวิทยา เพ่ือท่ีจะได(รู(ว�ามีแหล�งทรัพยากรธรณีอะไรบ(าง อยู�ท่ีไหนและมีปริมาณเท�าใด ซ่ึงทรัพยากรธรณีเหล�านี้ก็คือขุมทรัพย7ความม่ังค่ังของแต�ละประเทศ

แผนท่ีธรณีวิทยาเป�นจุดเริ่มต(นในการหาลายแทงขุมทรัพย7ท่ีอยู�ใต(ผิวดินท้ังหมดให(เป�นไปได(อย�างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วและประหยัดค�าใช(จ�าย ไม�ว�าจะเป�นด(านการพัฒนาทรัพยากรธรณี เช�น หิน - แร� – ซากดึกดําบรรพ7 - น้ําบาดาล – ถ�านหินและป;โตรเลียม ด(านการป=องกันและลดผลกระทบจากธรณีพิบัติภัย ด(านธรณีวิทยาสิ่งแวดล(อมหรือด(านฐานรากของอาคารและสิ่งก�อสร(าง อย�างไรก็ตามการใช(ประโยชน7ดังกล�าวข(างต(นจะบรรลุผลตามวัตถุประสงค7ได(ก็ข้ึนอยู�กับคุณภาพของแผนท่ีธรณีวิทยา ท่ีจะต(องมีข(อมูลและรายละเอียดท่ีเชื่อถือได(และเป�นมาตรฐานสามารถสื่อสารได(ท่ัวโลก รวมท้ังมีรายงานประกอบอธิบายรายละเอียดผลการสํารวจ ศึกษาหรือวิจัย

กรมทรัพยากรธรณีเป�นหน�วยงานหลักด(านธรณีวิทยาของประเทศ มีหน(าท่ีในการผลิตแผนท่ีธรณีวิทยาด(านต�างๆเพ่ือเป�นข(อมูลสนับสนุนในการพัฒนาประเทศ คู�มือการสํารวจจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาฉบับนี้ จัดทําข้ึนเพ่ือให(นักธรณีวิทยาและผู(เก่ียวข(องกับการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา มาตราส�วน 1:50,000 หรือมาตราส�วนขนาดอ่ืนนําไปเป�นแนวทางปฏิบัติ มีความเข(าใจในกระบวนการสํารวจจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยา อันจะส�งผลให(การสํารวจมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน มีความรวดเร็วและได(ข(อมูลครอบคลุมเนื้อหาท่ีต(องการ รวมท้ัง เป�นไปตามมาตรฐานเดียวกัน

1.2 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

คํานิยาม การสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยา หมายถึงการสํารวจทางธรณีวิทยาในพ้ืนท่ีใดพ้ืนท่ีหนึ่งเพ่ือให(ได(ความรู(และข(อมูลทางธรณีวิทยาออกมาในรูปแผนท่ีธรณีวิทยารูปแบบต�างๆและ/หรือรายงานการสํารวจธรณีวิทยา เพ่ือหน�วยงานรัฐและเอกชนจะได(นําไปใช(พัฒนาประเทศในด(านท่ีจําเป�นต(องใช(ความรู(และข(อมูลทางด(านธรณีวิทยาเป�นพ้ืนฐาน การสํารวจทางธรณีวิทยา หมายถึงการดําเนินการออกไปในภาคสนาม เพ่ือสํารวจเสาะหารวบรวมข(อมูลและตัวอย�างทางธรณีวิทยามาเพ่ือวิเคราะห7ประมวลผลตีความให(ได(ความรู(ว�าในพ้ืนท่ีนั้นๆมีลักษณะสภาพทางธรณีวิทยาด(านต�างๆและทรัพยากรธรณีเป�นอย�างไร แผนท่ีธรณีวิทยา หมายถึงแผนท่ีท่ีแสดงให(ทราบว�าในพ้ืนท่ีบริเวณใดบริเวณหนึ่งท่ีแผนท่ีครอบคลุมถึง มีสภาพธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณีและสภาพแวดล(อมเป�นอย�างไร เช�น มีลักษณะของหิน โครงสร(าง การแผ�กระจายของหิน ดินทราย และแร� รวมท้ังสภาพแวดล(อมทางธรณีวิทยาเป�นอย�างไร เป�นต(น แผนท่ีธรณีวิทยาต)นร*าง คือแผนท่ีธรณีวิทยาเบื้องต(นซ่ึงนักธรณีวิทยาจัดทําข้ึนในภาคสนามโดยการ บันทึกข(อมูลสนามเบื้องต(นด(านต�างๆลงไปในแผนท่ีภูมิประเทศ เช�น ข(อมูลชั้นหิน โครงสร(างและขอบเขตชั้นหิน

Page 11: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

2 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

แผนท่ีธรณีวิทยาร*างต)นฉบับ คือแผนท่ีธรณีวิทยาซ่ึงได(จัดทําข้ึนในสํานักงานโดยเพ่ิมเติมข(อมูลท่ีได(จากการวิเคราะห7วิจัยและแปลความหมายแล(วลงไปในแผนท่ีธรณีวิทยาต(นร�าง หรือแยกลงในแผนท่ีภูมิประเทศใหม� ลงขอบเขตการกระจายตัวของหินชนิดต�างๆ ธรณีวิทยาโครงสร(าง ภาพตัดขวาง และคําอธิบาย ทําข้ึนเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาฉบับสมบูรณ7ด(วยมือโดยนักธรณีวิทยาและช�างสํารวจของคณะปฎิบัติงาน โดยยังไม�ได(จัดวางตามรูปแบบโดยช�างเขียนหรือใช(ระบบคอมพิวเตอร7นําเข(า แผนท่ีธรณีวิทยาต)นฉบับ คือแผนท่ีธรณีวิทยาร�างต(นฉบับท่ีได(จัดวางตามรูปแบบ โดยช�างเขียนหรือใช(ระบบคอมพิวเตอร7นําเข(า

แผนท่ีธรณีวิทยาต)นฉบับพิมพ� คือแผนท่ีธรณีวิทยาฉบับสมบูรณ7ท่ีพร(อมจะส�งพิมพ7ออกเผยแพร�ได( เป�นแผนท่ีธรณีวิทยาท่ีดําเนินการทําต�อเนื่องมาจากแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับท่ีได(รับการพิจารณาจากคณะกรรมการแล(ว ภาพถ*ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม หมายถึงภาพถ�ายภูมิประเทศจากท่ีสูง(อากาศยานและดาวเทียม) ต้ังฉากลงมายังพ้ืนท่ีท่ีจะเข(าไปดําเนินการสํารวจทางธรณีวิทยา สามารถนําภาพมาใช(แปลความหมายให(ทราบถึงสภาพธรณีวิทยาเบื้องต(นของพ้ืนท่ีท่ีต(องการจะเข(าไปสํารวจนั้นได(โดยประมาณ ข(อมูลนี้เป�นข(อมูลเบื้องต(นท่ีสําคัญท่ีคณะปฎิบัติงานใช(ในการศึกษาและเตรียมการก�อนออกสํารวจในภาคสนาม และนําภาพถ�าย ไปศึกษาแก(ไขปJญหาในภาคสนามเพ่ิมเติมต�อไป งานในสํานักงาน หมายถึงข้ันตอนการดําเนินงานสํารวจธรณีวิทยาท้ังหมดในสํานักงานหลังจากเก็บข(อมูลและตัวอย�างทางธรณีวิทยาในภาคสนามมาแล(ว รวมถึงการวิเคราะห7วิจัย รวบรวมประมวลผลและทํา แผนท่ีธรณีวิทยาร�างต(นฉบับ แผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับ และรายงานการสํารวจธรณีวิทยา คณะกรรมการ หมายถึงผู(ท่ีหน�วยงานท่ีมีการสํารวจจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาแต�งต้ังให(พิจารณาตรวจสอบความถูกต(องของแผนท่ีและรายงานของคณะสํารวจธรณีวิทยาก�อนท่ีจะจัดพิมพ7อย�างเป�นทางการ ซ่ึงประกอบด(วยนักธรณีวิทยาผู(ทรงคุณวุฒิและผู(เชี่ยวชาญด(านธรณีวิทยาสาขาต�างๆ

1.3 ข้ันตอนหลักของงานสํารวจ

1.3.1 การเตรียมการออกสํารวจทําแผนที่ธรณีวิทยา

การเตรียมการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา ควรมีข้ันตอนดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1 รวบรวมข)อมูลเก*า

พ้ืนท่ีสํารวจบางพ้ืนท่ีได(เคยมีการสํารวจธรณีวิทยาและการสํารวจด(านอ่ืนๆท่ีเก่ียวข(องมาก�อนแล(ว นักธรณีวิทยาท่ีทําการสํารวจจะต(องทําการค(นคว(า ศึกษา และรวบรวมผลงานการสํารวจเดิมเป�นข(อมูลพ้ืนฐานเบื้องต(น ในการท่ีจะได(รู(สภาพพ้ืนท่ีและใช(ประกอบการแปลภาพถ�ายทางอากาศก�อนการสํารวจจริงในสนาม ข้ันตอนท่ี 2 แปลภาพถ*ายทางอากาศและภาพดาวเทียม

เม่ือได(ข(อมูลธรณีวิทยาเบื้องต(นท่ีเคยมีการสํารวจมาก�อนแล(ว นักธรณีวิทยาท่ีทําการสํารวจจะต(องแปลความหมายภาพถ�ายทางอากาศหรือภาพดาวเทียม ท้ังนี้เพ่ือแบ�งขอบเขตของหินชนิดต�างๆท่ีจําแนกได(จากภาพถ�ายลงในแผนท่ีภูมิประเทศเพ่ือใช(เป�นแนวทางในการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาในสนาม นอกจากนั้นภาพถ�ายทางอากาศและภาพดาวเทียม ยังใช(เพ่ือหาโครงสร(างธรณีวิทยาได(ดี เช�น การวางตัวของชั้นหิน รอยเลื่อน รอยคดโค(ง และรอยแยกต�างๆ ซ่ึงข(อมูลพ้ืนฐานท่ีได(จากการแปลความหมายภาพถ�ายทางอากาศและภาพดาวเทียมยังใช(เป�นแนวทางในการกําหนดและเลือกเส(นทางสํารวจในภาคสนามได(เป�นอย�างดี

Page 12: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

3 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ข้ันตอนท่ี 3 การวางแผนการสํารวจ

เม่ือได(ข(อมูลเบื้องต(นจากการสํารวจเก�าท่ีมีมาแต�เดิม ได(แก�รายงานการสํารวจรวมท้ังแผนท่ีธรณีวิทยา และข(อมูลใหม�จากการแปลความหมายจากภาพถ�ายทางอากาศและภาพดาวเทียมแล(ว จะต(องทําการศึกษาและวางแผนการดําเนินการสํารวจในภาคสนามโดยกําหนดเส(นทางการสํารวจให(ตัดโครงสร(างของแนวการวางตัวของหินให(มากท่ีสุด หาจุดท่ีต้ังสถานีภาคสนามต�างๆในพ้ืนท่ีโดยให(มีระยะทางคมนาคมในการเข(าสู�พ้ืนท่ีทํางานใกล( ประหยัดและสะดวกท่ีสุด ส�วนใหญ�สถานีภาคสนามจะต้ังอยู�กลางบริเวณพ้ืนท่ีสํารวจเท�าท่ีจะเป�นไปได( นอกจากนั้นจะกําหนดระยะเวลาการทํางานสํารวจและข้ันตอนปฏิบัติการต�างๆแล(วจึงออกสํารวจต�อไป

ข้ันตอนท่ี 4 เตรียมเครื่องมือสํารวจภาคสนาม

จัดเตรียมอุปกรณ7และเครื่องมือการสํารวจธรณีวิทยาท่ีใช(สําหรับงานภาคสนาม ซ่ึงประกอบด(วยอุปกรณ7ท่ัวไปประจําตัวนักธรณีวิทยา ได(แก� แผนท่ีภูมิประเทศมาตราส�วน 1:250,000 และ 1:50,000 เข็มทิศ ค(อนธรณี กล(องถ�ายรูป อุปกรณ7บอกพิกัดตําแหน�งด(วยดาวเทียม (Global Positioning System / GPS) แว�นขยาย สมุดสนาม แม�เหล็ก และสารละลายทางเคมีท่ีใช(ทดสอบคุณสมบัติของหิน (กรดไฮโดรคลอริกเจือจาง) สําหรับอุปกรณ7เฉพาะด(าน ได(แก� เครื่องมือการเจาะสํารวจและเครื่องมือทางธรณีฟ;สิกส7ข้ึนอยู�กับลักษณะของงานสํารวจ ถ(าเป�นการสํารวจธรณีวิทยาผิวดินก็จะใช(เพียงอุปกรณ7ประจําตัว แต�ถ(าจําเป�นต(องสํารวจเก็บข(อมูล ใต(ผิวดินก็จะใช(เครื่องมือเจาะสํารวจและเครื่องมือสํารวจทางธรณีฟ;สิกส7ท่ีเหมาะสมของแต�ละงาน

1.3.2 การสํารวจและทําแผนที่ธรณีวิทยาในสนาม

ข้ันตอนท่ี 1 การสํารวจเบ้ืองต)น (Reconnaissance)

เม่ือเดินทางถึงพ้ืนท่ีสํารวจแล(วจะทําการสํารวจเบื้องต(นไปตามเส(นทางคมนาคมท่ีครอบคลุมพ้ืนท่ีสํารวจท้ังหมดเพ่ือให(ทราบถึงภูมิประเทศ การคมนาคม ประชากร และธรณีวิทยาท่ัวไป แล(วเปรียบเทียบกับแผนงานการสํารวจท่ีเตรียมไว(จากการเตรียมการก�อนการออกสํารวจ อาจมีการปรับเปลี่ยนแผนงานท่ีเตรียมไว(แต�เดิมก็ได( เพ่ือให(การปฏิบัติงานภาคสนามมีประสิทธิภาพสูงสุดตามสภาพความเป�นจริงของพ้ืนท่ีสํารวจต�อไป

ข้ันตอนท่ี 2 การสํารวจเก็บรายละเอียด

ดําเนินการสํารวจธรณีวิทยารากฐานตามแผนท่ีวางไว(โดยการเดินหรือเจาะสํารวจหรือสํารวจทางธรณีฟ;สิกส7ในพ้ืนท่ีท่ีจําเป�น เพ่ือรวบรวมและบันทึกข(อมูลทางธรณีวิทยาด(านต�างๆ เช�น การจําแนกชนิดหิน การลําดับชั้นหิน การกําหนดอายุของชั้นหิน ธรณีวิทยาโครงสร(าง คุณสมบัติทางกลของหินและทรัพยากรธรณีต�างๆของพ้ืนท่ีสํารวจลงในสมุดสนามหรือแบบฟอร7มบันทึกข(อมูลในสนาม ในกรณีท่ีเป�นจุดสํารวจท่ีมีความสําคัญทางด(านการลําดับชั้นหินตามรายละเอียดการสํารวจเก็บข(อมูลในสนามตามคู�มือข(อแนะแนวการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยามาตราส�วน 1:50,000 นอกจากจะบันทึกข(อมูลด(านต�างๆตามท่ีกล�าวมาแล(ว ยังจะบันทึกถึง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสภาพแวดล(อมในพ้ืนท่ีท้ังท่ีเกิดจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย7ลงใน สมุดสนามหรือแบบฟอร7มบันทึกข(อมูลในสนาม ในกรณีท่ีต(องการเก็บข(อมูลไว(เป�นข(อมูลของจุดสํารวจอ(างอิง และตลอดการสํารวจจะมีการบันทึกภาพไว(ตามความจําเป�น

ข้ันตอนท่ี 3 การเก็บตัวอย*าง

ถ(าข(อมูลใดจําเป�นต(องเก็บตัวอย�างไว(เป�นหลักฐาน หรือต(องได(รับการศึกษาอย�างละเอียดโดยงาน ในห(องปฏิบัติการทางฟ;สิกส7 ทางกัมมันตภาพรังสี ทางฟ;สิกส7เชิงกล ทางเคมี หรือทางโบราณชีววิทยา ก็จะทํา

Page 13: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

4 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

การเก็บตัวอย�าง หิน ดิน ทราย แร� น้ํา และหรือตัวอย�างซากดึกดําบรรพ7กลับมาเพ่ือเก็บรักษาไว(อ(างอิงและศึกษารายละเอียดในห(องปฏิบัติการ และส�งให(ผู(เชี่ยวชาญท่ีเก่ียวข(องดําเนินการตรวจสอบข้ันรายละเอียดต�อไป

ข้ันตอนท่ี 4 การถ*ายทอดข)อมูลสนามลงแผนท่ีธรณีวิทยาต)นร*าง เ ม่ือใกล(สิ้นสุดระยะเวลาสํารวจหรือเม่ือการเก็บข(อมูลภาคสนามมากพอในเวลาท่ีเหมาะสม นักธรณีวิทยาผู(ทําการสํารวจจะจดบันทึกข(อมูลธรณีวิทยาเก่ียวกับชั้นหินและโครงสร(างลงในแผนท่ีภูมิประเทศ จัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาต(นร�าง หรือรวบรวมข(อมูลทางฟ;สิกส7เชิงกลและทางเคมีเพ่ือจัดทําแผนท่ีชนิดอ่ืน เริ่มเขียนรายงานการสํารวจเบื้องต(น

ข้ันตอนท่ี 5 การเทียบสัมพันธ�และตรวจสอบความถูกต)อง

เม่ือได(ทําแผนท่ีธรณีวิทยาต(นร�างแล(วผู(ปฏิบัติงานจะต(องออกสํารวจตรวจสอบความถูกต(องของข(อมูล เก็บข(อมูลภาคสนามและตัวอย�างเพ่ิมเติมในส�วนท่ีขาดและในบริเวณท่ียังไม�มีข(อมูลชัดเจนหรือบริเวณข(างเคียง พร(อมท้ังถ�ายภาพบันทึกหลักฐานทางธรณีวิทยาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของแผนท่ีและรายงานการสํารวจธรณีวิทยาของพ้ืนท่ีนั้นๆต�อไป

1.3.3 การวิเคราะห�วิจัยตัวอย*างหิน

ข้ันตอนท่ี 1 การเตรียมตัวอย*าง

คัดเลือกตัวอย�างหิน ดิน ทราย แร� น้ํา และซากดึกดําบรรพ7 โดยคัดเลือกตัวอย�างท่ีสะอาดไม�ผุพังและเป�นตัวแทนของชุดหินและทรัพยากรธรณีท่ีทําการศึกษาจากการสํารวจมาดําเนินการจัดเก็บรักษาไว(อ(างอิงและทําการวิเคราะห7 ล(างทําความสะอาดและเขียนหมายเลขตัวอย�าง

ข้ันตอนท่ี 2 การศึกษาตัวอย*างเบ้ืองต)น

ศึกษาตัวอย�างต�างๆโดยแยกประเภทชนิดหิน ดิน ทราย แร�ประกอบหิน และซากดึกดําบรรพ7ด(วยตาเปล�า แว�นขยาย หรือกล(องสองตา เพ่ือทราบรายละเอียดและคัดเลือกตัวอย�างท่ีจะส�งไปวิเคราะห7วิจัยยังส�วนท่ีเก่ียวข(อง

ข้ันตอนท่ี 3 ส*งตัวอย*างไปวิเคราะห�วิจัยเพ่ิมเติม

หินตัวอย�างท่ีไม�สามารถจําแนกประเภทและศึกษารายละเอียดได(ในภาคสนาม จําเป�นท่ีจะต(องศึกษาวิเคราะห7วิจัยข้ันรายละเอียดเฉพาะด(านมากข้ึนกว�าเดิม (ซ่ึงต(องศึกษาด(วยเครื่องมือเฉพาะด(านโดยผู(เชี่ยวชาญหรือผู(ชํานาญการเฉพาะทาง) จะส�งไปวิเคราะห7ยังส�วนท่ีเก่ียวข(อง ตัวอย�างหินท่ีต(องการศึกษาทําแผ�นหินบางเพ่ือศึกษาทางด(านลักษณะหิน จะจัดส�งไปตัดและศึกษาโดยผู(เชี่ยวชาญหรือผู(ชํานาญการด(านแผ�นหินบาง ตัวอย�างหินท่ีต(องการศึกษาส�วนประกอบทางเคมีท้ังด(านปริมาณและคุณภาพ จะจัดส�งไปศึกษา ยังหน�วยงานท่ีวิเคราะห7เคมี โดยมีการรับรองมาตรฐานทางเคมีวิเคราะห7 ตัวอย�างหินท่ีมีซากดึกดําบรรพ7จะส�งไปยังหน�วยงานท่ีมีการวิจัยซากดึกดําบรรพ7 ซ่ึงจะมีวิธีการวิเคราะห7ตัวอย�างตามวิธีปฏิบัติงานการวิเคราะห7หาอายุซากดึกดําบรรพ7 ตัวอย�างท่ีไม�สามารถศึกษาวิเคราะห7วิจัยในหน�วยงานและสถาบันวิจัยต�างๆในประเทศได( เนื่องจากขาดแคลนอุปกรณ7และผู(เชี่ยวชาญเฉพาะด(าน จะถูกส�งไปให(ผู(เชี่ยวชาญในต�างประเทศศึกษาวิเคราะห7และวิจัยให(หรือทําการศึกษาร�วมกัน เช�น การหาอายุสัมบูรณ7ของดินและหินด(วยวิธีการ Radiometric age dating เป�นต(น

Page 14: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

5 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ข้ันตอนท่ี 4 การบันทึกผลการศึกษาตัวอย*างเบ้ืองต)น

จดบันทึกผลการศึกษาวิเคราะห7ตัวอย�างเบื้องต(นแก(ไขลงในแบบฟอร7มบันทึกข(อมูลในสนาม เพ่ือใช(ในการดําเนินการข้ันตอนต�อไป แล(วรอรับผลการวิเคราะห7จากหน�วยงานสนับสนุนต�างๆ นํามาใช(ในการประมวลผลวิเคราะห7ตีความเข(าด(วยกัน เพ่ือแยกแยะชุดหินท่ีมีลักษณะเฉพาะต�างๆออกจากกันและเขียนรายงานในข้ันตอนต�อไป

1.3.4 การทําแผนที่ธรณีวิทยาต)นฉบับ

ข้ันตอนท่ี1

เม่ือคณะปฎิบัติงานทําการประมวลผลและแปลความหมายถ�ายทอดข(อมูลท่ีตีความแล(วท้ังด(านหิน แร� โครงสร(างของชั้นหิน หรือสิ่งแวดล(อมลงในแผนท่ีภูมิประเทศ แยกขอบเขตชุดหินเพ่ือจัดทําข้ึนเป�นแผนท่ีธรณีวิทยารากฐาน กําหนดยุคหิน สัญลักษณ7 ภาพตัดขวางธรณีวิทยา คําอธิบาย ตําแหน�งของแผนท่ี การเทียบเคียงหน�วยหินหรือสิ่งท่ีเก่ียวข(องด(านสิ่งแวดล(อมและแหล�งทรัพยากรธรณี รวมข้ึนจัดทําเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาร�างต(นฉบับตามคู�มือดังกล�าว แผนท่ีนี้เป�นแผนท่ีธรณีวิทยาท่ีสมบูรณ7เพียงแต�จัดทําด(วยมือโดยนักธรณีวิทยาและช�างสํารวจเป�นร�างต(นฉบับท่ีเน(นความถูกต(องของข(อมูล ยังไม�ได(เน(นรูปแบบและความสวยงาม

ข้ันตอนท่ี2

เม่ือแผนท่ีธรณีวิทยาร�างต(นฉบับท่ีคณะปฎิบัติงานได(ดําเนินการจัดทําเสร็จเรียบร(อย จะส�งไปให(หน�วยงานท่ีจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาหรือส�วนท่ีเก่ียวข(องดําเนินการเข(ารูปแบบ จัดทําข้ึนเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับโดยช�างเขียนหรือใช(โปรแกรมคอมพิวเตอร7 ตามข้ันตอนรายละเอียดต�อไปนี้ - การจัดทําร�างแม�แบบแผนท่ีภูมิประเทศ โดยยึดมาตรฐานจากแผนท่ีภูมิประเทศท่ีผลิตโดย กรมแผนท่ีทหาร - คัดลอกข(อมูลธรณีวิทยาจากแผนท่ีธรณีวิทยาร�างต(นฉบับท่ีผ�านการดําเนินงานของผู(ปฎิบัติงานแล(ว ตามข้ันตอนการปฏิบัติงานการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาในสนาม - ประกอบข(อมูลท้ังสองส�วนเข(าด(วยกัน กําหนดตัวหนังสือคําอธิบายและรูปประกอบแผนท่ีโดยผู(ปฏิบัติงานหรือใช(โปรแกรมคอมพิวเตอร7จัดทําเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับ - พิมพ7สําเนาแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับท่ีเตรียมโดยผู(ปฏิบัติงาน หรือพิมพ7แผนท่ีต(นฉบับท่ีเตรียมไว(ด(วยคอมพิวเตอร7 ส�งให(ผู(ทําการสํารวจหรือส�วนท่ีรับผิดชอบเพ่ือตรวจสอบความถูกต(องและแก(ไข

ข้ันตอนท่ี3

เม่ือผู(ปฎิบัติงานได(รับแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับจากหน�วยงานท่ีจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาหรือหน�วยงาน ท่ีเก่ียวข(องแล(ว จะดําเนินการตรวจสอบความถูกต(องและแก(ไข แล(วจัดส�งแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับและรายงานต(นฉบับให(คณะกรรมการพิจารณาแผนท่ีและคณะกรรมการพิจารณารายงานการสํารวจดําเนินการพิจารณา (หน�วยงานท่ีมีการสํารวจจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาควรจะต(องมีคณะกรรมการพิจารณาแผนท่ีและคณะกรรมการพิจารณารายงานการสํารวจ) ถ(าไม�ผ�านเกณฑ7การพิจารณาของคณะกรรมการฯ แผนท่ีจะถูกส�งกลับให(ผู(ปฎิบัติงานและหน�วยงานท่ีจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาแก(ไขแล(วส�งให(คณะกรรมการฯพิจารณาอีกครั้งจนกว�าจะถูกต(อง เม่ือผ�านการพิจารณาแล(วคณะกรรมการฯจะส�งผลงานให(ฝeายแผนท่ีธรณีวิทยาและผู(ปฎิบัติงานดําเนินการปรับปรุงจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับพิมพ7ต�อไป

Page 15: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

6 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

1.3.5 การทําแผนที่ธรณีวิทยาต)นฉบับพิมพ�

เม่ือแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับได(ผ�านการพิจารณาของคณะกรรมการฯแล(ว ผู(ปฎิบัติงานจะจัดส�งแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับไปให(หน�วยงานท่ีจัดทําแผนท่ีดําเนินการจัดทําข้ึนเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับพิมพ7ต�อไป

ข้ันตอนท่ี 1

เม่ือได(รับแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับท่ีผ�านการพิจารณาของคณะกรรมการฯแล(ว หน�วยงานท่ีจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาจะปรับปรุงแก(ไขรูปแบบและสีของแผนท่ีให(อยู�ในรูปแบบมาตรฐานท่ีกําหนด พร(อมจัดส�งให(โรงพิมพ7ดําเนินการพิมพ7ได( เรียกแผนท่ีนี้ว�าแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับพิมพ7

ข้ันตอนท่ี 2 ในการพิมพ7ถ(าพิมพ7จํานวนไม�มาก ก็สามารถพิมพ7แผนท่ีออกมาในข้ันตอนนี้ได(โดยเครื่องคอมพิวเตอร7ของฝeายแผนท่ีธรณีวิทยา แต�ถ(าต(องการพิมพ7จํานวนมากในราคาท่ีประหยัดกว�าและต(องการคุณภาพการพิมพ7สูงข้ึนก็จะส�งไปพิมพ7ยังโรงพิมพ7หน�วยงานราชการอ่ืนๆหรือโรงพิมพ7เอกชน

ข้ันตอนท่ี 3 ถ(าพิมพ7โดยโรงพิมพ7หน�วยงานราชการอ่ืนๆหรือโรงพิมพ7เอกชน หน�วยงานท่ีจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยา ควรจะเป�นผู(ดําเนินการเรื่องการจัดจ(าง และควบคุมการดําเนินการทุกข้ันตอนเพ่ือให(แผนท่ีท่ีส�งพิมพ7มีเนื้อหาและรูปแบบตรงตามแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับพิมพ7และแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับ

ข้ันตอนท่ี 4 เม่ือดําเนินการจัดพิมพ7แล(ว หน�วยงานท่ีจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาและผู(ปฎิบัติงานต(องตรวจสอบความถูกต(อง ถ(าไม�ตรงตามแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับพิมพ7และแผนท่ีธรณีวิทยาต(นฉบับก็จะให(โรงพิมพ7ดําเนินการแก(ไขข(อผิดพลาดให(ถูกต(อง เม่ือแก(ไขข(อผิดพลาดต�างๆเรียบร(อยแล(วจะดําเนินการพิมพ7แผนท่ีธรณีวิทยา แล(วส�งมอบผลงานให(หน�วยงานท่ีมีการสํารวจจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาเพ่ือใช(ประโยชน7ต�อไป

1.4 ข)อมูลท่ีควรมีบนแผนท่ีธรณีวิทยาตามเกณฑ�มาตรฐาน

องค7ประกอบสําคัญของแผนท่ีธรณีวิทยา มี 3 ส�วน 1. ตัวแผนท่ีธรณีวิทยา: แสดงขอบเขตของหน�วยหิน/ จุดแสดงตําแหน�ง/ สัญลักษณ7แสดงโครงสร(าง

ทางธรณีวิทยา 2. คําอธิบาย (แบบปกติอธิบายเฉพาะหน�วยหินและสัญลักษณ7 /แบบ one stop service จะมีสรุป

เนื้อความพิมพ7ด(านหลังแผนท่ี หรือท่ีเป�นเอกสารคู�มือ- explanatory note) 3. ภาพตัดขวางแสดงลักษณะโครงสร(างทางธรณีวิทยาท่ีอยู�ใต(ผิวดิน

ข(อมูลท่ีลงต(องเป�น fact หรือท่ีพบเห็นจริงท้ังหมด เช�น ข(อมูลการวางตัวของชั้นหิน ตําแหน�ง จุดสํารวจบนแผนท่ี faults, cleavages, foliations, folds, veins ขอบเขตของหน�วยหิน ตําแหน�งแหล�งแร�หรือเหมืองแร� ตําแหน�งซากดึกดําบรรพ7ท่ีสําคัญ ตําแหน�งแหล�งอนุรักษ7ทางธรณีวิทยา ฯลฯ

• ความละเอียดของหน�วยหินท่ีลงบนแผนท่ีข้ึนกับมาตราส�วนของแผนท่ี ถ(าสามารถลงขอบเขต บนแผนท่ีได(ก็ใช(ได( ความหนาของเส(นดินสอ/ปากกา ประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ในมาตราส�วน 1:50,000 ชั้นหิน/แร� ท่ีกว(าง 150 เมตร จะเท�ากับ 3 มิลลิเมตร คาดว�าเป�น mappable unit ได( ท้ังนี้ยกเว(นพวกท่ีเป�นสายเช�น แร� หรือ fault ท่ีสามารถแสดงได(แม(มีความหนาไม�มาก

Page 16: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

7 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

• สีของหน�วยหินท่ีใช(บนแผนท่ี ควรสื่อความหมายได( การใช( pattern จะช�วยสื่อได(เร็วข้ึน • คําอธิบาย หมายรวมถึงชื่อผู(สํารวจ ชื่อองค7กร ชื่อแผนท่ี มาตราส�วน ดัชนีแผนท่ี ท่ีมาของข(อมูล

(กรณีท่ีดัดแปลงจากงานของผู(อ่ืน) การเทียบสัมพันธ7หน�วยหิน(correlation of map units) คําอธิบายหน�วยหิน รวมท้ังสัญลักษณ7และคําย�อ

• การเขียนคําอธิบายหน�วยหินถ(าหน�วยหินประกอบด(วยหินมากกว�าหนึ่งชนิดให(เขียนเรียงลําดับจากหินท่ีพบมากไปหาน(อย สําหรับสัญลักษณ7และคําย�อให(ใช(ตามมาตรฐาน

• ชื่อสําหรับการอ(างอิง ปกติจะอ(างถึงชื่อผู(สํารวจ ส�วนปn พ.ศ. จะเป�นปnท่ีตีพิมพ7 ไม�ใช�ปnท่ีทําการสํารวจ

1.5 การเก็บตัวอย*างและขนาด

ขนาดของหินตะกอน (Sedimentary Rocks) ท่ีจะต(องเก็บมาศึกษาและวิเคราะห7ในห(องปฏิบัติการ

Lithological Specimen (ศึกษาขณะอยู*ในภาคสนาม)

• ตัวอย�างสําหรับทํา panning เก็บตามร�องน้ํา ใช( 10-40 กิโลกรัม • ตัวอย�างกรวด (Pebbles) สําหรับศึกษาการเรียงตัว (orientation) ใช( 50-150 ก(อน

(ทําเครื่องหมายแสดงทิศทางการวางตัว) • ตัวอย�างกรวด (Pebbles) สําหรับวัดความกลม ใช( 200 ก(อน (ท่ีไม�แตก)

ตัวอย*างท่ีนํามาวิเคราะห�และเก็บเอาไว)ศึกษาต*อไป

• ก(อนตัวอย�างหินท่ีใช(เป�นแบบมาตรฐานเทียบได( ขนาดไม�เล็กกว�า 14 x 20 x 6 เซนติเมตร(สําหรับเข(าพิพิธภัณฑ7และคลังตัวอย�างมาตรฐานธรณีวิทยา)

• ตัวอย�างหินสําหรับตัดทํา Thin section ใช(ขนาด 8 x 10 x 4 เซนติเมตร • ตัวอย�างหินสําหรับทํา Spore-Pollen analysis ไม�น(อยกว�า 100-200 กรัม • ตัวอย�างหินสําหรับทํา Microfauna ไม�น(อยกว�า 50-200 กรัม • ตัวอย�างหินสําหรับทํา Mineralogical analysis ใช( 200-300 กรัม(สําหรับแต�ละส�วน fraction) • ตัวอย�างสําหรับทํา Electrodialysis ใช( 25 กรัม

ตัวอย*างหินสําหรับตรวจสอบศึกษาคุณสมบัติทางฟMสิกส�

• สําหรับ sieve granulometric analysis เป�นพวก loose clastic rocks ใช( 200 กรัม (สําหรับ fine grain) ถึง 400 กรัม (สําหรับท่ีเม็ดไม�เท�ากัน) และถึง 1-2 กิโลกรัม (สําหรับ gritstone)

• สําหรับทํา granulometric analysis โดยวิธี hydraulic (ตามแบบของ Williams, Sakanin etc.) โดยไม�คํานึงถึงว�ามีแร�อะไรบ(าง ใช( 50-100 กรัม

• เช�นเดียวกันกับข(อ (2) แต�ทํา mineraliogical analysis ด(วย ว�ามีแร�อะไร อย�างละเท�าไร ใช( 300 กรัม

• เช�นเดียวกันกับข(อ (2) แต�ทํา mineralogical analysis ด(วย โดยเฉพาะอย�างยิ่งสําหรับ carbonate rocks ใช(ไม�น(อยกว�า 400 กรัม

• ตัวอย�างสําหรับ Volumetric weight และ porosity ใช( 100-200 กรัม และเก็บมาเพ่ือตัด Thin section อีก 1 ก(อนด(วย

Page 17: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

8 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

• ตัวอย�างสําหรับหา Gas permeability ใช(เป�นก(อนท�อนยาว 10 เซนติเมตรหน(าตัด 4 ตารางเซนติเมตร

• ตัวอย�างหินสําหรับหา carbonate ใช( 30-50 กรัม • ตัวอย�างหินสําหรับหาคุณสมบัติทางแม�เหล็ก ใช( 200 กรัม

Bituminous and Coaly Samples

• สําหรับหาบิทูเมน โดยวิเคราะห7ทางเคมี (ตัวอย�างเก็บใส�ขวดผนึกฝาให(แน�น) ควรไม�ต่ํากว�า 500 กรัม • สําหรับหาบิทูเมน โดย Fluorimetric analysis ใช( 5-100 กรัม • สําหรับวิเคราะห7ถ�านหินและพีต (peat) ในทางเคมีและ technology test อ่ืนๆ อีกเล็กน(อย

(chemical altimate and commercial analysis, การให(ความร(อน, Plastometric test) ใช(ไม�ต่ํากว�า 3 กิโลกรัม (เป�นตัวอย�างสดๆจาก trench samples)

• สําหรับทํา coal petrographic determination (เก็บแยกกันตามลักษณะของหิน (lithology) ตามชั้นต�างๆ ตาม seam 600 กรัม)

• สําหรับทํา spore และ pollen analysis (เก็บหลายๆจุด) ใช( 300 กรัม

ตัวอย*างน้ําและกSาซ

• ตัวอย�างน้ํา ใช(ไม�น(อยกว�า 2 ลิตร (ได( 4-5 ลิตรก็ดี) • ตัวอย�างกxาซ ใช(ไม�น(อยกว�า 1 ลิตร

ตัวอย*างหินท่ีใช)ในวัสดุก*อสร)างและ non-metalliferous

• ตัวอย�างดินเคลย7 (clay) สําหรับ chemical analysis, refractory test or seger cone และทดสอบดูความทนไฟ fire proof, plasticity test, ทดสอบดูเม่ือนวดแล(วเข(ากันดีหรือไม� เป�นต(น ใช( 3-4 กิโลกรัม

• ตัวอย�างสําหรับทํา semi-factory test ใช(ไม�ต่ํากว�า 100 กิโลกรัม • ตัวอย�างหินท่ีใช(ทําวัสดุก�อสร(าง สําหรับทดสอบดูความทนทาน ทดลองดูการอมน้ํา ทดลองความ

คงทนต�อดินฟ=าอากาศ ใช(อย�างละ 4 ก(อน รูปลูกเตyาด(านละ 7 เซนติเมตร • ตัวอย�างหินท่ีใช(ทําวัสดุก�อสร(าง สําหรับ detailed technological test (ทดลองเอาเลื่อยตัด

ออก ทดลองสกัดหรือเจาะ) ใช(ไม�น(อยกว�า 25-30 กิโลกรัม (เป�นก(อนใหญ�) • ตัวอย�างทรายและกรวด (sand & gravel) สําหรับ technological test, mineralo-

commercial analysis (ทดสอบดูความคงทนในการใช(ทําคอนกรีต เป�นต(น ใช(ต้ังแต� 2 กิโลกรัม (ทราย) จนถึง 15-20 กิโลกรัม (กรวด)

• ตัวอย�างหินท่ีใช(เป�นวัตถุดิบทําปูนซีเมนต7 (ยิปซัม ดินมาร7ล) สําหรับ technological test ใช( ไม�ต่ํากว�า 5-6 กิโลกรัม

Page 18: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

9 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ตัวอย*างหินใช)สําหรับศึกษาค)นคว)าทางเคมี

• ตัวอย�างหินต�างๆ เก็บเป�นก(อนๆ (สําหรับหาส�วนประกอบของหินท้ังหมด โดยวิเคราะห7ทางเคมี) ใช( 100-150 กรัม

• ตัวอย�างหินสําหรับ spectrographic analysis ใช( 0.5-2 กรัม • ตัวอย�างหินท่ีมีแร� สําหรับ mineralogical analysis เก็บจากร�องสํารวจ (trench) และเก็บเป�น

จุดๆ ตามชั้นหิน (bed) ใช( 1-2 กิโลกรัม

หมายเหตุ สําหรับหินอัคนีท่ีเก็บมาหาอายุหิน (absolute age) เม่ือแยกแล(วให(ได(แร�ไมกา (mica) ประมาณ 100 กรัม

1.6 สัญลักษณ� ตัวย*อและรูปแบบ

ชื่อย�อของหินและศัพท7ทางธรณีวิทยาบางส�วน คัดลอกจาก Hansen (1991)

ศัพท7ธรณีวิทยา คําย�อ ศัพท7ธรณีวิทยา คําย�อ Group Formation Member Sandstone Siltstone Shale Limestone Dolomite

Gp. Fm. Mbr. Ss. Slts. Sh. Ls. Dol.

Conglomerate Quartzite Volcanics Claystone Mudstone Granite Gneiss Rhyolite

Cgl. Qzt. Volc. Clyst. Mdst. Gr. Gn. Rhy.

สัญลักษณ�ทางธรณีวิทยา

เส(นแบ�งขอบเขตของ........ โดยประมาณ Approximate boundary of……..

แนวเขตสัมผัส – เส(นจุดเม่ือถูกป;ดบัง เส(นประเม่ืออนุมาน Contact – Dotted where concealed; dashed where approximate or inferred

ชั้นหินโค(งรูปประทุน แสดงร�องรอยระนาบแกนและทิศทางพลันจ7 Anticline – Showing trace of axial surface and direction of plunge

ชั้นหินโค(งรูปประทุนหงาย แสดงร�องรอยระนาบแกนและทิศทางพลันจ7 Syncline - Showing trace of axial surface and direction of plunge

รอยเลื่อน – เส(นจุดเม่ือถูกป;ดบัง เส(นประเม่ืออนุมาน Fault - Dotted where concealed; dashed where approximate or inferred

Page 19: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

10 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

U

D

40

70

รอยเลื่อน – เส(นจุดเม่ือถูกป;ดบัง ก(านและจุดกลมอยู�ด(านท่ีเลื่อนลง Fault – Dotted where concealed; bar and ball on downtrown side

รอยเลื่อน – U (ข้ึน) D (ลง) แสดงความสัมพันธ7ในการเลื่อน Fault – U (up) D (down) indicate relative movement

รอยเลื่อนแนวด่ิง

Vertical fault

รอยเลื่อนตามแนวระดับ ลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนตัว Strike-slip fault – Arrows show direction of relative movement

รอยเลื่อนย(อนมุมตํ่า เส(นจุดเม่ือถูกป;ดบัง เส(นประเม่ืออนุมาน ฟJนเลื่อยอยู�ด(านแผ�นหินซ(อนทับ Trust or reverse fault - Dotted where concealed; dashed where approximate or inferred. Saw teeth on upper plate.

ริ้วขนานเอียง Inclined foliation

ริ้วขนานแนวด่ิง

Vertical foliation

รอยแยกเอียง Inclined joint

รอยแยกแนวด่ิง Vertical joint

รอยแยกแนวราบ Horizontal joint

รอยแยกหลายแนว Multiple joints

การวางชั้น เอียง

Bedding inclined การวางชั้น คดโค(งตลบทับ

Bedding overturned

30

80

Page 20: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

11 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

57

40

แนวระดับและมุมเทของพนัง

Strike and dip of dike เหมือง

Mine เหมืองร(าง

Abandoned mine

ขอบเขต Geological boundary.

แนวระดับและมุมเทของชั้นหิน

Strike & dip of bed. แนวระดับของชั้นหินแนวด่ิง

Strike & dip of vertical bed. แนวระดับของชั้นหินแนวราบ Strike & dip of horizontal bed ชั้นหินโค(งรูปประทุนปลายศรแสดงพลันจ7 ตําแหน�งโดยประมาณ

Anticline, with plunging direction, approximate. ชั้นหินโค(งรูปประทุนหงาย ปลายศรแสดงพลันจ7 ตําแหน�งโดยประมาณ

Syncline, with plunging direction, approximate. ชั้นหินโค(งรูปประทุนตลบทับ

Overturned anticline. ชั้นหินโค(งรูปประทุนหงายตลบทับ

Overturned syncline.

รอยเลื่อน ตําแหน�งกําหนดได(ถูกต(อง Fault, accurate

รอยเลื่อน ตําแหน�งโดยประมาณ

Fault, approximate. (เส(นประยาวประมาณ 3 มม. ช�วงห�างประมาณ 1.5 มม.)

Page 21: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

12 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

? ? รอยเลื่อน ตําแหน�งกําหนดจากการอนุมาน

Fault, inferred. รอยเลื่อน ถูกป;ดบัง

Fault, concealed. (เส(นประยาวประมาณ 1 มม. ช�วงห�างประมาณ 1 มม.)

? ? รอยเลื่อน ตําแหน�งกําหนดจากการอนุมานและถูกป;ดบัง

Fault, inferred and concealed. รอยแตก

Fracture (เส(นประยาวประมาณ 2 มม. ช�วงห�างประมาณ 1 มม. – เส(นบางกว�าเส(นของรอยเลื่อน)

ตําแหน�งซากดึกดําบรรพ7

Fossil locality. ขอบเขตระหว�างประเทศ

International boundary. ตําแหน�งแหล�งอนุรักษ7ทางธรณีวิทยา Geological Conservation Locality รายละเอียดเพ่ิมเติมท่ี http://ngmdb.usgs.gov/fgdc_gds/geosymstd/download.php

1.7 เทคนิคการศึกษาธรณีวิทยาในภาคสนาม

• เป�นคนมีจินตนาการ รู(จักรูปแบบจําลอง (models) การเกิดทางธรณีวิทยา ยิ่งมากยิ่งดี • เริ่มต(นจากบริเวณท่ีรู(หรือเห็นลักษณะทางธรณีวิทยาชัดเจนก�อน หรือทําท่ีง�ายก�อน เช�น

บริเวณ type sections, road-cut outcrops, หน(าเหมือง, บ�อขุดดินลูกรัง ฯลฯ • วางแผนก�อนออกสํารวจ โดยให(เส(นทางสํารวจตัดโครงสร(างหลักหรือ strike ของชั้นหิน

ความละเอียดของแผนท่ี ข้ึนกับระยะห�างของแนวสํารวจ • การศึกษาชั้นหินและธรณีวิทยาโครงสร(างในภาคสนามท่ีถูกต(อง ควรเริ่มต(นสังเกตจาก

ระยะห�างก�อนเพราะลักษณะโครงสร(างทางธรณีวิทยาบางชนิดมีขนาดใหญ� จะเห็นได(ชัดเม่ือมองจากระยะห�าง หลังจากนั้นค�อยเข(าไปดูอย�างใกล(ชิดเพ่ือศึกษาในรายละเอียด

• ควรทําข(อสังเกต ข(อมูลท่ีสําคัญ จํายาก ไว(ในสมุดสนามด(วย เช�น รูปเรียกชื่อหิน ตาราง

G

Page 22: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

13 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

• ควรบันทึกข(อมูลให(ละเอียดมากท่ีสุด การวาดรูปประกอบหรือถ�ายรูปจะทําให(เข(าใจได(ง�ายข้ึน ในกรณีท่ีชั้นหินโผล�ให(เห็นต�อเนื่องได(ดีก็ควรทําการบันทึกใน graphic log ซ่ึงจะช�วยให(เห็นโครงสร(างการเรียงตัวของชั้นหินได(เด�นชัดยิ่งข้ึน (Vertical succession)

• ใช(ดินสอสีช�วยในขณะทําการสํารวจทําแผนท่ี กําหนดให(สีแต�ละสีแทนหมวดหินหรือชนิดหิน จะทําให(การสํารวจเร็วข้ึน

• ต(องปรับปรุงข(อมูลตลอดเวลา โดยลงข(อมูลลงบนแผนท่ี จะช�วยให(เห็นความสัมพันธ7ของข(อมูลได(เด�นชัดข้ึน

• นําผลสํารวจของวันก�อนมาใช(ในวันนี้ จึงต(องหม่ันปรับปรุงและแก(ไขข(อมูลให(ทันสมัย • มองโลกให(กว(าง อย�าจํากัดตัวเองเฉพาะพ้ืนท่ีสํารวจหินโผล� (Outcrop) พ้ืนท่ีข(างเคียงอาจ

ดีกว�าในพ้ืนท่ีสํารวจ • ข(อนี้สําคัญ ต(องอ�านผลงานท่ีผู(อ่ืนทํามาก�อนแล(วในพ้ืนท่ีสํารวจ (Previous works) เพ่ือจะได(

นําไปตรวจสอบความถูกต(องในขณะทําการสํารวจภาคสนาม และนําไปต�อยอดด(วย

Page 23: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

14 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

บทท่ี 2 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณหินตะกอน

ในบรรดาหินท่ีโผล�ปรากฏบนผิวโลกพบว�าเป�นหินตะกอนมากท่ีสุด ดังนั้นจึงเป�นสิ่ งจําเป�น ท่ีต(องรู(วิธีสํารวจหินตะกอน เพ่ือให(การจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาเป�นไปอย�างรวดเร็วและมีข(อมูลเป�นมาตรฐานครอบคลุมเนื้อหาท่ีจําเป�น ข(อมูลท่ีได(จากภาคสนามจะเป�นหลักฐานสําคัญช�วยในการแปลความหมายทางธรณีวิทยา ดังนั้นเม่ือพบชั้นหินหรือหินโผล� (outcrop) จึงควรทําการศึกษาอย�างละเอียดและมีระบบเพ่ือให(ได(ข(อมูลมากท่ีสุด วัตถุประสงค7หลักของการศึกษาหินตะกอนนอกจากเพ่ือการต้ังชื่อหิน การจําแนกลําดับชั้นหินและการต้ังชื่อหน�วยหินแล(ว ก็เพ่ือให(ทราบถึงสภาวะแวดล(อมของการสะสมตัวของตะกอน (depositional environments) ซ่ึงทําให(ทราบถึงวิวัฒนาการของการเกิดของโลก เป�นข(อมูลช�วยในการวางแผนงานและกําหนดวิธีการสํารวจแหล�งทรัพยากรธรณีได(อย�างมีประสิทธิภาพและประหยัด ในการนี้จึงมีการใช(ลักษณะปรากฎของตะกอน (sedimentary facies) หรือ lithofacies ซ่ึงเป�นชุดลําดับชั้นหินท่ีมีลักษณะเฉพาะ มาช�วยในการแบ�งหน�วยหินด(วย การเขียนเรียบเรียงในบทนี้ได(นําข(อมูลและรูปแบบมาจากหนังสือทางวิชาการหลายเล�มท่ีสําคัญ คือ กองธรณีวิทยา (2533) พล เชาว7ดํารงค7 (2552) และ Tucker (2003) การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาเป�นงานท่ีจัดทําตามเกณฑ7มาตรฐานสากลท่ีใช(การแบ�งหน�วยหินแบบ lithostratigraphic units วิธีนี้ใช(เกณฑ7คุณสมบัติทางกายภาพของหินและความสัมพันธ7ของชั้นหินเป�นหลัก อายุของหน�วยหินและชนิดของซากดึกดําบรรพ7จะมีความสําคัญรองลงมา หินตะกอนแบ�งออกเป�น 2 กลุ�มใหญ�ๆ (รูปท่ี 2.1) คือ Clastic rocks (เป�นหินท่ีเกิดจากตะกอนเศษหินท่ีผุพังมาจากหินอ่ืน ยังสังเกตหินเดิมได( เช�น หินทราย หินดินดาน หินกรวดมน) และ Nonclastic rocks (เกิดจากการตกผลึกทางเคมี หรือสะสมจากซากของสิ่งมีชีวิต เช�น หินปูน หินเชิร7ต เกลือหิน ถ�านหิน) โปรดสังเกต หินปูนจะเป�นหินท่ีมีการกําเนิดท้ังแบบถูกพัดพามาสะสมตัว เช�น พวกเศษซากดึกดําบรรพ7 (allochem) และท่ีตกตะกอน (precipitation) จากน้ําทะเล

2.1 การเรียกช่ือหินตะกอน

ตามเกณฑ7มาตรฐานสากล (Hedberg, 1976) มีคําแนะนําว�าไม�ควรต้ังชื่อหินท่ีบ�งถึงการกําเนิด (genetic name) ยกเว(นมีหลักฐานบ�งชี้ว�าหินนั้นมีการกําเนิดเช�นนั้น เช�น หินทรายท่ีมีส�วนประกอบส�วนใหญ�เป�น plagioclase ก็ไม�สมควรเรียกว�า tuffaceous sandstone แต�ควรเรียกว�า arkose เพราะไม�มีหลักฐานท่ีระบุว�าเฟลด7สปาร7นั้นเกิดมาจากการระเบิดของเถ(าภูเขาไฟหรือเกิดมาจากการผุพังของหินภูเขาไฟ นอกจากนี้ยังมีชื่อท่ีไม�แนะนําให(ใช(เรียก เช�น tillite, moraine, flysch เป�นต(น

Page 24: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

15 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.1 การจําแนกหินตะกอน

การต้ังชื่อหินตะกอน โดยท่ัวไปข้ึนอยู�กับลักษณะของหินแบ�งออกเป�น 3 ประเภท (นําไปใช(กับการเรียกชื่อหินอัคนีและหินแปรได(ด(วย) คือ

2.1.1 เรียกช่ือหินตามขนาดของตะกอนที่แตกต*างกัน (grain size)

เช�น หินทราย หินกรวดมน หินโคลน (ตารางท่ี 2.1) ในส�วนของหินปูน ถ(ามีขนาดของ grain เท�ากับ หินโคลนเรียก calciludite, calcarenite (ขนาดเท�าหินทราย) และ calcirudite (ขนาดเท�าหินกรวดมน) แต�ถ(า grain เป�นพวกซากดึกดําบรรพ7และมีขนาดเม็ดทราย (sand size) ก็อาจเรียกชื่อผสมโดยใช(ชนิดของซาก ดึกดําบรรพ7นําหน(า เช�น shelly calcarenite, spirifer calcarenite

2.1.2 เรียกช่ือหินตามส*วนประกอบของหิน (composition)

เช�น หินปูน หินโดโลไมต7 oolitic grainston (Dunham, 1962) micrite, biosparite(Folk, 1962) หรือในหินอัคนี เช�น หินแกรนิต สําหรับหินปูนคือหินท่ีมีส�วนประกอบของ CaCO3 มากกว�า 50% ในขณะท่ี หินโดโลไมต7คือหินท่ีมีส�วนประกอบ CaMg(CO3)2 มากกว�า 50 %

2.1.3 เรียกช่ือหินตามลักษณะของเนื้อหิน (texture)

เช�น หินกรวดมน หินกรวดเหลี่ยม หรือในหินแปร เช�น หินชิสต7 หินไนส7 สําหรับหินกรวดมนคือหินท่ีมี ก(อนกรวดมนมากกว�า 50%

Page 25: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

16 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ตารางท่ี 2.1 การเรียกชื่อหินตามขนาดของเม็ดตะกอน (Udden-Wentworth grain-size scale)

ตารางท่ี 2.2 การเรียกชื่อหินปูนกับหินโดโลไมต7 (Murray, 1981)

Page 26: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2

รูปท่ี

คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

2.2 ก) การเรียกชื่อหินทราย ตาม Pettijohn (1975)

รูปท่ี 2.2 ข) การเรียกชื่อหินทราย ตาม Folk (1974)

17

1975)

Page 27: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

18 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.2 ค) การเรียกชื่อของหินตะกอนภูเขาไฟ

รูปท่ี 2.3 การเรียกชื่อหินปูน (ดัดแปลงจาก Dunham, 1962 and Folk, 1962)

Page 28: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

19 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

2.2 การบรรยายลักษณะของหิน

การศึกษาหินตะกอนในภาคสนาม มีข(อมูล 5 ประเภท ท่ีควรเก็บข(อมูลให(ละเอียดมากท่ีสุด ข(อมูลดังกล�าวไม�เพียงมีประโยชน7ในการต้ังชื่อหินและแบ�งลําดับชั้นหินเท�านั้น ยังเป�นประโยชน7ในการท่ีจะบอกว�า ชุดหินใดเกิดในสภาพแวดล(อม (sedimentary facies) อย�างไร ซ่ึงสามารถรู(ได(โดยอาศัยข(อมูลจากลักษณะของหิน (lithology), โครงสร(างหินตะกอน (sedimentary structure), กระแสน้ําโบราณ (paleocurrent), รูปทรง (geometry) และ ซากดึกดําบรรพ7 (Selley, 1978)

2.2.1 ลักษณะของหิน (Lithology)

หมายรวมถึงการต้ังชื่อหินและการอธิบายลักษณะของเนื้อหิน รวมถึงการอธิบายข(อมูลต�างๆ เช�น composition, grain size, sorting, roundness, sphericity, color, nature and amounts of authigenic materials (as cements) และ primary texture of carbonate rocks

1) ขนาด (Grain size) การเรียกขนาดของ grains ควรยึดตาม Wentworth’s scale (ตารางท่ี 2.1) การศึกษา grain size ควรศึกษาและรวบรวมข(อมูลเป�นระบบทางสถิติ เพ่ือหา mode, mean, median และ skewness ซ่ึงจะบอกความหมายต�างๆในการสะสมตัวของ sediments

2) การคัดขนาด (Degree of sorting) (รูปท่ี 2.4) เป�นตัวบ�งถึงสภาพแวดล(อมของการตกตะกอน ถ(าสะสมตัวเร็วมักจะมีการคัดขนาดไม�ดี ในขณะท่ีทรายตามชายหาดถูกกระแสน้ําพัดผ�านตลอดเวลาก็จะมีการคัดขนาดท่ีดีในภาคสนามต(องศึกษาจากผิวหน(าท่ีสด และผิวหน(าท่ีถูก weathered (แต�สะอาด) ควบคู�กันไป

รูปท่ี 2.4 แผนภาพแสดงการเรียกชื่อตามการคัดขนาด

3) ความมน (Roundness) และความกลม (sphericity) (รูปท่ี 2.5) โดยปกติเม็ดตะกอนท่ีผ�านการขัดสีมาก มักมีความมนและความกลมดีข้ึน (ยกเว(นเม็ดตะกอนนั้นเกิดแตกหักอีกครั้ง) ความมนและความกลมเกิดข้ึนได(ท้ังท่ีตะกอนกลิ้งไปมา(ระยะทางใกล(ๆ) ตามชายหาด เช�น ท่ีหาดหินงาม จังหวัดสตูล และท่ีเคลื่อนท่ีไป(ไกล)ตามแม�น้ํา นอกจากนี้ยังข้ึนกับชนิดของหินด(วย เช�น หินดินดาน ก็มักจะมีรูปร�างแบนและมนรี

4) สี (Color) สีของหินใช(สําหรับเปรียบเทียบหินท่ีพบในท่ีต�างกันว�ามีความเหมือนกัน มากน(อยเพียงใด สีของหินไม�ได(ข้ึนอยู�กับสีของ grains เพียงอย�างเดียว แต�ยังข้ึนกับ cementing material และการ weathering ด(วย เช�น ถ(ามี feldspar มากเม่ือผุก็จะออกสีขาว สําหรับการเรียกสีควรใช(ให(เป�นมาตรฐาน เพราะตาของคนอาจมองไม�เหมือนกัน ควรเปรียบเทียบจาก Rock Color charts และต(องบันทึกไว(ด(วยว�าเป�นสีของหินขณะแห(งหรือเปnยก สีของหิน Red bed เช�น กลุ�มหินโคราช ท่ีเป�นสีแดงนั้นเกิดในช�วง early diagenesis เนื่องจากสะสมตัวใน oxidizing condition ซ่ึงจะมี ferric iron อยู�ด(วยถึงแม(ว�าจะมีน(อยกว�า 1% ก็สามารถทําให(หินเป�นสีแดงได(

Page 29: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

20 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.5 แสดงการเรียกชื่อความมน (roundness) และความกลม (sphericity) ของเม็ดตะกอน

5) ส�วนประกอบของหิน (Composition) ใช(บ�งบอกว�าหินนั้นมีต(นกําเนิดมาจากท่ีใด เช�น หินท่ีมีแร� K-feldspar มากก็มักผุพังมาจากหินแกรนิต หรือหินทรายท่ีประกอบด(วยแร�ควอตซ7เป�นส�วนใหญ�ก็เป�นพวก reworked sediment รูปท่ี 2.6 เป�นภาพประมาณจํานวนเปอร7เซนต7ของแร�ในหิน สําหรับการเรียกชื่อหินดูจาก ตารางท่ี 2.1 และตารางท่ี 2.2 รูปท่ี 2.2 และรูปท่ี 2.3

รูปท่ี 2.6 ภาพประมาณจํานวนร(อยละของแร�ในหิน

6) Natural and amounts of authigenic materials (as cement) ในกรณีท่ี cements เป�นแร�ต�างชนิดกับ grain อาจเรียกชื่อเป�นค�าผสม เช�น ferruginous sandstone, gypsiferous claystone เป�นต(น

Page 30: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

21 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

7) Maturity เป�นการดูลักษณะของตะกอนในหินว�าผ�านกระบวนการผุพัง-สึกกร�อน-สะสมตัวมาแล(วมากน(อยเพียงใด (รูปท่ี 2.7) Maturity จะเพ่ิมมากข้ึนเม่ือตะกอนถูก reworked และถูกกระแสน้ํา พัดผ�านนานข้ึน โดยท่ัวไปจะพิจารณาจาก sorting, roundness และปริมาณของ matrix รวมท้ังชนิดและปริมาณของแร� แร�แต�ละชนิดทนต�อการผุพังต�างกัน จากทนมากไปหาน(อย คือ quartz, muscovite, microcline, orthoclase, plagioclase, hornblende, biotite, pyroxene และ olivine

รูปท่ี 2.7 แสดงชนิดและคุณลักษณะของ Textural maturity (จาก Murray, 1981)

8) ลักษณะของชั้นหิน (bedding) ชั้นหินมีความหนาและมีรูปร�างหลายแบบ ดังนั้นจึงมีศัพท7ท่ีใช(เรียกแทนความหนาต�างๆ (รูปท่ี 2.8) และรูปร�างของชั้นหิน (รูปท่ี 2.9) มีส�วนช�วยแปลความหมายทางสภาวะแวดล(อมของการสะสมตัว เช�น Massive bedded sandstones แสดงว�าหินทรายนั้นมีการสะสมตัวท่ีรวดเร็ว Continuous, parallel and thin bedded chert แสดงว�าหินเชิร7ตนั้นเกิดในทะเลลึก (พล เชาว7ดํารงค7, 2552)

รูปท่ี 2.8 ศัพท7ท่ีใช(เรียกชื่อของชั้นหิน และ laminae (จาก Reineck and Singh, 1975)

Page 31: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

22 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.9 ภาพแสดงรูปร�างแบบต�างๆของชั้นหินและชื่อท่ีใช(เรียก (ดัดแปลงจาก Reineck and Singh, 1975)

2.2.2 โครงสร)างหินตะกอน (Sedimentary Structures)

หินตะกอนเกิดจากการตกตะกอนทับถมกันเป�นชั้นๆ โครงสร(างหินตะกอนเกิดได(ท้ังพร(อมกับการตกตะกอนและเกิดหลังการตกตะกอนของหิน โดยขบวนการทางกายภาพ ทางเคมี และเกิดจากสิ่งมีชีวิต โดยพบเห็นได(ท้ังด(านบนและด(านล�างของชั้นหิน(beds) และระหว�างชั้นหิน โครงสร(างหินตะกอน เป�นข(อมูลสําคัญช�วยในการแปลความหมายทางกระบวนการและทางสภาวะแวดล(อมการสะสมตัว โดยท่ัวไปแบ�งออกเป�น 4 ประเภทใหญ�ๆ คือ

1) Erosional structures เป�นโครงสร(างท่ีเกิดการกัดเซาะก�อนแล(วจึงเกิดการสะสมตัว พบในส�วนล�างของชั้นหิน ได(แก�โครงสร(างพวก flute, groove, tool marks, scour marks เป�นต(น บางชนิดใช(บอก ทิศทางการไหลของกระแสน้ําได( เช�น flute, groove

2) Depositional structures เป�นโครงสร(างท่ีเกิดพร(อมกับการสะสมตัว พบท้ังด(านบนและในเนื้อของ ชั้นหิน ได(แก�โครงสร(างพวก bedding, graded bedding (รูปท่ี 2.10 และ 2.11), lamination, imbrications (รูปท่ี 2.12), cross stratification (cross bedding, cross lamination, ripple) และ mudcrack และรวมถึงโครงสร(าง algal stromatolites ท่ีพบในหินปูนด(วย และมีหลายชนิดท่ีใช(บอก top-bottom หรือ way-up ของชั้นหินได( รูปร�างของ cross stratification จะเปลี่ยนไปตามกระแสน้ําหรือลมด(วย (รูปท่ี 2.13)

Cross stratification บางชนิดมีลักษณะเฉพาะเป�นดัชนีบ�งถึงสภาพแวดล(อมการสะสมตัว เช�น Hummocky cross stratification (รูปท่ี 2.14) เป�นพวก Storm deposit ท่ีสะสมจากกระแสน้ําขุ�นข(น (turbidity current) บริเวณใกล(ชายฝJ�ง ส�วน Herringbone cross stratification เป�นพวกท่ีเกิดสะสมตัวบริเวณชายหาด จะแสดงทิศทางกระแสน้ําโบราณ 2 ทิศทาง

Page 32: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

23 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3) Post-depositional sedimentary structure เป�นโครงสร(างท่ีเกิดภายหลังการสะสมตัว ได(แก�พวก slump, slide, load cast, dewatering (เช�น dish and pillar structure) รวมท้ังพวกท่ีเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช�น stylolites และ nodules

4) Biogenic sedimentary structure เป�นโครงสร(างท่ีเกิดจากการกระทําของสิ่งมีชีวิต ได(แก� bioturbation, trace fossils (รูปท่ี 2.15) และ rootlet beds เป�นต(น

Page 33: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

24 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.10 ก) ภาพแสดงลําดับชั้นของ Bouma sequence และการแปลความหมาย(จาก Pickering et al., 1989) ข) ภาพถ�าย Bouma sequence จาก Ta ถึง Te บริเวณห(วยประคอง จังหวัดอุตรดิตถ7

ค) แสดงการเปลี่ยนแปลงลักษณะของชั้นหินท่ีเกิดจากตะกอนขุ�นข(นตามระยะทางท่ีเคลื่อนไป

รูปท่ี 2.11 ภาพแสดงโครงสร(างหินตะกอนกับการบอกการวางตัวบน/ล�างของชั้นหิน (ดัดแปลงจาก Roberts, 1982)

Page 34: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

25 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.12 ภาพแสดงการวางตัวของก(อนกรวดท่ีเกิดจาก Fluvial process (กระแสน้ําปกติ) และ Resedimented process (กระแสน้ํารุนแรง) ซ่ึงแกนยาวของก(อนกรวดจะ สัมพันธ7กับทิศทางไหลของกระแสน้ํา (จาก Walker, 1984)

รูปท่ี 2.13 ภาพแสดงสันของโครงสร(างหินตะกอนแบบ cross stratification ท่ีรูปร�างเปลี่ยนเม่ือความเร็ว ของกระแสและความลึกของน้ําเพ่ิมข้ึน A) มีขนาดเล็กเป�นเซนติเมตร B) มีขนาดใหญ� เป�นสิบๆเซนติเมตร

Page 35: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

26 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.14 Hummocky cross stratification

รูปท่ี 2.15 ภาพแสดงความสัมพันธ7ระหว�าง marine ichnofacies กับระดับความลึกของน้ําทะเล

Page 36: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

27 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

2.2.3 กระแสน้ําโบราณ (Paleocurrent)

การศึกษาด(านกระแสน้ําโบราณ (paleocurrent) มีวัตถุประสงค7เพ่ือหาทิศทางการไหลของกระแสน้ําโบราณท่ีทําให(เกิดการสะสมตัวของชั้นหิน ท้ังนี้เพราะแอ�งสะสมตะกอนแต�ละประเภทจะมีรูปแบบทิศทาง การไหลของกระน้ําโบราณท่ีต�างกัน(ตารางท่ี 2.3) เม่ือเราทราบรูปแบบการไหลของกระแสน้ําโบราณ ก็สามารถบอกได(ว�าชั้นหินท่ีกําลังศึกษาเกิดสะสมตัวในสภาวะแวดล(อมแบบใด โครงสร(างหินตะกอนหลายประเภทใช(บอกทิศทางการไหลของกระแสน้ําโบราณได( เช�น cross stratification (รูปท่ี 2.16) การเรียงตัวของก(อนกรวด (imbrications), flute เป�นต(น

ตารางท่ี 2.3 รูปแบบและทิศทางการไหลของกระแสน้ําโบราณท่ีมีผลมาจากชนิดของแอ�งสะสมตะกอน

Page 37: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

28 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.16 ภาพสามมิติของcross bedding ลูกศรชี้ทิศทางการเคลื่อนท่ีของกระแสน้ําหรือลม A) straight crest, B) sinuous crest, C) linguoid crest และ D) asymmetric wave ripples (จาก Chamley, 1990)

หลักการหาทิศทางการไหลของตะกอนโบราณ ทําได(โดยต(องวัดทิศทางการวางตัวของชั้นหิน (bedding plane) ควบคู�ไปพร(อมกับการวัดทิศทางการวางตัวของ cross stratification หรือโครงสร(างชนิดอ่ืน การวิเคราะห7ทําได(โดย plot ค�า pole ลงบน stereonet (รูปท่ี 2.17) แล(วปรับค�ามุมเอียงเทของชั้นหินให(อยู�ในแนวราบ (horizontal) โดยปรับเลื่อนค�าของ cross stratification ตามไปด(วย ค�าทิศทางและมุมเอียงเทของ cross stratification ท่ีได(คือทิศทางการไหลของตะกอนโบราณ

2.2.4 รูปทรงเรชาคณิต (Geometry)

หมายถึงรูปทรงของลักษณะปรากฎของตะกอน (sedimentary facies) หนึ่งๆว�ามีลักษณะของการ แผ�กระจายตัว ส�วนกว(าง, ยาว และความหนาเป�นอย�างไร ซ่ึงลักษณะของรูปทรงเรขาคณิตนี้ จะทราบได( ก็ต�อเม่ือนําเอาข(อมูลท้ังหมดมาประมวลเข(าด(วยกัน เช�น alluvial fans ก็จะมีรูปทรงเป�นรูป fan-shaped โดยส�วน proximal จะมีความหนามากสุดและความหนาจะลดลงไปทาง distal part หรือ meander stream ก็จะมีรูปทรงเป�นแบบ sheet และ belt และอาจจะประกอบข้ึนด(วยการแทรกสลับของชั้นหินทรายและหินดินดาน

Page 38: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

29 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.17 ตัวอย�างการหาทิศทางการไหลของตะกอนโบราณจากโครงสร(างชั้นหินแนวระนาบ

2.2.5 ซากดึกดําบรรพ� (fossils)

การศึกษาซากดึกดําบรรพ7นั้นมีความสําคัญต�อการศึกษาลักษณะปรากฎของตะกอน (sedimentary facies) ดังต�อไปนี้ 1) ซากดึกดําบรรพ7 (systematic description) บอกอายุของชั้นหิน และสามารถนําไปเทียบเคียงกับลําดับชั้นหินในบริเวณอ่ืนรวมท้ังต�างประเทศได( 2) การศึกษาชนิดของซากดึกดําบรรพ7โดยศึกษาสภาพของสิ่งแวดล(อมท่ีซากดึกดําบรรพ7 ชนิดนั้นๆอาศัยอยู� สามารถช�วยบอกสภาพแวดล(อมของการสะสมตะกอนได( เช�น ความลึกน้ํา ระดับของความขุ�นข(นของน้ํา ความเค็ม และอัตราสะสมตะกอน รวมท้ังทิศทางการไหลของน้ํา 3) การศึกษาสภาพและขนาดของซากดึกดําบรรพ7 จะช�วยบ�งบอกถึงสภาพของการเคลื่อนท่ี (transport) เช�น ซากดึกดําบรรพ7บางชนิดจะเป�นชนิดท่ีอยู�กับท่ีและบางชนิดจะถูกเคลื่อนท่ีก�อนท่ีจะมีการสะสมตัวในแอ�งตะกอน 4) การศึกษาถึงปริมาณความหนาของซากดึกดําบรรพ7ท่ีพบในชั้นหินอาจบ�งถึงสภาพสิ่งแวดล(อม เช�น ถ(าพบซากดึกดําบรรพ7ปริมาณมากและเป�นชนิดท่ีโตเต็มท่ีแล(ว อาจเป�นเพราะสภาพแวดล(อมเหมาะสมกับการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้นๆและการท่ีพบซากดึกดําบรรพ7ปริมาณมากและมีท้ังชนิดท่ีขนาดโตเต็มท่ีและขนาดเล็กๆอาจแสดงถึงสภาพแวดล(อมของการดํารงชีวิตของสัตว7ชนิดนั้นเปลี่ยนไป ซ่ึงมักจะเก่ียวข(องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพน้ําและภูมิอากาศอย�างฉับพลัน เช�น มีภูเขาไฟระเบิด เป�นต(น

Page 39: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

30 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

5) ปJจจุบันแหล�งซากดึกดําบรรพ7เป�นแหล�งอนุรักษ7ทางธรณีวิทยา มีหลายแหล�งท่ีกลายเป�นแหล�งท�องเท่ียวท่ีสําคัญ

2.3 การวัดลําดับช้ันหิน (Measuring Stratigraphic Section)

การวัดความหนาและการอธิบายลําดับชั้นหินเป�นงานเบื้องต(นของการจัดลําดับชั้นหิน เป�นข(อมูลสําหรับการแปลความหมายทางธรณีประวัติ และใช(เปรียบเทียบหาความสัมพันธ7กับลําดับชั้นหินในบริเวณอ่ืน พึงระลึกอยู�เสมอว�าข(อมูลด(านธรณีวิทยาส�วนใหญ�อยู�ในภาคสนาม การจดบันทึกรายละเอียดท่ีจําเป�นให(ได(มากท่ีสุด จะทําให(ผลงานมีความถูกต(องมากข้ึน บริเวณท่ีจะวัดลําดับชั้นหินควรมีลักษณะดังนี้

1) มีลักษณะทางธรณีวิทยาโครงสร(างไม�ยุ�งยาก สามารถบอกลําดับชั้นหินจากล�างไปบนได( 2) ลําดับชั้นหินโผล�ให(เห็นได(ดี 3) มีข(อมูลของหน�วยหินในพ้ืนท่ี เช�น บริเวณนั้นในแผนท่ีธรณีวิทยา 1:250,000 ให(เป�นหมวดหินอะไร

การวัดลําดับชั้นหินทําได(หลายวิธี จะใช(วิธีใดข้ึนอยู�กับองค7ประกอบหลายอย�าง เช�น ความละเอียดท่ีต(องการ ลักษณะภูมิประเทศท่ีชั้นหินโผล� รวมท้ังเวลา-งบประมาณและบุคลากร ตัวอย�างวิธีวัดฯ เช�น

1) วัดจากแผนท่ีภูมิประเทศหรือภาพถ�ายทางอากาศ วิธีนี้ให(ค�าอย�างคร�าวๆ โดยกําหนดจุดลําดับชั้นหินลงบนแผนท่ีฯ แล(วหาความหนาจริง (true thickness) โดยใช(สมการสามเหลี่ยมมุมฉากแปลงค�าจากระยะทางระหว�างจุดกับค�ามุม dip

2) ใช(เข็มทิศและการนับก(าว (compass-pace survey) วิธีนี้ผู(สํารวจต(องทดสอบว�าต(องเดิน (ปกติ) ก่ีก(าวใน 10 เมตร ของพ้ืนท่ีราบ/เนิน วิธีนี้เหมาะสําหรับภูมิประเทศท่ีเป�นท่ีราบหรือท่ีมีความชันน(อยๆ เช�น ข(างถนน (road-cut exposure) บริเวณหน(าเหมือง หรือบริเวณทางน้ํา วิธีนี้ถ(าใช(ตลับเทป (เช�น 20 เมตร) มาแทนการนับก(าวก็จะให(ความถูกต(องมากกว�า และสามารถทําบนพ้ืนท่ีท่ีมีชั้นหินเอียงเทมุมสูงได(ด(วย (รูปท่ี 2.18) แล(วแปลงค�าเพ่ือหาความหนาจริง

3) ใช( Jacob’s staff วิธีนี้เป�นการวัดหาความหนาจริงโดยตรง เหมาะสําหรับภูมิประเทศท่ีชั้นหินโผล�ทํามุมชัน เช�น เนินเขา วิธีนี้อาจประยุกต7ใช(ตลับเทปขนาด 2 เมตรวัดความหนาโดยตรงแทนก็ได( โดยวัดต้ังฉากกับชั้นหิน การวัดลําดับชั้นหิน มีบ�อยครั้งท่ีชั้นหินถูกดินปกคลุม ในกรณีเช�นนี้ให(เดินสํารวจบริเวณข(างเคียงเพ่ือหาชั้นหินท่ีโผล�ต�อเนื่องจาก bed สุดท(ายท่ีกําลังสํารวจ

4) ใช( Plane table methods วิธีนี้ใช(เม่ือต(องการความถูกต(องสูง

รูปท่ี 2.18 แสดงการวัดลําดับชั้นหินตามลักษณะหินบนท่ีสูงชันโดยขึงเทปวัดให(ตึง

Page 40: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

31 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

2.4 การจําแนกลําดับช้ันหินและการตั้งช่ือหน*วยหิน

2.4.1 การจําแนกลําดับช้ันหิน

หินทุกชนิดคือหินตะกอนหรือหินชั้น หินแปร และหินอัคนี ล(วนต(องมีการจําแนกลําดับชั้นหิน (stratigraphic classification) เพ่ือแสดงถึงความสัมพันธ7ของชั้นหินในแต�ละบริเวณ ตลอดจนธรณีประวัติของชั้นหิน จากการจัดแบ�งของ IUGS (ข(อมูลปn ค.ศ. 1994 และ 1999) การจําแนกลําดับชั้นหินแบ�งออกเป�น 4 ประเภท ใหญ�ๆ (ตารางท่ี 2.4 และรูปท่ี 2.19) คือ 1) การจําแนกลําดับชั้นหินตามลักษณะหิน (Lithostratigraphic units) เป�นการรวมชั้นหินเข(าด(วยกันเป�นหน�วยหินต�างๆ เช�น กลุ�มหิน (Group) หมวดหิน (Formation) หมู�หิน (Member) และชั้นหิน (Bed) โดยอาศัยลักษณะทางกายภาพของหินเป�นหลัก ชั้นหินท่ีมีลักษณะคล(ายกันจะรวมเข(าเป�นหน�วยหินเดียวกัน หน�วยหินหนึ่งๆอาจเป�นชั้นหินชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดก็ได( โดยขอบเขตของหน�วยหินอยู�ตรงท่ีหินเปลี่ยนชนิด 2) การจําแนกลําดับชั้นหินตามลักษณะของซากดึกดําบรรพ7 (Biostratigraphic units) เป�นการรวม ชั้นหินท่ีมีซากดึกดําบรรพ7เหมือนกันเข(าด(วยกันเป�นหน�วยต�างๆ เช�น ส�วนชั้นกลุ�มชีวิน (Assemblage-zones) ส�วนชั้นช�วงชีวิน (Range-zones) ส�วนชั้นแอกมี (Acme-zones) ส�วนชั้นระหว�างแนวชีวภาพ (Interval zones or Interbiohorizon zones) โดยอาศัยซากดึกดําบรรพ7ท่ีปรากฏอยู�ในชั้นหินหรือลักษณะทางโบราณชีววิทยาเป�นเกณฑ7กําหนด ขอบเขตของหน�วยหินประเภทนี้ไม�ข้ึนกับลักษณะหิน แต�อยู�ตรงท่ีซากดึกดําบรรพ7เปลี่ยนชนิด 3) การจําแนกลําดับชั้นหินตามอายุ (Chronostratigraphic units) เป�นการรวมชั้นหินท่ีมีอายุเดียวกันเข(าด(วยกันเป�นหน�วยต�างๆ เช�น หินบรมยุค (Eonothem) หินมหายุค (Erathem) หินยุค (System) หินสมัย (Series) หินช�วงยุค (Stage) โดยอาศัยอายุและความสัมพันธ7ทางกาลเวลาของหินเป�นเกณฑ7กําหนด ขอบเขตของหน�วยหินประเภทนี้ไม�ข้ึนกับลักษณะหินหรือซากดึกดําบรรพ7 แต�อยู�ตรงท่ีอายุของชั้นหินเปลี่ยนไป 4) การจําแนกลําดับชั้นหินประเภทต�างๆเป�นการรวมชั้นหินเข(าด(วยกันเป�นหน�วยต�างๆ โดยอาศัยคุณสมบัติเฉพาะ เช�น คุณสมบัติการไหวสะเทือน (seismic properties) ด(านการกลับข้ัวสนามแม�เหล็กโลก (magnetic reversals) ด(านความเป�นสื่อนําไฟฟ=า (electric log characters) ด(านการกําเนิดของหิน (lithogenesis) ด(านสภาวะแวดล(อมของการตกทับถม (environment of deposition) ด(านความไม�ต�อเนื่องของชั้นหิน (major unconformities) เป�นต(น

2.4.2 ช่ือและการตั้งช่ือหน*วยหิน

ในการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา เช�น มาตราส�วน 1:50,000 หรือมาตราส�วนอ่ืนๆนั้น ตามเกณฑ7มาตรฐานสากลใช(การจําแนกลําดับชั้นหินตามลักษณะหิน(Lithostratigraphic units)เป�นหลัก สําหรับอายุและซากดึกดําบรรพ7จะเป�นตัวรองใช(เพ่ือการอธิบายเท�านั้น เพ่ือให(เป�นตามวัตถุประสงค7ในท่ีนี้จะขอกล�าวเฉพาะชื่อและการต้ังชื่อแบบ Lithostratigraphic units เท�านั้น โดยแบ�งหน�วยหินออกเป�น ดังนี้

- กลุ�มหิน (Group) ประกอบด(วยหมวดหินท่ีอยู�ติดกัน 2 หมวดหรือมากกว�า ปกติแล(วแยกจากกลุ�มหินอ่ืนโดยรอยชั้นไม�ต�อเนื่องขนาดใหญ� (major unconformities)

- หมวดหิน (Formation) เป�นหน�วยหินแรกของการต้ังชื่อลําดับชั้นหินตามลักษณะหิน และต(องสามารถปรากฎบนแผนท่ีธรณีวิทยา (mappable unit) มาตราส�วน 1:50,000 ได(

- หมู�หิน (Member) ชื่อของลักษณะหินท่ีเด�นชัดในหมวดหิน - ชั้นหิน (Bed) ชื่อของลักษณะหินเป�นชั้นเด่ียวๆท่ีมีลักษณะเด�นชัด

Page 41: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

32 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

กฎกติกาของการตั้งช่ือหน*วยหิน

1) ชื่อของหน�วยหินอาจจําแนกออกได(เป�น 2 แบบ คือ ชื่อหน�วยหินแบบทางการ (Formal name) และชื่อหน�วยหินแบบไม�ทางการ (Informal name) ชื่อหน�วยหินแบบทางการเป�นชื่อท่ีได(จําแนกตามแบบแผนท่ีได(ผ�านการพิจารณาและเป�นท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปแล(วหลักการเขียนชื่อหน�วยหินแบบทางการ อักษรตัวแรกของคําท้ังหลายท่ีใช(ต้ังชื่อของหน�วยหินต(องเป�นตัวพิมพ7ใหญ� (upper case) เช�น Lampang Group, Hong Hoi Formation, Khorat Group, Slochteren Sandstone Formation เป�นต(น

ชื่อหน�วยหินแบบไม�ทางการ (Informal name) หมายถึงหน�วยหินตามลักษณะหินท่ีใช(อ(างอิงในกรณีท่ีไม�สําคัญหรือมีข(อมูลไม�เพียงพอ หน�วยหินเหล�านี้มักจะใช(อ(างอิงอย�างไม�เป�นทางการ การเขียนชื่อหน�วยหินประเภทนี้ อักษรตัวแรกของคําจะเป�นตัวพิมพ7เล็ก (lower case) โดยเฉพาะคําว�า group, formation หรือ member ยกเว(นคําท่ีเป�นชื่อเฉพาะ เช�น chalky formation, Dok Du formation, the shaly member, the pebbly bed เป�นต(น 2) ชื่อของหน�วยหินท้ังแบบทางการและแบบไม�ทางการ ควรต้ังตามชื่อทางภูมิศาสตร7ท่ีอยู�ใกล(กับ ชั้นหินแบบฉบับ(type section)ผสมกับลําดับฐานะท่ีถูกต(องของหน�วยหิน(กลุ�มหิน หมวดหิน หมู�หิน ชั้นหิน) หรือผสมกับชื่อชนิดหินซ่ึงเด�นชัดอยู�ในหน�วยหินนั้นหรือผสมกันท้ังสองอย�าง เช�น Gafsa Formation, Fortuna Sandstone, Taylor Coal Member สําหรับคําคุณศัพท7อ่ืนท่ีแสดงคุณสมบัติของหิน เช�น soft, hard, folded, brecciaed ไม�ควรนํามารวมอยู�ในชื่อของหน�วยหิน ตารางท่ี 2.4 แสดงชื่อ ลําดับชั้นหิน และตัวอย�างของหน�วยหินท่ีใช(ในการจําแนกลําดับชั้นหิน

Page 42: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

33 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 2.19 ภาพแสดงความแตกต�างในการแบ�งลําดับชั้นหินของวิธีจําแนกลําดับชั้นหินแบบต�างๆ

ชื่อทางภูมิศาสตร7ท่ีจะนํามาต้ังชื่อหน�วยหินนั้น อาจเป�นชื่อตามธรรมชาติหรือสิ่งก�อสร(างท่ีอยู�ในหรือใกล(กับหน�วยหินนั้นปรากฏอยู� สําหรับชื่อทางภูมิศาสตร7ท่ีไม�ถาวร เช�น วัด โรงเรียน หรือชุมชนเล็กๆซ่ึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงตําแหน�งท่ีตั้งได(นั้น ไม�ควรนํามาต้ังเป�นชื่อหน�วยหิน ชื่อท่ีบ�งถึงการกําเนิดของหิน (genetic terms) เช�น คําว�า “turbidite” หรือ “flysch” ไม�ควรนํามาต้ังเป�นชื่อหน�วยหิน สําหรับในหินอัคนีควรเน(นชื่อแสดงลักษณะชนิดหินท่ีเด�นชัดหรือเป�นส�วนใหญ� เช�น Dido Granodiorite ส�วนคําว�า “dike” “stock” “pluton” “batholith” “ intrusion” และคําท่ีมีความหมายคล(ายกันไม�มีลักษณะเป�นคําศัพท7ลักษณะหิน (lithologic term) ไม�ควรใช(เป�นชื่อหน�วยหิน ชื่อหน�วยหินท่ีต้ังข้ึนใหม�ไม�ควรซํ้ากับชื่อ (duplication of names) ของหน�วยหินแบบทางการท่ีมีอยู�ก�อนแล(ว ท้ังนี้เพราะชื่อท่ีถูกต้ังก�อนและถูกต(องตามหลักเกณฑ7จะได(สิทธิ์การยอมรับก�อนตามหลักของ Priority นอกจากนี้ยังไม�ควรนําชื่อเดียวกันไปใช(เรียกหน�วยหินมากกว�า 1 หน�วย แม(ว�าจะมีลําดับท่ีต�างกันก็ตาม ท้ังนี้เพ่ือป=องกันความสับสน

3) การต้ังชื่อหน�วยหินตามลักษณะหินแบบทางการ (formal names) ต(องได(รับการตีพิมพ7ในวารสารทางวิทยาศาสตร7ท่ีแพร�หลายเป�นท่ียอมรับว�าด(วยเรื่องราวจุดประสงค7ท่ีจะต้ังชื่อหน�วยหินหน�วยใหม�ข้ึน และต(องมีคําบรรยายท่ีครอบคลุมเนื้อหาดังต�อไปนี้ ก) ชื่อและความเป�นมา รวมท้ังข(อมูลภูมิศาสตร7ท่ัวไป ข) ลําดับ (rank) ของหน�วยหินท่ีเสนอต้ัง ค) ลักษณะชั้นหินโดยท่ัวไป ประวัติพ้ืนฐาน (historical background) ความคล(ายคลึงกับหน�วยหินอ่ืน (synonym), การศึกษาในอดีต (previous treatment) และเหตุผลการเสนอต้ังชื่อ

Page 43: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

34 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ง) ชั้นหินแบบฉบับ (stratotype หรือ type section) ในหนังสือศัพท7ลําดับชั้นหิน (พ.ศ. 2527) กล�าวว�า “เป�นลําดับชั้นหินใดๆท่ีกําหนดให(เป�นมาตรฐานเพ่ือใช(อ(างอิงในการนิยามลําดับชั้นหิน โดยมีคุณสมบัติพิเศษท่ีเป�นเอกลักษณ7และบอกขอบเขตบนและล�างของลําดับชั้นหินนั้นไว(ด(วย ชื่อของชั้นหินแบบหนึ่งๆจะต้ังข้ึนตามชื่อท(องถ่ินของหินแบบฉบับนั้นๆ” และท่ีตั้งแบบฉบับ (type locality)

- คําบรรยายทางธรณีวิทยาโดยละเอียดของหน�วยหินแบบทางการ ซ่ึงหมายถึง ลักษณะหิน, ความหนาและลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแนวด(านข(าง, ซากดึกดําบรรพ7, แร�, โครงสร(าง, ลักษณะภูมิสัณฐานท่ีปรากฏเป�นต(น (รูปแสดงหน(าตัดชั้นหิน, ภาพถ�าย, แท�งแสดงลําดับชั้นหิน (columnar sections), โครงสร(างด(านตัดขวาง)

- ขอบเขตด(านบนและด(านล�างของลําดับชั้นหิน รวมท้ังการกระจายตัว - สภาวะแวดล(อมของการสะสมตัว จ) ชั้นหินแบบฉบับอ(างอิง (hypostratotype) หรือ ลําดับชั้นหินอ(างอิง (reference sections) ฉ) อายุและการเทียบสัมพันธ7 ช) ลักษณะท่ีสําคัญเด�นชัดสําหรับการกําหนดหน�วย หมายถึงลักษณะชั้นหินแบบฉบับท่ีใช(เป�นกฏเกณฑ7ในการเทียบสัมพันธ7หน�วยหินอ่ืน ท้ังทางด(าน vertical และ horizontal ซ) เอกสารอ(างอิง

4) หน�วยหินซับซ(อน (Complex) อาจใช(เป�นหน�วยหินตามลักษณะหินแบบทางการ (formal name) ซ่ึงหมายถึงหน�วยหินท่ีอาจประกอบด(วยหินหลายชนิด (หินตะกอน หินอัคนี และหินแปร) และมีลักษณะโครงสร(างทางธรณีวิทยาท่ีซับซ(อนมาก เช�น Lewisian Complex สําหรับลําดับฐานะ (rank) ของหน�วยหินอาจเทียบได(กับ กลุ�มหิน หมวดหิน หรือหมู�หิน

ส�วน basement complex ใช(เป�นหน�วยหินแบบไม�ทางการ (informal name) เป�นหินท่ีมีลักษณะโครงสร(างซับซ(อน (ส�วนมากเป�นหินอัคนีและหินแปร) วางตัวรองรับหินท่ีมีโครงสร(างซับซ(อนน(อยกว�าซ่ึงส�วนมากจะเป�นหินตะกอน

2.5 ข)อแนะนําสําหรับการสํารวจซากดึกดําบรรพ�

ประโยชน7ของซากดึกดําบรรพ7มีหลากหลายได(กล�าวไว(ในหัวข(อ 2.2.5 แล(ว ผู(สํารวจจึงควรให(ความสนใจและเวลาในการค(นหา ซ่ึงส�วนใหญ�พบในหินตะกอน แต�ก็สามารถพบได(ในชั้นหินเถ(าภูเขาไฟและในหินแปร

1) ต(องรู(ก�อนว�าเรากําลังหาซากดึกดําบรรพ7ประเภทไหน เช�น ถ(ากําลังสํารวจกลุ�มหินสระบุรี ก็ประมาณได(ว�ากําลังหาพวก fusulinids หรือ brachiopods

2) ควรมีรูปภาพของซากดึกดําบรรพ7ดรรชนี (index fossils) ท่ีพบในประเทศไทย และนําออกภาคสนามด(วยเพ่ือใช(ในการเปรียบเทียบ

3) ซากดึกดําบรรพ7จะเห็นในผิวหินท่ีผุได(ง�ายกว�าในหินสด อาจเริ่มดูจากก(อนหินท่ีร�วงหล�นก�อน ซากดึกดําบรรพ7ส�วนใหญ�จะมีสีเทาอ�อน light gray, pale tan หรือ ขาว บางส�วนอาจมีสีเทาดํา หรือดํา

4) ซากดึกดําบรรพ7มักพบนูนออกมาจากเนื้อหิน ท้ังนี้เพราะมีความทนทานต�อการสึกกร�อนได(ดีกว�าเนื้อหิน

5) ซากดึกดําบรรพ7บางชนิดพบมากในหินเฉพาะอย�าง เช�น graptolites พบมากใน laminated shale, ซากใบไม(มักพบในชั้นหินดินดาน ส�วนพวกกระดูกและฟJนของ terrestrial vertebrates มักพบใน lacustrine, fluviatile and deltaic deposits

Page 44: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

35 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

6) จดบันทึกสภาพของซากดึกดําบรรพ7 เพ่ือช�วยในการแปลความหมายสภาพแวดล(อมการสะสมตัว เช�น พบเกิดอยู�กับท่ี (in situ) เป�นเศษซากหรือเป�นตัวสมบูรณ7 หอยสองฝาติดกันหรือหลุดเป�น ฝาเด่ียว ฝาหอยหงายหรือคว่ํา แสดงการเรียงตัวหรือไม�

2.6 ข)อแนะนําสําหรับการศึกษาหินมหายุคซีโนโซอิก

มหายุคซีโนโซอิก (Cenozoic Era) หรือท่ีเคยเรียกว�ายุคเทอร7เชียรี จะพบสัตว7เลี้ยงลูกด(วยนมเจริญแพร�พันธุ7อย�างกว(างขวาง รวมท้ังเป�นแหล�งสะสมตัวของป;โตรเลียมและถ�านหินท่ีผลิตในปJจจุบันของประเทศ ในปn 2547 คณะกรรมาธิการลําดับชั้นหินนานาชาติ (International Commission on Stratigraphy) ได(ให(คําแนะนําให(ยกเลิกการใช(ชื่อยุคเทอร7เชียรี (Tertiary Period) ท้ังนี้เพราะเกิดความสับสนในความหมายของชื่อ โดยให(ใช(ยุคพาลีโอจีน (Paleogene Period) และยุคนีโอจีน (Neogene Period) แทน ชั้นหินมหายุคซีโนโซอิกส�วนใหญ�จะไม�โผล�ให(เห็นบนผิวดิน มีบางส�วนจะโผล�ให(เห็นได(ตามขอบแอ�ง มักเกิดเป�นแอ�งโดดๆไม�ต�อเนื่องกัน การลําดับชั้นหินจึงต(องอาศัยข(อมูลจากหลุมเจาะ อย�างไรก็ดีชั้นหินมีลักษณะท่ีเหมือนกันและคล(ายคลึงกันหลายประการ คือ

1) ลําดับชั้นหินในแต�ละแอ�งมีลักษณะท่ีคล(ายกัน ภาพรวมแบ�งได(เป�น 3 ส�วนโดยส�วนล�างและส�วนบนมีการสะสมตัวแบบกระบวนการทางแม�น้ํา (alluvial environment) สําหรับส�วนกลางของลําดับชั้นหินเกิดสะสมตัวตาม บึง หนองน้ํา และทะเลสาบน้ําจืด (swamp, lacustrine environments) ซากดึกดําบรรพ7ท่ีพบมีลักษณะคล(ายกัน ส�วนท่ีแตกต�างกันได(แก�อัตราความเร็วของการทรุดตัวของแอ�งและปริมาณของตะกอนท่ีมาสะสมตัวในแต�ละแอ�ง มีผลทําให(บางแอ�งมีถ�านหินชั้นหนาและบางต�างกัน รวมท้ังความหนาของแอ�งต�างกันด(วย

2) ชั้นหินส�วนใหญ�มีมุมเอียงไม�ค�อยชันและเอียงเทเข(าหากลางแอ�ง ชั้นหินไม�ค�อยถูกเปลี่ยนสถานะ (deformed) ท่ีรุนแรง และมีหินโผล�ให(เห็นเฉพาะบริเวณขอบแอ�ง

3) ชั้นหินมหายุคซีโนโซอิกจะวางตัวแบบมีรอยชั้นไม�ต�อเนื่องอยู�บนหินท่ีมีอายุแก�กว�าและในส�วนบนถูกป;ดทับแบบมีรอยชั้นไม�ต�อเนื่องด(วยตะกอนกรวดของยุคควอเทอร7นารี บริเวณขอบแอ�งมักเป�นรอยต�อแบบรอยเลื่อน (fault contact)

4) ความกว(างของแอ�ง (เทอร7เชียรี) มีความสัมพันธ7กับความหนาของตะกอนในแอ�ง จากการอนุมานพบว�าแอ�งท่ีมีความกว(าง 1 กิโลเมตร จะมีความลึกประมาณ 100 เมตร

2.7 ข)อแนะนําในการสาํรวจทําแผนท่ีทรัพยากรหินคาร�บอเนต

สาเหตุของการสํารวจหินคาร�บอเนต

• หินปูนหรือหินคาร7บอเนต เป�นหินท่ีมีประโยชน7มากกว�าหินชนิดอ่ืนๆ แต�การใช(ประโยชน7จะข้ึนอยู�กับคุณสมบัติของหิน

• ประเทศไทยถึงแม(ว�าจะพบหินปูนหรือหินคาร7บอเนตอย�างแพร�หลาย แต�ก็มีคุณสมบัติท่ีหลากหลาย และท่ีสําคัญส�วนใหญ�ยังไม�ได(แบ�งลําดับชั้นหินย�อยลงไป ยังรวมเป�น 1 หน�วยหิน

• การแบ�งหน�วยหินให(ละเอียดข้ึน นอกจากจะช�วยให(การสํารวจพัฒนาทรัพยากรหินคาร7บอเนตเป�นไปอย�างประหยัดและรวดเร็วข้ึนแล(ว ยังมีส�วนสําคัญทําให(การใช(ทรัพยากรเป�นไปอย�างยั่งยืน

• เพ่ือป=องกันไม�ให(นําหินคุณภาพดีไปใช(อย�างด(อยคุณค�า เพราะตามธรรมชาติหินปูนหรือหินคาร7บอเนตคุณภาพดีจะมีน(อย โดยประเทศท่ีกําลังพัฒนาท้ังหลายจะเร�งรีบใช(หินก�อสร(างมากมายมหาศาล

• เพ่ือสงวนหินท่ีมีคุณภาพดีไว(เป�นแหล�งสํารองสําหรับอุตสาหกรรมของประเทศ

Page 45: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

36 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ข)อมูลท่ีช*วยในการแบ*งลําดับช้ันหินของหินปูนให)ละเอียดข้ึน

• แบ�งตามความหนาของชั้นหิน (thin bed, medium to thick bed, massive) รวมท้ังชนิดของหินปูน(rock type) และสีของหิน(rock color)

• แบ�งตามปริมาณแทรกสลับของหินดินดาน หินทราย และหินเชิร7ต • แบ�งตามปริมาณของแร�ท่ีเกิดร�วม เช�น ตะก่ัว ทองแดง สังกะสี • ควรทําแผนท่ีแสดงการกระจายตัวของหินอ�อนและโดโลไมต7 (โดยใช( pattern) แต�จัดให(อยู�หน�วยหิน

เดิม เพ่ือประโยชน7ในการนําไปใช(ในอุตสาหกรรม • ข(อมูลทางกายภาพ เคมี และทางกล มักสอดคล(องกับการแบ�งตาม lithofacies

2.8 ข)อแนะนําในการสํารวจเพ่ือประเมินแหล*งหินอ*อนและหินประดับ

มี 5 ข้ันตอน (จาก พล เชาว7ดํารงค7, 2545) ได(แก�

1) การรวบรวมข(อมูลท่ีเคยมีการสํารวจมาก�อนแล(ว เช�น ข(อมูลจากแผนท่ีธรณีวิทยา ข(อมูลโครงสร(างธรณีวิทยา ข(อมูลจากภาพถ�ายทางอากาศ ข(อมูลการขออาชญาบัตร ประทานบัตร และการทําเหมืองหินอ�อนและหินประดับ ท้ังนี้เพ่ือจะได(กําหนดบริเวณท่ีน�าสนใจ

2) การสํารวจรายละเอียดในภาคสนาม ควรมีข(อมูลลักษณะของหิน(lithology) เช�น ความสมํ่าเสมอของเนื้อหินและสีหิน ซ่ึงเป�นปJจจัยหลักท่ีต(องถูกใจผู(อุปโภค ด(านลําดับของ ชั้นหิน(stratigraphy) ซ่ึงจะมีประโยชน7มากในการแปลความหมายเพ่ือกําหนดตําแหน�งของแหล�งหินท่ีต(องการ ลักษณะโครงสร(างทางธรณีวิทยามีความสําคัญมากต�อคุณภาพของ แหล�งหิน เช�น ความหนาแน�นของรอยแตก(fracture) และแนวแตก(joint) โดยท่ัวไประยะห�างของแนวแตกแต�ละแนวควรมากกว�า 1 เมตรข้ึนไป ปริมาณของ xenolith, vein, dike, streak และรอยจ้ําหรือสนิมเหล็ก นอกจากนี้ควรมีข(อมูลความหนาของหิน ความหนาของหินผุ และความหนาของหน(าดิน (overburden) รวมท้ังข(อมูลลักษณะภูมิประเทศของแหล�งหินเป�น ภูเขา เนินหรือท่ีราบ การเก็บตัวอย�างเพ่ือทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ เช�น ค�าความดูดซึมของน้ําและความหนาแน�นของหิน การทดสอบคุณสมบัติทางกล เช�น ค�าความแกร�งของหิน การเก็บตัวอย�างหินก(อนเพ่ือตัดขัดมันดูลักษณะของเนื้อหินและสีหิน

3) การสํารวจทางธรณีฟ;สิกส7 มีหลายวิธีแล(วแต�ความเหมาะสม เช�น วิธีวัดค�าความโน(มถ�วง ของโลก (Gravity method) ในการหาโพรงหรือถํ้าในหินปูนและหินอ�อน วิธีวัดค�ากระแสไฟฟ=า (Electrical method) ในการหาความหนาของหน(าดิน ตําแหน�งของรอยแตกและถํ้า

4) การเจาะสํารวจ มีความจําเป�นเม่ือต(องการพัฒนาแหล�งหินเพ่ือเป;ดเป�นเหมืองหิน หลุมเจาะในข้ันต(นอาจลึกประมาณ 20 เมตร และควรเจาะแบบแท�งตัวอย�างเพ่ือใช(ตรวจสอบคุณสมบัติในห(องปฏิบัติการ รวมท้ังการศึกษาทางศิลาวรรณา (petrography) เพ่ือดูส�วนประกอบของแร�และชนิดของช�องว�าง(pore) ท่ีอาจมีผลต�อคุณภาพของแหล�งหิน

5) ข้ันตอนสุดท(ายคือการหาปริมาณสํารอง รวมท้ังกําหนดตําแหน�งของหน(าเหมือง

Page 46: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

37 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

2.9 ข)อแนะนําการศึกษาหินตะกอนในภาคสนาม

การศึกษาหินตะกอนในภาคสนาม ควรจะหาข(อมูลในรายละเอียดอย�างน(อย 6 หัวข(อ ได(แก�

1) Lithology: ลักษณะทางกายภาพและส�วนประกอบของหิน รวมท้ังชื่อหิน 2) Texture: ลักษณะของเนื้อหิน การเรียงตัว รูปร�าง และขนาดของตะกอน (fabric, grain shape,

roundness, sorting และ grain size) 3) Sedimentary structure: ลักษณะโครงสร(างหินตะกอน ท่ีพบบนผิวและภายในของชั้นหิน

โครงสร(างหินตะกอนบางชนิดสามารถบอกทิศทางการไหลของทางน้ําโบราณ (Paleocurrent direction) ได(

4) Color: ควรระบุสีของหินด(วยว�ามีสีอะไร เป�นหินสด หรือหินผุ 5) Thickness and geometry: ความหนาและรูปทรงสัณฐานของชั้นหิน (beds) และของ

หน�วยหิน (rock units) 6) ซากดึกดําบรรพ7: ชนิดและลักษณะท่ีพบของซากดึกดําบรรพ7 มีการวางตัวเช�นไร มีสภาพรูปร�าง

สมบูรณ7หรือเป�นเศษแตกหักรวมท้ังพบมากน(อยเพียงใด

ข(อมูลท้ัง 6 หัวข(อข(างต(นจะช�วยให(ทราบถึงกระบวนการ และสภาวะแวดล(อมของการสะสมตัวของ ชั้นหินได( ซ่ึงมีประโยชน7เป�นอย�างยิ่งต�อการหาแหล�งทรัพยากรธรณีท่ีเกิดร�วมด(วย ลักษณะเด�นของลักษณะปรากฎ Facies ท่ีบ�งถึงสภาพแวดล(อมของการสะสมตัวแบบต�างๆ ได(รวบรวมแสดงไว(ในตารางท่ี 2.5 ถึง 2.14

Page 47: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

38 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ตารางท่ี 2.5 ลักษณะเด�นของ Fluvial facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: complex; alluvial systems include meandering streams with well-developed

floodplains , braided streams and alluvial fans. In the first, lateral migration of channels is characteristic, with muddy overbank sedimentation and sandy crevasse splays on floodplains. Channel processes dominate in braided streams, which may be gravel- or sand-dominated, and stream and sheet floods and debris flows occur on alluvial fans.

Lithologies: from conglomerates through sandstones to mudrocks; thin intraformational conglomerates common; many sandstones are lithic or arkosic, compositionally immature to mature.

Textures: many stream-deposited conglomerates have a pebble-support fabric with imbrication; debris-flow conglomerates are matrix supported; most fluvial sandstones consist of angular to subrounded grains, with poor to moderate sorting, i.e., texturally immature to mature; some fluvial sandstones and mudrocks are red.

Structures: fluvial sandstones show tabular and trough cross-bedding, flat bedding plus parting lineation, low-angle cross-beds (lateral accretion surfaces), channels and scoured surfaces; finer sandstones show ripples and cross-lamination; stream-deposited conglomerates are lenticular with flat bedding and crude cross-bedding; floodplain mudrocks are usually massive, possibly with rootlets and calcareous nodules (calcrete); they may contain thin, persistent sharp-based sandstones deposited from crevasse splays and floods.

Fossils: plants dominate (fragments or in situ), also fish bones and scales, freshwater molluscs, vertebrate tracks, some dwelling burrows. Palaeocurrents: unidirectional, but dispersion depends on stream type: braided-stream

sandstones have lower dispersion than meandering-stream sandstones. Geometry: sand bodies vary from ribbons to belts to fans. Facies successions and cycles: depend on type of alluvial system: alluvial fan strata may

show an overall coarsening-up or fining-up depending on climatic/tectonic changes; meandering streams produce fining-upward cross-bedded sandstone units up to several metres thick with lateral accretion surfaces, interbedded with mudrocks which may contain calcretes and thin persistent sandstones deposited by crevasse splays and floods; sandy braided streams produce lenticular and multi-storey cross-bedded sandstones with few mudrock interbeds

Page 48: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

39 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ตารางท่ี 2.6 ลักษณะเด�นของ Aeolian facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: wind-blown sand is typical of deserts but also occurs along marine shorelines. Lithology: clean (matrix-free) quartz rich sandstones; no mica. Texture: well-sorted, well-rounded sand grains (‘milled-seed’); possibly with frosted (dull) appearance; sandstones commonly stained red through hematite; pebbles may be wind- faceted. Structure: dominantly large-scale cross-bedding (set heights several metres to several tens of metres); cross-bed dips up to 35° ; reactivation surfaces and master bounding surfaces; grain-flow laminae. Fossils: rare; possibly vertebrate footprints and bones, and rootlets. Sand-body geometry: laterally extensive sheets if sand seas (ergs), and more elongate ridge-like geometries if seif draas. Facies associations: water-lain sandstones and conglomerates (fluvial/flash-flood) may be associated; also playa-lake mudrocks and evaporates and arid-zone soils (calcretes). ตารางท่ี 2.7 ลักษณะเด�นของ Lacustrine facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: in lake with vary in size, shape, salinity and depth. Waves and storm currents important in shallow water; turbidity currents and river underflows in deeper water. Biochemical and chemical precipitation common. Strong climatic control on lake sedimentation. Lake types: permanent, perennial and ephemeral; hypersaline and fresh-water; stratified and non-stratified; bench and ramp margins; carbonate, evaporitic and siliciclastic lakes. Lithologies: diverse, including conglomerates through sandstones to mudrocks, limestones (oolitic, micritic, bioclastic, microbial), marls, evaporates, cherts, oil shales and coals. Structures: wave-formed ripples, desiccation cracks, rainspots and stromatolites common in lake shoreline sediments; spring deposits of calcareous tufa and travertine; rhythmic lamination, possibly with syneresis cracks, typical of deeper-water lake deposits, together with interbedded graded sandstones of turbidity current origin. Fossils: non-marine invertebrates (especially bivalves and gastropods); vertebrate (footprints and bones); plants, especially algae. Facies successions and cycles: reflect changes in water level through climatic or tectonic events; shallowing-upward cycles common, capped by exposure and/or pedogenic horizons. Facies associations: fluvial and aeolian sediments commonly associated; soil horizons may occur within lacustrine sequence; mottled and marmorised palustrine mudrocks and limestones.

Page 49: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

40 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ตารางท่ี 2.8 ลักษณะเด�นของ Glacial facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: take place in wide variety of environments: beneath glaciers of various types, in glacial lakes, on glacial outwash plains and glaciomarine shelves and basins, and by a variety of processes including moving and melting glaciers, meltwater streams, meltwater density current, debris flows, and icebergs. Continental glacial environments: grounded-ice glaciofluvial, glaciolacustrine — proglacial and periglacial lakes, cold-climate periglacial facies. Glacial marine environments: proximal/shoreline, shelf, deepwater facies. Lithologies: variety of conglomerates — polymictic muddy to pebbly conglomerates (diamictites and mixtites, which may be tillites), sandstones, muddy sediments with dispersed clasts (dropstones). Textures: poorly sorted, matrix-supported conglomerates (diamictites) to better sorted clast- supported conglomerates where reworking/resedimentation has taken place; angular clasts possibly with striations and facets, and elongate clasts possibly showing preferred orientation. Structure: diamictites/tillites, generally massive but some layering may occur; rhythmically laminated (‘varved’) muddy sediments common (possibly with dropstones); fluviaoglacial sandstones show cross-bedding, cross-lamination, flat bedding, scours and channels. Striated pavements beneath continental tillites. Fossil: generally absent (or derived), except in glaciomarine sediments. Geometry: tillites lenticular to laterally extensive. Facies sequence and associations: usually no repeated sequences but apparently random succession of tillites, fluvioglacial and more glaciatiolacustrine sediments; however, alternating period of glaciations (tillites) and deglaciation (shallow-marine sandstones) may give cycles; debrites and turbidites associated with glaciomarine facies ตารางท่ี 2.9 ลักษณะเด�นของ Deltaic facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: complex; there are several types of delta (especially lobate and elongate), and many deltaic subenvironments (distributary channels and levees, swamps and lakes, mouth and distal bars, interdistributary bays and prodelta slope). Many ancient deltas were river dominated but reworking and redistribution of sediment by marine processes was important. Lithologies: mainly sandstones (compositionally immature to mature, commonly lithic) through muddy sandstones, sandy mudrocks to mudrocks; also coal seams and sideritic ironstones. Textures: not diagnostic (texturally immature to mature): average sorting and rounding of sand grains. Structure: cross-bedding of various types in the sandstones; flat-bedding and channels

Page 50: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

41 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

common. Finer sediments show flaser and wavy bedding and are heterolithic. Some sediments contain rootlets (seatearths, ganisters); nodules of siderite. Bioturbation and trace fossils common. Fossils: marine fossils in some mudrocks and sandstones, other with non-marine fossils, especially bivalves. Plants common. Palaeocurrents: mainly directed offshore but may be shore-parallel or onshore if much marine reworking with waves and tides. Geometry: sand bodies vary from ribbons to sheets depending on delta type. Facies successions and cycles: typically consist of coarsening-upward unit (mudrock to sandstone), through delta progradation, capped by a seatearth and coal (Fig. 8.15); there are many variations, however, particularly at the top of such units. ตารางท่ี 2.10 ลักษณะเด�นของ Shallow-marine siliciclastic facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: takes place in a variety of environments and subenvironments including tidal- flat, beach, barrier island, lagoon, shoreface and nearshore to offshore shelf. Waves, tidal and storm currents are the most important processes. Lithologies: sandstones (compositionally to supermature, may be quartz arenites) through muddy sandstones, sandy mudrocks to mudrocks; also thin conglomerates. Glauconite in greensands. Textures: not diagnostic, although sandstones generally texturally mature to supermature. Structures: in the sandstones: cross-bedding, possibly herringbone, reactivation surface, flat- bedding (in truncated low-angle sets if beach), wave-formed and current ripples and cross- lamination, flaser and lenticular bedding, bundeld cross-beds if tidal, mud drapes; HCS and SCS if storm waves, thin graded sandstones of storm current origin; mudrocks may contain pyrite nodules; bioturbation and various trace fossils common — the later reflecting local energy level and depth. Fossils: marine faunas with diversity dependent on salinity, level of turbulence, substrate, etc. Palaeocurrents: variable, parallel to and normal to shoreline, unimodal, bimodal or polymodal. Geometry: linear sand bodies if barrier or beach, sheet sands if extensive epeiric-sea platform. Facies successions and cycles: vary considerably depending on precise environment and sea-level history (rising or falling); coarsening-up, shallowing-up units from shoreline progradation . Facies associations: limestones, ironstones and phosphates may occur within shallow- marine siliciclastic facies.

Page 51: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

42 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ตารางท่ี 2.11 ลักษณะเด�นของ Deep-marine siliciclastic facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: takes place on submarine slopes, submarine fans and aprons, in basins of many types, particularly by turbidity currents, debris flows, contour currents and deposition from suspension. Lithologies: sandstones (generally compositionally immature to mature, commonly greywacke in composition) and mudrocks (hemipelagic); also conglomerates (pebbly mudstones). Texture: not diagnostic; sandstones may be matrix-rich; conglomerates mostly matrix- supported and of debris-flow origin. Structures: in turbidite sandstones: graded bedding (interbedded with hemipelagic mudrocks), may show ‘Bouma’ sequence of structures (Fig. 8.10, 8.11 and 8.12), sole marks common, 5-100 cm thick; some sandstones may be massive. Contourites: muddy and sandy siltstones, gradational upper and lower contact, reversely graded lower parts, normally graded upper and lower parts, bioturbated, some cross-lamination, 10-30 cm thick. Hemipelagic mudrocks may be finely laminated or bioturbated. Channel, perhaps on large scale; also slump, slide and dewatering structures. Fossils: mudrocks contain chiefly pelagic fossils; interbedded sandstones may contain derived shallow-water fossils. Paleocurrents: in turbidite sandstones: variable, may be downslope or along basin axis; best measured on sole marks. Facies successions and cycles: turbidite successions may show upward-coarsening and upward-thickening of sandstone beds , or upward fining and thinning. ตารางท่ี 2.12 ลักษณะเด�นของ Shallow-marine siliciclastic facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: take place in a variety of environments and subenvironment: tidal flats,

beaches, barier, lagoons, nearshore to offshore shelves and platforms, epeiric shelf seas, submarine sand shoals and reefs (especially shelf-margin and patch reefs). Biological and biochemical processes largely responsible for formation and deposition of sediment, although physical processes of waves, tidal and storm currents important. Carbonate shelves, with steep shelf margin dominated by reefs and sand bodies (Fig. 8.18), distinct from carbonate ramps with gentle offshore gradient, dominated by shoreline sands and offshore muds with storm beds (Fig. 8.19).

Lithologies: many types of limestone, especially oolitic and skeletal grain-stones, skeletal packstones—wackestones, mudstones and boundstones; also dolomites. Limestones may be silicified. Evaporites, especially sulphates (or their replacements) may be associated.

Structures: great variety, including cross-bedding, ripples, desiccation crack, stromatolites and microbial laminites, fenestrae, stromatactis and stylolites; reef limestones: massive ane unbedded, many organisms in growth position.

Page 52: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

43 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

Fossils: vary from diverse and abundant in normal-marine facies to restricted and rare in hypersaline and hyposaline facies.

Palaeocurrents: variable: parallel and normal to shoreline. Facie successions and cycles: many type but metre-scale shallowing-upward cycles

common in platform successions (Fig. 8.4). ตารางท่ี 2.13 ลักษณะเด�นของ Deep-water carbonate and other pelagic facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: takes place in deeper-water epeiric seas, outer shelves and platforms,

submarine slopes, in basin of many types and on ridges and banks within basinal areas. Deposition from suspension and by resedimenttation processes.

Lithologies: pelagic limestones are usually fine-grained with a dominantly pelagic fauna; limestone turbidites are fine- to coarse-grained and consist largely of shallow-water fossils or ooids; cherts, phosphorites, iron-manganese nodules hemipelagic mudrocks associated.

Structures: pelagiclimestones: commonly nodular, hardgrounds common together with sheet cracks and Neptunian dykes, stylolites common; limestone turbidites: gradded ceding and other structures (sole and internal) although usually less well developed; bedded cherts: may be graded and laminated. Pelagic sediments may be slump-folded and brecciated.

Fossils: pelagic fossils dominate; derived shallow-water fossils in limestone turbidites. Facies successions and cycles: no typical sequence; pelagic facies may overlie or underlie

turbidite successions or follow platform carbonates. Pelagic facies may be associated with volcaniclastic sediments and pillow lavas. Common are sub-metre-scale rhythms of alternating clay-poor/clay-rich limestone, or limestone-mudrock, etc.

ตารางท่ี 2.14 ลักษณะเด�นของ Volcaniclastic facies (จาก Tucker, 2003) Deposition: take place in subaerial and submarine (shallow or deep) environments by

pyroclastic fallout, volcaniclastic flows such as ignimbrites, lahars and base surges, and the tephra may be reworked and resedimented by wave, tidal, storm and turbidity currently.

Lithologies: tuffs, lapillistones, agglomerates and breccias. Textures: diverse, include welding in ignimbrites and matrix-support fabric in lahar deposits. Structures: include grading in air-fall tuffs, current and wave structures in reworked and

redeposited tuffs (epiclastics), plannar and cross-beddind (including antidunes) in base-surge tuffs.

Fossils: do occur although rarely. Facies successions: well-developed eruptive units may show air-fall tuffs overlain by

pyroclastic surge, then flow deposits, capped by fine air-fall tuff. Facies associations: submarine volcaniclastics commonly associated with pillow lavas,

cherts and other pelagic sediments.

Page 53: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

44 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

บทท่ี 3 การสํารวจธรณีวิทยาควอเทอร�นารี

3.1 วัตถุประสงค�

1. เพ่ือให(ผู(ท่ีต(องการสํารวจธรณีวิทยาควอเทอร7นารีหรือตะกอนร�วน ได(ทําการเจาะสํารวจครบถ(วนสมบูรณ7ทุกข้ันตอน 2. เพ่ือให(ได(ข(อมูลเพียงพอและเหมาะสมในการจัดทําแผนท่ีและรายงานธรณีวิทยาควอเทอร7นารีตามหลักวิชาการธรณีวิทยา

3.2 ขอบเขตของงาน

การสํารวจธรณีวิทยาควอเทอร7นารีเป�นการสํารวจตะกอนร�วนท่ีสะสมตัวซ(อนทับกัน ตะกอนท่ีมาสะสมตัวก�อนจะถูกป;ดทับด(วยตะกอนท่ีมาท่ีหลัง ดังนั้นเม่ือต(องการข(อมูลในระดับลึกต(องอาศัยการเจาะสํารวจด(วยเครื่องมือเจาะชนิดต�างๆ เพ่ือให(มีข(อมูลเพียงพอท่ีจะทําแผนท่ีธรณีวิทยาควอเทอร7นารี การแสดงชั้นตะกอนท่ีไม�โผล�ข้ึนมาจําเป�นต(องทําแผนท่ีแบบตะกอนซ(อนทับ (profile type map) เพ่ือแสดงลําดับชั้นตะกอนได(ครบถ(วน แต�มีข(อด(อยท่ีทําให(แผนท่ีธรณีวิทยาซับซ(อนยากต�อการทําความเข(าใจ

3.3 ข้ันตอนการปฏิบัติงาน

3.3.1 การเตรียมการออกสํารวจ

3.3.1.1 รวบรวมข(อมูลพ้ืนฐานและผลงานเดิมท่ีเคยมีการสํารวจแล(วท้ังในพ้ืนท่ีและบริเวณข(างเคียง ใช(ประกอบการวางแผนการสํารวจ

3.3.1.2 การวางแผนการเจาะสํารวจ แผนการเจาะสํารวจมี 2 แบบ คือแบบกริด (Grid) กระจายท่ัวพ้ืนท่ี ระยะห�างของหลุมเจาะและจํานวนหลุมเจาะข้ึนอยู�กับเวลาและงบประมาณ และแบบแนวตัดขวาง (section) โดยกําหนดแนวและจํานวนหลุมเจาะตัดผ�านแอ�งสะสมตัวและทุกภูมิสัณฐานควรมีหลุมเจาะอย�างน(อย 1 หลุมเจาะ ท้ังนี้ข้ึนอยู�กับเวลาและงบประมาณเช�นกัน

3.3.1.3 การเตรียมเครื่องมือสํารวจภาคสนาม อุปกรณ7และเครื่องมือสําหรับการสํารวจธรณีวิทยาควอเทอร7นารี ประกอบด(วย เครื่องเจาะหรือชุดเจาะแบบมือหมุน สมุดเทียบสี (color chart) อุปกรณ7สําหรับเทียบขนาดเม็ดทราย(grain size comparator) นอกจากนี้จะเป�นอุปกรณ7พ้ืนฐานสําหรับนักธรณีวิทยา เช�น อุปกรณ7บอกพิกัดตําแหน�งดาวเทียม (GPS) แว�นขยาย กล(องถ�ายรูป แผนท่ี ค(อน เข็มทิศ สมุดสนาม สารละลายทางเคมี เป�นต(น

3.3.2 การสํารวจและทําแผนที่ธรณีวิทยาในสนาม

3.3.2.1 การสํารวจเบื้องต(น เม่ือถึงพ้ืนท่ีปฏิบัติงานแล(ว จะทําการสํารวจเบื้องต(นเพ่ือให(ทราบท้ังเส(นทาง ภูมิประเทศ การคมนาคม สําหรับเปรียบเทียบกับแผนงานการสํารวจท่ีได(เตรียมไว( ซ่ึงอาจมีการปรับแผนงานตามความเหมาะสม

Page 54: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

45 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3.3.2.2 การสํารวจเก็บรายละเอียด ดําเนินการสํารวจตามแผนท่ีวางไว( เพ่ือรวบรวมและบันทึกข(อมูลทางธรณีวิทยาด(านต�างๆ เช�น การจําแนกชนิดของตะกอน การเรียงลําดับชั้นตะกอน การกําหนดอายุของตะกอน สภาพแวดล(อมของการสะสมตัว นอกจากนี้ยังต(องบันทึกสภาพภูมิประเทศท่ีทําการเจาะ ระดับน้ําใต(ดิน พืชพันธุ7ต�างๆในบริเวณใกล(เคียง

สําหรับการจําแนกตะกอนใช(คู�มือการบรรยายตะกอนร�วน (Guideline for description of soft sediment) ของ G.A.M. Kruse เป�นหลัก

3.3.2.3 การเก็บตัวอย�าง ถ(าจําเป�นต(องเก็บตัวอย�างเป�นหลักฐานหรือต(องได(รับการศึกษาอย�างละเอียดโดยงานในห(องปฏิบัติการทางฟ;สิกส7 ทางฟ;สิกส7เชิงกล ทางเคมี และทางโบราณชีววิทยา จะทําการเก็บตัวอย�างพร(อมเขียนหมายเลขและบันทึก เพ่ือส�งไปดําเนินการต�อไป

3.3.2.4 การถ�ายทอดข(อมูลสนามลงแผนท่ีธรณีวิทยาต(นร�าง เพ่ือสิ้นสุดระยะเวลาสํารวจหรือเม่ือเก็บข(อมูลภาคสนามเพียงพอแล(ว นักธรณีวิทยาผู(ทําการสํารวจจะทําการบันทึกข(อมูลธรณีวิทยาเก่ียวกับชั้นตะกอนลงบนแผนท่ีภูมิประเทศเพ่ือเป�นข(อมูลในการแบ�งหน�วยตะกอนต�างๆหรือมีการซ(อนทับกันของตะกอนก่ีชั้น จัดทําเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาควอเทอร7นารีต(นร�าง และเริ่มเขียนรายงานการสํารวจเบื้องต(น

3.3.2.5 การเทียบสัมพันธ7และตรวจสอบความถูกต(อง เม่ือได(จัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาต(นร�างแล(วอาจพบว�ามีข(อมูลไม�ครบถ(วนสมบูรณ7หรือความสัมพันธ7ระหว�างหน�วยตะกอนไม�ชัดเจน จึงต(องมีการออกสํารวจ ตรวจสอบความถูกต(องของข(อมูล เก็บข(อมูลภาคสนามเพ่ิมเติมในส�วนท่ีขาดหรือไม�ชัดเจน โดยการเจาะสํารวจเพ่ิมในบริเวณท่ีสงสัยเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของแผนท่ีและรายงานการสํารวจธรณีวิทยาของพ้ืนท่ีนั้นต�อไป

3.3.3 การทําแผนที่ธรณีวิทยาควอเทอร�นารีต)นฉบับ

3.3.3.1 เม่ือหน�วยสํารวจทําการประมวลผลและแปลความหมายข(อมูลแล(วจะทําการถ�ายทอดข(อมูลท่ีตีความท้ังทางด(านชนิดตะกอน องค7ประกอบสภาพแวดล(อมของการสะสมตัวลงบนแผนท่ีภูมิประเทศ แยกขอบเขตหน�วยตะกอน กําหนดอายุ สัญลักษณ7 ภาพตัดขวาง คําอธิบาย การเทียบเคียงหน�วยตะกอน รวมจัดทําเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาควอเทอร7นารีร�างต(นฉบับ ซ่ึงจะเป�นความถูกต(องของข(อมูลยังไม�ได(เน(นรูปแบบและความสวยงามมากนัก

3.3.3.2 ส�งแผนท่ีร�างต(นฉบับท่ีได(ดําเนินการแล(วเสร็จไปให( ส�วนแผนท่ีธรณีวิทยาหรือส�วนท่ีเก่ียวข(องดําเนินการเข(ารูปแบบ จัดทําข้ึนเป�นแผนท่ีธรณีวิทยาควอเทอร7นารีต(นฉบับ ซ่ึงจะมีการตรวจสอบและแก(ไขโดยผู(ทําการสํารวจ เพ่ือให(แผนท่ีถูกต(องและพร(อมส�งให(คณะกรรมการพิจารณา

3.3.4. การบันทึกและนําเข)าข)อมูล

ข(อมูลหลุมเจาะจะถูกบันทึกลงใน data sheet และนําเข(าเก็บในระบบฐานข(อมูล ตามคู�มือบันทึกหลุมเจาะระดับต้ืนและคู�มือการเข(าข(อมูลหลุมเจาะระดับต้ืน

Page 55: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

46

คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

Page 56: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

47 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณ

ีวิทยา

Page 57: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

48 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

Page 58: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

49 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

Page 59: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

50 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

Page 60: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

51 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

คําอธิบายและความหมาย BOREHOLE

Drill ID รหัสประจําหลุมเจาะ (ข(อมูลจําเป�นสําหรับโปรแกรมนําเข(าข(อมูล) Borehole ID รหัสประจําหลุมเจาะระดับต้ืน Drill date วันท่ีทําการเจาะ Project ชื่อโครงการ Place สถานท่ี Drill master นักธรณีวิทยาผู(ควบคุมการเจาะ Hole depth ความลึกหลุมเป�นเมตร (ข(อมูลจําเป�น) Water table ระดับน้ําใต(ดินเป�นเมตร

Borehole Structure Information

Layer ID หมายเลขชั้น Depth from/Depth to ความลึกจาก (เมตร)/ความลึกถึง (เมตร) Equipment ชนิดของหัวเจาะ Major component/Minor component ส�วนประกอบหลัก/ส�วนประกอบรอง Grain sizeclass ขนาดเม็ดตะกอน Sorting การคัดขนาด Roundness ความมน Consist ความเหนียว Color สีของตะกอน (รหัสและชื่อสี) Mineralogical composition หินหรือแร�ท่ีเป�นส�วนประกอบของตะกอนนั้น Mottle content/Mottle color ปริมาณจุดประ/สีจุดประ (รหัสและชื่อสี) Concrete/ Concrete content ชนิดและลักษณะของเม็ด/ปริมาณเม็ด Plant/ Plant content ลักษณะพืช/ปริมาณพืช Shell/ Shell content ลักษณะเปลือกหอย/ปริมาณเปลือกหอย Lime ปริมาณปูนท่ีปนในตะกอน (ไม�ใช�เม็ดปูน มองไม�

เห็นต(องใช(กรดจําแนก) Remark หมายเหตุ Boundary ขอบเขต

File reference ไฟล7อ(างอิง Map sheet no หมายเลขระวาง Coordinate ระบบพิกัด เช�น Indian1975 หรือ WGS84 (ข(อมูลจําเป�น) Zone 47 หรือ 48 (ข(อมูลจําเป�น) Easting พิกัด UTM 6-7 หลัก (ข(อมูลจําเป�น) Northing พิกัด UTM 6-7 หลัก (ข(อมูลจําเป�น) Remark หมายเหตุ

Page 61: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

52 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

บทท่ี 4 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณหินอัคนี

หินอัคนี (Igneous rocks) แบ�งออกได(เป�น 2 กลุ�ม คือหินอัคนีระดับลึก (plutonic rocks) และ หินภูเขาไฟ (volcanic rocks) ส�วนพวกหินอัคนีระดับต้ืน (hypabyssal rocks) ซ่ึงแข็งตัวในระดับต้ืนนั้น ส�วนใหญ�มีลักษณะทางโครงสร(าง (structure) และวิทยาแร� (mineralogy) ใกล(เคียงและมักจะพบอยู�ในบริเวณเดียวกับหินภูเขาไฟจึงจัดให(อยู�ในกลุ�มเดียวกัน

4.1 การสํารวจธรณีวิทยาบริเวณหินอัคนีระดบัลึก

4.1.1 ข)อสังเกตทั่วไป (General observation)

การสํารวจธรณีวิทยาบริเวณหินอัคนีระดับลึกจะบันทึกข(อมูลต�างๆ ดังนี้ - Rock variant, based on composition or texture - Various kinds of contact such as external contact (contact between pluton

and country rock) and internal contact (contact between units within pluton) - Various kinds of planar or linear fabric and structure, especially those related

to inclusions - Swarms of parallel dikes, veins, or fractures - Distribution of various kinds of altered rock

4.1.2 ลักษณะการเกิด (Mode of occurrences)

หินแกรนิต (รวมถึงหินแกรโนโดโอไรต7 ไดโอไรต7 และอ่ืนๆ) มักจะเกิดเป�นพลูตอน (pluton) ซ่ึงมีรูปร�างโดยท่ัวไปแบบ circular, oval, lenticular or some variation of this theme. พลูตอนท่ีเกิดก�อนอาจจะถูกดันแทรกด(วยพลูตอนท่ีเกิดข้ึนภายหลัง จึงทําให(พลูตอนท่ีมีอายุแก�กว�ามีรูปร�างเว(าๆแหว�งๆ ในขณะท่ีพลูตอนท่ีมีอายุอ�อนจะมีรูปร�างสมบูรณ7ท่ีสุด ชนิดของพลูตอนแบ�งออกได(ด(งนี้

4.1.2.1 Simple pluton คือพลูตอนท่ีมีหินชนิดเดียวสมํ่าเสมอ (homogeneous) คือมีลักษณะของหิน (lithology) และเนื้อ (texture) เหมือนกันตลอดหรือแตกต�างกันเล็กน(อย simple pluton จะมีขนาดใหญ�สุดไม�เกิน 2x25 ตารางกิโลเมตร โดยท่ัวไปแล(วจะมีขนาด 15x15 ตารางกิโลเมตรหรือเล็กกว�า 4

4.1.2.2 พลูตอนเชิงซ)อน (Complex pluton) คือ พลูตอนท่ีมีหินหลายชนิดเกิดอยู�ด(วยกัน ท่ีพบมากคือ zoned pluton ซ่ึงมีรูปร�างเป�น concentric shell โดยหินท่ีอยู�รอบนอกสุดค�อนข(างจะเป�นหินชนิดเบส (basic) ในขณะท่ีหินท่ีอยู�ข(างในและถัดๆไปจะค�อนข(างเป�นหินชนิดกรด (acid) และมีอายุอ�อนกว�า (เล็กน(อย) รอยต�อระหว�างหินต�างชนิดกันนี้จะเป�นแบบ gradational contact หรือ sharp contact ในบางกรณีหินท่ีมีอายุอ�อนตรงแกนกลางนี้จะดันแทรกเข(าไปในหินชนิดเบสมากกว�าซ่ึงอยู�รอบนอก พลูตอนชนิดนี้เรียกว�า “multi-pluton complex” complex pluton มีได(หลายขนาด อาจจะมีขนาดเล็กเช�นเดียวกับ simple pluton หรืออาจมีขนาดใหญ�ถึง 100x25 ตารางกิโลเมตร ส�วนพวก multi-pluton complex ก็มักจะมีขนาดใหญ�ข้ึนไปอีกจนถึง 100-150x30-50 ตารางกิโลเมตร หินชนิดต�างๆท่ีเกิดอยู�ใน complex pluton หรือ multi-pluton complex นี้ จะต(องเป�นหินท่ีกําเนิดมาจากแหล�งเดียวกัน (co-magmatic)

Page 62: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

53 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

4.1.2.3 หินอัคนีมวลไพศาล (Batholith) คือพลูตอนท่ีประกอบด(วยหินหลายชนิดเกิดร�วมกันแผ�กระจายกว(างขวางมาก (100-150x30-50 ตารางกิโลเมตร) โดยท่ีหินชนิดต�างๆเหล�านี้มาจากแหล�งกําเนิดท่ีแตกต�างกัน และมักจะมีอายุท่ีแตกต�างกันด(วย

4.1.2.4 พนังและแผ*น (Dikes and sheets) ท่ีเกิดแทรกเข(ามาในหินแกรนิต dikes จะมีมุมเอียงต้ังแต� 450 ถึง 900 ส�วนใหญ�จะเป�นหิน andesitic หรือ lamprophyric ส�วน sheets จะมีมุมเอียงต้ังแต� 00 ถึง 450 และมักจะเป�นหินแกรนิต

4.1.3 เนื้อหินและโครงสร)างในหินอัคนีระดับลึก (Textures and structures in plutonic rocks)

4.1.3.1 Equigranular texture 1.3.1.1 Equigranular coarse grained ( > 5 mm.) 1.3.1.2 Equigranular medium grained (1-5 mm.) 1.3.1.3 Equigranular fine grained (< 1 mm.) 4.1.3.2 Porphyritic texture คือหินท่ีมี phenocryst และ phaneritic groundmass 4.1.3.3 Porphyries คือหินท่ีมี phenocryst และ aphanetic groundmass โดยมีปริมาณ

phenocryst และ megascopic crystal อ่ืนๆรวมกันมากกว�า 50 เปอร7เซ็นต7 (Stringham, 1966)

4.1.3.4 Foliation คือระนาบของการเรียงตัวของแร�ไมกา และแร�เฟลด7สปาร7 ในบางบริเวณก็มีหินแปลกปลอม (xenolith) เรียงตัวด(วย ถ(าหากพลูตอนมี foliation รุนแรงตามขอบของพลูตอนและมีหินแปลกปลอมลักษณะแบน โดยท่ีแกนกลางพลูตอนนั้นไม�มีการเรียงตัวและหินแปลกปลอมมีลักษณะกลม ก็จะบ�งชี้ว�าพลูตอนนั้นเกิดแบบ diapir นอกจากนี้ก็มีริ้วขนานท่ีเกิดจากการเปลี่ยนลักษณะของหินแกรนิต

4.1.4 การจําแนกหินอัคนีระดับลึก (Classification of plutonic rocks)

ควรจะยึดหลักการจําแนกหินของ IUGS ดังแสดงไว(ในรูปท่ี 4.1 ท่ีสําคัญคือ การจําแนกหินแกรนิตตามรูปท่ี 4.1 นั้น จําแนกโดยอาศัยอัตราส�วนปริมาณของแร�ควอตซ7 แอลคาไลเฟลด7สปาร7และแพลจิโอเคลส ซ่ึงได(จากการทํา modal analysis อย�างไรก็ตามในภาคสนามก็อาจจะเรียกชื่อกว(างๆว�า หินแกรนิต หินแกรโน ไดโอไรต7 ได(เช�นกันโดยการประมาณค�าของแอลคาไลเฟลด7สปาร7 และแพลจิโอเคลส จาก hand specimen

Page 63: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

54 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 4

4.1.5 (Collecting sheet for granitic rocks

การสํารวจธรณีวิทยาในพ้ืนท่ีท่ีมีหินแบ�งหินแกรนิตออกเป�นชนิดต�างๆกัน เม่ือพบให(ละเอียดท่ีสุดโดยยืดตาม collecting sheet เม่ือบรรยายได(ละเอียดก็ต้ังชื่อหินแม�ละมา (Mae Lama granodiorite) เป�นต(นหาอายุหินนั้น ให(เลือกเก็บหินท่ีสดมากๆและควรจะเก็บเป�นก(อนใหญ�ท่ีมีน้ําหนักมากกว�า(20x20x20 cm3)

4.1 การจําแนกหินอัคนีระดับลึก ตาม USGS

Collecting sheet for granitic rocks)

การสํารวจธรณีวิทยาในพ้ืนท่ีท่ีมีหินแกรนิตนั้นให(พยายามเดินสํารวจผ�านพลูตอนหลายๆแนวเม่ือพบหินโผล�ท่ีชัดเจนเป�นครั้งแรกจะต(องบรรยายลักษณะของหินแกรนิต

collecting sheet ซ่ึงรวบรวมโดย Cobbing (1983) ดังแสดงไว(ในรูปเม่ือบรรยายได(ละเอียดก็ต้ังชื่อหิน เช�น หินแกรนิตทุ�งโพธ7 (Thung Pho granite),

เป�นต(น สําหรับการเก็บตัวอย�างหินเพ่ือทําการวิเคราะห7ทางเคมีและให(เลือกเก็บหินท่ีสดมากๆและควรจะเก็บเป�นก(อนใหญ�ท่ีมีน้ําหนักมากกว�า

หลายๆแนว เพ่ือจะได(ท่ีชัดเจนเป�นครั้งแรกจะต(องบรรยายลักษณะของหินแกรนิต

ดังแสดงไว(ในรูป 4.2 หินแกรโนไดโอไรต7

อทําการวิเคราะห7ทางเคมีและวัดให(เลือกเก็บหินท่ีสดมากๆและควรจะเก็บเป�นก(อนใหญ�ท่ีมีน้ําหนักมากกว�า 4 กิโลกรัม

Page 64: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

55 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 4.2 Collecting sheet for granitic rocks

4.2 การสํารวจธรณีวิทยาบริเวณหินภูเขาไฟ

การสํารวจธรณีวิทยาบริเวณหินภูเขาไฟนั้นมีข(อมูลหลายอย�างท่ีควรจะให(ความสนใจในขณะท่ีทํางานอยู�ในภาคสนาม เพราะจะได(นําไปวิเคราะห7ร�วมกับข(อมูลท่ีได(ในห(องปฏิบัติการ ซ่ึงจะทําให(ผลงานการสํารวจธรณีวิทยามีความสมบูรณ7มากข้ึน ข(อมูลดังกล�าวมีดังนี้

4.2.1 ลักษณะการสัมผัสกับหินข)างเคียง

ควรจะให(ความสนใจในบริเวณรอยสัมผัสว�ามีลักษณะเป�นแบบลาวาหลาก (lava flows) ป;ดทับอยู�หรือว�าเกิดจากการสะสมตัวของพวกหินตะกอนภูเขาไฟ (pyroclastic rocks) หรือว�าเกิดในรูปของพนัง (dikes) หรือพนังแทรกชั้น (sills) ท่ีตัดแทรกเข(าไปในหินข(างเคียง และจะต(องสังเกตลักษณะการเปลี่ยนแปลงของแร�บริเวณท่ีมีการแปรสภาพแบบสัมผัส และความหนาของบริเวณท่ีเกิดการแปรสภาพแบบสัมผัสไว(ด(วย และถ(าสามารถติดตามแนวของรอยสัมผัสก็จะเป�นประโยชน7ในการศึกษารูปร�างของหินภูเขาไฟนั้น

Page 65: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

56 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

4.2.2 ลักษณะการเกิด (Mode of occurrences)

โดยท่ัวๆไปหินภูเขาไฟมักจะเกิดจากลาวาหลาก (lava flow) และชิ้นเศษหินภูเขาไฟ pyroclastic deposits ซ่ึงจะสังเกตลักษณะได( เช�น

4.2.2.1 ลักษณะของลาวาหลาก (lava flow)

ถ(าเป�นพวก highly viscous lava เช�น ไรโอไลต7 (rhyolite) มักจะไหลไปไม�ไกลจาก vent และเป�นชั้นหนามีรูปร�างเป�น dome ส�วนพวก basaltic lava ท่ีเป�นพวก low viscous lava มักจะไหลเป�นระยะทางไกลๆ โดยมีลักษณะภูมิประเทศเดิมเป�นตัวควบคุมรูปแบบและทิศทางของการไหล การไหลของพวก basaltic lava มีแบบต�าง ๆ ดังนี้ - pahoehoe มีผิวด(านบนเป�นแบบ smooth rolling หรือ corrugated (ผิวเรียบ) - aa มีลักษณะเป�นแบบ rough, spiney or fragmental (ผิวขรุขระ) - blocky lava มีลักษณะท่ีประกอบด(วย angular blocks with smooth faced ถ(าเป�น blocky lava ท่ีหนาๆจะเป�นพวก loose fragments - pillow lava เกิดจากการไหลของลาวาลงสู�แอ�งน้ําทําให(มีลักษณะเป�นก(อนวงรีสะสมตัวอยู� และมักจะเห็น vesicular แผ�รัศมีกระจายอยู�โดยรอบของก(อนวงรี ตามผิวของ pillow lava แต�ละก(อนจะเป�นพวกแก(ว (glass)

4.2.2.2 ลักษณะของช้ินเศษหินภูเขาไฟ (Pyroclastic deposits)

การจําแนกพวก pyroclastic ejecta (ซ่ึงเรียกว�า tephra) นั้น จําเป�นต(องใช(ขนาดและรูปร�างของชิ้นเศษหินภูเขาไฟเป�นเครื่องชี้บ�งดังตารางต�อไปนี้

Size (mm.) Unconsolidated Consolidated < 1/16 Dust Dust tuff 1/16-2 Ash Tuff 2-64 Lapilli Lapilli tuff > 64 Block

(angular)

Pyroclastic-breccia

> 64 Bomb (rounded)

Agglomerate

ควรจะตรวจสอบชิ้นเศษหินภูเขาไฟซ่ึงแบ�งออกได(เป�น 3 พวก คือ glass, crystals และ rock fragments เพ่ือจะได(นําไปใช(ในการเรียกชื่อหินตัวอย�าง เช�น

vitric tuff ส�วนประกอบส�วนใหญ�เป�นพวก glass และ pumice lump lithic tuff ส�วนประกอบส�วนใหญ�เป�น rock fragment crystal tuff ส�วนประกอบส�วนใหญ�เป�น crystal crystal-lithic tuff ส�วนประกอบของ crystal มากกว�า rock fragment

เม่ือทราบส�วนประกอบทางเคมีและแร�ประกอบหินแล(วก็สามารถจะเรียกชื่อได( เช�น “crystal-vitric rhyolitic tuff” เป�นต(น

Page 66: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

57 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

4.2.3 เนื้อหินและโครงสร)างขนาดเล็ก (Texture and minor structures)

ลักษณะของเนื้อหินภูเขาไฟท่ีพบท่ัวๆ ไปคือ

4.2.3.1 Porphyritic texture คือลักษณะของแร�ท่ีมีขนาดใหญ�(phenocryst) ซ่ึงอาจจะเป�นแร�ชนิดเดียวหรือหลายชนิดฝJงตัวอยู�ในกลุ�มแร�ท่ีมีขนาดเล็ก(groundmass) ในลักษณะเช�นนี้ควรจะอธิบาย ชนิด ขนาด รูปร�าง และปริมาณของแร� phenocryst ไว( เพราะการท่ีขนาดของแร� phenocryst แตกต�างจากแร�ใน groundmass นั้นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล(อมของหินหนืด (magma) ในช�วงระยะเวลาท่ีแข็งตัว เนื่องจากแร� phenocryst ในหินภูเขาไฟจะเกิดท่ีอุณหภูมิสูงในช�วงแรกๆของ magmatic crystallization ซ่ึงเย็นตัวช(าๆภายในเปลือกโลกท่ีอยู�ลึก มาเย็นตัวอย�างรวดเร็วบนผิวโลกจนเกิดกลุ�มแร�ท่ีเป�น groundmass ข้ึน

4.2.3.2 glass มักจะพบในหินภูเขาไฟอยู�ท่ัวไป ถ(าเป�นหินท่ีมีส�วนประกอบเป�นพวกหินชนิดเบส (basic) จะพบแก(ว (glass) อยู�บ(างในเนื้อหิน ในขณะท่ีหินพวก acid lava จะพบแก(วเป�นส�วนใหญ� เช�น obsidian และ pitchstone เนื่องจากแก(ว (glass) ท่ีอุณหภูมิปกติเป�นพวก metastable และจะ crystallize (devitrify) ไปได(ง�ายเม่ือมีอุณหภูมิสูงข้ึน ดังนั้นจึงมักจะไม�ค�อยพบ glassy rock ในหินยุคเก�าพวกมหายุค Paleozoic แต�จะพบในหินยุคใหม� เช�น ยุค Cenozoic

4.2.3.3 Vesicular มีลักษณะเป�นโพรง อาจเป�นรูปวงกลมหรือเป�นท�อยาว เกิดเนื่องจากพวก volatile phase หนีออกไป ถ(ามีแร�มาตกผลึกใหม�ในโพรงนี้เรียกว�า amygdaloidal

4.2.3.4 ลักษณะท่ีเกิดการเรียงตัวของแร� เนื่องมาจากลาวาหลาก

4.2.3.5 Ophitic, diabasic or doleritic เป�นลักษณะของแร�แพลจิโอเคลสท่ีตกผลึก มีทิศทางไม�แน�นอนและถูกแร�ออไจต7ตกผลึกหุ(มอยู� ลักษณะเช�นนี้จะพบในหินพวก basic sill และ basaltic lava ท่ีหนามากๆ

4.2.4 การจําแนกหินภูเขาไฟ (Classification of volcanic rocks)

เนื่องจากหินภูเขาไฟประกอบด(วยแร�ท่ีมีขนาดเล็กบางครั้งไม�สามารถมองได(ด(วยตาเปล�า การจําแนกชนิดของหินจําเป�นท่ีจะต(องอาศัยข(อมูลจากกล(องจุลทรรศน7 และการวิเคราะห7ทางเคมีเข(ามาช�วย การจําแนกชนิดของหินภูเขาไฟในภาคสนามอาจทําได(อย�างกว(างๆ จากรูปท่ี 4.3

4.2.5 การเก็บตัวอย*างหินภูเขาไฟ

เนื่องจากหินภูเขาไฟมีขนาดผลึกเล็กจึงต(องศึกษาท้ังจากกล(องจุลทรรศน7และการวิเคราะห7ทางเคมี ในการเก็บตัวอย�างจําเป�นจะต(องเลือกตัวอย�างท่ีสดมากท่ีสุด โดยเฉพาะตัวอย�างท่ีจะนํามาวิเคราะห7ทางเคมีจะต(องแยกเอาผิวหน(าของตัวอย�างท่ีผุและสกปรกออกให(หมด คัดเอาก(อนขนาด 1x2 นิ้ว ประมาณ 1-2 กิโลกรัม สําหรับหินท่ีมีโพรง (cavities) ซ่ึงมักจะมีแร�ใหม�มาตกผลึกร�วมอยู�ด(วย จะต(องแยกเอาส�วนท่ีเป�นโพรงออกไป ข(อสําคัญการเก็บตัวอย�างต(องเก็บมาจากหินโผล�ไม�ใช�มาจากหินพลัด(float) เพราะต(องนํามาศึกษาภายใต(กล(องจุลทรรศน7 เพ่ือทราบการเปลี่ยนแปลงในส�วนประกอบของหิน และลักษณะเนื้อหินต�างๆท่ีไม�สามารถมองเห็นได(ด(วยตาเปล�า อันจะเป�นประโยชน7ในการสรุปการกําเนิดและรูปร�างของหินภูเขาไฟในบริเวณนั้นต�อไป เม่ือได(ศึกษาชนิดของหินภูเขาไฟโดยอาศัยข(อมูลจากภาคสนามจากกล(องจุลทรรศน7และการวิเคราะห7ทางเคมีแล(ว ถ(าหินภูเขาไฟโผล�ให(เห็นเป�นปริมาณกว(างพอสมควรและสามารถลงขอบเขตในแผนท่ีได( อาจต้ังชื่อ

Page 67: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

58 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

หน�วยหิน เช�น Mae Tha basalt, Khao Khaew vNomenclature of Thailand

รูปท่ี 4.3 การจําแนกหินภูเขาไฟ

Mae Tha basalt, Khao Khaew volcanics เป�นต(น โดยให(ยึดถือตาม

การจําแนกหินภูเขาไฟ (S.E. Claboug, 1976)

โดยให(ยึดถือตาม Stratigraphic

Page 68: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

59 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

บทท่ี 5 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณหินแปร

ในอดีตการสํารวจธรณีวิทยาในพ้ืนท่ีท่ีเป�นหินแปร พิจารณาเพียงความรุนแรงของการแปรสภาพโดยเม่ือพบหินแปรเกรดสูง เช�น หินไนส7 หินชีสต7 จะกําหนดว�ามีอายุพรีแคมเบรียน หากพบหินแปรเกรดตํ่าไม�ว�าจะเป�นหินแปรบริเวณไพศาลหรือว�าหินแปรสัมผัส มักกําหนดให(มีอายุไซลูเรียน-ดีโวเนียน ผลงานวิจัยหลายฉบับรายงานว�าหินแปรในประเทศไทยไม�ควรมีอายุพรีแคมเบรียน เนื่องจากลักษณะของการวิวัฒนาการธรณีแปรสัณฐานท่ีมีความรุนแรงเม่ือปลายยุคไทรแอสซิก เพ่ือให(การสํารวจจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยามีความถูกต(องน�าเชื่อถือมากข้ึนจึงสมควรทําการศึกษาหินแปรให(ละเอียด

หินแปรในประเทศไทยท่ีพบแล(วมีอยู� 3 จําพวกด(วยกัน คือหินแปรสภาพบริเวณไพศาล (regional metamorphic rocks) หินแปรสัมผัส (contact metamorphic rocks) และหินแปรบดอัด (cataclastic metamorphic rocks)

5.1 หินแปรสภาพบริเวณไพศาล (Regional metamorphic rocks)

5.1.1 Regional dynamothermal metamorphic rocks

ลักษณะสําคัญของหินแปร regional dynamothermal ได(แก� - เกิดเป�นบริเวณกว(างและยาวครอบคลุมพ้ืนท่ีมากกว�า 100 ตารางกิโลเมตร - เกิดภายใต(ความดันท่ีสูงกว�าในหินแปรสัมผัส หินจึงแสดงการเรียงตัวของแร�ตามแนวแตก (cleavage) หรือแสดงการเรียงตัวแบบหินชีสต7 (schistosity) หรือแสดงการเรียงตัวแบบหินไนส7 (gneissosity) - metamorphic planar structure ท่ีเกิดเพราะความดันอาจวางตัวขนานกับ bedding ในหินเดิมได( แต�ส�วนใหญ�จะทํามุมกันอยู� - ในหินแปรสภาพบริเวณไพศาลมีความกว(างของแต�ละ metamorphic zone มากกว�าในหินแปรสัมผัสคืออาจพบ sequence ต้ังแต�หินท่ีไม�ถูก metamorphose เลยไปหาหินท่ีแสดงแนวแตกการเรียงตัวแบบหินชีสต7 และการเรียงตัวแบบหินไนส7 หรือมีหินที่เปลี่ยนจากการแปรสภาพหินชนวน (slate) ไปหาฟ;ลไลต7 (phyllite), ชีสต7 (schist), ไนส7 (gneiss), มิกมาไทต7 (migmatite) และ แกรนิต (granite) - metamorphic differentiation ท่ีเกิดเป�น quartzo feldspathic layers สลับกับ mafic-rich layers โดยแร�เรียงตัวขนานไปกับ gneissosity และมีความหนาเป�นเซนติเมตรถึงเป�นเมตร เป�นลักษณะเฉพาะของการแปรสภาพบริเวณไพศาลเกรดสูง - หินมิกมาไทต7 ซ่ึงพบในส�วนของหินแปรบริเวณไพศาลเกรดสูง แสดงถึงการเริ่มเปลี่ยนแปลงหินในส�วนนี้เป�นหินแกรนิติก (granitic rocks) โดยกระบวนการของ partial melting (Winkler, 1967 และ Winkler, 1974) - ในหินแปรบริเวณไพศาลอาจถูก regional metamorphism ได(มากกว�า 1 ครั้ง หรืออาจมี contact metamorphism เกิดซํ้าก็ได( - ในการแปรสภาพแบบไพศาล 1 ครั้ง อาจมีการเปลี่ยนลักษณะ (deformation) และการเกิดผลึกใหม� (recrystallization) ได(มากกว�า 1 ครั้ง โดยเป�นกระบวนการต�อเนื่องท่ีเกิดข้ึนใน waning stage เช�น การเกิดของ crenulation cleavage ตัดกับ schistosity และมีการเกิดผลึกใหม� ในลักษณะนี้อาจเป�นเพราะ regional metamorphism ครั้งหลังท่ีรุนแรงน(อยกว�าก็ได( อนึ่ง ถ(ามีแต� recrystallization เช�นเกิด porphyroblast

Page 69: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

60 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ท่ี include เอา texture ต�างๆเข(าไว(โดยไม�ถูก disturb เลย porphyroblast นั้นเกิดจากผลของ contact metamorphism - หินแปรบริเวณไพศาล ท่ีแสดง schistosity ขนานกับ axial plane surface ของ fold ท่ีเกิดจาก bedding หรือ layer ใดๆก็ตาม เป�นการแสดงว�า schistosity และ folding นั้นเกิดพร(อมกับ metamorphism - อาจพบซากดึกดําบรรพ7ได( โดยเฉพาะกับหินแปรเกรดตํ่า - การแบ�งเกรดของการแปรสภาพสามารถทําได(จากการศึกษา mineral assemblages ในส�วนต�างๆของ metamorphic zones (แบ�งตาม Winkler, 1967)

5.1.2 ข)อเสนอแนะการสํารวจและทําแผนที่ธรณีวิทยาบริเวณหินแปรบริเวณไพศาล

1. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของวิทยาหินหรือเนื้อหิน (lithology) เรียงลําดับชั้นจากหินท่ีไม�มีการแปรสภาพ (non metamorphic rocks) ไปหาหินท่ีมีการแปรสภาพชั้นสูง (higher grade metamorphic rocks) พร(อมท้ังหาลักษณะและความสัมพันธ7ท่ีของหินชนิดต�างๆ 2. วัดการวางตัว(attitude)ต�างๆ เช�น beds, cleavages, foliations (schistosity, gneissosity), lineations, axial planes, fold axis และ fault ต�างๆเพ่ือลงในแผนท่ีธรณีวิทยา 3. เก็บตัวอย�างหินเพ่ือนําไปศึกษา mineral assemblages และแบ�งหินแปรออกเป�น facies ต�างๆ ถ(าเป�นไปได(ควรลากเส(นแบ�งแต�ละ facies หรือ subfacies พร(อมท้ังแสดงในแผนท่ีธรณีวิทยาด(วย 4. ศึกษาการแปรสภาพแต�ละครั้ง (episodes) โดยแยกช�วงการเปลี่ยนลักษณะ(deformation) และช�วงการตกผลึกใหม�(recrystallization) ออกจากกัน เปรียบเทียบ deformation styles ในส�วนต�างๆของ sequence

5. แยกการแปรสภาพแบบสัมผัสออกจากการแปรสภาพแบบไพศาล 6. ถ(ามีหินมิกมาไทต7และหินแกรนิตอยู�ในส�วนท่ีเป�นการแปรสภาพเกรดสูง ให(แยกหินแกรนิต ออกและแสดงในแผนท่ี ถ(าเป�นไปได(ลองเก็บตัวอย�างมาพิสูจน7ว�ามีการหลอมละลายบางส�วนของหินแปรให(เป�นหินแกรนิตจริงหรือไม� 7. พยายามหาซากดึกดําบรรพ7 โดยเฉพาะในส�วนท่ีมีการแปรสภาพเกรดตํ่า 8. หาขอบเขตแหล�งหินและแร� ท่ีมีความสําคัญต�อทางเศรษฐกิจ

5.1.3 Regional burial metamorphic rocks หินแปรแบบนี้เกิดเป�นบริเวณกว(างเหมือนหินแปรสภาพบริเวณไพศาล แต�เพราะเหตุท่ีมีลักษณะการเกิดและหินท่ีเกิดอยู�ร�วมกันต�างไปจากพวกอ่ืนๆ คือ เป�นหินแปรท่ีเกิดอยู�ใน subduction zone ของ plate tectonics เท�านั้น จึงแยกออกมาต�างหาก หินแปรแบบนี้มีลักษณะท่ีสําคัญดังนี้ - หินแปรประเภทนี้อาจมีหรือไม�มี metamorphic planar structure (cleavage, schistosity) ก็ได( แต�ส�วนใหญ�จะมีขนาดเม็ดเล็กถึงปานกลาง (fine ถึง medium grained) - ตัวอย�างหินขนาดเล็ก (hand specimen) อาจสังเกตไม�เห็น metamorphic textures และอาจมี relict mineral และ depositional features เหลืออยู� - หินเดิมก�อนถูกการแปรสภาพ ประกอบไปด(วย หินเกรย7แวก, หินดินดาน, หินทราย และ หินกรวดมน นอกจากนั้นยังมีหินเชิร7ต, หินบะซอลต7 และ หินอุลตราเมฟ;ก (serpentinite) - หินส�วนใหญ�เป�นพวกหินท่ีมีโซเดียมสูง เช�น มีแร� blue amphibole, jadeitic pyroxene หินจึงมักมีสีน้ําเงินเข(ม ซ่ึงในส�วน high grade บางทีเรียกกันว�า blue-schist facies

Page 70: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

61 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

- หินจะแสดงเกรดของการแปรสภาพท่ีสูงข้ึน เข(าหา higher stratigraphic level และเข(าหา thrust plane - แร�ดัชนี (Index minerals) เช�น aragonite, jadeitic pyroxene, glaucophane และ crossite แสดงถึง condition ท่ีความกดดันสูงแต�อุณหภูมิตํ่า และ pressure condition ท่ีเกิดข้ึนไม�พอดีกับ stratigraphic depth ของ burial ท่ีคํานวนได( - หินแปรเกรดตํ่า คือ laumontite-prehnite facies (เดิมเรียก zeolite facies) และ pumpellyite-prehnite facies อาจพบ gradation เข(าไปหา green schist facies

5.1.4 ข)อเสนอะแนะการสํารวจและทําแผนที่ธรณีวิทยาบริเวณหินแปร Regional burial metamorphic rocks

1. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ lithology สังเกตลักษณะสําคัญและความสัมพันธ7ท่ีจะช�วยบอกถึง origin ของหินต�างๆใน sequence พร(อมท้ังการเรียงลําดับชั้นหิน

2. ทําแผนท่ีธรณีวิทยาแยกประเภท rock unit แสดงทิศทางการวางตัว (bed) แสดง cleavage, schistosity, fault และ folds ท่ีพบ สังเกต rock texture ท่ีแสดงถึง intense shearing ใน thrust plane พร(อมท้ังหาความสัมพันธ7และแยก rock unit ใน fault zone (ถ(าเป�นไปได() 3. เก็บตัวอย�างเพ่ือศึกษาหา origin ของหินเดิม และศึกษา mineral assemblages เพ่ือการแบ�งเกรดของการแปรสภาพและบอกชนิดของหินแปร 4. หาความสัมพันธ7กับ metamorphic facies อ่ืนๆถ(ามี 5. หา fossils ในหินแปรเกรดตํ่า 6. หาขอบเขตแหล�งหินและแร� ท่ีมีความสําคัญต�อทางเศรษฐกิจ

5.2 หินแปรสัมผัส (Contact metamorphic rocks)

ลักษณะสําคัญของหินแปรสัมผัส ได(แก� - เกิดได(กับหินทุกชนิดเนื่องจากความร(อนของหินอัคนีแทรกซอนจําพวกหินแกรนิต - มักพบอยู�รอบๆหรือใกล(เคียงกับตัวหินอัคนี มีขอบเขต (zone) ท่ีมีความกว(างต้ังฉากกับ contact surface อยู�ในระยะไม�เกิน 1 กิโลเมตร - หินแปรสัมผัสมักจะมีเนื้อเม็ดละเอียดและไม�มีการเรียงตัวของแร� นอกจากเกิดจากหินแปรท่ีมีแนวแตกเรียบ (cleavage) หรือการเรียงตัวของแร�อยู�แล(ว - metamorphic zones สามารถใช(ชนิดแร� หรือ mineral assemblages แบ�งได(โดยแร�ท่ีเกิดอุณหภูมิสูงข้ึน เม่ือเข(าหา igneous contact - อาจพบ fossil และ parent-rock texture ได(ใน low grade facies - ไม�เคยปรากฏมี segregation banding ท่ีเกิดจาก metamorphic differentiation ในหินแปรสัมผัส - อาจมี contact metasomatism ได(โดยเฉพาะส�วนท่ีใกล(รอยต�อกับหินแกรนิต

5.2.1 ข)อเสนอแนะการสํารวจและทําแผนที่ธรณีวิทยาบริเวณหินแปรสัมผัส

1. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงใน lithology จากหินเดิมเข(าไปหาหินแปรสัมผัสท่ีวางตัวอยู�โดยรอบหรือใกล(เคียงกับหินอัคนี หาความสัมพันธ7แต�ละ unit และการเรียงลําดับข้ึน 2. ทําแผนท่ีธรณีวิทยาแสดง contact ระหว�างหินใน aureole กับหินเดิมและกับหินอัคนีพร(อมกับแยก rock unit ท่ีเด�นชัดท่ีพบอยู�ในส�วนต�างๆท้ังใน aureole และในหินเดิมรอบๆ aureole บริเวณ

Page 71: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

62 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ใดท่ีไม�สามารถแบ�งแยกอย�างเด�นชัดระหว�าง contact aureole กับหินเดิมให(ใส� pattern แสดงอาณาบริเวณท่ีอิทธิพลของ contact metamorphism แผ�ไปถึง 3. แสดง attitudes ต�างๆ เช�น beds, cleavages, foliations, lineament, fault, folds ฯลฯ ท่ีพบอยู�ในหิน ใน aureole และรอบๆ aureole 4. เก็บตัวอย�างหินเพ่ือนําไปศึกษา metamorphic zones และเปรียบเทียบแร� และ องค7ประกอบทางเคมี ของหินท่ีอยู�ใน rock unit ท่ีต�างกัน (bed เดียวกัน) แต�อยู�นอกและใน contact aureole โดยเฉพาะในส�วนท่ีไม�มีโครงสร(างใดๆ มารบกวนความต�อเนื่องของ beds 5. หา fossils เพ่ือเปรียบอายุหินท้ังในและนอก aureole 6. หาขอบเขตแหล�งหินและแร� ท่ีมีความสําคัญต�อทางเศรษฐกิจ

5.3 หินแปรบดอัด (Cataclastic metamorphic rocks)

- Williams et al. (1954) ได(ให(คําจํากัดความของหินแปรบดอัดว�าเกิดภายใต(ความร(อนและความดันตํ่า มักจะไม�มีการตกผลึกใหม�ของแร�เกิดข้ึน มีแต�เกิดการเฉือน(shearing) และ การบดอัด(crushing) ทําให(แร�ประกอบหินถูกบดละเอียดมากหรือน(อยข้ึนอยู�กับความรุนแรง - โดยท่ัวๆไป cataclastic deformation มักมี heat จาก friction เกิดข้ึน และในหินท่ีมี chemically active pore fluid อยู�ด(วย จะทําให(เกิดการตกผลึกใหม�ร�วมด(วย - หินแปรบดอัดเกิดได(กับหินทุกชนิดในเขตรอยเลื่อน (มักเป�น thrust fault) - มีชื่อเรียกต�างๆ กันตามความรุนแรงของ process คือ cataclasite, mylonite และ phyllonite ใน cataclasite ยังสามารถบอกชนิดของหินเดิมได( แต�ถ(าถูกบดจนแร�เดิมละเอียดเกือบหมดคืออาจมีเหลือเป�น eyes อยู�ใน intense granulated และ granulated และ laminated matrix จะเรียกว�า mylonite ส�วน phyllonite จะมีลักษณะเหมือน phyllite เพราะมีแร�เกิดใหม� เช�น ไมกา, คลอไรต7 เกิดร�วมด(วย ทําให(ผิวมันวาว แร�เดิมถูกบดจนละเอียดหมด

5.3.1 ข)อเสนอแนะการสํารวจและทําแผนที่ธรณีวิทยาหินแปรบดอัด

1. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ Lithology และการเรียงลําดับชั้น พร(อมกับหาความสัมพันธ7ของ lithology ในหินแปร cataclastic และหินข(างเคียงด(วย 2. ทําแผนท่ีธรณีวิทยา แสดง rock unit ถ(าทําได( เพ่ือแสดงความสัมพันธ7ของ lithology ในหินแปรบดอัดและหินข(างเคียง 3. เก็บตัวอย�างมาศึกษาเปรียบเทียบระหว�างหินแปรบดอัด และหินข(างเคียง 4. หาขอบเขตแหล�งหินและแร�ท่ีมีความสําคัญต�อทางเศรษฐกิจ

Page 72: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

63 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

บทท่ี 6 การสํารวจธรณีวิทยาโครงสร)าง

คู�มือฉบับนี้มีวัตถุประสงค7เพ่ือให(ผู(ปฏิบัติงานสามารถเก็บข(อมูลทางธรณีวิทยาโครงสร(างพ้ืนฐานท่ีจําเป�น ในงานสํารวจทางธรณีวิทยาภาคสนามได( เนื่องจากงานสํารวจธรณีวิทยาภาคสนามถือว�าเป�นหัวใจสําคัญของการสํารวจหาข(อมูลธรณีวิทยาและการจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยามาตราส�วนต�างๆ ข(อมูลสนามนั้นเป�นข(อมูลท่ีสามารถจับต(องได( มองเห็นได( จึงถือเป�นข(อมูลท่ีแท(จริง

การจําแนกธรณีวิทยาโครงสร(างแบ�งออกเป�นหลายแบบ ตามแต�วัตถุประสงค7ของการศึกษาอาจแบ�งเป�น 2 แบบ เช�นแบบระนาบ (planar) และแบบเส(น (linear) หรือแบ�งโครงสร(างตามประเภทของชนิดหิน เช�นโครงสร(างในหินอัคนี (Igneous structure) โครงสร(างในหินแปร (Metamorphic structure) โครงสร(างในหินตะกอน (sedimentary structure) หรืออาจมีการแบ�งเป�นโครงสร(างปฐมภูมิ (primary structure) และ ทุติยภูมิ (secondary structure) หรือโครงสร(างจากการเปลี่ยนรูป (deformation structure) เป�นต(น

โครงสร(างทางธรณีวิทยาท่ีพบเห็นในภาคสนาม ท่ีควรต(องทําการวัด จัดเก็บข(อมูล บันทึกลงในสมุดบันทึกและแสดงลงในแผนท่ีธรณีวิทยา สําหรับแผนท่ีธรณีวิทยา มาตราส�วน 1:50,000 ควรจะแสดงสัญลักษณ7ของโครงสร(างท่ีสําคัญๆ ดังนี้

- attitude ของ bedding plane และ foliation - fold axis (วัดทิศทางของ plunging) - joints, fault (วัด attitude และทิศทางการเคลื่อนของ fault plane) - contacts รวมท้ัง unconformity ต�างๆ

6.1 ช้ันหิน (Bed)

ชั้นหินเป�นโครงสร(างปฐมภูมิ (primary structure) ท่ีเกิดในหินตะกอน ในพจนานุกรมศัพท7ธรณีวิทยาฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2544) ให(นิยามชั้นหินไว(ว�า :

ชั้นหิน: หน�วยเล็กท่ีสุดในการจัดลําดับชั้นหินตามลักษณะหิน ซ่ึงมีลําดับการเรียงจากหน�วยท่ีใหญ�ท่ีสุดหรือหนาสุด ไปยังหน�วยท่ีเล็กท่ีสุดหรือบางท่ีสุด สามารถแบ�งได(อย�างเป�นทางการ ดังนี้คือ กลุ�มหิน (group) หมวดหิน (formation) หมู�หิน (member) และชั้นหิน (bed) ชั้นหินนี้มีความหนาต้ังแต� 1 เซนติเมตร ถึงประมาณ 3 เมตร มีลักษณะเนื้อหินเด�นชัด แตกต�างจากชั้นหินอ่ืนๆท่ีวางตัวอยู�ข(างบนหรือข(างล�าง (การเรียกชื่อลักษณะชั้นตะกอนและขนาดของชั้น ดังแสดงใน รูปท่ี 6.1 และ 6.2)

Page 73: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

64 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รูปท่ี 6.1 การเรียกชื่อลักษณะของชั้นหินตะกอน (Campbell, 1976)

รูปท่ี 6.2 การกําหนดความหนาของชั้นหิน (Ingram, 1954)

Page 74: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

65 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

การท่ีเราจะสามารถวัดค�าแนวระดับมุมเอียงเทได(ดีเพียงใดนั้น ข้ึนอยู�กับขอบเขตของหินโผล�ในธรรมชาติ ท้ังนี้รวมถึงความเอียงชันของมุมเทด(วย กล�าวคือยิ่งพ้ืนระนาบโครงสร(างธรณีวิทยามีค�าความเอียงเทมากข้ึนเพียงใด ก็จะสามารถวัดค�ามุมเทได(ง�ายและมีความถูกต(องมากข้ึนด(วย การวัดค�าของชั้นหินนั้นสามารถใช(เข็มทิศวัดหาค�าแนวระดับ (strike) และค�ามุมเท (dip) ได(หลายวิธีด(วยกัน ในท่ีนี้จะไม�กล�าวถึงข้ันตอนการใช(เข็มทิศในการวัดค�าระดับและมุมเท แต�จะกล�าวถึงความหมายการอ�านค�าโดยท่ัวไป จึงใคร�สรุปความหมายของคําว�าแนวระดับและมุมเท เพ่ือให(มีความเข(าใจท่ีตรงกันเสียก�อน (รูปท่ี 6.3)

มุมเท (dip) คือ มุมท่ีเกิดจากระนาบของโครงสร(างทางธรณีวิทยาตัดกับระนาบแนวนอน ทิศทางของแนวเทจะต้ังฉากกับแนวระดับ แนวระดับ (Strike) คือ แนวทางหรือทิศทางท่ีต้ังฉากกับแนวไหลของน้ําบนผืนระนาบชั้นหิน สายแร� พนังหิน แนวระดับนี้เดิมนิยมวัดกันตามเสี้ยวของสี่มุมโลก จากเหนือไปตะวันออกไปใต( ไปตะวันตกจนจดเหนืออีก แต�ขณะนี้นิยมเป�นมุมแอเซมัท (azimuth) เพราะการบันทึกได(สั้นและผิดพลาดยากกว�าการกําหนดอย�างอ่ืน

รูปท่ี 6.3 แสดงทิศทางการวางตัวของชั้นหิน (แนวระดับ, ทิศทางการเอียงเท, มุมเท)

6.1.1 การอ*านค*าการวางตัวของช้ันหิน ค�าการวางตัวของชั้นหิน (dip/strike) มักได(มาจากการอ�านและบันทึกในระบบท่ีแตกต�างกันข้ึนอยู�กับ

แบบและชนิดของเข็มทิศท่ีใช(ในการวัดและความคุ(นเคยของนักธรณีวิทยา/ช�างสํารวจท่ีทําการสํารวจนั้นๆ ส�วนมากมักอ�านค�าในระบบ azimuth

1. การอ�านแบบ dip-angle/dip-direction เป�นการวัดค�ามุมเทและทิศทางมุมเทของชั้นหิน มักอ�านค�าจากเข็มทิศชนิด breithaupt เช�น 600/1300 หมายความว�า ชั้นหินมีมุมเท(dip) จากแนวระดับลงไป 600 มีทิศทางเอียงเทไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต( ในทิศทาง 1300

2. การอ�านแบบ strike direction/dip angle เป�นการวัดแนวระดับและค�ามุมเทของชั้นหิน มักอ�านค�าจากเข็มทิศชนิด brunton เช�น 0400/600 (การเขียนแบบ strike direction คือ 0400/600 SE) หมายความว�าชั้นหินมีแนวระดับ (strike) ทางทิศ 0400 และ มีมุมเท 600 ทิศของแนวเทไปทางตะวันออกเฉียงใต( เป�นต(น การอ�านค�าแบบ strike direction/dip angle นี้ ควรบอกทิศการเอียงตัวของชั้นหินไว(ด(วย เพราะในแง�ปฏิบัติมักก�อให(เกิดความสับสนในการสื่อสารอยู�เนืองๆ

3. หรือการอ�านแบบกําหนดทิศทาง (bearing) เป�นการอ�านค�าจากเข็มทิศชนิด brunton เช�น N400E/600 SE หมายความว�าชั้นหินมีแนวระดับ (strike) อยู�ในแนวทิศ 400 ไปทางตะวันออก และ มุมเท 600 เอียงเทไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต( เป�นต(น สําหรับแผนท่ีธรณีวิทยา มาตราส�วน 1:50,000 ควรจะแสดงสัญลักษณ7ของ attitude ของ bedding plane

Page 75: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

66 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

6.2 โครงสร)างริ้วขนาน (Foliation)

ริ้วขนานเป�นธรณีวิทยาโครงสร(างชนิดหนึ่งซ่ึงเป�นระนาบ(plane) เกิดจากการเรียงตัวของแร�หรือลักษณะของชั้นหินท่ีมีองค7ประกอบแตกต�างกัน ความหมายตามคํานิยามในพจนานุกรมศัพท7ธรณีวิทยา (2544) : คือริ้วรอยท่ีมีลักษณะเป�นแนวขนานจนแลดูเป�นแถบเป�นลายสลับสี มักบิดย(วยน(อยๆแบบลูกคลื่น ซ่ึงพบในหินชีสต7 หินไนส7 ท้ังนี้เป�นผลเนื่องมาจากการแปรสภาพของหิน แร�ในหินจึงตกผลึกใหม�และจัดเรียงตัวไปในแนวทางเดียวกัน จนมีลักษณะริ้วรอยบิดย(วยเป�นแถบขนาน ริ้วขนานอาจแยกออกได(เป�นแผ�นๆและมีผิวหน(าเรียบเนียน เช�นในหินชนวน

ริ้วขนานเป�นกระบวนการทางเทคโทนิค คือกระบวนการแปรรูปและตกผลึกใหม�ของแร�ในหินทําให(เกิดการเรียงตัวของเม็ดแร� พบเห็นได(ท้ังขนาดใหญ�และขนาดเล็ก ริ้วขนานในหินมีปJจจัยควบคุมการเกิดในขณะ แปรรูป เช�น อุณหภูมิ ความดัน อัตราการเกิดความเครียด และแร�ประกอบหิน เป�นต(น

หินท่ีประกอบด(วยแร�ท่ีมีรูปร�างเป�นแผ�นจํานวนมาก เช�นแร�ดินและไมกา มีแนวโน(มการเกิดแนวแตกแบบ penetrative cleavage ซ่ึงแตกออกเป�นแผ�นเรียบได(ง�าย ส�วนหินท่ีประกอบด(วยแร�ชนิดเดียว เช�น หินปูน หินควอตไซต7 มีแนวโน(มเกิดแนวแตกเฉพาะ (special cleavage)

6.2.1 ร้ิวขนานในหินตะกอนหรือหินแปรเกรดต่ํา

6.2.1.1 แนวแตกเรียบประชิด (Fracture cleavage)

แนวแตกเรียบชนิดหนึ่งท่ีเกิดข้ึนในหินท่ีมีรอยแตกหลายแนวประชิดและขนานกัน หินมีการแปรสภาพเพียงเล็กน(อย แนวแตกเรียบประชิดเกิดจากรอยเลื่อนขนาดเล็ก (microfaults) หรือรอยแตกท่ีแยกหินออกเป�นแท�ง ( tabular)

6.2.1.2 แนวแตกเรียบรอยหยัก (Crenulation cleavage)

แนวแตกเรียบท่ีเกิดจากลักษณะของการคดโค(งขนาดเล็ก (microfold) หรือรอยเลื่อนเล็กๆ (microfault) ท่ีเกิดขนานกับส�วนข(างของชั้นหินคดโค(ง (fold limbs) ในชั้นหิน มีการแยกตัวของแร�ชนิดต�างๆ ทําให(มองเห็นเป�นแถบใน granulation plane พบมากในหินชนวน หินฟ;ลไลต7 และหินชีสต7

6.2.1.3 แนวแตกเรียบแบบหินชนวน (Slaty cleavage)

แนวแตกเรียบท่ีเกิดจําเพาะในหินเนื้อดิน (argillaceous rock) เป�นแนวแตกตามรอยริ้วขนานซ่ึงเกิดจากการเรียงตัวของแผ�นแร�เล็กๆ ส�วนใหญ�เป�นแร�คลอไรต7 และแร�เซอริไซต7 พบในหินชนวนหรือชั้นท่ีมี เนื้อเดียวกัน เกิดจากการเปลี่ยนลักษณะและการแปรสภาพข้ันตํ่า แนวแตกทําให(หินดังกล�าวแตกออกเป�นแผ�นได(ง�าย

6.2.1.4 แนวแตกเรียบระนาบแกน (Axial plane cleavage)

แนวแตกเหล�านี้จะเป�นสิ่งบ�งบอกถึงการวางตัวของชั้นหินว�าเป�นปรกติ หรือชั้นหินมีการ พลิกกลับ (overturn) ถ(าแนวแตกเรียบมีมุมเอียงเทมากกว�าชั้นหิน (cleavage> bed) แสดงว�าเป�นปรกติ ถ(าแนวแตกเรียบมีมุมเอียงเทน(อยกว�าชั้นหิน (cleavage<bed) แสดงว�าเป�นชั้นหินตลบทับ (ใช(ได(ในกรณีท่ีท้ังชั้นหินและแนวแตกเรียบ มีมุมเทไปในทิศทางเดียวกัน)

Page 76: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

67 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

6.2.2 ร้ิวขนานในหินแปรข้ันกลางและข้ันสูง

6.2.2.1 การเรียงตัวแบบหินชีสต� (Schistosity)

การเรียงตัวแบบหินชีสต7 คือการเรียงตัวขนานกันของเม็ดแร�ท่ีมีลักษณะแบนหรือแผ�นบางๆ เป�นแท�ง เป�นรูปรี ในหินชีสต7 หรือหินท่ีมีผลึกแร�เนื้อหยาบ สามารถมองเห็นการแยกตัวของแร� phyllosilicate กับ quartzo-feldspathic เป�นแถบได(ชัดเจน

6.2.2.2 การเรียงตัวแบบหินไนส�(Gneissosity)

การเรียงตัวแบบหินไนส7เป�นโครงสร(างท่ีปรากฏเป�นชั้นในหินแปร เป�นการเรียงตัวสลับกันระหว�างแร�สีอ�อน(felsic)และแร�สีเข(ม (mafic) มักเป�นชั้นบางท่ีไม�ค�อยต�อเนื่องสมํ่าเสมอกัน กลุ�มแร�ท่ีแยกตัวออกจากกันมักขนานหรือเกือบขนานกับ lithological banding

6.2.3 ร้ิวขนานกับรอยคดโค)ง

ความสัมพันธ7ระหว�างริ้วขนานกับรอยคดโค(ง มีประโยชน7อย�างมากในการค(นหาและการกําหนดตําแหน�งของโครงสร(างคดโค(งหลัก (major fold structure) เช�นการหาตําแหน�งของ anti form hinge ให(สังเกตว�าชั้นหินท่ีมีการพลิกกลับ (overturn) ชั้นหินจะเอียงเทด(วยมุมท่ีชันกว�าริ้วขนาน ส�วนด(านท่ีไม�มีการพลิกกลับชั้นหินเอียงเทด(วยมุมท่ีน(อยกว�าริ้วขนาน บริเวณ hinge zone ชั้นหินกับริ้วขนานเกือบหรือต้ังฉาก ซ่ึงกันและกัน เป�นต(น

การตัดกันระหว�างระนาบของชั้นหิน (S0) และผิวหน(าริ้วขนาน (S1) ทําให(เกิดโครงสร(างเชิงเส(น (L1) ท่ีขนานกับ fold axis ดังนั้นการสํารวจทําแผนท่ีต(องจดบันทึกการวางตัวของโครงสร(างเชิงเส(นเหล�านี้อย�างเป�นระบบ เพราะเป�นสิ่งบ�งชี้การวางตัวของ fold axis ได(

6.3 โครงสร)างลายเส)น (Lineation)

ธรณีวิทยาโครงสร(างเชิงเส(นเกิดจากการตัดกันของระนาบสองแนว อาจจะเป�นชั้นหินตัดกับแนวแตกเรียบ หรือแนวแตกเรียบ ตลอดจนแนวหรือเส(นการเรียงตัวของแร� หรือการเคลื่อนท่ีของ block faults lineation ท่ีสําคัญ ได(แก�

6.3.1 แนวรอยไถล (Slickenside striae)

รอยเส(นท่ีเกิดจากการครูดของระนาบรอยเลื่อน (fault plane) รอยไถลเป�นรอยครูดบางๆบนผิวหน(าหินตรงระนาบรอยเลื่อน เกิดจากการไถลเสียดสีของหิน อาจมีการหลอมละลายของหินเนื่องจากความร(อนตรงบริเวณท่ีเสียดสีนั้น การวัดแนวรอยไถลจะทําให(ทราบทิศทางการเคลื่อนท่ีของ รอยเลื่อน

Page 77: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

68 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

6.3.2 แนวการคดโค)ง (Folds as lineations)

เป�นแนวเส(นบริเวณจุดพับรอยโค(ง (hinge) หรือท่ีเรียกว�าแนวพับรอยโค(ง (hinge line) เส(นท่ีเชื่อมต�อระหว�างจุดพับรอยโค(ง การวัดทิศทางของแนวพับรอยโค(งทําให(ทราบทิศทางการพลันจ7 (plunging of fold)

6.3.3 แนวเส)นที่เกิดจากการเรียงตัวของแร* (Mineral lineations)

การเรียงตัวของแร�ฮอร7นเบลนด7ในหินฮอร7เบลนไดด7หรือการเรียงตัวของแร�เฟลดสปาร7ในหินแกรนิต เป�นต(น 6.3.4 การเรียงตัวของเม็ดตะกอนในช้ันหิน (Detrital grains)

การเรียงตัวของกรวด, ก(อนหินมนใหญ� หรือ ooids เป�นต(น

6.3.5 โครงสร)างเชิงเส)นที่เกิดจาก boudins และ mullions

Boudins หรือ boudinage เป�นลักษณะโครงสร(างท่ีมีรูปคล(ายใส(กรอก มักวางตัวในแนวขนานกับส�วนข(างของชั้นหินคดโค(ง (fold limbs) ในรอยคดโค(งท่ีแขนท้ังสองข(างท่ีถูกทําให(ยืดออกอย�างรุนแรงชั้นหินท่ีแข็งแกร�งกว�ามักเกิดรอยคอดเป�นรูปแท�ง เรียกว�า boudin โดยท่ัวไป boudin axis มักวางตัวขนานกับ fold axis

โครงสร(างเชิงเส(นของ boudins ลักษณะโครงสร(าง boudin ในชั้นหิน

Mullions structure ปรากฏเป�นแนวยาวแบบชั้นบันไดในหินท่ีเป�นชั้นหินเนื้อเหนียว (competent bed) mullion เกิดในลักษณะเดียวกับ boudins เป�นโครงสร(างท่ีวางตัวขนานกับ fold axis และเกิดข้ึนเม่ือรอยต�อระหว�างชั้นหินท่ีไม�แข็งแรง และชั้นหินท่ีแข็งแรงถูกแปรรูป

Page 78: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

69 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

Mullions ใน outcrop หินทรายแป=ง โครงสร(างเชิงเส(นท่ีเกิดจาก boudin และ mullion

6.4 ช้ันหินคดโค)ง (Fold)

การคดโค(งมีได(หลายแบบข้ึนอยู�กับความหนา ความหนืดของชั้นหิน และความรุนแรงของแรงท่ีมากระทํา ลักษณะโค(งรูปประทุนและประทุนหงายเป�นลักษณะเบื้องต(นของชั้นหินคดโค(ง การเก็บข(อมูลควรบอกถึงประเภทของการคดโค(ง เช�น รูปร�างการคดโค(ง (fold shape) ลักษณะการคดโค(ง (fold form) ทิศทาง ชั้นหินคดโค(ง (fold orientation) รูปทรงทางเรขาคณิต (geometric feature) เป�นต(น

การศึกษาในสนามควรจะต(องวัดแนวแกนของการคดโค(ง (fold axis) หรือระนาบแกน (axial plane) และมุมพลันจ7 (plunge)

-ชั้นหินโค(งรูปประทุน (anticline) โครงสร(างทางธรณีวิทยาแบบหนึ่งท่ีชั้นหินมีลักษณะโค(งตัวเหมือนรูปประทุน ชั้นหินท่ีอยู�บริเวณใจกลางของชั้นหินคดโค(งรูปประทุนจะมีอายุแก�ท่ีสุด

-ชั้นหินโค(งรูปประทุนหงาย (syncline) ชั้นหินท่ีโค(งตัวเหมือนเอาประทุนเรือมาวางหงาย ชั้นหินท่ีอยู�บริเวณใจกลางของโค(งรูปประทุนหงายจะมีอายุอ�อนท่ีสุด

-แนวแกนของการคดโค(ง (fold axis) เส(นแสดงแนวการวางตัวของโครงสร(างชั้นหินคดโค(ง ได(จากการต�อจุดท่ีมีความโค(งมากท่ีสุดของชั้นหินชั้นเดียวกันในชั้นหินคดโค(งนั้น

-ระนาบแกน (axial plane; axial surface) ระนาบท่ีประกอบด(วยเส(นท่ีลากผ�านจุดพับรอยโค(ง (hinge) ของชั้นหินท่ีโค(งงอชุดหนึ่ง

-มุมพลันจ7 (plunge) คือการเอียงเทของแกนชั้นหินคดโค(งท่ีวัดจากแนวระดับลงไป มักใช(บอกรูปทรงเรขาคณิตของชั้นหินคดโค(ง

Page 79: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

70 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

การจําแนกชนิดการคดโค(ง ( fold classification) เช�น รูปร�างการคดโค(ง ทิศทางการวางตัว สมมาตรของการคดโค(ง ลักษณะการคดโค(ง และชนิดหรือรูปแบบของการคดโค(ง เป�นต(น

6.4.1 ชนิดการคดโค)งตามขนาดของมุมระหว*างส*วนข)าง

การคดโค(งพิจารณาจากลักษณะ angle) และรัศมีความโค(งบริเวณจุดพับรอยโค(ง

ชั้นหินโค(งพับผ(า ชิดติดกันจนดูและเป�นมุมเท�ากัน

ชั้นหินคดโค(งตีบคดโค(งจะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกันเป�นมุมระหว�าง 30 องศา

ชั้นหินคดโค(งป;ด หินคดโค(ง จะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกันระหว�าง ชั้นหินคดโค(หินคดโค(ง จะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกันมากกว�า 70 -180

fold classification) การจําแนกการคดโค(งโดยพิจารณาลักษณะต�างเช�น รูปร�างการคดโค(ง ทิศทางการวางตัว สมมาตรของการคดโค(ง ลักษณะการคดโค(ง และชนิดหรือรูปแบบ

ขนาดของมุมระหว*างส*วนข)าง (Inter limb angle)

พิจารณาจากลักษณะ 2 ประการ คือมุมระหว�างส�วนข(างของชั้นหินคดโค(ง และรัศมีความโค(งบริเวณจุดพับรอยโค(ง (hinge zone) ได(แก�

ชั้นหินโค(งพับผ(า (isoclinal fold) ชั้นหินโค(งท่ีมีส�วนข(างของรอยโค(งอัดชิดติดกันจนดูเสมือนชั้นหินพวกเดียวกัน เอียงเทไปในทิศทางเดียวกัน และเป�นมุมเท�ากัน (fold ท่ี limbs ท้ังสองข(างขนานกัน)

ชั้นหินคดโค(งตีบ (tight fold) ชั้นหินคดโค(งเม่ือมองขนานกับแกนชั้นหินคดโค(งจะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกันเป�นมุมระหว�าง 0-30 องศา (หรือเป�น fold ท่ีมี inter limb angle

องศา)

ชั้นหินคดโค(งป;ด (closed fold) ชั้นหินคดโค(งเม่ือมองขนานกับแนวชั้นหินคดโค(ง จะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกันระหว�าง 30-70 องศา ( interlimb angle 30-70 องศา)

ชั้นหินคดโค(งเป;ด (open fold) ชั้นหินคดโค(งเม่ือมองขนานกับแนวชั้นหินคดโค(ง จะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกันมากกว�า 70 องศา (หรือ เป�น fold ท่ี limbs ท้ังสองข(างทํามุมระหว�าง

180 องศา

การจําแนกการคดโค(งโดยพิจารณาลักษณะต�างๆ เช�น รูปร�างการคดโค(ง ทิศทางการวางตัว สมมาตรของการคดโค(ง ลักษณะการคดโค(ง และชนิดหรือรูปแบบ

limb angle)

ประการ คือมุมระหว�างส�วนข(างของชั้นหินคดโค(ง (inter limb

ชั้นหินโค(งท่ีมีส�วนข(างของรอยโค(งอัดเสมือนชั้นหินพวกเดียวกัน เอียงเทไปในทิศทางเดียวกัน

ชั้นหินคดโค(งเม่ือมองขนานกับแกนชั้นหินคดโค(งจะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกันเป�นมุม

inter limb angle น(อยกว�า

ชั้นหินคดโค(งเม่ือมองขนานกับแนวชั้นหินคดโค(ง จะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกัน

ชั้นหินคดโค(งเม่ือมองขนานกับแนวชั้นหินคดโค(ง จะเห็นชั้นหินประกบท้ังสองข(างของสันส�วนโค(งทํามุมกัน

ท้ังสองข(างทํามุมระหว�าง

Page 80: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

6.4.2 ชนดิการคดโค)งตามทิศทางแนวระนาบแกน

การเรียกชื่อการคดโค(งโดยพิจารณาจากระนาบแกน ได(ดังนี้

upright fold เป�นการคดโค(งท่ีมีระนาบแกนในแนวด่ิง

incline fold การคดโค(งมีแนวระนาบแกน มุมเทลงจากแนวระดับ ระหว�าง 10

overturned fold การคดโค(งท่ีมีส�วนข(างของชั้นหินโค(งท้ัง 2 ข(างวางตัวเอียงเทจากแนวระดับไปในทิศทางเดียวกัน

คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ชั้นหินคดโค(งเหลี่ยม (angular fold) ชั้นหินคดโค(งท่ีมีระยะณ บริเวณจุดพับรอยโค(ง (hinge zone) มีค�าน(อย และเป�นรูปเหลี่ยมหรือระยะความยาวของส�วนข(างของชั้นหินคดโค(ง มาก

ชั้นหินคดโค(งมน (rounded fold) ชั้นหินคดโค(งท่ีมีระยะทางพ้ืนผิว ณ บริเวณจุดพับรอยโค(ง (hinge zone) มีค�ามาก และเป�นรูหรือระยะความยาวของส�วนข(างของชั้นหินคดโค(ง น(อย

ชนดิการคดโค)งตามทิศทางแนวระนาบแกน (Axial plane)

การเรียกชื่อการคดโค(งโดยพิจารณาจากระนาบแกน ได(ดังนี้

เป�นการคดโค(งท่ีมีระนาบแกนใน

การคดโค(งมีแนวระนาบแกน มุมเท10-80 องศา

การคดโค(งท่ีมีส�วนข(างของชั้นข(างวางตัวเอียงเทจากแนวระดับไปใน

71

ชั้นหินคดโค(งท่ีมีระยะทางพ้ืนผิว มีค�าน(อย และเป�นรูปเหลี่ยม

ระยะความยาวของส�วนข(างของชั้นหินคดโค(ง (fold limb) มีค�า

ชั้นหินคดโค(งท่ีมีระยะทางพ้ืนผิว มีค�ามาก และเป�นรูปโค(งมน

ระยะความยาวของส�วนข(างของชั้นหินคดโค(ง (fold limb) มีค�า

Axial plane)

Page 81: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

72 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

recumbent fold การคดโค(งมีแนวระนาบแกนวางตัวอยู�ในแนวระดับ

6.4.3 การคดโค)งตามแกนการคดโค)ง (Fold axis)

ขนาดและทิศทางการวางตัวของชั้นหินคดโค(ง อธิบายได(ด(วยขนาดและทิศทางการจัดวางตัวขององค7ประกอบท่ีเป�นระนาบแกน (axial surface) และแกนของการคดโค(ง (fold axis)

Horizontal fold การคดโค(งท่ีมีแนวแกนวางตัวใน

แนวระดับ

Gently plunging fold การคดโค(งท่ีมีแนวแกน

เอียงเททํามุมกับแนวระดับระหว�าง 10–45 องศา

Steeply plunging fold การคดโค(งท่ีมีแนวแกน

เอียงเททํามุมกับแนวระดับระหว�าง 45-80 องศา

Vertical fold การคดโค(งท่ีมีแนวแกนวางตัวใน

แนวด่ิง

6.4.4 สมมาตรของการคดโค)ง (Fold symmetry)

เป�นการระบุชนิดของการคดโค(งว�ามีลักษณะสมมาตรและไม�สมมาตร ดังนี้

ชั้นหินคดโค(งสมมาตร (Symmetric fold) เป�นการคดโค(งท่ีข(างท้ังสองของยอดความโค(งเอียงเทเท�ากัน

Page 82: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

73 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ชั้นหินคดโค(งอสมมาตร (Asymmetric fold) เป�นการคดโค(งท่ีข(าง

ท้ังสองของยอดความโค(งเอียงเทไม�เท�ากัน

6.4.5 รูปร*างการคดโค)ง (Fold form)

รูปร�างการโค(งงอจะเห็นคล(ายตัวอักษร S-M-Z ซ่ึงจะบอกตําแหน�งว�าอยู�ตรงส�วนใดของการคดโค(งตัวใหญ�

6.4.6 ชนิดของการคดโค)งตามแนวภาพตัดขวาง

ชนิดของการคดโค(งมักมุ�งเน(นเก่ียวกับการบรรยายรอยคดโค(งท่ีมองได(จากภาพตัดขวางหรือภาพท่ี ต้ังฉากกับ fold axis

Concentric fold เป�นโครงสร(างท่ีเกิดเฉพาะแห�ง ปกติแล(วเป�น competent bed ท่ีมีอยู�ในหินตะกอนหรือหินชนิดอ่ืนๆ ท่ีถูกทําให(โค(งงอ เช�น หินทราย หินควอตไซต7 รูปลักษณะของ fold surface จะเป�น circular arc และมีค�ารัศมีการโค(งงอลดลงเม่ือเข(าใกล(แกนกลางการโค(งงอ Similar fold เป�น fold ท่ีมีลักษณะเช�นเดียวกันตลอด ค�าความหนาท่ีวัดไปกับ axial surface ของภายในแต�ละ layer จะมีค�าคงท่ีเท�ากัน แต�ความหนาท่ีวัดต้ังฉากกับ layer ทุกตําแหน�ง จะมีค�ามากท่ีสุด ณ บริเวณ hinge

Harmonic fold มี axial plane ต�อเนื่องตลอดตามแนวขวางของ ชั้นหิน

Disharmonic fold มี axial plane ท่ีไม�ต�อเนื่องตามแนวขวางกับชั้นหินจากชั้นหนึ่งสู�อีกชั้นหนึ่ง

Page 83: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

74 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

Ptygmatic Fold หรือ Elastica folfold limb แคบมากจนย(อนกลับทําให(มุมระหว�างชั้นหินท้ังสองข(างมีค�าเป�นลบ

Chevron fold เป�นรอยโค(งท่ี fold limb มีลักษณะเป�นแนวตรง Isoclinal fold เป�นรอยโค(งท่ี ขนานกัน Kink band เป�นรอยคดโค(งท่ี ล(อมรอบด(วยผิวระนาบ

ข(อมูลต�างๆท่ีเก่ียวกับ fold ท่ีได(จากภาคสนามนั้น

เก่ียวกับ geometry ของ minor fold projection แล(วสังเกตผลท่ีได(ว�าสอดคล(องกับข(อมูลท่ีได(จากภาคสนามหรือไม� ได(เก็บข(อมูลในสนาม ซ่ึงประกอบไปด(วยทิศทางและขนาดของ (bedding) ฯลฯ และ linear structure นํามาวิเคราะห7ทาง stereographic projectionธรณีวิทยาหลักได(

6.5 รอยเลื่อนและรอยแตก (Fault รอยเลื่อนและรอยแตกเกิดได(ในหินทุกชนิดข้ึนอยู�กับแรง

การเคลื่อนไหวและหินยังอยู�ในสภาพท่ีเป�นหินแข็ง จะเกิดการแตกเลื่อนข้ึน-ลง หรือเลื่อนไปทางด(านข(าง เนื่องมาจากน้ําหนักของมวลหินท้ังสองข(างของรอยเลื่อนบริเวณรอยเลื่อนเกิดการแตกหัก จนเกิดโครงสร(างท่ีสามารถสังเกต

Elastica fold มีรอยคดโค(งท่ีมีมุมระหว�าง แคบมากจนย(อนกลับทําให(มุมระหว�างชั้นหินท้ังสองข(างมีค�า

เป�นรอยโค(งท่ี fold hinge มีลักษณะเป�นเหลี่ยม และ

เป�นรอยโค(งท่ี fold limb วางตัวขนานกัน หรือเกือบ

เป�นรอยคดโค(งท่ี fold hinge มีลักษณะเป�นเหลี่ยมและ

ท่ีได(จากภาคสนามนั้น ไม�ว�าจะเป�นการวางตัวของชั้นหินหรือข(อมูลท่ีminor fold ต�างๆจะนํามาวิเคราะห7ทาง graphic โดยใช(

ผลท่ีได(ว�าสอดคล(องกับข(อมูลท่ีได(จากภาคสนามหรือไม� ในการทําแผนท่ีธรณีวิทยาเม่ือได(เก็บข(อมูลในสนาม ซ่ึงประกอบไปด(วยทิศทางและขนาดของ planar structure เช�น ระนาบชั้นหิน

linear structure เช�น แกนการคดโค(งของชั้นหิน (fold axis) เป�นต(น ข(อมูลเหล�านี้เม่ือstereographic projection จะทําให(มองเห็นทิศทางการวางตัวและโครงสร(างทาง

ault และ Joint) ดได(ในหินทุกชนิดข้ึนอยู�กับแรง stress หรือ tension ในขณะท่ีเปลือกโลกมี

และหินยังอยู�ในสภาพท่ีเป�นหินแข็ง จะเกิดการแตกและเลื่อนตัวผ�านกันในลักษณะต�างลง หรือเลื่อนไปทางด(านข(าง เนื่องมาจากน้ําหนักของมวลหินท้ังสองข(างของรอยเลื่อน

จนเกิดโครงสร(างท่ีสามารถสังเกตได( อาทิ

ระนาบรอยเลื่อน (f

คือหน(าประทับของหินสองฟากรอยเลื่อน มักปรากฏเป�นหน( า เ รี ยบพอสมควร ระหว�างหน(าประทับมักมีเศษหินท่ีครูดไถกันและกันประจุอยู�เต็มช�องว�าง จนวัดได(ว�าระนาบนี้มีแนวระดับไปทิศทางใดและมีแนวเทรวมท้ังมุมเทเท�าใด

ไม�ว�าจะเป�นการวางตัวของชั้นหินหรือข(อมูลท่ีโดยใช( stereographic

ในการทําแผนท่ีธรณีวิทยาเม่ือเช�น ระนาบชั้นหิน

เป�นต(น ข(อมูลเหล�านี้เม่ือจะทําให(มองเห็นทิศทางการวางตัวและโครงสร(างทาง

นขณะท่ีเปลือกโลกมีและเลื่อนตัวผ�านกันในลักษณะต�างๆ เช�น

ลง หรือเลื่อนไปทางด(านข(าง เนื่องมาจากน้ําหนักของมวลหินท้ังสองข(างของรอยเลื่อนจึงทําให(หิน

fault plane) คือหน(าประทับของหินสองฟากรอยเลื่อน มักปรากฏเป�นหน( า เ รี ยบพอสมควร ระหว�างหน(าประทับมักมีเศษหินท่ีครูดไถกันและกันประจุอยู�เต็มช�องว�าง จนวัดได(

ระนาบนี้มีแนวระดับไปทิศทางใดและมี

Page 84: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

75 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

หินกรวดเหลี่ยม (Fault breccia) ในบริเวณท่ีเกิด fault มักพบว�าหินบริเวณนั้นเกิดการแตกหักและมีการประสานเชื่อมกัน ก(อนหินใน fault breccia มีขนาดแตกต�างกัน แสดงลักษณะว�าผ�านการแตกโดยถูกบดอัดเป�นเม็ดหินเหลี่ยม บางส�วนอาจถูกบดจนกลายเป�นแป=ง หรือถ(าความรุนแรงของการบดอัดมีมาก อาจทําให(หินบริเวณแนวรอยเลื่อนกลายเป�นหินเนื้อละเอียด มีลายเส(นแสดงการเรียงตัวขนานไปกับแนวรอยเลื่อน เรียกว�า ไมโลไนต7 (mylonite)

ความไม�ต�อเนื่องของหินในกรณีของรอยเลื่อนตามแนวระดับ อาจเกิดการ off-set ของหินท้ังสองข(างของรอยเลื่อน หรือแนวหน(าผาระนาบรอยเลื่อนในกรณีของรอยเลื่อนปรกติเป�นต(น

แสดงลักษณะหินกรวดเหลี่ยม

การ off-set ของชั้นหินท้ังสองข(างของระนาบรอยเลื่อน

Page 85: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

76 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

6.5.1 รอยเลื่อน (Fault)

รอยเลื่อนคือรอยแตกหรือแนวแตกของหินสองฟาก ซ่ึงเคลื่อนท่ีสัมพันธ7กัน และขนานไปกับรอยแตกนั้น ชนิดของรอยเลื่อนต�างๆ เช�น

รอยเลื่อนปรกติ (Normal fault) รอยเลื่อนในหิน ซ่ึงส�วนท่ีอยู�ข(างบนของระนาบรอยเลื่อนเคลื่อนตัวลดระดับลง สัมพันธ7กับส�วนท่ีอยู�ข(างล�างท่ีเคลื่อนตัวข้ึน

รอยเลื่อนย(อน (Reverse fault) รอยเลื่อนในหิน

ซ่ึงส�วนท่ีอยู�ข(างล�างท่ีเคลื่อนตัวย(อนข้ึน ถ(ารอยเลื่อนย(อนมีค�ามุมเทน(อยกว�าหรือเท�ากับ 45 องศา เรียกว�ารอยเลื่อนย(อนมุมตํ่า

รอยเลื่อนตามแนวระดับ (Strike slip fault)

รอยเลื่อนท่ีทีการเคลื่อนตัวปรากฏเด�นชัดขนานกับแนวระดับของระนาบรอยเลื่อน ปรกติระนาบรอยเลื่อนจะต้ังชัน คํานี้บางทีใช(หมายถึง transcurrent fault หรือ wrench fault

การศึกษารอยเลื่อนในสนาม นอกจากวัด แนวระนาบรอยเลื่อน (fault plane) แล(วควรจะต(องศึกษา - แนวของ breccia และ mylonite - แนวของ slickenside และ drag structure - การเคลื่อนท่ีของรอยเลื่อนว�าเป�น normal, reverse หรือ strike-slip fault โดยศึกษา

จากหินท้ังสองด(านของแนว fault - ความยาวของแนวรอยเลื่อน ซ่ึงจําเป�นต(องติดตามจุดเริ่มต(นและท่ีสิ้นสุด

รอยแตกของหินชนิดต�างๆจําเป�นต(องวัดให(ครบทุกระบบ และควรจะวัดไม�น(อยกว�า 50 จุด ในหินแต�ละชนิด เพ่ือท่ีจะได(นํามา plot ใน stereographic projection เพ่ือเป�นประโยชน7ในการศึกษาธรณีวิทยาโครงสร(างต�อไป

Page 86: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

77 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

6.6 รอยชั้นไม*ต*อเน่ือง (Unconformity)

ได(แก�รอยต�อของชั้นหินต�างชุดท่ีวางซ(อนกัน เกิดเนื่องจากชั้นหินชุดล�างซ่ึงมีอายุแก�กว�าขาดหายไป ช�วงใดช�วงหนึ่ง เพราะมีการกร�อนเป�นเวลานาน รอยชั้นไม�ต�อเนื่องแบ�งเป�น 3 ชนิด คือ

ร อ ย ชั้ น ไ ม� ต� อ เ นื่ อ ง เ ชิ ง มุ ม ( Angular

unconformity) เป�นรอยชั้นไม�ต�อเนื่องชนิดหนึ่ง ซ่ึงมีชั้นหินชุดล�างของรอยชั้นไม�ต�อเนื่องนั้นวางตัวเอียงทํามุมกับชั้นหินชุดบน

ร อ ย ชั้ น ไ ม� ต� อ เ นื่ อ ง ค ง ร ะ ดั บ (Disconformity) เป�นรอยชั้นไม�ต�อเนื่องท่ีมีร ะนาบชั้ นหิ น ท่ี อยู� เ หนื อและ ใต( ร อยต� อ มีแนวขนานกัน ซ่ึงแสดงถึงการขาดช�วงในลําดับชั้นของชั้นหิน โดยท่ัวไปช�วงท่ีขาดตอนไปนั้นเกิดเนื่องจากการกร�อนหรือบางครั้งไม�มีการทับถม ปรกติสังเกตได(จากรอยขรุขระของผิวการกร�อน ซ่ึงมีมากพอท่ีจะทําให(มีลักษณะสูงๆตํ่าๆ เช�นรอยชั้นไม�ต�อเนื่องท่ีหินชุดเก�ายังคงอยู�ในแนวนอนในช�วงท่ีมีการกร�อน หรือช�วงท่ีเปลือกโลกมีการยกตัวและจมคัวลงโดยไม�เกิดการเอียงเทหรือเลื่อนเหลื่อม หินท้ังสองมีอายุไม�ต�อเนื่องกัน

ร อ ย ชั้ น ไ ม� ต� อ เ นื่ อ ง บ น หิ น อั ค นี

(Nonconformity) รอยต�อของหินต�างชุด โดยหินชุดบนเป�นหินชั้น หินชุดล�างเป�นหินอัคนีระดับลึก

Page 87: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

78 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

บทท่ี 7 การสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณแหล*งทรัพยากรธรณีท่ีมีคุณค*า

ทางเศรษฐกิจและแหล*งอันควรอนุรักษ�ทางธรณีวิทยา

แหล�งทรัพยากรธรณีท่ีมีคุณค�าทางเศรษฐกิจมีความหมายรวมถึง แหล�งแร� หิน กรวด ทราย ดิน ถ�านหิน หินน้ํามัน แกxสธรรมชาติ และน้ํา ในงานสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยานั้น จุดประสงค7ส�วนหนึ่งต(องการให(ได(ข(อมูลเบื้องต(นเก่ียวกับธรณีวิทยาท่ัวๆไป ท่ีจะนําไปใช(ช�วยการสํารวจด(วยวิธีอ่ืนๆ เช�น นําแผนท่ีธรณีวิทยาไปใช(ประกอบการสํารวจหาน้ําบาดาล น้ํามัน และแกxสธรรมชาติ แต�ในส�วนท่ีเก่ียวกับแหล�งแร� แหล�งวัสดุก�อสร(าง และอุตสาหกรรมนั้น ในการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา สามารถท่ีจะพบเห็นแหล�งได(โดยตรง ซ่ึงเฉพาะกับแหล�งทรัพยากรธรณีเหล�านี้เท�านั้น ท่ีเป�นจุดมุ�งหมายของข(อแนะแนวการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยานี้

สําหรับงานสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาของสํานักธรณีวิทยาในบริเวณท่ีมีแหล�งแร� เม่ือมีการค(นพบแหล�งแร�ใหม�ๆ ข้ึน ควรดําเนินการสํารวจให(ทราบข(อมูลเบื้องต(นท่ีเพียงพอต�อการช�วยตัดสินใจของหน�วยงานท่ีเก่ียวข(องโดยตรงว�า สมควรท่ีจะเข(าไปสํารวจในรายละเอียดหรือไม� ข(อมูลดังกล�าวควรบอกให(ทราบถึงชื่อของแร� หรือกลุ�มของแร� ตําแหน�งท่ีต้ัง ชนิดของการเกิด ขนาดและรูปร�าง ความสัมพันธ7กับหินและโครงสร(างในบริเวณ การกระจายตัวของแหล�งแร�และลักษณะสําคัญอ่ืนๆ เป�นต(น

7.1 คํานิยาม

แร� (mineral) : ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย7ท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ มีโครงสร(างภายในท่ีเป�นระเบียบ มีสูตรเคมีและสมบัติอ่ืนๆ ท่ีแน�นอนหรือเปลี่ยนแปลงได(ในวงจํากัด สินแร� (ore) : หินและแร�ซึ่งสามารถขุดนําออกมาใช(ประโยชน7ได(โดยมีกําไรในความหมายท่ีจํากัด สินแร�จะใช(หมายถึง โลหะ หรือ แร�ท่ีมีธาตุโลหะเป�นส�วนประกอบเท�านั้น แต�โดยท่ัวไปก็รวมเอาแร�อโลหะบางชนิดเข(าด(วย เช�น ฟลูออไรต7 สําหรับหินก�อสร(างและวัสดุอุตสาหกรรม เช�น แร�ดิน ดินทนไฟ และเกลือหิน ไม�ถือว�าเป�นสินแร� แต�จัดว�าเป�นแร�และหินอุตสาหกรรม หรือแร�เศรษฐกิจ ซ่ึงเป�นคํารวมท้ังสินแร�และวัสดุอุตสาหกรรม แหล�งแร� (mineral deposit) : ท่ีใดๆในเปลือกโลก ท่ีมีแร�มาสะสมตัวอยู�ในปริมาณสูงกว�าปกติ แหล�งแร�ไม�จําเป�นต(องมีขนาดหรือปริมาณแร�ในเชิงพาณิชย7 แหล�งแร�ท่ีปรากฏพบจะเป;ดทําเหมืองได(หรือไม�นั้นข้ึนอยู�กับนโยบายรัฐ และคุณค�าของแหล�งแร�ในเชิงเศรษฐกิจเป�นหลัก ดังนั้นการศึกษาธรณีวิทยาแหล�งแร� การประเมินปริมาณแร�สํารองและคุณค�าของแหล�งแร�จึงเป�นสิ่งจําเป�น แหล�งสินแร� (ore deposit) : แหล�งแร�ท่ีมีชนิดเดียวหรือหลายชนิดเกิดร�วมกันในปริมาณมากพอท่ีจะขุดนําออกมาใช(ประโยชน7ได(โดยมีกําไร

7.2 การจําแนกชนิดแหล*งแร*

แหล�งแร�สามารถจําแนกเป�นชนิดต�างๆได(หลายแบบข้ึนอยู�กับหลักเกณฑ7ท่ีใช(กําหนด เช�น โดยอาศัยคุณสมบัติหรือการใช(ประโยชน7แร� ชื่อแร� หรือ ลักษณะการเกิดของแร�ในแหล�งแร� ชนิดแหล�งแร�จําแนกโดยอาศัยลักษณะการกําเนิดของแร�ซ่ึงเก่ียวข(องกับกระบวนการทางธรณีวิทยาเป�นหลักโดยสังเขปดังนี้

Page 88: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

79 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

7.2.1 แหล*งแร*ที่มีกําเนิดเกี่ยวข)องกับกระบวนการทางธรณีวิทยาบนผิวโลก

7.2.1.1 แหล*งแร*แบบลานแร* (Placer deposits)

เป�นแหล�งแร�ท่ีมีความสัมพันธ7อย�าง ใกล(ชิดกับกระบวนการผุพังทําลายของหินท่ีให(แร� และมีการสะสมตัวของแร�หนักซ่ึงคงทนต�อการผุกร�อนโดยการนําพาของสายน้ํา แหล�งแร�แบบนี้มักเกิดบนภูมิประเทศ ท่ีผ�านการกัดกร�อนผุพังทําลายลงของหินเป�นระยะเวลายาวนาน แร�หลักท่ีพบเกิดเป�นแหล�งลานแร� ได(แก� ดีบุก ทองคํา ทองคําขาว โคลัมไบต7-แทนทาไลต7 อิลเมไนต7 รูไทล7 เซอร7คอน เพชร พลอยทับทิมและแซปไฟร7

7.2.1.2 แหล*งแร*ตกค)างสะสม (Residual deposits)

เป�นผลจากท่ีหินและแร�ประกอบหินผุสลายไปโดยปฏิกิริยาทางเคมี ธาตุท่ีละลายน้ําได(ง�ายจะถูกชะละลายไปกับน้ํา เหลือธาตุและสารประกอบซ่ึงไม�ละลายน้ําหรือละลายได(น(อยตกค(างเหลืออยู� ณ ท่ีเดิม แหล�งแร�แบบนี้จะเกิดในบริเวณเขตร(อนและลักษณะภูมิประเทศค�อนข(างราบ แหล�งตกค(างสะสมท่ีสําคัญ ได(แก� แหล�งแร�ดินขาว (kaolin) มาจากหินต(นกําเนิดจําพวก หินเฟลด7สปาทิก หรือหินอะลูมินาท่ีมีเหล็กและและแร�ควอตซ7น(อยมาก แหล�งแร�บอกไซต7 (bauxite) มาจากหินต(นกําเนิดจําพวกหินอะลูมินา หินเนฟ;ลีนไซอีไนต7 เคลย7 หินปูนเนื้อดิน หินดินดาน และหินบะซอลต7ท่ีมีเหล็กและแร�ควอตซ7ตํ่า แหล�งศิลาแลง (iron laterite) มาจากหินต(นกําเนิดจําพวกหินปนเหล็ก (ferruginous rocks) ซ่ึงมีควอตซ7และอะลูมิเนียมตํ่า แหล�งศิลาแลงแมงกานีส (manganese laterite) มาจากหินต(นกําเนิดจําพวก หินแปรปนแมงกานีสและหินปูน แหล�งศิลาแลงนิกเกิล (nickel laterite) มาจากหินต(นกําเนิดพวกหิน เพริโดไทต7

7.2.1.3 แหล*งแร*ชะละลายสะสม (Supergene deposits)

เป�นแหล�งแร� ท่ีมีต(นกําเนิดมาจากหินท่ีมีแร�เศรษฐกิจมากกว�าปกติแต�ยังไม�มีคุณค�าทางเศรษฐกิจ หรือแหล�งสินแร� ซ่ึงมีแร�ไพไรต7หรือแร�ในกลุ�มซัลไฟด7เป�นส�วนประกอบ ผ�านกระบวนการการผุพังอยู�กับท่ี จนทําให(เกิดการสะสมตัวใหม�ของแร�มีค�าเป�นชั้นๆด(วยอิทธิพลของน้ําใต(ดิน กระบวนการนี้ทําให(แหล�งแร�คุณภาพตํ่าไม�มีคุณค�าทางเศรษฐกิจเลยกลายเป�นแหล�งแร�ท่ีมีค�าทางเศรษฐกิจได( แหล�งแร�แบบนี้ท่ีพบมากได(แก� แหล�งแร�ทองแดง

7.2.1.4 แหล*งแร*แบบช้ัน (Sedimentary deposit)

มีกรรมวิธีการเกิดคล(ายคลึงกับการเกิดหินตะกอน จึงมักมีอาณาเขตกว(างขวาง เป�นแหล�งแร�ขนาดใหญ� แร�ในแหล�งแร�ชนิดนี้อาจมาจากหินเดิมหรือแหล�งแร�ท่ีผุพังทําลายลง แล(วถูกพัดพาไปตกตะกอนทับถมอยู�ตามท(องน้ํา หรือตกสะสมตัวในแอ�งน้ําขนาดใหญ� หรือทะเล เกิดเป�นแหล�งแร�ข้ึน แหล�งแร�สําคัญๆท่ีมีกําเนิดจากการสะสมตัวลักษณะนี้ได(แก� แหล�งแร�ดินขาว แหล�งแร�เหล็กแบบชั้น แหล�งแร�แมงกานีสแบบชั้นหรือแบบก(อนแมงกานีสทรงมน (manganese oxide nodule) ทองแดง-สังกะสี-ตะก่ัวซัลไฟด7 นอกจากนี้ยังรวมการเกิดแหล�งถ�านหิน น้ํามัน ตลอดจน แหล�งหินปูน เกลือ ยิปซัม และแร�อ่ืนๆท่ีเกิดจากการระเหยของน้ําทะเล

Page 89: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

80 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

7.2.2 แหล*งแร*ที่มีกําเนิดสัมพันธ�กับกระบวนการทางธรณีวิทยาภายใต)ผิวโลก

7.2.2.1 แหล*งแร*ท่ีมีกําเนิดสัมพันธ�กับหินอัคนีชนิดเมฟMกและอัลตราเมฟMก

แหล�งแร�แบบฝJงประ (disseminated type) เป�นแหล�งแร�ท่ีตกผลึกอันดับแรกๆและไม�เกิดการแยกตัวจากหินหนืด จึงเกิดอยู�อย�างกระจัดกระจายและฝJงประท่ัวไปในหิน แร�มีค�าสําคัญท่ีพบเกิดในหินจําพวกนี้ ได(แก� โครไมต7 ทองคําขาว นิกเกิล และโคบอลต7ในหินเพริโดไทต7 เพชรในหินคิมเบอร7ไลต7 แหล�งแร�ฝJงประโดยท่ัวไปมักมีค�าความสมบูรณ7ต่ํา แหล�งแร�แบบแยกชั้น (magnetic segregation deposits) แหล�งแร�แบบนี้เกิดจากการท่ี แร�โลหะซ่ึงเป�นแร�ท่ีมีจุดหลอมตัวและความถ�วงจําเพาะสูง ตกผลึกแยกตัวมาจากหินหนืดและตกจมลงเบื้องล�างของแหล�งหินหนืดเพ่ือก�อตัวหรือสะสมตัวเป�นชั้นแร� กะเปาะแร� แยกชั้นหินเพริโดไทต7หรือหินดันไนต7 แหล�งแร�แบบนี้ได(แก� แหล�งแร�โครไมต7 แหล�งแร�เหล็ก-ไทเทเนียม แหล�งแร�ทองคําขาว-ทองแดง-นิกเกิล-โคบอลต7

7.2.2.2 แหล*งแร*ท่ีมีกําเนิดสัมพันธ�กับหินชนิดเฟลซิก

เพกมาไทต7 (pegmatite) เป�นหินท่ีมีเนื้อหยาบท่ีสุดท่ีเกิดการแยกออกมาจากหินอัคนีมวลไพศาลจําพวกหินแกรนิตหรือหินแปร เนื่องจากของเหลวหรือสารละลายส�วนท่ีเหลือในหินหนืดซ่ึงมีปริมาณของสารท่ีมีสภาพเป�นไอสูง เช�น น้ํา โบรอน ฟลูออรีน แข็งตัวตามรอยแตกและช�องว�างภายในหินอัคนีมวลไพศาลนั้นหรือแทรกดันเข(าไปสู�ท(องท่ีใกล(เคียง อยู�ในรูปเป�นสายแร�แบบแผ�นแบนหรือกะเปาะ แร�ประกอบหลักของสายเพกมาไทต7 คือ ควอตซ7 เฟลด7สปาร7 มัสโคไวต7 (+ไบโอไทต7) ทัวร7มาลีน ขนาดของผลึกแร�เหล�านี้โตมาก อาจพบแร�ไมกาขนาดโตกว�า 1 เมตรได( รวมท้ังผลึกขนาดใหญ�ของแร�เฟลด7สปาร7 เบริลหรือสปอดูมีน เพกมาไทต7จําแนกเป�น 2 แบบด(วยกัน คือ เพกมาไทต7ธรรมดา (simple pegmatite) มีส�วนประกอบแร�ง�ายๆค�อนข(างสมํ่าเสมอ ไม�เปลี่ยนแปลงมาก และไม�แสดงลักษณะแถบหรือเขตแร� (zone) ท่ีเด�นชัด และเพกมาไทต7ซับซ(อน(complex pegmatite) ซ่ึงมักแสดงลักษณะแถบหรือเขตแร�ท่ีประกอบด(วยควอตซ7ผลึกใหญ�มากอยู�ในเขตในสุด นับเป�นสายแร�เศรษฐกิจ เนื่องจากนอกเหนือจากแร�เฟลด7สปาร7และควอตซ7ท่ีสามารถเป;ดทําเหมืองแล(ว ยังมีแร�หายากอ่ืนๆเกิดร�วมด(วยและทําให(กลายเป�นแหล�งสายแร�เศรษฐกิจท่ีสําคัญได( เช�น แร�ไมกา สปอดูมีน เบริล รัตนชาติ เซอร7คอน-สฟnน ฟอสเฟต ยูเรเนียม-ทอเรียม แรร7เอิร7ท โคลัมไบต7-แทนทาไลต7 ทังสเตนและดีบุก แหล�งแร�แบบแปรสภาพโดยการแทนท่ี (contact metasomatic deposits) เกิดในหินท่ีมีส�วนประกอบทางแร�และโครงสร(างเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากความร(อนท่ีเกิดการแทรกดันของมวลหินอัคนี ร�วมกับปรากฎการณ7ท่ีกาซและสารของเหลวในหินหนืดนั้นเข(าไปแทนท่ีธาตุบางตัวในแร� หรือแทนท่ีแร�ในหินท(องท่ี เกิดเป�นแร�ใหม�ข้ึน เกิดเป�นหินแปรสภาพโดยการแทนท่ีท่ีเรียกว�า หินสการ7น (skarn) ตามรอยสัมผัสระหว�างหินอัคนีและหินท(องท่ีซ่ึงให(แหล�งแร�มีค�า เช�น แร�เหล็ก ทังสเตน ดีบุก โมลิบดีไนต7 ตะก่ัว-สังกะสี และทองแดง แม(จะมีขนาดค�อนข(างเล็กแต�บางแหล�งเป�นแหล�งท่ีมีค�าทางเศรษฐกิจมาก

7.2.2.3 แหล*งแร*ท่ีมีกําเนิดจากสารละลายน้ําร)อน (Hydrothermal deposits)

แหล�งแร�แบบน้ําร(อน (hydrothermal deposits) หมายถึง แหล�งแร�ท่ีมีแร�มีค�าทางเศรษฐกิจตกผลึกสะสมตัวจากสารละลายน้ําร(อนท่ีเคลื่อนท่ีมาจากท่ีอ่ืน สารละลายน้ําร(อนมีกําเนิดมาจากน้ําบนผิวดิน ใต(ดิน และน้ําเหลือจากหินหนืดท่ีแข็งตัวเป�นหิน ชนิดของแหล�งแร�แบบน้ําร(อนแบ�งออกได(ดังนี้

Page 90: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

81 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

สายแร�น้ําร(อน (hydrothermal vein deposits) แหล�งแร�ชนิดนี้มีลักษณะรูปร�างเป�นสาย (veins) เกิดจากสารละลายน้ําร(อนทุกประเภทท่ีเคลื่อนตัวสู�เบื้องบน แทรกไปตามรอยแตกรอยร(าวในหิน แล(วตกผลึกเย็นตัวลงเกิดเป�นแหล�งแร�ในช�องว�างนั้น รูปร�างของสายแร�จะเป�นไปตามรูปแบบของรอยแตกในหินนั้นๆ สายแร�น้ําร(อนให(กําเนิดแร�มีค�ามากมายหลายชนิด เช�น ทองคํา เงิน ดีบุก ทังสเตน ทองแดง ตะก่ัว สังกะสี พลวง แมงกานีส แรร7เอิร7ท นิกเกิล โคบอลต7 และฟลูออไรต7 แหล�งแร�น้ําร(อนจากหินหนืด (magmatic hydrothermal deposits) เกิดจากกระบวนการของน้ําร(อนจากหินหนืดท่ีอยู�ไม�ลึกนักจากเปลือกโลก เข(าไปบรรจุตามช�องว�างต�างๆ ในหินหรือตามรอยแตกร(าวเล็กๆแบบร�างแห แหล�งแร�น้ําร(อนจากหินหนืดท่ีสําคัญ คือแหล�งแร�พอฟnรี (porphyry deposits) และแหล�งแร�ซัลไฟด7ท่ีสัมพันธฺกับหินภูเขาไฟ (volcanic associated sulfide deposits) เช�น ทองแดง และโมลิบดีนัม

7.3 ข)อเสนอแนะการสาํรวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณแหล*งแร*

- ศึกษาและเก็บรวบรวมข(อมูลท่ีจะบอกให(ทราบถึง/การกําเนิด (genesis) ของแหล�งแร� เช�น ชนิดของแร�หรือกลุ�มของแร� การวางตัว การกระจายตัวและความสัมพันธ7กับแร�หรือหินอ่ืน ๆ ในบริเวณ เป�นต(น - แสดงรูปร�าง ขอบเขต การกระจายตัว และความสัมพันธ7กับชนิดหินต�างๆและโครงสร(างในบริเวณแหล�งแร� - ประเมินคุณค�า ความน�าสนใจ และเก็บตัวอย�างมาเพ่ือการวิเคราะห7คุณสมบัติเบื้องต(น

7.4 การสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณแหล*งหิน ดิน ทราย และกรวด

ทรัพยากรธรณีประเภทหิน ดิน ทราย และกรวด ท่ีนําไปใช(ประโยชน7กันในปJจจุบัน มีท้ังใช(ในการก�อสร(าง ใช(ประดับตกแต�ง และใช(เป�นวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรม การนําไปใช(งานบางอย�างคํานึงถึงคุณสมบัติ เช�น หินแกรนิต มีความแข็งแรง ทนทาน เนื้อแน�นจับตัวกันเป�นระเบียบ ผิวขัดมันให(สีสันสวยงามมากว�าท่ีจะคํานึงถึงส�วนประกอบทางเคมี อย�างไรก็ตาม ในบางกรณีคุณสมบัติทางเคมีนั้นยังมีความสําคัญอยู� เช�น มีแร�ประกอบหินแกรนิต บางชนิดท่ีทําปฏิกิริยากับความชื้นในอากาศ แล(วเกิดเป�นคราบสนิมเหล็ก ทําให(ไม�สวยงาม เม่ือเอาไปประดับนอกอาคาร นอกจากนั้นคุณสมบัติทางเคมียังใช(เป�นเครื่องตัดสินความเหมาะสมของทรัพยากรเหล�านี้ เม่ือจะใช(เป�นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอีกด(วย

ข(อเสนอแนะการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยา สําหรับแหล�งกรวด หิน ดิน ทราย

- ศึกษาคุณสมบัติท่ีทําให(เหมาะสมต�อการนําไปใช(งานของกรวด หิน ดิน และทราย - หารายละเอียดและจดบันทึกลักษณะและคุณสมบัติต�างๆท่ีสําคัญ เช�น สภาพทางภูมิศาสตร7 ความสัมพันธ7ของแหล�งกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะการเกิด ชนิดของการเกิด ขนาดและความหนาแน�นของโครงสร(างต�างๆ ประมาณความหนา ส�วนประกอบ เนื้อหิน สี ขนาดเม็ดแร� การคัดขนาด ฯลฯ - ทําแผนท่ีแสดงตําแหน�ง รูปร�าง ขอบเขต การวางตัว (attitude) การกระจายตัว ถ(าไม�สามารถทําแผนท่ีได( หรือมีเหมืองหิน (quarry) ของแหล�งใดๆอยู� ให(ใช(เครื่องหมายแสดงในแผนท่ี - เก็บตัวอย�างเพียงพอท่ีจะไปหาคุณสมบัติท่ีสําคัญโดยสังเขป - เน(นการสํารวจทรัพยากรธรณีท่ีมีคุณค�าทางเศรษฐกิจ ซ่ึงสามารถนําไปใช(ประโยชน7และพัฒนาความเจริญให(กับท(องถ่ิน ในพ้ืนท่ีท่ีทําการสํารวจนั้น

Page 91: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

82 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

7.5 การสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณแหล*งอันควรอนุรักษ�ทางธรณีวิทยา

กรมทรัพยากรธรณีได(รวบรวมแหล�งอันควรอนุรักษ7ทางธรณีวิทยาของประเทศไทยท่ีเป�นแหล�งธรรมชาติท่ีเกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาของเปลือกโลก มีโครงสร(างทางธรณีวิทยาท่ีโดดเด�น สวยงาม และเป�นแหล�งอ(างอิงทางวิชาการ มีคุณค�าทางภูมิศาสตร7 เป�นเอกลักษณ7ของท(องถ่ินท่ีสมควรได(รับการอนุรักษ7ให(คนรุ�นหลังในอนาคต มี 7 ประเภท ดังนี้

1. แหล�งแร�แบบฉบับ (Typical minerals deposit) หมายถึงแหล�งท่ีมีลักษณะเฉพาะของการเกิดและ/หรือชนิดของแร�ท่ีเป�นมาตรฐาน ซ่ึงมีประโยชน7สําหรับการศึกษาเพราะแสดงให(เห็นถึงลักษณะการเกิดและลักษณะเฉพาะของแร�ประเภทต�างๆ 2. แหล�งหินแบบฉบับ (Typical rock sites) หมายถึงแหล�งท่ีมีลักษณะเฉพาะท่ีเด�นชัดของหินแต�ละประเภทท่ีเป�นมาตรฐาน มีประโยชน7สําหรับการศึกษา 3. แหล�งธรณีวิทยาโครงสร(าง (Geological structures) หมายถึงแหล�งท่ีเกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยาโครงสร(าง เช�น รอยเลื่อน (fault) แนวแตก (joint) และรอยแตก (fracture) ในเนื้อหินหรือเปลือกโลก หรือแหล�งธรรมชาติท่ีมีลักษณะรูปร�างท่ีเป�นผลจากธรณีวิทยาโครงสร(างดังกล�าว

4. แหล�งธรณีสัณฐานวิทยา (Geomorphology) ธรณีสัณฐานหมายถึงธรณีวิทยาท่ีว�าด(วยผิวพ้ืนของโลกซ่ึงประมวลเอาท้ังรูปร�างธรรมชาติ กระบวนการกําเนิด การปรับตัวของพ้ืนผิวโลก ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงท่ีประสบในปJจจุบัน เช�น การสะสมตัว การกัดเซาะจากคลื่น ลม น้ํา หรือคลื่นทะเล การผุพังและการกัดกร�อนโดยน้ําและลม เป�นต(น ท้ังนี้แหล�งธรรมชาติทางธรณีวิทยาท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนผิวโลกจนเป�นโครงสร(างท่ีมีลักษณะเด�น และอาจมีต(นกําเนิดมาจากนิทานพ้ืนบ(าน โดยมีขนาดของแหล�งท่ีหลากหลายแตกต�างกัน แบ�งเป�นแหล�งประเภท ภูเขา ถํ้า น้ําตก เกาะ

5. แหล�งพุน้ําร(อน (Hot spring) หมายถึงแหล�งน้ําท่ีไหลข้ึนมาจากใต(ดินท่ีมีอุณหภูมิสูงกว�าอุณหภูมิของร�างกายมนุษย7 น้ําท่ีพุ�งข้ึนมาอาจจะอุ�นๆจนถึงเดือดพล�าน อาจบริสุทธ7หรือมีแร�ธาตุรวมท้ังกxาซละลายอยู� ทําให(มีรสและกลิ่นต�างๆกัน ปริมาณน้ําท่ีไหลออกมาแต�ละพุมีความแตกต�างกัน บางพุมีน้ําไหลเพียงเอ�อล(นออกมา บางพุไหลแรง บางพุพุ�งกระเซ็นพ(นจากปากบ�อเพราะแรงดันของกxาซท่ีละลายเอาข้ึนมาจากใต(ดิน

6. แหล�งลําดับชั้นหินแบบฉบับ (Type section) หมายถึงลําดับชั้นหินใดๆท่ีกําหนดให(เป�นมาตรฐานเพ่ือใช(สําหรับอ(างอิงในการนิยามลําดับชั้นหิน โดยมีลักษณะท่ีเป�นเอกลักษณ7และบอกขอบเขตของลําดับชั้นหินนั้นได( ชื่อของลําดับชั้นหินแบบฉบับหนึ่งๆ จะต้ังข้ึนตามชื่อภูมิศาสตร7ในท(องถ่ินของลําดับชั้นหินแบบฉบับนั้นๆ

7. แหล�งซากดึกดําบรรพ7 (Fossil) ซากดึกดําบรรพ7หมายถึงซากหรือร�องรอยของสิ่งมีชีวิตในสมัยดึกดําบรรพ7ท่ีอยู�ในชั้นเปลือกโลกหรือท่ีหลุดหรือท่ีนําออกมาจากชั้นเปลือกโลก ท้ังนี้ไม�รวมถึงโบราณวัตถุตามกฎหมายว�าด(วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห�งชาติ ซากดึกดําบรรพ7ส�วนใหญ�ใช(บอกอายุของหินท่ีมีซากดึกดําบรรพ7นั้นอยู�ได( รวมถึงการบอกสภาพแวดล(อมและสภาพภูมิศาสตร7บรรพกาลด(วย

Page 92: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

83 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

ข(อเสนอแนะการสํารวจและทําแผนท่ีธรณีวิทยา สําหรับแหล�งอันควรอนุรักษ7ทางธรณีวิทยา

- ศึกษาและเก็บรวบรวมข(อมูล ประเมินคุณค�า ความน�าสนใจ เพ่ือการวิเคราะห7ถึงศักยภาพเบื้องต(นของแหล�งฯ โดยใช(หลักเกณฑ7ด(านคุณค�าทางวิชาการ และด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ - กําหนดหลักเกณฑ7ด(านคุณค�าทางวิชาการ ประกอบด(วยหลักเกณฑ7พ้ืนฐานท่ีควรเก็บข(อมูลท่ัวไปของแหล�งฯ ได(แก� ความเป�นเอกลักษณ7ทางธรณีวิทยา ความหลากหลายทางธรณีวิทยา ความหายากและการแสดงหลักฐานทางธรณีประวัติ และหลักเกณฑ7เฉพาะท่ีเหมาะสมกับแต�ละแหล�ง

- หลักเกณฑ7ด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ ควรเก็บข(อมูลท่ีครอบคลุมประเด็นทางด(านระดับการพัฒนาในปJจจุบัน ด(านการบริหารจัดการและด(านศักยภาพในการพัฒนา

- ควรมีการสรุปผลการประเมินเบื้องต(นพร(อมท้ังข(อเสนอแนะของแต�ละแหล�ง

Page 93: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

84 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

แบบประเมินแหล*งธรณีวิทยา

ประเภทแหล*งแร*แบบฉบบั สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

1. ข)อมูลท่ัวไป จุดสํารวจท่ี...................ชื่อแหล�ง.................................................................................................................. สถานท่ี/หมู�บ(าน............................ตําบล.....................อําเภอ....................จังหวัด.......................................... พิกัด(WGS84).................................E...................................N ผู(ประเมิน.............................วนัท่ีประเมิน.................................. 2. การประเมิน

หลักเกณฑ� น้ําหนัก (Wk)

ระดับความสําคัญ (Sjk)

ผลรวม(WkSjk)

หมายเหตุ/ จุดเด*น/จุดขาย

1 2 3 4 5 1. หลักเกณฑ�ด)านคุณค*าทางวิชาการ หลักเกณฑ�พื้นฐาน (60) 1.ความเป�นเอกลักษณ7ทางธรณีวิทยา 15 2.ความหลากหลายทางธรณีวิทยา 10 3.ความหายาก 20 4.การแสดงหลักฐานทางธรณีประวัติ 15 หลักเกณฑ�เฉพาะของแหล*งแร*แบบฉบับ (40) 5.ความสมบูรณ7ของแหล�งแร� 10 6.ความชัดเจนของรูปแบบการเกิดแหล�งแร� 10 7.การเป�นแหล�งอ(างอิงทางธรณีวิทยา 20

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย 2. หลักเกณฑ�ด)านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ ด)านระดับการพัฒนาในป|จจุบัน (40) 1.ความเหมาะสมของขนาดและขอบเขต 10 2.ความสะดวกในการเข(าถึงพ้ืนท่ี 10 3.การพัฒนาส่ิงอํานวยความสะดวกภายใน พ้ืนท่ี

5

4.มาตรการรักษาความปลอดภัย 15 ด)านการบริหารจัดการ (30) 5.การมีส�วนร�วมของท(องถิ่นในการบริหาร จัดการและอนุรักษ7พ้ืนท่ี

10

6.ความสําคัญทางเศรษฐกิจ 5 7.การเผยแพร�ความรู(ทางธรณีวิทยา 10 8.การจัดแบ�งพ้ืนท่ีออกเป�นเขตต�างๆ 5 ด)านศักยภาพในการพัฒนา (30) 9.ความจําเป�นในการป=องกันจากการถูกทําลาย 15 10.ศักยภาพในการพัฒนา 10 11.มีสถานท่ีท�องเท่ียวอื่นในบริเวณใกล(เคียง 5

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

�� � -� 001

Page 94: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

85 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3. ผลการประเมิน คํานวณจากสูตร 4. สรุปผลการประเมิน 4.1 ผลการประเมินด(านคุณค�าทางวิชาการ แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 ) 4.2 ผลการประเมินด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 )

5. แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการแหล*ง ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คะแนนเฉล่ีย(ร)อยละ) = x 20

คะแนนถ*วงน้ําหนัก (Vj ) = ΣΣΣΣ WkSjk

Vj

ΣΣΣΣ Wk

Page 95: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

86 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

แบบประเมินแหล*งธรณีวิทยา

ประเภทแหล*งหินแบบฉบบั สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

1. ข)อมูลท่ัวไป จุดสํารวจท่ี...................ชื่อแหล�ง.................................................................................................................. สถานท่ี/หมู�บ(าน............................ตําบล.....................อําเภอ....................จังหวัด.......................................... พิกัด(WGS84).................................E...................................N ผู(ประเมิน.............................วนัท่ีประเมิน.................................. 2. การประเมิน

หลักเกณฑ� น้ําหนัก (Wk)

ระดับความสําคัญ (Sjk)

ผลรวม(WkSjk)

หมายเหตุ/ จุดเด*น/จุดขาย

1 2 3 4 5 1. หลักเกณฑ�ด)านคุณค*าทางวิชาการ หลักเกณฑ�พื้นฐาน (60) 1.ความเป�นเอกลักษณ7ทางธรณีวิทยา 15 2.ความหลากหลายทางธรณีวิทยา 10 3.ความหายาก 20 4.การแสดงหลักฐานทางธรณีประวัติ 15 หลักเกณฑ�เฉพาะของแหล*งหินแบบฉบับ (40) 5.ความชัดเจนของชนิดหินท่ีพบบริเวณ แหล�งหินแบบฉบับ

25

6.การเป�นแหล�งอ(างอิงทางธรณีวิทยา 15 รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

2. หลักเกณฑ�ด)านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ ด)านระดับการพัฒนาในป|จจุบัน (40) 1.ความเหมาะสมของขนาดและขอบเขต 10 2.ความสะดวกในการเข(าถึงพ้ืนท่ี 10 3.การพัฒนาส่ิงอํานวยความสะดวกภายใน พ้ืนท่ี

10

4.มาตรการรักษาความปลอดภัย 10 ด)านการบริหารจัดการ (30) 5.การมีส�วนร�วมของท(องถิ่นในการบริหาร จัดการและอนุรักษ7พ้ืนท่ี

10

6.ความสําคัญทางเศรษฐกิจ 5 7.การเผยแพร�ความรู(ทางธรณีวิทยา 10 8.การจัดแบ�งพ้ืนท่ีออกเป�นเขตต�างๆ 5 ด)านศักยภาพในการพัฒนา (30) 9.ความจําเป�นในการป=องกันจากการถูกทําลาย 15 10.ศักยภาพในการพัฒนา 10 11.มีสถานท่ีท�องเท่ียวอื่นในบริเวณใกล(เคียง 5

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

แบบ อธ-ป 005

Page 96: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

87 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3. ผลการประเมิน คํานวณจากสูตร 4. สรุปผลการประเมิน 4.1 ผลการประเมินด(านคุณค�าทางวิชาการ แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 ) 4.2 ผลการประเมินด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 )

5. แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการแหล*ง ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คะแนนเฉล่ีย(ร)อยละ) = x 20

คะแนนถ*วงน้ําหนัก (Vj ) = ΣΣΣΣ WkSjk

Vj

ΣΣΣΣ Wk

Page 97: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

88 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

แบบประเมินแหล*งธรณีวิทยา

ประเภทแหล*งธรณีโครงสร)าง สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

1. ข)อมูลท่ัวไป จุดสํารวจท่ี...................ชื่อแหล�ง.................................................................................................................. สถานท่ี/หมู�บ(าน............................ตําบล.....................อําเภอ....................จังหวัด.......................................... พิกัด(WGS84).................................E...................................N ผู(ประเมิน.............................วนัท่ีประเมิน.................................. 2. การประเมิน

หลักเกณฑ� น้ําหนัก (Wk)

ระดับความสําคัญ (Sjk)

ผลรวม(WkSjk)

หมายเหตุ/ จุดเด*น/จุดขาย

1 2 3 4 5 1. หลักเกณฑ�ด)านคุณค*าทางวิชาการ หลักเกณฑ�พื้นฐาน (60) 1.ความเป�นเอกลักษณ7ทางธรณีวิทยา 15 2.ความหลากหลายทางธรณีวิทยา 10 3.ความหายาก 20 4.การแสดงหลักฐานทางธรณีประวัติ 15 หลักเกณฑ�เฉพาะของแหล*งธรณีโครงสร)าง (40) 5.ความชัดเจนของโครงสร(าง 15 6.ความสมบูรณ7ของโครงสร(าง 15 7.การเป�นแหล�งอ(างอิงทางธรณีวิทยา 10

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย 2. หลักเกณฑ�ด)านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ ด)านระดับการพัฒนาในป|จจุบัน (40) 1.ความเหมาะสมของขนาดและขอบเขต 10 2.ความสะดวกในการเข(าถึงพ้ืนท่ี 10 3.การพัฒนาส่ิงอํานวยความสะดวกภายใน พ้ืนท่ี

10

4.มาตรการรักษาความปลอดภัย 10 ด)านการบริหารจัดการ (30) 5.การมีส�วนร�วมของท(องถิ่นในการบริหาร จัดการและอนุรักษ7พ้ืนท่ี

10

6.ความสําคัญทางเศรษฐกิจ 10 7.การเผยแพร�ความรู(ทางธรณีวิทยา 5 8.การจัดแบ�งพ้ืนท่ีออกเป�นเขตต�างๆ 5 ด)านศักยภาพในการพัฒนา (30) 9.ความจําเป�นในการป=องกันจากการถูกทําลาย 15 10.ศักยภาพในการพัฒนา 10 11.มีสถานท่ีท�องเท่ียวอื่นในบริเวณใกล(เคียง 5

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

แบบ อธ-ป 004

Page 98: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

89 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3. ผลการประเมิน คํานวณจากสูตร 4. สรุปผลการประเมิน 4.1 ผลการประเมินด(านคุณค�าทางวิชาการ แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 ) 4.2 ผลการประเมินด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 )

5. แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการแหล*ง ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คะแนนเฉล่ีย(ร)อยละ) = x 20

คะแนนถ*วงน้ําหนัก (Vj ) = ΣΣΣΣ WkSjk

Vj

ΣΣΣΣ Wk

Page 99: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

90 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

แบบประเมินแหล*งธรณีวิทยา

ประเภทแหล*งธรณีสัณฐาน สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

1. ข)อมูลท่ัวไป จุดสํารวจท่ี...................ชื่อแหล�ง.................................................................................................................. สถานท่ี/หมู�บ(าน............................ตําบล.....................อําเภอ....................จังหวัด.......................................... พิกัด(WGS84).................................E...................................N ผู(ประเมิน.............................วนัท่ีประเมิน.................................. 2. การประเมิน

หลักเกณฑ� น้ําหนัก (Wk)

ระดับวามสําคัญ (Sjk) ผลรวม(WkSjk)

หมายเหตุ/ จุดเด*น/จุดขาย 1 2 3 4 5

1. หลักเกณฑ�ด)านคุณค*าทางวิชาการ หลักเกณฑ�พื้นฐาน (60) 1.ความเป�นเอกลักษณ7ทางธรณีวิทยา 15 2.ความหลากหลายทางธรณีวิทยา 10 3.ความหายาก 20 4.การแสดงหลักฐานทางธรณีประวัติ 15 หลักเกณฑ�เฉพาะของแหล*งธรณีสัณฐาน (40) 5.ความสวยงามของแหล�งธรณีสัณฐาน 20 6.ความหลากหลายแปลกตาของภูมิทัศน7ของ แหล�งธรณีสัณฐาน

10

7.การเป�นแหล�งอ(างอิงทางธรณีวิทยา 10 รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

2. หลักเกณฑ�ด)านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ ด)านระดับการพัฒนาในป|จจุบัน (40) 1.ความเหมาะสมของขนาดและขอบเขต 10 2.ความสะดวกในการเข(าถึงพ้ืนท่ี 10 3.การพัฒนาส่ิงอํานวยความสะดวกภายใน พ้ืนท่ี

10

4.มาตรการรักษาความปลอดภัย 10 ด)านการบริหารจัดการ (30) 5.การมีส�วนร�วมของท(องถิ่นในการบริหาร จัดการและอนุรักษ7พ้ืนท่ี

10

6.ความสําคัญทางเศรษฐกิจ 10 7.การเผยแพร�ความรู(ทางธรณีวิทยา 5 8.การจัดแบ�งพ้ืนท่ีออกเป�นเขตต�างๆ 5 ด)านศักยภาพในการพัฒนา (30) 9.ความจําเป�นในการป=องกันจากการถูกทําลาย 10 10.ศักยภาพในการพัฒนา 10 11.มีสถานท่ีท�องเท่ียวอื่นในบริเวณใกล(เคียง 10

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

แบบ อธ-ป 006

Page 100: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

91 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3. ผลการประเมิน คํานวณจากสูตร 4. สรุปผลการประเมิน 4.1 ผลการประเมินด(านคุณค�าทางวิชาการ แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 ) 4.2 ผลการประเมินด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 )

5. แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการแหล*ง ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คะแนนเฉล่ีย(ร)อยละ) = x 20

คะแนนถ*วงน้ําหนัก (Vj ) = ΣΣΣΣ WkSjk

Vj

ΣΣΣΣ k

Page 101: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

92 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

แบบประเมินแหล*งธรณีวิทยา

ประเภทแหล*งพุน้าํร)อน สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

1. ข)อมูลท่ัวไป จุดสํารวจท่ี...................ชื่อแหล�ง.................................................................................................................. สถานท่ี/หมู�บ(าน............................ตําบล.....................อําเภอ....................จังหวัด.......................................... พิกัด(WGS84).................................E...................................N ผู(ประเมิน.............................วนัท่ีประเมิน.................................. 2. การประเมิน

หลักเกณฑ� น้ําหนัก (Wk)

ระดับความสําคัญ (Sjk)

ผลรวม(WkSjk)

หมายเหตุ/ จุดเด*น/จุดขาย

1 2 3 4 5 1. หลักเกณฑ�ด)านคุณค*าทางวิชาการ หลักเกณฑ�พื้นฐาน (60) 1.ความเป�นเอกลักษณ7ทางธรณีวิทยา 15 2.ความหลากหลายทางธรณีวิทยา 10 3.ความหายาก 20 4.การแสดงหลักฐานทางธรณีประวัติ 15 หลักเกณฑ�เฉพาะของแหล*งพุน้ําร)อน (40) 5.ปริมาณพุและความต�อเน่ืองของการไหลของพุ 20 6.อุณหภูมิ 10 7.การเป�นแหล�งอ(างอิงทางธรณีวิทยา 10

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย 2. หลักเกณฑ�ด)านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ ด)านระดับการพัฒนาในป|จจุบัน (40) 1.ความเหมาะสมของขนาดและขอบเขต 10 2.ความสะดวกในการเข(าถึงพ้ืนท่ี 10 3.การพัฒนาส่ิงอํานวยความสะดวกภายใน พ้ืนท่ี

10

4.มาตรการรักษาความปลอดภัย 10 ด)านการบริหารจัดการ (30) 5.การมีส�วนร�วมของท(องถิ่นในการบริหาร จัดการและอนุรักษ7พ้ืนท่ี

10

6.ความสําคัญทางเศรษฐกิจ 10 7.การเผยแพร�ความรู(ทางธรณีวิทยา 5 8.การจัดแบ�งพ้ืนท่ีออกเป�นเขตต�างๆ 5 ด)านศักยภาพในการพัฒนา (30) 9.ความจําเป�นในการป=องกันจากการถูกทําลาย 15 10.ศักยภาพในการพัฒนา 10 11.มีสถานท่ีท�องเท่ียวอื่นในบริเวณใกล(เคียง 5

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

แบบ อธ-ป 002

Page 102: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

93 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3. ผลการประเมิน คํานวณจากสูตร 4. สรุปผลการประเมิน 4.1 ผลการประเมินด(านคุณค�าทางวิชาการ แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 ) 4.2 ผลการประเมินด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 )

5. แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการแหล*ง ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คะแนนเฉล่ีย(ร)อยละ) = x 20

คะแนนถ*วงน้ําหนัก (Vj ) = ΣΣΣΣ WkSjk

Vj

ΣΣΣΣ Wk

Page 103: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

94 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

แบบประเมินแหล*งธรณีวิทยา

ประเภทแหล*งลําดับช้ันหินแบบฉบบั สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

1. ข)อมูลท่ัวไป จุดสํารวจท่ี...................ชื่อแหล�ง.................................................................................................................. สถานท่ี/หมู�บ(าน............................ตําบล.....................อําเภอ....................จังหวัด.......................................... พิกัด(WGS84).................................E...................................N ผู(ประเมิน.............................วนัท่ีประเมิน.................................. 2. การประเมิน

หลักเกณฑ� น้ําหนัก (Wk)

ระดับความสําคัญ (Sjk)

ผลรวม(WkSjk)

หมายเหตุ/ จุดเด*น/จุดขาย

1 2 3 4 5 1. หลักเกณฑ�ด)านคุณค*าทางวิชาการ หลักเกณฑ�พื้นฐาน (60) 1.ความเป�นเอกลักษณ7ทางธรณีวิทยา 15 2.ความหลากหลายทางธรณีวิทยา 10 3.ความหายาก 20 4.การแสดงหลักฐานทางธรณีประวัติ 15 หลักเกณฑ�เฉพาะของแหล*งลําดับชั้นหินแบบฉบับ (40) 5.ความสมบูรณ7ของลําดับช้ันหิน 20 6.ความต�อเน่ืองกับหน�วยหินข(างเคียง 10 7.การเป�นแหล�งอ(างอิงทางธรณีวิทยา 10

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย 2. หลักเกณฑ�ด)านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ ด)านระดับการพัฒนาในป|จจุบัน (40) 1.ความเหมาะสมของขนาดและขอบเขต 10 2.ความสะดวกในการเข(าถึงพ้ืนท่ี 10 3.การพัฒนาส่ิงอํานวยความสะดวกภายใน พ้ืนท่ี

10

4.มาตรการรักษาความปลอดภัย 10 ด)านการบริหารจัดการ (30) 5.การมีส�วนร�วมของท(องถิ่นในการบริหาร จัดการและอนุรักษ7พ้ืนท่ี

10

6.ความสําคัญทางเศรษฐกิจ 5 7.การเผยแพร�ความรู(ทางธรณีวิทยา 10 8.การจัดแบ�งพ้ืนท่ีออกเป�นเขตต�างๆ 5 ด)านศักยภาพในการพัฒนา (30) 9.ความจําเป�นในการป=องกันจากการถูกทําลาย 15 10.ศักยภาพในการพัฒนา 10 11.มีสถานท่ีท�องเท่ียวอื่นในบริเวณใกล(เคียง 5

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

�� � -� 007

Page 104: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

95 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3. ผลการประเมิน คํานวณจากสูตร 4. สรุปผลการประเมิน 4.1 ผลการประเมินด(านคุณค�าทางวิชาการ แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 ) 4.2 ผลการประเมินด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 )

5. แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการแหล*ง ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คะแนนเฉล่ีย(ร)อยละ) = x 20

คะแนนถ*วงน้ําหนัก (Vj ) = ΣΣΣΣ WkSjk

Vj

ΣΣΣΣ Wk

Page 105: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

96 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

แบบประเมินแหล*งธรณีวิทยา

ประเภทซากดึกดาํบรรพ� สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

1. ข)อมูลท่ัวไป จุดสํารวจท่ี...................ชื่อแหล�ง.................................................................................................................. สถานท่ี/หมู�บ(าน............................ตําบล.....................อําเภอ....................จังหวัด.......................................... พิกัด(WGS84).................................E...................................N ผู(ประเมิน.............................วนัท่ีประเมิน.................................. 2. การประเมิน

หลักเกณฑ� น้ําหนัก (Wk)

ระดับความสําคัญ (Sjk)

ผลรวม(WkSjk)

หมายเหตุ/ จุดเด*น/จุดขาย

1 2 3 4 5 1. หลักเกณฑ�ด)านคุณค*าทางวิชาการ หลักเกณฑ�พื้นฐาน (60) 1.ความเป�นเอกลักษณ7ทางธรณีวิทยา 15 2.ความหลากหลายทางธรณีวิทยา 10 3.ความหายาก 20 4.การแสดงหลักฐานทางธรณีประวัติ 15 หลักเกณฑ�เฉพาะของแหล*งซากดึกดําบรรพ� (40) 5.ความสมบูรณ7ของซากดึกดําบรรพ7 20 6.ความหลากหลายทางชีวภาพ 10 7.การเป�นแหล�งอ(างอิงทางธรณีวิทยา 10

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย 2. หลักเกณฑ�ด)านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ ด)านระดับการพัฒนาในป|จจุบัน (40) 1.ความเหมาะสมของขนาดและขอบเขต 10 2.ความสะดวกในการเข(าถึงพ้ืนท่ี 10 3.การพัฒนาส่ิงอํานวยความสะดวกภายใน พ้ืนท่ี

10

4.มาตรการรักษาความปลอดภัย 10 ด)านการบริหารจัดการ (30) 5.การมีส�วนร�วมของท(องถิ่นในการบริหาร จัดการและอนุรักษ7พ้ืนท่ี

10

6.ความสําคัญทางเศรษฐกิจ 5 7.การเผยแพร�ความรู(ทางธรณีวิทยา 10 8.การจัดแบ�งพ้ืนท่ีออกเป�นเขตต�างๆ 5 ด)านศักยภาพในการพัฒนา (30) 9.ความจําเป�นในการป=องกันจากการถูกทําลาย 15 10.ศักยภาพในการพัฒนา 10 11.มีสถานท่ีท�องเท่ียวอื่นในบริเวณใกล(เคียง 5

รวมคะแนน 100 คะแนนเฉล่ีย

แบบ อธ-ป 003

Page 106: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

97 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

3. ผลการประเมิน คํานวณจากสูตร 4. สรุปผลการประเมิน 4.1 ผลการประเมินด(านคุณค�าทางวิชาการ แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวิทยาท่ีมีคุณค�าทางวิชาการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 ) 4.2 ผลการประเมินด(านศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการ แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการสูง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 75 ขื้นไป ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการปานกลาง ( ได(คะแนนเฉล่ียร(อยละ 50 – 74 ) แหล�งธรณีวทิยาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาและการบริหารจัดการตํ่า ( ได(คะแนนเฉล่ียน(อยกว�าร(อยละ 50 )

5. แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการแหล*ง ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คะแนนเฉล่ีย(ร)อยละ) = x 20

คะแนนถ*วงน้ําหนัก (Vj ) = ΣΣΣΣ WkSjk

Vj

ΣΣΣΣ Wk

Page 107: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

98 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

เอกสารอ)างอิง

กองธรณีวิทยา, 2533, คู�มือข(อแนะแนวการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา มาตราส�วน 1:50,000: กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 62 หน(า.

พล เชาว7ดํารงค7, 2545, สรุปรายงานตรวจสอบสภาพธรณีวิทยาระหว�างปn 2539-2543 และข(อแนะนําสําหรับการสํารวจแหล�งหินอ�อน หินประดับและหินก�อสร(าง: กองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 63 หน(า.

พล เชาว7ดํารงค7, 2548, การสํารวจเพ่ือทําแผนท่ีธรณีวิทยา ทําอย�างไร, ใน เอกสารประกอบการฝ�กอบรมการสํารวจธรณีวิทยาให(กับนักธรณีวิทยาระดับต(น: สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 7 หน(า.

พล เชาว7ดํารงค7, 2552, หินชั้น, ใน คู�มือสํารวจธรณีวิทยาภาคสนาม: สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, หน(า 59-102.

ราชบัณฑิตยสถาน, 2544, พจนานุกรมศัพท7ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน: ราชบัณฑิตยสถาน กรุงเทพ, 384 หน(า.

Barker, D.S., 1983, Igneous Rocks : New Jersey, Prentice-Hall, Inc. Englewood Cliffs, 417 p. Berkman, D.A. and Ryall, W.R., 1982, Field Geologists’Manual, Monograph Series No.9, The

Australasian Institute of Mining and Metallurgy, Australia, 301 p. Carmichael, I.S.E., F.J., Turner, and J. Verhoogen, 1974, Igneous Petrology : New York, McGraw

– Hill Book Company, 739 p. Chamley, H., 1990, Sedimentology: Springer-Verlag, London, 285 p. Clabaugh, S.E., 1976, Laboratory Manual for Hand Specimen Petrology : Department of

Geology, The University of Texas. Cobbing, E.J., 1983, A parctical guide to the regional Mapping of granites (unpublished). Compton, R.R., 1962, Manual of Field Geology, New York, John Wiley & Sons.Inc., 378 p. Compton, R.R., 1968, Manual of Field Geology: Wiley Eastern Private Limited, New Delhi,

378 p. Dunham, R. J., 1962, Classification of Carbonate Rocks According to Depositional Texture, in

W. E. Ham, ed., Classification of Carbonate Rocks: Mem. AAPG., 1, p. 108-121. Folk, R. L., 1974, Petrology of Sedimentary Rocks: Austin, Texas, Hemphill Publishing

Company, 180 p. Folk, R. L., 1962, Special Subdivision of Limestone Types, in W. E. Ham, ed., Classification of

Carbonate Rocks: Mem. AAPG., 1, p. 62-84. Greensmith, J.T. 1979, Petrology of Sedimentary Rocks, 6 th edition, George Allen & Unwin

Ltd, London pp. 127-131. Hedberg, H.D., ed., 1976, International Stratigraphic Guide- A guide to the stratigraphic

classifications, terminology and procedure: International Subcommission on Stratigraphic Classification of IUGS Commission on Stratigraphy, Wiley- Interscience, New York.

Hobbs, B.E., Means W.D. and Williams. P.F. 1976, An Outline of Structure Geology, John Wiley & Sons, Inc.

Hyndnan, D.W., 1972, Petrology of igneous and metamorphic rocks, McGraw-Hill, N.Y., 533 p.

Page 108: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

99 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

เอกสารอ)างอิง(ต*อ) Jensen, M.L., and Bateman, M.A., 1979, Economic mineral deposits, 3 rd ed., John Wiley and

Sons, N.Y., 593 p. Murray, J.W., 1981, A guide to Classification in Geology: Ellis Horwood Limited, Chichester,

112 p. Park, C.F., Jr., and Mac Diarmid, R.A., 1970 Ore deposits, 2nd ed., W.H. Freeman and Company,

San Francisco, 522 p. Pettijohn, F.J., 1975, Sedimentary Rocks (3rd ed.): Harper & Row Publishers, New York, 628 p. Pickering, K. T., hiscott, R. N., and Hein, F. J., 1989, Deep Marine Environments : Clastic

Sedimentation and Tectonics. Unwin Hyman, London, 416 p. Potter, P.E. and Pettijohn, 1980, Sedimentology of Shale, Springer-Verlag, Berlin. Reading, H.G., 1979, Sedimentary Environments and Facies, Blackwell Scientific publications,

Oxford-London-Edinburgh-Melbourne. Reineck, H.C. and Singh , I.B., 1975, Depositional Sedimentary Environment,Springer-Verlag,

New York, 439 p. Selley, R.C., 1978, Concept and Methods of Subsurface Facies Analysis, AAPG. Continuing

Education Course Note Series, No.9. Strecheisen, A.L., 1973 IUGS Subcommission on the systematics of Igneous Rocks. Geothimes,

October, 26-30. Streckeisen, A.L., 1979 Classification and Nomenclature of volcanic rocks, Lamprophyres,

carbonatites and melilitic rocks. IUGS Subcommission on the Systematics of Igneous Rocks, recom-Mendations and Suggestion, Geology v.7. p. 331-335.

Tucker, M.E., 2003, Sedimentary Rocks in the Field (3rd ed.): John Wiley & Son Ltd., 234 p. Turner, F.J., 1968, Metamorphic petrology-mineralogical and field aspects, Mc Graw-Hill, N.Y.,

403. Walker, R. G., ed., 1984, Facies Models (2nd ed.): Geological Association of Canada,

Geoscience Canada Reprint Series 1. Winkler, H.G.F., 1967, Petrogenesis of metamorphic rocks, 2 nd ed., Springer-Verlag. N.Y., 22 p. Winkler, H.G.F., 1974 Petrogenesis of metamorphic rocks, 3rd ed., Springer-Verlag, N.Y., 320 p.

Page 109: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

100 คู�มือการสาํรวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

รายช่ือคณะทํางานจัดทําคู�มือการสํารวจทําแผนท่ีธรณีวิทยา

นายไชยกาล ไชยรังษี นายพล เชาว7ดํารงค7 นายเลิศสิน รักษาสกุลวงศ7 นายสุวัฒน7 ติยะไพรัช นายสันต7 อัศวพัชระ นายนรรัตน7 บุญกันภัย สํานักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

Page 110: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

คําบรรยายภาพปกหลัง

การสลับชั้นของหินทราย หินโคลน และหินดินดาน แบบ even, parallel, continuous bedท่ีพบในหมวดหินเนินผูใหญเยื่อ กลุมหินจันทบุรี อําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี

Page 111: คู่มือการส ารวจท าแผนที่ ...library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2555/...บทท 2 การส ารวจท าแผนท

ส านักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ส านักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

ถนนพระรามที่ ถนนพระรามที่ 6 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 10400

โทรศัพท์ โทรศัพท์ 00--26212621--9656 9656 โทรสาร โทรสาร 00--26212621--96519651

http://www.dmr.go.thhttp://www.dmr.go.th