การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 ·...

26
การวิเคราะหดัชนีชี้วัดดานการเงิน 0110 รง.5 ปงบประมาณ 2549 จุติมาพร สาขากูล ในปงบประมาณ 2549 สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ไดมีการปรับเพิ่มรูปแบบการสง ขอมูลดานการเงิน โดยเพิ่มการรายงานขอมูลงบทดลองจากสถานบริการสุขภาพสําหรับสถานบริการสุขภาพ ที่สามารถจัดทําบัญชีแบบเกณฑคงคางได และประมวลผลขอมูลงบทดลองแสดงตามแบบรายงาน 0110 รง.5 กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดนโยบายใหสถานบริการสุขภาพปฏิบัติตามแนวทางคูมือบัญชีกระทรวง สาธารณสุข ( จัดพิมพครั้งที1 ตุลาคม 2547 โดย สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ) คูมือบัญชีกระทรวงสาธารณสุขนีจะเปนมาตรฐานในการบันทึกบัญชี แบบเกณฑคงคางที่เหมาะสมกับกิจกรรมทางการเงินของหนวยงาน และสามารถใหขอมูลเพื่อนําไปจัดทํา รายงานการเงิน และไดกําหนดผังบัญชีภาคสุขภาพที่สอดคลองกับผังบัญชีมาตรฐานที่กระทรวงการคลัง กําหนด รวมทั้งหลักเกณฑการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และการพิจารณาการตัดหนี้สูญ ขอสังเกตจากขอมูลรายงาน 0110 รง.5 ในปงบประมาณ 2548 พบวาสถานบริการสุขภาพ ยังรายงานขอมูลการเงินไมเปนมาตรฐานเดียวกัน และสถานบริการสุขภาพหลายแหง ยังไมมีการตั้งคา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และดําเนินการตัดหนี้สูญ ตามหลักเกณฑในคูมือบัญชีกระทรวงสาธารณสุข ทําใหผล การวิเคราะหตามดัชนีการเงินในปงบประมาณ 2548 บางรายการมีคาผิดปกติและมีความเบี่ยงเบน คอนขางมาก การปรับเปลี่ยนดัชนีการเงินในงบประมาณ 2549 ดังนั้น สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จึงไดมีการปรับเปลี่ยนดัชนีการเงินใน ปงบประมาณ 2549 ดังนี1. ตัดดัชนีอัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้คารักษา และระยะเวลาถัวเฉลี่ยการเก็บหนีเนื่องจากสถานบริการสุขภาพหลายแหงไมมีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และไมตัดหนี้สูญ 2. การนํารายการรวมสินทรัพย และสินทรัพยหมุนเวียน มาใชในการวิเคราะหมีการปรับคา ลูกหนี้ใหใกลเคียงความเปนจริงที่สุด และขอมูลของทุกสถานบริการสุขภาพที่สํานักพัฒนาระบบบริการ สุขภาพนํามาวิเคราะห จะคํานวณดวยฐานขอมูลและสูตรเดียวกัน โดยคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ตาม หลักเกณฑคูมือบัญชีกระทรวงสาธารณสุข

Upload: others

Post on 19-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

การวิเคราะหดชันีชี้วัดดานการเงิน 0110 รง.5

ปงบประมาณ 2549

จุติมาพร สาขากูล

ในปงบประมาณ 2549 สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ไดมีการปรับเพิ่มรูปแบบการสงขอมูลดานการเงิน โดยเพิ่มการรายงานขอมูลงบทดลองจากสถานบริการสุขภาพสําหรับสถานบริการสุขภาพที่สามารถจัดทําบัญชีแบบเกณฑคงคางได และประมวลผลขอมูลงบทดลองแสดงตามแบบรายงาน 0110 รง.5 กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดนโยบายใหสถานบริการสุขภาพปฏิบัติตามแนวทางคูมือบัญชีกระทรวงสาธารณสุข (จัดพิมพคร้ังที่ 1 ตุลาคม 2547 โดย สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข) คูมือบัญชีกระทรวงสาธารณสุขนี้ จะเปนมาตรฐานในการบันทึกบัญชี แบบเกณฑคงคางที่เหมาะสมกับกิจกรรมทางการเงินของหนวยงาน และสามารถใหขอมูลเพื่อนําไปจัดทํารายงานการเงิน และไดกําหนดผังบัญชีภาคสุขภาพที่สอดคลองกับผังบัญชีมาตรฐานที่กระทรวงการคลังกําหนด รวมทั้งหลักเกณฑการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และการพิจารณาการตัดหนี้สูญ

ขอสังเกตจากขอมูลรายงาน 0110 รง.5 ในปงบประมาณ 2548 พบวาสถานบริการสุขภาพ ยังรายงานขอมูลการเงินไมเปนมาตรฐานเดียวกัน และสถานบริการสุขภาพหลายแหง ยังไมมีการตั้งคา เผ่ือหนี้สงสัยจะสูญ และดําเนินการตัดหนี้สูญ ตามหลักเกณฑในคูมือบัญชีกระทรวงสาธารณสุข ทําใหผลการวิเคราะหตามดัชนีการเงินในปงบประมาณ 2548 บางรายการมีคาผิดปกติและมีความเบี่ยงเบนคอนขางมาก

การปรับเปลี่ยนดัชนีการเงินในงบประมาณ 2549 ดังนั้น สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จึงไดมีการปรับเปลี่ยนดัชนีการเงินในปงบประมาณ 2549 ดังนี้ 1.ตัดดัชนีอัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้คารักษา และระยะเวลาถัวเฉลี่ยการเก็บหนี้ เนื่องจากสถานบริการสุขภาพหลายแหงไมมีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และไมตัดหนี้สูญ 2. การนํารายการรวมสินทรัพย และสินทรัพยหมุนเวียน มาใชในการวิเคราะหมีการปรับคาลูกหนี้ใหใกลเคียงความเปนจริงที่สุด และขอมูลของทุกสถานบริการสุขภาพที่สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพนํามาวิเคราะห จะคํานวณดวยฐานขอมูลและสูตรเดียวกัน โดยคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ตามหลักเกณฑคูมือบัญชีกระทรวงสาธารณสุข

Page 2: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

2

วัตถุประสงค 1. เพื่อวิเคราะหสถานการณดานการเงินและประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรของสถานบริการสุขภาพ 2. เพื่อจัดทําผลการวิเคราะหเปรียบเทียบกับกลุมโรงพยาบาล/จังหวัด/เขต/ภาพรวมประเทศ

การนําเสนอสูตรดัชนี 1. สูตรมาตรฐาน แสดงสูตรตามการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงินที่เปนมาตรฐานสากลทั่วไป 2. สูตรปรับใชกับ รง.5 แสดงสูตรตามการวิเคราะหของสํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ปรับใชกับขอมูล 0110 รง.5 ซ่ีงไดมีการปรับสูตรใหเหมาะสมกับสถานบริการสุขภาพ เนื่องจากรายงานทางบัญชีของกระทรวงสาธารณสุขมีลักษณะเฉพาะในหลายรายการ สําหรับสูตรปรับใชกับ รง.5 เปนเครื่องมือหนึ่งที่สถานบริการสุขภาพสามารถใชเปนแนวทางในการวิเคราะห และสามารถปรับสูตร ตลอดจนเพิ่มรายการดัชนีวิเคราะหดานการเงินใหเหมาะสมสภาพพื้นที่และปญหาสถานการณทางการเงินของแตละหนวยงาน

แหลงขอมูลในการวิเคราะห ใชขอมูลจากรายการ 0110 รง.5 ปงบประมาณ 2549 1. สถานบริการสุขภาพระดับโรงพยาบาล ใชขอมูลจากแบบรายงานการเงินระบบบัญชีเกณฑคงคาง (0110 รง.5) ของสถานบริการสุขภาพแมขาย + PCU ที่แมขายดําเนินการเอง 2. สถานบริการสุขภาพระดับไมใชโรงพยาบาล ใชขอมูลจากแบบรายงานการเงินระบบบัญชีเกณฑคงคาง (0110 รง.5) ของสถานีอนามัย + PCU ที่แมขายไมไดดําเนินการเอง โดยเปนขอมูลที่ผานการตรวจสอบคุณภาพแลว (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมการตรวจสอบคุณภาพการเงิน ภาคผนวก)

รูปแบบการวเิคราะห วิเคราะหขอมูลการเงินตามดัชนีวิเคราะหทางการเงิน 0110 รง.5 ปงบประมาณ 2549 ดังนี้ 1. วิเคราะหขอมูลรายสถานบริการสุขภาพ ทั้งในระดับโรงพยาบาล และไมใชโรงพยาบาล (สถานีอนามัย + PCU) 2. วิเคราะหขอมูลรายเขต แยกตามกลุมโรงพยาบาล โดยแบงกลุมโรงพยาบาล (Type) เปน 5 ประเภท ดังนี้ กลุม 1 = โรงพยาบาลศูนย กลุม 2 = โรงพยาบาลทั่วไป ขนาดมากกวา 300 เตียง กลุม 3 = โรงพยาบาลทั่วไป ขนาดนอยกวา 300 เตียง

Page 3: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

3

กลุม 4 = โรงพยาบาลชุมชน ขนาดมากกวา 30 เตียงขึ้นไป กลุม 5 = โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 10 – 30 เตียง 3. วิเคราะหภาพรวมของประเทศ แยกตามกลุมโรงพยาบาล

ขอจํากัดของการวิเคราะห 1. การเปรียบเทียบขอมูลทางการเงินของหนวยงานหนึ่งกับหนวยงานอื่น ๆ ในระดับโรงพยาบาลหรือระดับจังหวัดที่เลือกนโยบายทางบัญชีตางกัน อาจไมสามารถเปรียบเทียบผลการวิเคราะหได เชน หากจะเปรียบเทียบขอมูลวัสดุคงเหลือของหนวยงานหนึ่งที่เลือกบันทึกบัญชีวัสดุคงเหลือตามวิธีเขาหลัง – ออกกอน (LIPO) กับอีกหนวยงานที่บันทึกบัญชีวัสดุคงเหลือตามวิธีถัวเฉลี่ย อาจไมเหมาะสม และทําใหผูใชผลการวิเคราะหเขาใจผิดได ซ่ึงตองมีความระมัดระวังในการเปรียบเทียบ อยางไรก็ตาม แมจะมีปญหาดังกลาวเกิดขึ้น การเปรียบเทียบงบการเงินระหวางหนวยงานยังนับวามีประโยชนตอการวิเคราะห 2. การวิเคราะหโดยใชเครื่องมืออ่ืนนอกเหนือจากอัตราสวนทางการเงนิ ดัชนีวิเคราะหดานการเงิน ของสํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จัดเปนการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis) ซ่ึงบอกความสามารถในการใชทรัพยากรของหนวยงานเทานั้น ยังไมมีความครบถวน เพียงพอที่จะใชเปนเกณฑในการวิเคราะหสถานการณในอนาคตได แตเปนจุดเริ่มตนที่ผูวิเคราะหจะพิจารณารายละเอียดไดลึกลงไป และตองพิจารณาเครื่องมือในการวิเคราะหทางการเงินประเภทอื่นๆ ประกอบดวย ไดแก

• การพิจารณาจาํนวนเงินและอัตรารอยละที่เปลี่ยนแปลงของรายการใน งบการเงิน (Comparative Financial Statement)

• การวิเคราะหแนวโนม (Trend Analysis)

• การวิเคราะหแนวตั้งหรืองบการเงินขนาดรวม (Common Size)

ดัชนีวิเคราะหทางดานการเงิน ปงบประมาณ 2549

การวิเคราะหดชันีทางดานการเงิน มีทั้งหมด 3 ดาน จํานวน 19 ดัชนี ดังนี ้ 1.ดัชนีวิเคราะหสภาพคลองของหนวยงาน วัดความสามารถในการชําระหนี้ในระยะสั้นของหนวยงาน(ความสามารถที่จะเปลี่ยนสินทรัพยหมุนเวียนใหเปนเงินสด และใชเงินสดนั้นชําระหนี้ระยะส้ัน) ประกอบดวย

1.1 อัตราสวนเงินทุนหมุนเวยีน (Current Ratio) (CF) 1.2 อัตราสวนสินทรัพยคลองตัว (Quick Ratio) (CF) 1.3 อัตราสวนเงินสดตอหนี้สินหมุนเวียน

2.ดัชนีวิเคราะหประสิทธิภาพในการใชทรัพยากรและการบริหารจัดการ สามารถดูสถานการณของทรัพยากรตาง ๆ ของหนวยงานวามีภาวะเชนไร และทราบภาระหนี้สินของหนวยงานได

Page 4: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

4

โดยดูจากสินทรัพยหมุนเวียน สัดสวนเงินสดตอสินทรัพย สัดสวนลูกหนี้ตอสินทรัพย และประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของหนวยงาน ประกอบดวย

2.1 อัตราผลตอบแทนสุทธิ (กําไรสุทธิ) จากสินทรัพยทั้งหมด (Return on Assets) 2.2 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพยรวม (Total Asset Turnover)

2.3 อัตราการหมุนเวียนของวัสดุคงเหลือ (Inventory Turnover) 2.4 ระยะเวลาการหมุนเวียนของวัสดุคงเหลือ 2.5 อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพยรวม (Debt – to – Total Asset Ratio) 2.5 สัดสวนลูกหนี้คารักษาตอรวมสินทรัพยหมนุเวยีนเฉลี่ย 2.6 คาใชจายดานบุคลากรตอคาใชจายจากการดําเนินงาน 2.7 คาใชในการสัมมนาและฝกอบรมตอคาใชจายในการดําเนินงาน

3. ดัชนีวิเคราะหผลการดําเนินงานของหนวยงาน วดัความสามารถในการหารายไดและการควบคุมคาใชจาย แสดงผลการดําเนินงานเพื่อเปรียบเทียบรายไดที่หนวยงานไดรับหรือควรไดรับกับคาใชจายที่ตองใชไปทั้งหมด วามีความเหมาะสมหรือไมอยางไร ชุดดัชน/ีผลการวิเคราะหนี้จงึเปนขอมูลสําคัญเพื่อวิเคราะหโอกาสในการเพิ่มประสิทธิภาพ ประกอบดวย

3.1 อัตราสวนรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายสุทธิตอรวมรายไดจากการดําเนินงาน 3.2 สัดสวนรายไดคารักษาตอรวมรายไดจากการดําเนินงาน

3.2.1 สัดสวนรายไดคารักษาสิทธิUCตอรวมรายไดจากการดําเนนิงาน 3.2.2 สัดสวนรายไดคารักษาเบิกคลังและเบิกตนสังกัดตอรวมรายไดจากการดําเนินงาน 3.2.3 สัดสวนรายไดคารักษาประกันสังคมตอรวมรายไดจากการดําเนนิงาน

3.3 ตนทุนเฉลี่ยตอผูปวยนอก (Unit Cost OPD) 3.4 ตนทุนเฉลี่ยตอผูปวยใน (Unit Cost IPD) 3.5 สัดสวนรายไดตอคาใชจาย (I/E Ratio) (CF) หมายเหตุ ดชันีวิเคราะหตามขอ 1.1 , 1.2 และ 3.5 ใชสูตรเดียวกันกับดัชนีวเิคราะหสถานการณการเงินการคลงั (CF) เพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน

ดัชนีและความหมายของการวิเคราะห 1. ดัชนีวิเคราะหสภาพคลองทางการเงิน

1.1 อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) เพื่อวิเคราะหสภาพคลองทางการเงินของโรงพยาบาล เปนเกณฑวัดความสามารถในการชําระหนี้ระยะสั้น หมายถึงถามีการชําระหนี้สินหมุนเวยีนแลวหนวยงานมีเงินเพยีงพอที่จะใชในการดําเนินการตอไปไดหรือไม อัตราสวนนี้มีคายิ่งสูง ยิ่งแสดงวาหนวยงานมีความคลองตัวมาก เจาหนีร้ะยะสั้น จะใหความสําคญัตออัตราสวนนี้มาก เนือ่งจากแสดงโอกาสที่จไดรับชําระหนี้เมื่อครบกําหนดเวลา

Page 5: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

5

อัตราสวนเงินทุนหมุนเวยีน (Current Ratio) ยังสามารถใชในการเปรียบเทียบระหวางหนวยงานทีม่ีขนาดแตกตางกันของสินทรัพยหมนุเวยีนและหนี้สินหมุนเวยีน และสามารถใชเปรียบเทียบสภาพคลองของหนวยงานในแตละป

สูตรมาตรฐาน สินทรัพยหมนุเวยีน หนี้สินหมนุเวยีน

สูตรปรับใชรง.5 รวมสินทรัพยหมุนเวียน- คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนีท้ี่เรียกเก็บไมได

รวมหนี้สินหมนุเวยีน- รายไดรับลวงหนากองทุนUC - รายไดรับลวงหนากองทุนอื่น

คําอธิบาย

รวมสินทรัพยหมุนเวียน รวมสินทรัพยหมุนเวียน ณ เดือนนี้ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จํานวนเงินที่กันไวสําหรับลูกหนี้ที่คาดวาจะเรียกเก็บไมได ใช ขอมูลคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ เดือนนี้ และตัวเลขของคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตองมีคา ติดลบ ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บไมได ลูกหนี้ที่หนวยงานประมาณการวาจะไมไดรับการชําระหนี้จากลูกหนี้ โดยนําอัตราการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมาปรับใชในการคํานวณ โดยคํานวณจากลูกหนี้ทุกประเภท ใชขอมูลลูกหนี้แยกตามประเภท ณ เดือนนี้

ตัวอยาง มีลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD นอก CUP ตางจังหวัด = 50,000 บาท มีลูกหนี้คารักษาชําระเงิน = 10,000 บาท ดังนัน้ ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บไมได = (ลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD นอก CUP

ตางจังหวัดที่เรียกเก็บไมได) + (ลูกหนี้คารักษาชําระเงนิที่เรียกเก็บไมได) = (50,000 x 0.2) + 10,000 = 20,000 บาท (โปรดดูตารางแสดงอัตราการคิดคาเผื่อหนีส้งสัยจะสูญที่นํามาใชในการวิเคราะห ประกอบตวัอยาง)

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินตองมีภาระในการชําระหนี้ภายใน 1 ป ใชขอมูลหนี้สิน ณ เดือนนี้ รายไดรับลวงหนากองทุน UC ใชขอมูลรายไดรับลวงหนากองทนุ UC ณ เดือนนี ้รายไดรับลวงหนากองทุนอืน่ ใชขอมูลรายไดรับลวงหนากองทุนอื่น ณ เดือนนี ้

Page 6: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

6

ตารางแสดงอตัราการคิดคาเผื่อหนี้สงสยัจะสูญท่ีนํามาใชในการวิเคราะห

ลําดับ ประเภทของลูกหนี้ อัตราการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (รอยละ)

1 ลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD ใน CUP 100 2 ลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD นอก CUP ในจังหวดั 50 3 ลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD นอก CUP ตางจังหวดั 20 4 ลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD ตางสังกัด 10 5 ลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD คาใชจายสูง/อุบัติเหตุฉุกเฉิน 10 6 ลูกหนี้คารักษาชําระเงิน 100 7 ลูกหนี้คารักษาเบิกคลังและเบิกตนสังกัด 5 8 ลูกหนี้คารักษา พรบ.รถ 20 9 ลูกหนี้คารักษาประกันสังคม 50 หมายเหตุ ลูกหนี้คารักษาประกันสังคมในเครือขาย

ลูกหนี้คารักษาประกันสังคมนอกเครือขาย เนื่องจากขอมลู 0110 รง.5 ไมแยกลกูหนี้คารักษาประกนัสังคมในเครือขายหรือนอกเครือขาย จึงใชอัตราการคิดคาเผื่อหนีส้งสัย จะสูญ รอยละ 50

50 10

10 ลูกหนี้กองทนุทดแทน 5 11 ลูกหนี้คารักษาแรงงานตางดาว 100

การแปรผล

• นอยกวา 1 : 1 ขาดสภาพคลอง มีปญหาความมั่นคงในระบบการบริการ เพราะผูจัดจําหนายยา เวชภัณฑ หรือสถานบริการที่จะรับคนไขไปรักษาตอไมเชือ่ถือในระบบการบริหารของโรงพยาบาล การที่มีมูลคาสํารองวัสดุนอย หนี้มาก การจัดซื้อจะยุงยากโดยเฉพาะในพื้นที่ที่หางไกล โดยอาจเทียบกับโรงพยาบาลระดับเดยีวกัน

• ระหวาง 1.5 – 2 : 1 มีสภาพคลองทางการเงินด ี

• มากกวา 2 : 1 มีสภาพคลองทางการเงินดี ถาหากมีสภาพคลองเกิน เชน เกินกวา 10 จะตองตรวจสอบตัวเลข โดยเฉพาะตัวเลขหนี้ เชน อาจจะมนีโยบายทางการเงินใหมีหนี้นอยโดยจายเงินสดเมื่อซ้ือสินคาและไมตองการกอหนี้ แตหากไมใชอาจหมายถึง มีการสํารองวัสดุมากเกนิไป ยกเวนในที่ที่จดัหา ซ้ือวัสด ุยา ไดยากและจําเปนตองสํารอง

Page 7: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

7

ไวมาก จะตองจัดการเกี่ยวกบัการจัดเก็บการบํารุงรักษาใหอยูในสภาพดี ไมเสื่อมสภาพหรือหมดอาย ุ

ขอจํากัด/ขอควรระวัง

• สินทรัพยหมนุเวยีนนัน้รวมลูกหนี้ดวย ซ่ึงการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญยังไมเปนมาตรฐานเดยีวกัน อาจเกิดปญหาการวิเคราะหมีสินทรพัยหมนุเวยีนสูงเกินจริง

• ในการวิเคราะหดูแนวโนมในแตละปของหนวยงานหนึง่ ควรใชสูตรการคํานวณเดียวกัน เพื่อหลีกเลี่ยงขอผิดพลาดในการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห

• ควรดูคาดัชนี Current Ratio ประกอบกับ Quick Ratio ถา Current Ratio มีคาสูงกวาQuick Ratio มาก แสดงถึงการสะสมวัสดุคงคลังเปนจาํนวนมาก ซ่ึงไมเปนผลดีตอการบริหารจัดการทรัพยากร

• เพื่อหลีกเลี่ยงขอผิดพลาดในการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห ตองพิจารณารายละเอียดของสินทรัพยหมุนเวียนและหนี้สินหมนุเวยีน ตวัอยางเชน หนวยงาน 2 แหง มีอัตราสวนเงินทุนหมุนเวยีนมีคาเทากับ 2 เหมือนกนั แตหนวยงานที่ 2 สินทรัพยหมุนเวียนเกือบทั้งหมดประกอบดวยสินคาคงคลัง ไมใชเงินสด (ซ่ึงเงินสดมีสภาพคลองกวา) จึงอาจมีปญหาในการชําระหนีร้ะยะสั้นเมื่อเทียบกับหนวยงานที่ 1

1.2 อัตราสวนสินทรัพยคลองตัว (Quick Ratio) เปนเกณฑวัดความสามารถในการชําระหนี้ระยะส้ันไดดยีิ่งขึ้น เนื่องจากการคํานวณจะรวมเฉพาะสินทรพัยที่มีสภาพคลองสูง คือเงินสดหรือใกลเคียงเงินสด(สินทรัพยหมนุเร็ว) โดยไมพิจารณาสินคาคงเหลือ

สูตรมาตรฐาน เงินสด + หลักทรัพยในความตองการของตลาด + ลูกหนีร้ะยะสั้น

หนี้สินหมนุเวยีน

สูตรปรับใชรง.5 เงินสดและรายการเทยีบเทาเงินสด + ลูกหนี้ที่เรียกเก็บได

รวมหนี้สินหมนุเวยีน

คําอธิบาย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงนิสดและรายการเทียบเทาเงินสด (เงินงบประมาณ + เงินนอกงบประมาณ) ณ เดือนนี้

Page 8: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

8

ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บได ลูกหนี้ที่หนวยงานประมาณการวาจะไดรับการชําระหนี้จากลูกหนี้ โดยนําอัตราการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมาปรับใชในการคํานวณ โดยคํานวณจากลูกหนี้ทุกประเภท ใชขอมูลลูกหนี้แยกตามประเภท ณ เดือนนี้

ตัวอยาง มีลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD นอก CUP ตางจังหวัด = 50,000 บาท มีลูกหนี้คารักษาชําระเงิน = 10,000 บาท

ดังนั้น ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บได = (ลูกหนี้คารักษาสิทธิ UC OPD/IPD นอก CUP ตางจังหวัดทีเ่รียกเกบ็ได) + (ลูกหนี้คารักษาชําระที่เรียกเก็บได) = (50,000 x 0.8) + 0

= 40,000 บาท (โปรดดูตารางแสดงอัตราการคิดคาเผื่อหนีส้งสัยจะสูญที่นํามาใชในการวิเคราะห ประกอบตวัอยาง)

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินที่ตองมีภาระในการชําระหนี้ภายใน 1 ป ใชขอมูลรวมหนี้สิน หมุนเวียน ณ เดือนนี้

การแปรผล

• นอยกวา 1 : 1 ขาดสภาพคลอง

• ระหวาง 1 – 1.5 : 1 มีสภาพคลองทางการเงินด ี(โดยทัว่ไปการปองกันความเสี่ยงจากการมีหนี้สินระยะสัน้ หนวยงานตองมีอัตราสวนสินทรัพยคลองตัว(Quick Ratio) อยางนอยเทากับ 1)

• มากกวา 1.5 : 1 มีสภาพคลองเกิน โดยอาจเทยีบกับโรงพยาบาลระดับเดยีวกัน ขอจํากัด/ขอควรระวัง

• ควรพิจารณารายละเอียดของเงินสดและลูกหนี้ หากมีลูกหนี้สูง ตองบริหารจัดการความสามารถของหนวยงานในการเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้ (การเพิ่มลูกหนี้ที่มากเกินไป จะไมเปนผลดีตอสภาพคลอง)

• สถานบริการสุขภาพตองมีการบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและสามารถปรับอัตรา รอยละคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ใหเหมาะสมกับสภาพปญหาและสถานการณการเงินของแตละแหงได

• การวิเคราะหสถานการณ ควรใชทั้ง Current Ratio และ Quick Ratio ประกอบกัน

1.3. อัตราสวนเงินสดตอหนี้สินหมุนเวียน เปนเกณฑวัดความสามารถในการชําระหนี้ระยะสั้นดวยเงินสด ซ่ึงเปนสินทรัพยหมุนเวยีนทีห่มุนเร็วที่สุด และสามารถเปลี่ยนมือไดงายท่ีสุด

สูตรปรับใชรง.5 เงินสดและรายการเทยีบเทาเงินสด X 100

รวมหนี้สินหมนุเวยีน

Page 9: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

9

คําอธิบาย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด (เงินงบประมาณ + เงินนอกงบประมาณ) ณ เดือนนี้ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินที่ตองมีภาระในการชําระหนี้ภายใน 1 ป ใชขอมูลรวมหนี้สินหมุนเวียน ณ เดือนนี้ การแปรผล

• มากกวา 40% ถือวามีสภาพคลองของเงินสดดี ถามากกวา100% แสดงวาหนวยงานสํารองเงินสดมากเกินไป ไมนําไปกอใหเกิดการลงทุนเพื่อการดําเนนิงาน

• นอยกวา 40% ถือวาขาดสภาพคลองของเงินสด คายิ่งต่าํ ยิ่งขาดสภาพคลอง ขอจํากัด / ขอควรระวัง

• อาจมีสวนเงนิสดที่เปนงบลงทุนและเงนิกองทุนUC ในสวนของลูกขายที่แมขายตองนําไปใชซ้ือยา/เวชภัณฑมใิชยาฯใหกับลูกขาย โดยรายการดังกลาวไมสามารถนํามาใชในการชําระหนี้ได

• ควรใช งบกระแสเงินสด ประกอบการวิเคราะห เนื่องจากการวิเคราะหแหลงที่มาและที่ใชไปของเงนิสด จะชวยใหผูบริหารในการวางแผนระยะสั้นเกีย่วกบัเงินสด โดยเฉพาะอยางยิ่งการวเิคราะหกระแสเงนิสดจากกจิกรรมดําเนินงาน ซ่ึงหากกระแสเงินสดจากกิจกรรมนี้เปนยอดติดลบ ยอมชี้ใหเห็นถึงปญหาทางการเงิน ที่ผูบริหารตองรีบดําเนินการแกไข

2. ดัชนีวิเคราะหประสิทธิภาพในการใชทรัพยากรและการบรหิารจัดการ เพื่อประเมินวาสินทรัพยทีม่ีอยู

ถูกนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพ 2.1 อัตราผลตอบแทนสุทธิ (กําไรสุทธิ) จากสินทรัพยท้ังหมด (Return on Assets) เปนอัตราสวนที่วัดประสิทธิภาพการดําเนนิงานไดวาหนวยงานไดใชสินทรัพยที่มีอยูภายใตการควบคุมใหกอเกิดรายไดและ ควบคุมคาใชจายใหเหมาะสม

สูตรมาตรฐาน กําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี

สินทรัพยรวมเฉลี่ย

สูตรปรับใชรง.5 รายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายสุทธิ

(Σ(รวมสินทรัพย – คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ – ลูกหนี้ที่เรียกเก็บไมได)) / จํานวนเดือนที่รายงาน

Page 10: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

10

คําอธิบาย รายไดสงู(ต่ํา)กวาคาใชจายสทุธิ รวมรายไดตั้งแตตนปลบดวยรวมคาใชจายตั้งแตตนป ลบ ดวยขาดทุนจากรายการพิเศษ ใชขอมูลชองรายไดสูง(ต่าํ)กวาคาใชจายสุทธิ รวมตั้งแตตนป

Σ(รวมสินทรัพย – คาเผื่อหนี้สงสัยจะสญู – ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บไมได) ผลรวมของรวม สินทรัพย ณ เดือนนี้ ลบดวย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ เดือนนี ้ ลบดวย ลูกหนี้ทีเ่รียกเก็บไมได ณ เดือนนี้ โดยคํานวณผลรวมตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนที่นําขอมูลมาวิเคราะห คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จํานวนเงินที่กันไวสําหรับลูกหนี้ที่คาดวาจะเรียกเก็บไมได ตัวเลขของคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตองมีคาติดลบ ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บไมได ลูกหนี้ที่หนวยงานประมาณการวาจะไมไดรับการชําระหนี้จากลูกหนี้ โดยนําอัตราการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมาปรับใชในการคํานวณ โดยคํานวณจากลูกหนี้ทุกประเภท (สามารถดูตัวอยางการคํานวณไดที่ขอ 1.1)

จํานวนเดือนท่ีรายงาน ผลรวมของจํานวนเดือนตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนที่นํา ขอมูลมาวิเคราะห การแปรผล

• สูงกวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน มีความสามารถในการใชสินทรัพยหมุนเวียนทั้งหมดของหนวยงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยหนวยงานใชสินทรัพยหมุนเวียนทั้งหมดขององคกร กอใหเกิดรายไดและควบคุมคาใชจายไดเหมาะสม

• ต่ํากวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน ความสามารถในการใชสินทรัพยหมุนเวียนทั้งหมดของหนวยงานมีประสิทธิภาพนอย โดยหนวยงานใชไมสามารถสินทรัพยหมนุเวยีนทั้งหมดขององคกรใหเกิดรายได และควบคุมคาใชจายไมเหมาะสม

ขอจํากัด/ขอควรระวัง

• รวมรายไดนั้นเปนรายไดทุกหมวดรวมทั้งงบลงทุนดวย รวมคาใชจายมีคาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย หนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญ ถาหนวยงานไมไดบนัทึกรายการคาเสื่อมราคา คาตัดจาํหนาย หนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญ จะทําใหขอมูลที่นํามาวิเคราะหมีคาใชจายต่ํากวาที่เปนจริง สงผลใหรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายสุทธิ สูงเกินจริงได

• สําหรับหนวยงานที่คิดคาคาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย เปนป ผลการวิเคราะหจะถูกตองที่สุด ณ วันสิ้นรอบระยะบญัชี เนื่องจากหนวยงานไดมีการปรับมูลคาสินทรัพยใหตรงตามความเปนจริง และตองปรับปรุงบัญชีกอนการคํานวณรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายสุทธิ

Page 11: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

11

• ถาหนวยงานมคีวามสามารถในการเรยีกเกบ็หนี้จากลูกหนี้ ใหชําระเงินอยางมีประสิทธิภาพ มีการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และดาํเนินการตดัหนี้สูญ จะทําใหไดผลการวิเคราะหที่ถูกตอง

2.2 อัตราหมุนเวียนของสนิทรัพยรวม (Total Asset Turnover) ประเมินวา สินทรัพยทั้งหมดของหนวยงาน สามารถทําใหเกิดรายไดอยางไร ซ่ึงสะทอนถึงประสิทธิภาพในการใชทรัพยากรไดคุมคาและเกิดประโยชนมากนอยเพียงใด

สูตรมาตรฐาน รายไดสุทธิ

สินทรัพยรวมเฉลี่ย

สูตรปรับใชรง.5 รวมรายได – รายไดงบประมาณลงทุน – รายไดกองทุนUC(งบลงทุน)

(Σ(รวมสินทรัพย – คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ – ลูกหนี้ที่เรียกเก็บไมได)) / จํานวนเดือนที่รายงาน

คําอธิบาย รวมรายได รายไดที่ไดรับทั้งหมดรวมตั้งแตตนป (รวมรายไดจากการดําเนินงาน + รวมรายไดที่ไมเกดิจากการดําเนนิงาน) ใชขอมูลรวมรายได รวมตั้งแตตนป

Σ(รวมสินทรัพย – คาเผื่อหนี้สงสัยจะสญู – ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บไมได) ผลรวมของรวม สินทรัพย ณ เดือนนี้ ลบดวย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ เดือนนี ้ ลบดวย ลูกหนี้ทีเ่รียกเก็บไมได ณ เดือนนี้ โดยคํานวณผลรวมตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนที่นําขอมูลมาวิเคราะห คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จํานวนเงินที่กันไวสําหรับลูกหนี้ที่คาดวาจะเรียกเก็บไมได ตัวเลขของคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตองมีคาติดลบ ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บไมได ลูกหนี้ที่หนวยงานประมาณการวาจะไมไดรับการชําระหนี้จากลูกหนี้ โดยนําอัตราการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมาปรับใชในการคํานวณ โดยคํานวณจากลูกหนี้ทุกประเภท (สามารถดูตัวอยางการคํานวณลูกหนี้ที่เรียกเก็บไมได ที่ขอ 1.1)

จํานวนเดือนท่ีรายงาน ผลรวมของจํานวนเดือนตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนที่นํา ขอมูลมาวิเคราะห การแปรผล

• สูงกวาโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน มีประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยใหเกิดรายไดมาก

Page 12: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

12

• ต่ํากวาโรงพยาบาลในกลุมเดยีวกัน ขาดประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยใหเกิดรายได

ขอควรระวัง/ขอเสนอแนะ

• ถาหนวยงานมคีวามสามารถในการเรยีกเกบ็หนี้จากลูกหนี้ ใหชําระเงินอยางมีประสิทธิภาพ มีการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และดาํเนินการตดัหนี้สูญ จะทําใหสามารถไดผลการวิเคราะหที่ถูกตอง

• สําหรับหนวยงานที่คิดคาคาเสื่อมราคา คาตัดจาํหนาย เปนป ผลการวิเคราะหจะถูกตองที่สุด ณ วนัสิ้นรอบระยะบัญชี เนื่องจากหนวยงานตองปรับปรุงบัญชีและมีการปรับมูลคาสินทรัพยใหตรงตามความเปนจริง

2.3 อัตราหมุนเวียนของวัสดคุงเหลือ (Inventory Turnover) อัตราสวนนี้ใชวัดอัตราการหมุนเวียนของวัสดุคงเหลือ เพื่อใหทราบถึงประสิทธิภาพความคลองตัวของหนวยงานวาสามารถจําหนายสินคาไดเร็วเพียงใด ถาอัตราสวนนี้มคีายิ่งสูงยิ่งแสดงวาสินคาสามารถขายไดเร็ว แสดงถึงประสิทธิภาพในการบริหารวัสดุคงเหลือของหนวยงาน สูตรมาตรฐาน

ตนทุนขาย สินคาคงเหลือเฉลี่ย

สูตรปรับใชรง.5 (คาวัสดุรวมตัง้แตตนป / จํานวนเดือนที่รายงาน) X 12

(Σวัสดุคงเหลือ) / จํานวนเดอืนที่รายงาน

คําอธิบาย

คาวัสดุรวมตัง้แตตนป คือคาใชจายที่ประกอบดวย ยา เวชภัณฑมิใชยา วสัดุทางการแพทย วสัดุวิทยาศาสตรและการแพทย คาวัสดุทัว่ไป คาครุภณัฑมูลคาต่ํากวาเกณฑ รวมตั้งแตตนปหารดวยจํานวนเดือนที่รายงาน และปรับใหเปน 1 ป (คูณดวย 12) เนื่องจากการวิเคราะหมาตรฐานจะใชเปนป ใชขอมลูคาวัสดุ รวมตั้งแตตนป

Σวัสดุคงเหลอื ผลรวมของสินทรัพยหมุนเวยีนที่เปนวัสดุคงเหลือประกอบดวย ยา เวชภณัฑมใิชยา วัสดุทางการแพทย วัสดุวิทยาศาสตรและการแพทย และวัสดุอ่ืน ๆ โดยใชขอมูลวัสดคุงเหลือ ณ เดอืนนี้ โดยคํานวณผลรวมตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนที่นําขอมูลมาวิเคราะห

Page 13: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

13

จํานวนเดือนท่ีรายงาน ผลรวมของจํานวนเดือนตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนที่นํา ขอมูลมาวิเคราะห

การแปรผล

• สูงกวาโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวามีการหมุนเวยีนของวสัดุคงเหลือไดเร็ว แสดงถึงการมีประสิทธิภาพในการบริหารวัสดุคงคลังของหนวยงาน และมีโอกาสนําสินทรัพยหมนุเวยีนไปกอใหเกิดรายไดมากขึ้น

• ต่ํากวาโรงพยาบาลในกลุมเดยีวกัน แสดงวามีการหมุนเวยีนของวสัดุคงเหลือไดชา แสดงถึงการขาดประสิทธิภาพในการบรหิารวัสดุคงคลังของหนวยงาน และสูญเสียโอกาสในการนําสินทรัพยหมุนเวยีนไปกอใหเกิดรายได

2.4 ระยะเวลาการหมุนเวียนของวัสดุคงเหลือ อัตราสวนนี้แสดงถึงระยะเวลาการหมนุเวยีนของวัสดุคงเหลือ วายาวนานเพียงใด และเปนตวัวดัระดับวัสดุคงเหลือที่หนวยงานสํารองเชน ยา เวชภัณฑมิใชยา เปนตน ไวมากหรือนอยเกินไป เมือ่เทยีบกับการใช ซ่ึงจะทําใหเห็นประสิทธิภาพการสํารองวัสดุคงเหลือ สูตรมาตรฐานและสูตรปรับใชรง.5

365วัน อัตราหมุนเวยีนของวัสดุคงเหลือ

คําอธิบาย

365 วัน หมายถึงจํานวนวนัใน 1 ป อัตราการหมุนเวียนวัสดุคงเหลือ ผลการคํานวณจากขอ 2.3

การแปรผล

• โดยทั่วไปไมควรมากกวา 90 วัน ถานอยมากอาจมีปญหาการขาดแคลนวัสดุ ไมเพียงพอตอความตองการของหนวยงาน ยกเวนมีระบบการจัดหาที่ด ี

• สูงกวาโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงถึงหนวยงานมีระยะเวลาการเก็บวัสดุคงเหลือตอ 1 รอบ ยาว สํารองวัสดุคงเหลือไวมากเกินไป

• ต่ํากวาโรงพยาบาลในกลุมเดยีวกัน แสดงถึงหนวยงานมรีะยะเวลาการเก็บวัสดุคงเหลือตอ 1 รอบ ส้ัน

Page 14: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

14

ขอจํากัด / ขอควรระวัง

• สําหรับหนวยงานที่อยูในพืน้ที่หางไกล การเดินทางไมสะดวก อาจมีระยะเวลาการหมุนเวียนของวัสด ุคงเหลือสูง เนื่องจากมีความจําเปนที่ตองมีการสั่งซ้ือวัสดุคราวละมากๆ

• หนวยงานที่มกีารสั่งซ้ือวัสดุคราวละมากๆ เพื่อตองการรับสวนลดสูงจากการสั่งซ้ือ ควรตองพิจารณาเปรียบเทยีบกับตนทุนในการเก็บรักษาวัสดุคงเหลือและความสูญเสียของวัสดุคงเหลือหมดอายุ โดยเฉพาะยา เวชภณัฑมใิชยา

2.5 อัตราสวนหนี้สินรวมตอสินทรัพยรวม (Debt-to-Asset Ratio) หรือโดยทั่วไปเรียกวา อัตราสวนหนีสิ้น (Debt Ratio) แสดงความสัมพันธหนีสิ้นรวมกับสินทรัพยรวมที่มอียูทั้งหมด อัตราสวนนี้จะแสดงใหทราบวา หนวยงานมีเงินลงทุนในสวนทีเ่ปนสินทรัพยทั้งหมดมาจากหนีสิ้นเปนอัตราสวนเทาใด ซ่ึงใชวัดภาระหนี้ของหนวยงาน

สูตรมาตรฐาน หนี้สินรวม สินทรัพยรวม

สูตรปรับใชรง.5 รวมหนี้สิน - รายไดรับลวงหนากองทนุ UC - รายไดรับลวงหนากองทุนอื่น

รวมสินทรัพย – คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ – ลูกหนี้ที่เรยีกเกบ็ไมได

คําอธิบาย

รวมหนี้สิน หนี้สินทั้งหมดประกอบดวย รวมหนี้สินหมุนเวียนและหนี้สินไมหมนุเวยีน ใชขอมูล รวมหนี้สิน ณ เดือนนี้ ของรายงานเดือนสุดทายที่นํามาวิเคราะห รายไดรับลวงหนากองทุน UC ใชขอมูลรายไดรับลวงหนาเงินกองทนุ UC ณ เดือนนี้ ของ รายงานเดือนสุดทายที่นํามาวิเคราะห

การแปรผล

• สูงกวาโรงพยาบาลกลุมเดียวกัน แสดงถึงหนวยงานมีภาระหนีสิ้นที่ตองชําระสูง สถานะทางการเงินไมดี มีความเสี่ยงสูง

• ต่ํากวาโรงพยาบาลกลุมเดียวกัน แสดงถึงหนวยงานภาระหนี้สินทีห่นวยงานตองชําระต่ํา สถานะทางการเงินดี

Page 15: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

15

ขอจํากัด / ขอเสนอแนะ

• สินทรัพยรวม ลูกหนี้เปนรายการสินทรัพยที่มีความสําคัญในการวเิคราะห ตองประเมินสัดสวนของลูกหนี้ตอสินทรัพย แตหนวยงานขาดความสามารถในการเรียกเก็บการชําระหนี้จากลูกหนี ้ จะมีผลทําใหอัตราสวนนี้ต่ํากวาความเปนจริง

• รวมหนี้สิน หนวยงานตองมีการบันทึกเจาหนี้ที่ถูกตอง หากไมบันทกึรายการเจาหนี้ หรือบันทึกไมครบถวน (โดยเฉพาะเจาหนีก้ารคา-ยา และ เจาหนี้คารักษาตามจาย) จะมีผลทําใหอัตราสวนนี้ต่ํากวาความเปนจริง

เมื่อมีอัตราสวนหนี้สินรวมตอสินทรัพยรวมที่ต่ํากวาความเปนจริง อาจทําใหหนวยงานประเมินสถานการณการเงนิไดไมถูกตอง ขาดการวางแผนสําหรับการชําระหนีใ้นอนาคต

2.6 สัดสวนลกูหนี้คารักษาตอรวมสินทรัพยหมุนเวียนเฉล่ีย เพื่อประเมินความเสี่ยงของหนวยงาน เนื่องจากลูกหนี้คารักษาพยาบาล เปนลูกหนี้ที่มีจํานวนมากและอาจมปีญหาในการเรียกเก็บ อาจกอใหเกิดความเสี่ยงดานการเงินตอสถานพยาบาลได

สูตรปรับใชรง.5

(Σลูกหนี้คารักษาที่เรียกเก็บได / จํานวนเดอืนที่รายงาน) X 100

(Σ(รวมสินทรัพยหมุนเวยีน – คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ – ลูกหนี้ที่เรยีกเกบ็ไมได)) / จํานวนเดือนที่รายงาน

คําอธิบาย ลูกหนี้คารักษาที่เรียกเก็บได ลูกหนี้คารักษาทุกประเภท ที่หนวยงานประมาณการวาจะ ไดรับการชําระหนีจ้ากลูกหนี้โดยนําอัตราการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมาปรับใชในการ คํานวณ ใชขอมูลลูกหนี้คารักษาแยกตามประเภท ณ เดอืนนี ้ โดยคํานวณผลรวมตั้งแตตน ปงบประมาณจนถึงเดือนทีน่ําขอมูลมาวิเคราะห (สามารถดูตัวอยางการคํานวณลูกหนี้ที ่ เรียกเก็บได ทีข่อ 1.2)

Σ(รวมสินทรัพยหมุนเวียน–คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ–ลูกหนี้ท่ีเรียกเก็บไมได) ผลรวมของ รวมสินทรัพยหมุนเวียน ณ เดือนนี้ ลบดวย คาเผื่อหนีส้งสัยจะสูญ ณ เดือนนี้ ลบดวย ลูกหนี้ที่เรียกเก็บไมได ณ เดือนนี้ โดยคํานวณผลรวมตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนที ่ นําขอมูลมาวิเคราะห การแปรผล

• สูงกวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน ถือวามีความเสี่ยงสูงและถามีแนวโนมเพิ่มขึ้นอาจหมายถึงการเกิดปญหาการชําระหนี้คารักษาพยาบาล

Page 16: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

16

• ต่ํากวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน ถือวามีความเสี่ยงต่ําแตตองดูแนวโนมระยะยาว ถาเพิ่มขึ้นอาจเกดิปญหาการชําระหนี้คารักษาพยาบาล

ขอเสนอแนะ

• ในกรณีมีคาสัดสวนสูง หนวยงานมีการบริหารจัดการในการเรยีกเกบ็หนี้จากลูกหนี้อยางมีประสิทธิภาพ จะทําใหความเสี่ยงลดลง และเปนผลดีตอการดําเนินงานของหนวยงาน

• ถาหนวยงานมกีารบันทึกรายการบัญชีที่ถูกตอง มีการคิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และดําเนินการตัดหนี้สูญ หนวยงานสามารถใชอัตราสวนหมุนเวียนของลูกหนี้และระยะเวลาถัวเฉลี่ยการเก็บหนี้ ประกอบการวิเคราะหตอไปได

2.7คาใชจายดานบุคลากรตอคาใชจายจากการดําเนินงาน อัตราสวนนี้ใชในการประเมินคาใชจายดานบุคลากรของหนวยงาน ซ่ึงเปนตนทุนคงที่และเปนคาใชจายหลักของหนวยงาน โดยเปรียบเทียบคาใชจายในการดําเนินงานทัง้หมด แสดงถึงภาระคาใชจายดานบุคลากรในการดําเนินงาน

คําอธิบาย

สูตรปรับใชรง.5 (คาใชจายดานบุคลากร + คาตอบแทน ) X 100

รวมคาใชจายจากการดําเนินงาน – คาใชจายโอนไป

คาใชจายดานบุคลากร คาใชจายดานบคุลากรรวมตั้งแตตนปประกอบดวย เงินเดือน คาจางประจํา คาจางชั่วคราว คาใชจายดานบุคลากรอื่นๆ ใชขอมูลคาใชจายบุคลากร รวม ตั้งแตตนป

คาตอบแทน ใชขอมูลคาตอบแทน รวมตัง้แตตนป รวมคาใชจายจากการดําเนินงาน ใชขอมูลคาใชจายจากการดําเนินงานรวมตั้งแตตนป ลบดวย คาใชจายโอนไปรวมตั้งแตตนป เนื่องจากคาใชจายโอนไปเปนรายการคาใชจายที่ไมไดทําใหเกิดผลการดําเนินงานของหนวยงาน

การแปรผล

• สูงกวาโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวาหนวยงานมีภาระคาใชจายในดานบุคลากรสูง หนวยงานนําสินทรัพยไปใชจายในการดําเนินงานดานอื่นๆไดนอย

• ต่ํากวาโรงพยาบาลในกลุมเดยีวกัน แสดงวาหนวยงานมภีาระคาใชจายในดานบุคลากรต่ํา หนวยงานสามารถนําสินทรัพยไปใชจายในการดําเนินงานดานอืน่ๆ ไดมาก

Page 17: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

17

ขอเสนอแนะ

• การวิเคราะหตองดู I/E Ratio ประกอบดวย ถาคาใชจายดานบุคลากรต่าํ แตพบวา I/E Ratio นอยกวา 1 เกิดจากหนวยงานที่มีคาใชจายจากการดําเนินงานสูง ทําใหสัดสวนคาแรงต่ํา

• ขอมูลที่จะใชเพื่อพิจารณาขัน้ตอไป คือสัดสวนคาตอบแทนตอคาแรงทั้งหมด ถาสูงดวยหมายถึงจะตองมีการบรหิารจัดการเพือ่ลดการจายคาตอบแทนใหม หรือเปลี่ยนมาตรการการจางงานเปนการจางเหมาบริการและตองควบคุมการเบิกจายอยางมีประสิทธิภาพ

• สําหรับสถานบริการสุขภาพซึ่งเปนหนวยงานภาครัฐ ตนทุนคาแรงไดแก เงินเดือน คาจางประจํา คาจางชั่วคราว และคาใชจายดานบุคลากรอื่นๆ ไมสามารถลดตนทุนในสวนนี้ไดหรือลดไดคอนขางยาก หนวยงานจะตองใชทรัพยากรบุคคลใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

2.8 คาใชในการสัมมนาและฝกอบรมตอคาใชจายจากการดําเนินงาน แสดงถึงการใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรของหนวยงาน โดยมุงเพิ่มองคความรูและประสิทธิภาพของบุคลากรในการปฏบิัติงาน สูตรปรับใชรง.5

คาใชจายในการสัมมนาและฝกอบรม X 100 รวมคาใชจายจากการดําเนินงาน – คาใชจายโอนไป

คําอธิบาย คาใชจายในการสัมมนาและฝกอบรม คาใชจายในการอบรมสัมมนาทั้งที่หนวยงาน จัดเองและที่สงไปอบรมภายนอก รวมตั้งแตตนป

รวมคาใชจายจากการดําเนินงาน ใชขอมูลคาใชจายจากการดําเนินงานรวมตั้งแตตนป ลบดวย คาใชจายโอนไปรวมตั้งแตตนป เนื่องจากคาใชจายโอนไปเปนรายการคาใชจายที่ไมไดทําใหเกิดผลการดําเนินงานของหนวยงาน

การแปรผล

• สูงกวาโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวามีการพัฒนาบุคลากรสูง สงผลใหบุคลากรมีความรูความสามารถสูง

• ต่ํากวาโรงพยาบาลในกลุมเดยีวกัน แสดงวามีการพัฒนาบุคลากรนอยสงผลใหบุคลากรมีความรูความสามารถนอย อาจสงผลตอประสิทธิภาพในการใหบริการ

Page 18: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

18

ขอเสนอแนะ

• ผูบริหารหรือหนวยงาน ควรมีการประเมินประสิทธิภาพและประสทิธิผลของบุคลากรหลังเขารับการสัมมนาและฝกอบรม เพื่อวัดความคุมคาในการลงทุนดานพฒันาบุคลากร และวางแผนการพฒันาบุคลากรไดอยางเหมาะสม

3. ดัชนีวิเคราะหผลการดําเนินงานของหนวยงาน 3.1อัตราสวนรายไดสงู(ต่ํา)กวาคาใชจายสทุธิตอรวมรายไดจากการดําเนินงาน เปนการวดัความสามารถในการจดัการ แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการหารายไดและควบคมุคาใชจาย

สูตรปรับใชรง.5 รายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายสุทธิ

รวมรายไดจากการดําเนินงาน-รายไดงบประมาณงบลงทุน- รายไดกองทุน UC (งบลงทุน)

คําอธิบาย รายไดสงู(ต่ํา)กวาคาใชจายสทุธิ กําไรหรอืขาดทุนจากการดําเนินงานตั้งแตตนป ใชขอมูล รายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายสุทธิ รวมตั้งแตตนป รวมรายไดจากการดําเนินงาน ใชขอมูลรวมรายไดจากการดาํเนินงานรวมตั้งแตตนป ในการวิเคราะหใหลบดวยรวมรายไดงบประมาณงบลงทุนและรายไดกองทุนUC(งบลงทุน) การแปรผล

• สูงกวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน มีความสามารถในการหารายไดและการควบคุมคาใชจายไดเหมาะสม

• ต่ํากวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน ขาดความสามารถในการหารายไดและไมสามารถควบคุมคาใชจายไดเหมาะสม

ขอเสนอแนะ / ขอควรระวัง

• หนวยงานที่มคีาดัชนีนี้สูง ควรพิจารณาดงันี้ ในชวงเวลาที่ยงัไมปดรอบระยะบัญชี อาจมีผลทําใหคาดัชนีสูงได เนื่องจากหนวยงานยังไมมีการบันทึกรายการคาใชจายที่เปน คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย การตัดหนี้สูญ ดังนั้นการวเิคราะหในเดือนที่ปดบัญชี จะใหผลการวิเคราะหที่มีความเที่ยงตรงและถูกตอง

หากหนวยงานขาดประสิทธิภาพในการเรียกเก็บหนี้ เมื่อปดรอบระยะบัญชี จะทําใหคาอัตราสวนนี้ลดลง เนื่องจากมีหนี้สูญ ทําใหกําไรลดลง

Page 19: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

19

3.2 สัดสวนรายไดคารกัษาตอรวมรายไดจากการดาํเนินงาน อัตราสวนนี้ใชในการประเมินความสามารถในการหารายไดคารักษาพยาบาลของหนวยงาน

สูตรปรับใชรง.5 (รายไดคารักษาสิทธิUC + รายไดคารักษาอืน่ๆ) X 100

รวมรายไดจากการดําเนินงาน-รายไดงบประมาณงบลงทุน- รายไดกองทุน UC(งบลงทุน)

คําอธิบาย รายไดคารักษาสิทธิUC + รายไดคารักษาอื่นๆ ใชขอมูลรายไดคารักษาพยาบาลทุก ประเภทสิทธิ รวมตั้งแตตนป

รวมรายไดจากการดําเนินงาน ใชขอมูลรวมรายไดจากการดาํเนินงานรวมตั้งแตตนป ในการวิเคราะหใหลบดวยรวมรายไดงบประมาณงบลงทุนและรายไดกองทุนUC(งบลงทุน)

การแปรผล

• สูงกวาโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวามีความสามารถในการหารายไดคารักษาพยาบาล

• ต่ํากวาโรงพยาบาลในกลุมเดยีวกัน แสดงวาขาดความสามารถในการหารายไดคารักษาพยาบาล

3.2.1สัดสวนรายไดคารักษาสิทธิUCตอรวมรายไดจากการดําเนินงาน แสดงถึงประสิทธิภาพในการทํากําไรของรายไดสิทธิ UC เพื่อประเมินสัดสวนรายไดแตละประเภท

สูตรปรับใชรง.5 รายไดคารักษาสิทธิUC X 100

รวมรายไดจากการดําเนินงาน-รายไดงบประมาณงบลงทุน- รายไดกองทุน UC(งบลงทุน)

คําอธิบาย รายไดคารักษาสิทธิUC ใชขอมูลรายไดคารักษาพยาบาลสิทธิUC รวมตั้งแตตนป

รวมรายไดจากการดําเนินงาน ใชขอมูลรวมรายไดจากการดาํเนินงานรวมตั้งแตตนป ในการวิเคราะหใหลบดวยรวมรายไดงบประมาณงบลงทุนและรายไดกองทุนUC(งบลงทุน)

การแปรผล

• สูงกวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวารายไดสวนใหญของหนวยงานมาจากรายไดคารักษาพยาบาลจากผูรับบริการ ควรเปรียบเทียบกับรายไดรับลวงหนากองทุน UC ซ่ึงอาจทําใหเกิดความเสี่ยงในการดําเนินงาน

Page 20: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

20

• ต่ํากวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวาหนวยงานอาจสามารถหารายไดคารักษาพยาบาลจากผูรับบริการที่ไมใชสิทธิ UC ไดมากกวา ซ่ึงจะตองพจิารณาสัดสวนรายไดคารักษาพยาบาลจากกลุมผูรับบริการอื่นตอไป

3.2.2สัดสวนรายไดคารักษาเบิกคลังและตนสังกัดตอรวมรายไดจากการดําเนินงาน แสดงถึงการมีประสิทธิภาพในการบริการและการหารายไดของหนวยงาน เนือ่งจากขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกจิ/เจาหนาที่องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนกลุมที่สามารถเลือกสถานบริการสุขภาพในการรักษาไดไมจํากดัเครือขาย และเปนกลุมลูกหนี้ที่สามารถเรียกเก็บใหชําระหนี้ไดเกือบเต็มจํานวนถึงรอยละ 95 (ตัง้คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอัตรารอยละ 5) ซ่ึงถามีผูรับบริการกลุมนี้มาใชบริการมาก จะกอใหเกิดรายไดกับหนวยงานมาก

สูตรปรับใชรง.5 รายไดคารักษาเบิกคลังและตนสังกัด X 100

รวมรายไดจากการดําเนินงาน-รายไดงบประมาณงบลงทุน- รายไดกองทุน UC(งบลงทุน)

คําอธิบาย รายไดคารักษาเบิกคลังและตนสงักัด ใชขอมูลรายไดคารักษาเบิกคลังและตนสังกัด รวมตั้งแตตนป

รวมรายไดจากการดําเนินงาน ใชขอมูลรวมรายไดจากการดาํเนินงานรวมตั้งแตตนป ในการวิเคราะหใหลบดวยรวมรายไดงบประมาณงบลงทุนและรายไดกองทุนUC(งบลงทุน)

การแปรผล

• สูงกวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวารายไดสวนใหญของหนวยงานมาจากรายไดคารักษาเบิกคลังและตนสังกัด แสดงถึงประสิทธิภาพในการหารายได สงผลถึงความมั่นคงทางการเงินของหนวยงาน

• ต่ํากวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวาหนวยงานอาจมีปญหาในคุณภาพในการใหบริการ หรือขอจํากัดของหนวยงานในการดําเนินงาน เชนความไมสะดวกในการเดินทางหรือความเชี่ยวชาญในการรักษาเฉพาะทาง ทําใหขาราชการ/พนักงานรัฐวสิาหกิจ/เจาหนาที่องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไมเลือกใชบริการ

3.2.3สัดสวนรายไดคารักษาประกันสังคมตอรวมรายไดจากการดําเนนิงาน แสดงถึงการมีประสิทธิภาพในการบริการและการหารายไดของหนวยงาน ถามีกลุมผูรับบริการสิทธิประกันสังคมในเครือขายมาก จะกอใหเกิดรายไดกับหนวยงานมาก

Page 21: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

21

สูตรปรับใชรง.5 รายไดคารักษาประกันสังคม X 100

รวมรายไดจากการดําเนินงาน-รายไดงบประมาณงบลงทุน- รายไดกองทุน UC(งบลงทุน)

คําอธิบาย รายไดคารักษาสิทธิประกันสังคม ใชขอมูลรายไดคารักษาพยาบาลสิทธิประกันสังคม รวมตั้งแตตนป

รวมรายไดจากการดําเนินงาน ใชขอมูลรวมรายไดจากการดาํเนินงานรวมตั้งแตตนป ในการวิเคราะหใหลบดวยรวมรายไดงบประมาณงบลงทุนและรายไดกองทุนUC(งบลงทุน)

การแปรผล

• สูงกวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน แสดงวามีประสิทธิภาพในการหารายไดคารักษาสิทธิประกันสังคม หนวยงานตั้งอยูในในพี้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมีโอกาสที่ผูมีสิทธิประกันสังคมเลือกขึ้นทะเบียนใชบริการ สงผลถึงความมั่นคงทางการเงินของหนวยงาน

• ต่ํากวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลในกลุมเดียวกัน หนวยงานอาจไมไดตัง้อยูในในพีน้ที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรม แตถาหนวยงานตัง้อยูในในพีน้ที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมและสัดสวนนี้มีคาต่ํา หนวยงานควรมีการพิจารณาคุณภาพในการใหบริการ และปญหาในการเลือกใชบริการ

3.3ตนทุนเฉล่ียตอผูปวยนอก ( Unit Cost OPD) แสดงประสิทธิภาพในการบรหิารตนทุนตอการใหบริการผูปวยนอก

สูตรปรับใชรง.5

รวมคาใชจายจากการดําเนินงาน - คาใชจายโอนไป ผูปวยนอก (คร้ัง) + (ผูปวยใน (คน) X Factor)

คําอธิบาย รวมคาใชจายจากการดําเนินงาน ใชขอมูลคาใชจายจากการดําเนินงานรวมตั้งแตตนป ลบดวย คาใชจายโอนไปรวมตั้งแตตนป เนื่องจากคาใชจายโอนไปเปนรายการคาใชจายที่ไมไดทําใหเกิดผลการดําเนินงานของหนวยงาน

ผูปวยนอก (คร้ัง) จํานวนผูปวยนอก (คร้ัง) รวมตั้งแตตนป ผูปวยใน (คน) จํานวนผูปวยใน (คน) รวมตัง้แตตนป

Page 22: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

22

Factor โรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทั่วไป ใชคาเทากับ 18 โรงพยาบาลชุมชน ใชคาเทากับ 14

การแปรผล

• สูงกวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลขนาดเดียวกัน แสดงวาขาดประสิทธิภาพในการควบคุมตนทุนคาใชจายใหเหมาะสม

• ต่ํากวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลขนาดเดียวกัน แสดงวามีประสิทธิภาพในการควบคุมตนทุนคาใชจายใหเหมาะสม

ขอเสนอแนะ

• ตองมีการวิเคราะหคณุภาพและศักยภาพของการใหบริการรวมดวย เชน อัตราตายผูปวยใน สัดสวนผูปวย Refer In / Refer Out มาประกอบการวิเคราะห

3.4ตนทุนเฉล่ียตอผูปวยใน (Unit Cost IPD) แสดงประสิทธิภาพในการบรหิารตนทุนตอการใหบริการผูปวยใน

สูตรปรับใชรง.5

ตนทุนเฉลี่ยตอผูปวยนอก X Factor

คําอธิบาย Factor โรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทั่วไป ใชคาเทากับ 18

โรงพยาบาลชุมชน ใชคาเทากับ 14 การแปรผล

• สูงกวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลขนาดเดียวกัน แสดงวาขาดประสิทธิภาพในการควบคุมตนทุนคาใชจายใหเหมาะสม

• ต่ํากวาคาเฉล่ียของโรงพยาบาลขนาดเดียวกัน แสดงวามีประสิทธิภาพในการจดัหารายได

3.5สัดสวนรายไดตอคาใชจาย (I/E Ratio) อัตราสวนนี้ใชในการประเมินประสิทธิภาพในการดําเนินงานของสถานพยาบาล เปรียบเทียบดานรายรับตอรายจาย

สูตรปรับใชรง.5

รวมรายได-รายไดงบประมาณงบลงทุน- รายไดกองทุน UC(งบลงทุน) รวมคาใชจาย - คาใชจายโอนไป

Page 23: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

23

คําอธิบาย รวมรายได ใชขอมูลรวมรายได รวมตั้งแตตนป ในการวิเคราะหใหลบดวยรวม รายไดงบประมาณงบลงทุนและรายไดกองทุนUC(งบลงทุน) รวมคาใชจาย ใชขอมูลรวมคาใชจา รวมตั้งแตตนป ลบดวย คาใชจายโอนไปรวมตั้งแต ตนป เนื่องจากคาใชจายโอนไปเปนรายการคาใชจายที่ไมไดทําใหเกิดผลการดําเนินงาน ของหนวยงาน การแปรผล

• มากกวา 1 ถือวาดี มีประสิทธิภาพการบริหารงานกอใหเกดิรายได และมีประสิทธิภาพควบคุมคาใชจายไดเหมาะสม

• นอยกวา 1 ถือวาไมดี ขาดประสิทธิภาพการบริหารงาน มีรายไดเขาหนวยงานนอย ขาดประสิทธิภาพการควบคุมคาใชจาย ตองพิจารณาวามีคาใชจายรายการใดที่สามารถควบคุมไดและบรหิารจัดการลดคาใชจายนั้นใหเหมาะสม หากไมสามารถลดคาใชจายใดๆได ตองบริหารจัดการใหเกดิรายไดมากยิง่ขึ้น

Page 24: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

24

การวิเคราะหเฝาระวังสถานการณทางการเงินการคลัง ปงบประมาณ 2549 ใชดชันีในชุดการวิเคราะหสถานการณการเงนิของหนวยงาน ไดแก ทุนสํารองสุทธิ(Net Working Capital) แทนดวย A และ สวนตางรายรับกับรายจายตอเดือน (Average net Income) แทนดวย B

การวิเคราะหใชสูตร C = A / B

ถา A เปนลบและ B เปนลบ ถือวาวิกฤต ิถา C มีคานอยกวา 3 เดือน ตองรีบตรวจสอบสถานะการเงินโดยละเอียด ถา Net Working Capital (NWC) เปนลบ จะตองเฝาระวัง ถา Average net Income (ANI) เปนลบ จะตองเฝาระวัง ขอสังเกตจากการคํานวณจดัเปนกลุมตามแผนภูมิดงันี ้แกนสินทรัพยสุทธิ

กลุมท่ี ๒ A (NWC) เปน + B (ANI) เปน - ตองเฝาระวงั/ปรับประสิทธิภาพ/ควบคุมตนทุน

กลุมท่ี ๔ A (NWC) เปน + B (ANI) เปน + เปนกลุมปกต ิ

กลุมท่ี ๑ A (NWC) เปน -

+

กลุมท่ี ๓ A (NWC) เปน -

B (ANI) เปน - ตองเฝาระวงัอยางมาก/ปรับตัวเรงดวน

B (ANI) เปน + ตองเฝาระวงั / พัฒนาตอเนื่อง

-

แกนกําไรสุทธิเฉล่ีย +

-

Page 25: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

25

มีการจัดกลุมเปน 4 กลุม 7 ระดับ ดังนี ้ กลุม 1 ระดับ 1 มีภาวะวกิฤติทางการเงิน กลุม 2 ระดับ 2 คาดวาจะประสบปญหาภายใน 3 เดือน กลุม 2 ระดับ 3 คาดวาจะประสบปญหาภายใน 6 เดือน กลุม 2 ระดับ 4 คาดวาจะประสบปญหาภายหลัง 6 เดือน กลุม 3 ระดับ 5 คาดวาจะดีขึ้นภายใน 3 เดือน กลุม 3 ระดับ 6 คาดวาจะดีขึ้นภายหลัง 3 เดอืน กลุม 4 ระดับ 7 ปกต ิ

แนวคดินี้เปนการตั้งขอสันนิษฐานเบื้องตนในการจัดกลุมหนวยงานเปน Scanning Test เบื้องตน จําเปนตองเขาศึกษาสถานะหนวยงานอกีครั้ง และในระยะยาวควรมกีารศึกษาความแมนยําเพิ่มเติมอีก

Page 26: การวิเคราะห ดัชนีชี้วั าน ... · 2006-09-05 · การวิเคราะห ดัชนีชี้วั านการเงิน

26

บรรณานุกรม

กชกร เฉลิมกาญจนา. การบัญชีบริหาร. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2548

ดวงมณี โกมารทัต และคณะ. การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพทอป จํากัด , 2547

สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ. แนวทางเฝาระวังสถานการณดานการเงินการคลงัและทรัพยากรสุขภาพ ของสถานบริการสุขภาพ ในสังกดักระทรวงสาธารณสุข . พิมพคร้ังที่ 2 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพนิว ธรรมดาการพิมพ(ประเทศไทย)จํากดั , 2547

อรวรรณ กิจปราชญ. การบัญชีเพื่อการจัดการ. พิมพคร้ังที่ 2 . กรุงเทพฯ : แผนกการพิมพ มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย , 2542