เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ......

100
เทคนิคการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเอกสารสรุปผลการดําเนินงาน ตามโครงการหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ งบประมาณตามยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชนประจําปงบประมาณ พ.. ๒๕๕๔ จังหวัดสิงหบุรี .......................................................... สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี โทร. ๐๓๖-๕๐๗๑๒๖

Upload: others

Post on 28-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

“ เทคนิคการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ”

เอกสารสรุปผลการดําเนินงาน ตามโครงการหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

งบประมาณตามยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชนประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดสิงหบุรี

..........................................................

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี โทร. ๐๓๖-๕๐๗๑๒๖

Page 2: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

2

คํานํา ปงบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพัฒนาชุมชน ไดรับการจัดสรรงบประมาณใหจังหวัด

ดําเนินการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ใน ๒ ระดับ คือ “พออยู พอกิน” “อยูดี กินดี” จํานวน ๑๒ หมูบาน ครอบคลุมในทุกอําเภอๆละ ๑ หมูบาน พรอมท้ัง ไดประกาศใหเปนปแหงวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ในการดําเนินงานกิจกรรม/โครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ จังหวัดไดดําเนินการใหทุกพ้ืนท่ีไดเรียนรู พัฒนาการขับเคล่ือนตามแนวทางและข้ันตอนของการดําเนินงานเอกสารเลมนี้ไดสรุปเทคนิคการขับเคลื่อนการพัฒนาหมูบานเปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ รูปแบบการเสริมสรางความรูความเขาใจในการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการขับเคลื่อนหมูบาน/ชุมชน เพ่ือใหหมูบาน/ชุมชน มีความสุขมวลรวมชุมชนเพ่ิมข้ึนตามเปาหมายท่ีกรมการพัฒนาชุมชนกําหนดและใหชุมชนมีความสุขท่ียั่งยืน ชุมชนเขมแข็ง ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตท่ีดีมีความสุข

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี จึงหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารฉบับคงเปนเครื่องมือในการเรียนรูและเปนรูปแบบการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบในการนําไปปรับใชในพ้ืนท่ีชุมชนหมูบาน และพัฒนาความเปนหมูบานตนแบบไดอยางเหมาะสมและมีความสุขมวลรวมไดอยางดี

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี

Page 3: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

3

สารบัญ หนา

คํานํา สารบัญ

สวนท่ี ๑ การดําเนินงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ๔ สวนท่ี ๒ กระบวนการเรียนรูการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ๑๓ สวนท่ี ๓ เทคนิคและรูปแบบการทํางานท่ีนาสนใจ ๓ หมูบาน ๒๓

Page 4: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

4

สวนท่ี ๑

การดําเนินงานการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

ความเปนมา ( กรมการพัฒนาชุมชน , ๒๕๕๔ ) พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม ฉบับท่ี ๑๐

พ.ศ. ๒๕๐๕ ใหแยกงานพัฒนาการทองถ่ินออกจากกรมมหาดไทย ใหรับผิดชอบงานพัฒนาการทองถ่ินรวมกับประชาชนในหมูบานชนบทในเขตพัฒนาชุมชน โดยบริหารและดาเนินงานพัฒนาชุมชนตามหลักการ และแนวนโยบายดาเนินงานท่ีกําหนดไวในแผนพัฒนาชุมชนแหงชาติ ซ่ึงถือเปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแตวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๐๕ เปนตนมางานพัฒนาชุมชนมุง“สอน” ชาวบานใหรูจักการพ่ึงพาตนเองเห็นคุณคาและรูจักใชประโยชนจากการพัฒนาดานวัตถุพรอมกับการพัฒนาตนเองในทางท่ีฉลาดและเหมาะสมปจจุบันไดมีกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.๒๕๕๒ กําหนดใหกรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจเก่ียวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของประชาชน สงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหมีความม่ันคงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนใหมีการจัดทา และใชประโยชนจากขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห วิจัย จัดทายุทธศาสตรชุมชน ตลอดจนการฝกอบรม และพัฒนาบุคลากรท่ีเก่ียวของในการพัฒนาชุมชน เพ่ือใหเปนชุมชนเขมแข็งอยางยั่งยืน ภารกิจท่ีกรมการพัฒนาชุมชนไดรับมอบหมายจากกระทรวงมหาดไทยและรัฐบาล ชี้วาหนาท่ีความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน ไมใชการดาเนินกิจกรรมพัฒนาใหชุมชนหรือใหบริการสาธารณะแกชุมชน แตเปนการสงเสริมใหชุมชนดาเนินการพัฒนา ซ่ึงกลาวไดวาความเจริญของชุมชนเปนผลผลิตของประชาชนในชุมชนนั้น การท่ีประชาชนในชุมชนตื่นตัวมีจิตสานึกท่ีจะพัฒนาชุมชนของตนเองเขามามีสวนรวมกันสรางสรรคความเจริญใหแกชุมชนและแกไขปญหาของตนเอง โดยการรวมกลุมบริหารกิจกรรมของชุมชนเปนผลผลิตของของพัฒนากร เปาหมายของกรมการพัฒนาชุมชน คือ ชุมชนเขมแข็ง ประชาชนพ่ึงตนเองไดและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข กระบวนการพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชนมุงเนนประชาชนเปนศูนยกลางในการพัฒนา กรมฯไดนอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาดาเนินการเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน โดยการพัฒนาศักยภาพชุมชน สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานราก สงเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชน สนับสนุนการใชประโยชนจากขอมูลในการวางแผนชุมชน เพ่ือแกปญหาของชุมชน และสงเสริมใหเกิดการจัดการความรูของชุมชน ซ่ึงมีความสอดคลองกับหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันท่ีดี ตลอดจนการใชความรู ความชอบธรรมและคุณธรรม สูเปาหมายการเสริมสรางใหชุมชนเขมแข็งพ่ึงตนเองไดอยางยั่งยืน

Page 5: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

5

๒. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตรการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กระทรวงมหาดไทย ไดมอบใหกรมการพัฒนาชุมชน เปนเจาภาพหลักรับผิดชอบในการ ขับเคลื่อนขยายผลหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงโดยบูรณาการการทางานรวมกันในทุกกรม รัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะ กรมการปกครองและกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใหสัมฤทธิ์ผลอยางยั่งยืน และไดจัดทากรอบแนวคิดในการขับเคลื่อน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใหเปนการศึกษาผลสาเร็จของการพัฒนา รากฐานของชีวิตประชาชนในหมูบาน โดยใชหลักการพัฒนาแบบมีสวนรวม “การทางานรวมกัน” (work with , not work for) และ “การเรียนรูจากการปฏิบัติ”(learning by doing) และใชเทคนิค “กระตุนความคิด สรางจิตสานึก ดวยการตั้งคําถามท่ีโดนใจ” ไมใช “บอกใหจํา” (แลวมักนิ่งเฉย) เริ่มตนดวยตัวชี้วัด ๖x๒ เปนเปาหมาย (begin with the end in mind)โดยใชพัฒนากร อาสาสมัคร ผูนา

ชุมชน เปนชุดปฏิบัติการรวมกับกรรมการหมูบานและภาคีการพัฒนาเพ่ือใหเกิดผลเปนรูปธรรมท้ังในระดับ

หมูบานและครัวเรือน โดยมีกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ วิสัยทัศน พันธกิจ ข้ันตอนการ

ดาเนินงาน คือ

ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนรากฐานของชีวิตประชาชนในหมูบาน วิสัยทัศน ประชาชนมีความสุขดวยการดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในป ๒๕๕๔ พันธกิจ สนับสนุนใหประชาชนดารงชีวิตอยางมีความสุขดวยการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนรากฐานของชีวิต

การพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ คือ การจัดการพัฒนาหมูบานหรือชุมชน ประชาชนใหมีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงและอยูดีมีสุขดวยการนอมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาเปนแนวทางในการดาเนินงาน โดยเนนประชาชนเปนศูนยกลางการพัฒนาในการเสริมสรางชุมชนใหเขมแข็งและสามารถเปนแหลงเรียนรูสาหรับการขยายผลใหกับหมูบานและผูสนใจอ่ืนๆ ตอไป การดาเนินการจัดเปน ๔ ข้ัน ประกอบดวย

ข้ันที่ ๑. การประเมินและการแยกประเภทหมูบานหรือชุมชน ๑. การพัฒนาหมูบานจะดาเนินในหมูบานตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ใชฐานขอมูลกรมการ

ปกครอง พ.ศ.๒๕๕๙ จานวน ๗๔,๔๓๕ หมูบาน ตามสภาพภูมิสังคมของแตละหมูบาน โดยการประสานพลังการพัฒนาจากภายในชุมชน (Outside-in) โดยกระบวนการแผนชุมชน และพลังการสงเสริม สนับสนุนของหนวยงานจากภายนอกในการจัดกิจกรรมเพ่ือสรางการเรียนรูและพัฒนาทักษะชีวิตของชุมชน

๒. สงเสริมหมูบานหรือชุมชนใหมีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงดวยหลักการการมีสวนรวมเปดโอกาสใหประชาชนในหมูบานหรือชุมชนเปนผูดาเนินการพัฒนาเพ่ือตนเอง ตามแนวคิดประชาชนเปนศูนยกลางดวยการเรียนรูดวยการปฏิบัติจริง โดยมีเปาหมายการพัฒนา ตามเกณฑ ประเมิน ๖ ดาน ๑๒ ตัวชี้วัด

๑.ดานการลดรายจาย (๑.๑ ครัวเรือนทาสวนครัว ๑.๒ ครัวเรือนปลอดอบายมุข) ๒.ดานการเพ่ิมรายได (๒.๑ ครัวเรือนมีอาชีพเสริม ๒.๒ ครัวเรือนใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม) ๓.ดานการประหยัด (๓.๑ ครัวเรือนมีการออมทรัพย ๓.๒ ชุมชนมีกลุมออมทรัพยฯ) ๔.ดานการเรียนรู (๔.๑ ชุมชนมีการสืบทอดและใชภูมิปญญาทองถ่ิน ๔.๒ ครัวเรือนมีการ

เรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจาวัน) ๕.ดานการอนุรักษส่ิงแวดลอมและใชทรัพยากรธรรมชาติอยางย่ังยืน (๕.๑ชุมชนใชวัตถุดิบ

อยางยั่งยืนในการประกอบอาชีพ ๕.๒ชุมชนปลูกตนไมใหรมรื่นเปนหมูบานนาอยู)

Page 6: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

6

๖.ดานการเอ้ืออารีตอกัน (๖.๑ ชุมชนมีการดูแลชวยเหลือคนจน คนดอยโอกาส และคน

ประสบปญหา ๖.๒ ชุมชน “รูรักสามัคคี” มีกิจกรรมการแกปญหารวมกัน) โดยมีพัฒนากร อาสาสมัคร ผูนําชุมชน รวมเปนชุดปฏิบัติการขับเคลื่อนรวมกับภาคีการพัฒนา

๓. สงเสริมหมูบานหรือชุมชนเพ่ือยกระดับเปนแหลงเรียนรูในหมูบานท่ีมีการดําเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผานเกณฑ ๖ ดาน ๑๒ ตัวชี้วัดแลว ใหมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู เพ่ิมความสามารถของครอบครัวท่ีดาเนินการใหสามารถถายทอดความรู ประสบการณ กําหนดเปนจุดเรียนรูในหมูบาน และทาใหชุมชนเปนแหลงเรียนรูดวยการมีการจัดตั้งศูนยเรียนรูชุมชนเพ่ือจัดกิจกรรมใหการเรียนรูรวมกันของคนในหมูบานหรือชุมชน และใหการเรียนรูแกผูสนใจจากภายนอกชุมชนซ่ึงไดดําเนินการสงเสริมใหหมูบานเปนแหลงเรียนรูได ในป พ.ศ.๒๕๕๑ จานวน ๑๑,๔๓๐ หมูบาน

๔. การดาเนินการสงเสริมการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คํานึงถึง อัตลักษณและภูมิสังคมของแตละชุมชน เพ่ือการใชวิธีการในการสงเสริมท่ีแตกตางกัน ระหวางในหมูบานหรือชุมชนท่ัวๆ ไปกับหมูบานหรือชุมชน ในพ้ืนท่ีหางไกลและกันดาร ท่ีใชในแนวทางการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (กปร.)เปนหมูบานมีลักษณะเปนพ้ืนท่ีสูงเปนท่ีอยูของชาวเขา ชนกลุมนอย พ้ืนท่ีพัฒนาเพ่ือการศึกษาผลสําเร็จของการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ |

๕ ความม่ันคงตามแนวชายแดน พ้ืนท่ีท่ีเสนทางการคมนาคมยากลาบากหางไกล เสี่ยงภัย มีโรคภัยไขเจ็บ ชุกชุม มีความเปนอยูยากลาบาก ดังนั้น เพ่ือใหเกิดผลในทางปฏิบัติผูทาหนาท่ีสงเสริมการพัฒนาจึงตองพิจารณาและศึกษาสภาพชุมชนเพ่ือเตรียมความพรอมใหเขาใจ เพ่ือเลือกวิธีการเขาถึง เพ่ือการพัฒนาท่ีสัมฤทธิ์ผล

ขั้นท่ี ๒ การคัดเลือกหมูบานหรือชุมชน เปนพื้นท่ีเปาหมายในการพัฒนาเปนหมูบานพัฒนาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

๑. การประเมินหมูบาน/ชุมชน ท่ีมีวิถีชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖ ดานแลว สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจะทาการประเมินหมูบานหรือชุมชน เพ่ือแยกระดับหมูบานตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชเกณฑชี้วัดของกระทรวงมหาดไทย ๔ ดาน ๒๓ ตัวชี้วัด เปนเกณฑในการประเมินและพิจารณาแยกประเภท จัดระดับหมูบาน โดยมุงเนนใหเสนอหมูบานท่ีผานเกณฑจริงๆ เนนในเชิงคุณภาพ ไมเนนปริมาณ

๒. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจัดทาบัญชีหมูบานเปาหมาย โดยการนาผลการประเมินหมูบาน มาจัดประเภทของแตละหมูบาน เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงข้ันพ้ืนฐาน ๓ ระดับ

- ระดับ “พออยู พอกิน” เปนตนแบบในการใชชีวิตพ่ึงตนเองเนนการปฏิบัติทากินทาใชใน ครัวเรือน เพ่ือลดรายจาย เพ่ิมรายไดและมีการออมและข้ันกาวหนา

- ระดับ “อยูดี กินดี” เปนตนแบบในการบริหารจัดการพัฒนาในรูปกลุมการพัฒนารายได ดวยระบบกลุม เพ่ือเพ่ิมรายไดและขยายโอกาสคนในชุมชน

- ระดับ “ม่ังมี ศรีสุข” เปนตนแบบการบริหารการพัฒนาในรูปแบบองคกรเครือขายเพ่ือใช ศักยภาพในการดาเนินการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน เพ่ือขยายโอกาสในการประกอบอาชีพและสงเสริมการจัดสวัสดิการใหกับคนในหมูบานชุมชน ซ่ึงท้ัง ๓ ระดับนี้สามารถพัฒนาไปได เฉพาะระดับของตนเองไมจําเปนตองพัฒนาเปนลาดับหรือข้ันตอนตอกันไป

Page 7: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

7

๓. การตรวจสอบผลการประเมินหมูบานและชุมชน และจัดเรียงลาดับ เพ่ือกําหนดหมูบานเปาหมาย โดยสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนําเสนอผลการประเมินใหศูนยอํานวยการปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัด (ศจพ.จ.) พิจารณาตรวจสอบและจัดลาดับหมูบานเปนหมูบานพัฒนาตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแตละระดับของจังหวัด พรอมท้ังกําหนดหมูบานเปาหมายในการพัฒนาใหเปนหมูบานตนแบบของจังหวัด

ข้ันที่ ๓ การพัฒนาขยายผลวิถีชีวิตประชาชนตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง เม่ือกําหนดหมูบานเปาหมายในแตละระดับ ของจังหวัดแลวเพ่ือใหเกิดการพัฒนาใหเปนหมูบานพัฒนา

ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ จึงตองมีกิจกรรมเพ่ือเพ่ิมความสามารถของประชาชน และศักยภาพของชุมชน คือ

๑. การเพ่ิมศักยภาพ ของแกนนําชุมชน ใหมีความสามารถในการขับเคลื่อนการพัฒนาหมูบานหรือชุมชนไดดวยชุมชนเอง โดยใหศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชน (ศพช.) เปนผูรับผิดชอบฝกอบรมสรางแกนนาการพัฒนาหมูบานซ่ึงเปนตัวแทนจากหมูบานเปาหมาย การศึกษาผลสําเร็จของการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

๒. การพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ตามเปาหมายในการเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ มุงหมายใหประชาชนในหมูบานนอมนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชเปนวิถีชีวิตของชุมชน จังหวัดจะจัดกิจกรรมเพ่ือ

๒.๑ สรางการเรียนรูของประชาชนและเกิดการยอมรับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช ในชีวิตประจาวัน

๒.๒ สรางกระบวนการเรียนรูสภาพของชุมชนและฝกการตัดสินใจเพ่ือการพัฒนาชุมชน โดยคนในชุมชน ดวยกิจกรรมการปรับแผนชีวิตสาหรับครอบครัวและแผนชุมชนสาหรับชุมชน

๒.๓ กิจกรรมเพ่ิมทักษะการประกอบกิจกรรมการดารงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงใน ครัวเรือน ทักษะการบริหารจัดการกิจกรรมกลุม ทักษะการบริการจัดการเครือขายเพ่ือการพัฒนา ท้ังนี้ใหเปนไปตามพ้ืนฐานของหมูบานและระดับหมูบานเปาหมาย พรอมท้ังมีการจัดการความรูเพ่ือใชในการปรับปรุงงานการพัฒนาหมูบานตอไป ในการดาเนินการอาศัยหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนสําคัญ ในการจัดการเพ่ือใหเกิดมูลคาเพ่ิมใน ๓ มิติ คือ มิติดานเศรษฐกิจ โดยการพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานราก สรางรายได ขยายโอกาสของชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ (OTOP) ใหมีมาตรฐาน ผูบริโภคปลอดภัย ผูผลิตปลอดภัย และสิ่งแสดลอมปลอดภัย การสงเสริมแหลงทุนในชุมชนดวยการพัฒนาสถาบันการเงินชุมชน เพ่ือแกไขปญหาความยากจน หนี้นอกระบบ สรางสวัสดิการชุมชมชน มิติดานความม่ันคง โดยการปกปองสถาบัน ขยายแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริและคุณูปการของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสริมสรางการบริหารจัดการชุมชนอยางธรรมาภิบาล และเสริมสรางจิตสานึกปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติดานสังคม โดยการเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง เพ่ือใหสังคมเอ้ืออารีตอกัน ลดความขัดแยงแบงฝาย สรางความสมานฉันท ในการทางานเพ่ือชุมชนรวมกัน ดวยการะบวนการพัฒนาชุมชนมีสวนรวมในการเสนอความตองการ จัดทาแผนเพ่ือพัฒนาชุมชน รวมท้ังการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนโดยใชเกณฑความจาเปนพ้ืนฐาน (จปฐ.)

Page 8: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

8

ข้ันที่ ๔ การยกยองและเชิดชูเกียรติ ๑. การประกาศหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ดวยคณะกรรมการประเมินผลหลังการพัฒนา

หมูบานดวยเกณฑการประเมินผล ตรวจสอบและประกาศความสําเร็จของการเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

๒. สนับสนุนใหเขาสูกระบวนการ การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (กปร.)เพ่ือรับรางวัลถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ดวยการสนับสนุนใหบุคคล/ชุมชุน เขาสูกระบวนการประกวดดังกลาว

๓.หมูบานหรือชุมชนดาเนินการขับเคลื่อนการพัฒนาตอเนื่องเพ่ือใหหมูบานหรือชุมชน และประชาชนมีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอพียงอยางมีความสุข ดวยการดําเนินกิจกรรมประจาวันอยางพอเพียงท่ีมีพฤติกรรมของชุมชนประกอบดวย การศึกษาผลสําเร็จของการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ท่ีประกอบดวย ๓.๑ มีความพอประมาณ หมายถึงความพอเหมาะตอความจาเปนท่ีไมนอยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน

๓.๒ ยึดหลักความมีเหตุผล หมายถึงการตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะตอง เปนไปอยางมีเหตุมีผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยท่ีเก่ียวของตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทานั้นๆ อยางรอบคอบ

๓.๓ มีหลักการมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัว หมายถึงการเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงดานตางๆท่ีจะเกิดข้ึนโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคต

๓.๔ ดวยเง่ือนไขความรู ท่ีประกอบดวย ความรอบรูเก่ียวกับวิชาการตางๆ ท่ีเก่ียวของอยาง รอบคอบท่ีจะนาความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกันเพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในข้ันปฏิบัติ

๓.๕ พรอมท้ังเง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะตองเสริมสรางใหเกิดข้ึน ประกอบดวย มีความตระหนัก ในคุณธรรม และมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดาเนินชีวิต อาศัยกระบวนการจากความสัมพันธของประชาชนในการพัฒนา ตอยอดภูมิปญญาและวัฒนธรรมของทองถ่ิน ใหเปนหมูบานหรือชุมชนท่ีเขมแข็งพ่ึงตนเองได และพรอมท่ีจะเปนแหลงวิชาการใหการเรียนรูเพ่ือการพัฒนาใหกับหมูบานหรือชุมชนอ่ืนๆ ตอไป

๔. ผลการดําเนินงานที่ผานมา ๔.๑ ผลการดําเนินงานตั้งแตป ๒๕๔๙-๒๕๕๑

เพราะเปาหมายของการพัฒนาชุมชน คือ ชุมชนเขมแข็ง ประชาชนพ่ึงตนเองได และครอบครัวมีคุณภาพชีวิตท่ีดีมีความสุข โดยมุงเนนประชาชนเปนศูนยกลางการพัฒนา นอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาดําเนินการเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ตลอดจนสงเสริมใหเกิดการจัดการความรูของชุมชนภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันท่ีดี การใชความรู คูคุณธรรม มุงสูการเปนชุมชนเขมแข็งและพ่ึงพาตนเองไดอยางยั่งยืน

Page 9: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

9

กรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทยเปนหนวยงานหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน เพ่ือสนองตอบนโยบายรัฐบาลในการสรางความเขมแข็งชุมชนกับประสบการณท่ีสั่งสมมาอยางยาวนานกวาครึ่งทศวรรษบนเสนทางของการพัฒนาคน พัฒนาชุมชน ใหเกิดความสงบสุขและพ่ึงตนเองได อีกท้ังเปนแรงขับเคลื่อนสําคัญท่ีมุงเนนการทํางานเพ่ือใหประชาชนไดรับประโยชนและ “อยูเย็น เปนสุข” ภายใตยุทธศาสตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบบูรณาการ ดวยหลักการพัฒนาแบบมีสวนรวมผานโครงการท่ีประสบความสําเร็จในหลายๆโครงการ อาทิ การพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ตนแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ท่ีสรางความตระหนักให ผูนํา กลุม องคกรเครือขาย และชุมชน ท่ัวประเทศนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในวิถีชีวิตประจําวัน สรางภูมิคุมกันท่ีเขมแข็งตอการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยประเมินความสําเร็จสูหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบภายใตความพอเพียง ๓ ระดับ คือ ๑) พออยู พอกิน ตนแบบดานการพ่ึงตนเอง การทํากิน ทําใชในครัวเรือน เพ่ือลดรายจาย เพ่ิมรายได และมีการออม ๒) อยูดี กินดี ตนแบบในการบริหารจัดการพัฒนารายไดดวยระบบกลุม ซ่ึงเปนการเพ่ิมและขยายโอกาสคนในชุมชน ๓) ม่ังมี ศรีสุข คือ ตนแบบการพัฒนาในระบบเครือขาย เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ขยายโอกาสในการประกอบอาชีพและสงเสริมการจัดสรรสวัสดิการใหกับคนในชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ใหจังหวัดสิงหบุรี ไดจัดระดับหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียง เม่ือปงบประมาณ ๒๕๕๒ ตามแนวทางการประเมินหมูบานโดยกําหนดวัตถุประสงค เพ่ือประเมินการดําเนินงานของหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ขอมูลท่ีไดจะนํามาจัดระดับการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ใน 3 ระดับ คือ “พออยู พอกิน” “อยูดี กินดี” “ม่ังมี ศรีสุข” เพ่ือเปนตนแบบในการเรียนรู และเปนตัวอยางขยายผลการดําเนินงาน และเปนฐานขอมูลในการกําหนดแผนงานและแนวทางเพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานหมูบาน รวมท้ังการเผยแพรประชาสัมพันธ แบบประเมิน แบบประเมิน1 ชุด ใชประเมินหมูบาน 1 หมูบาน/ชุมชน เปนขอมูล เชิงประเมินผล การดําเนินงาน ประกอบดวยตัวชี้วัดการดําเนินงานจํานวนองคประกอบ 4 ดาน 23 ตัวช้ีวัด การจัดเก็บขอมูลและผูใหขอมูล

ผูจัดเก็บขอมูล คือทีมตําบล(ตามระเบียบวาระแหงชุมชน) ประกอบดวย ปลัดอําเภอเปนหัวหนา พัฒนากรประจําตําบล ทําหนาท่ีเปนเลขาฯ ผูใหขอมูล ดําเนินการจัดเวทีประชาคม โดยมีแกนนําชุมชนรวมใหขอมูล ใชผลการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ปท่ีผานมา (ป 2551) มาประกอบการประเมินในตัวชี้วัดท่ีเก่ียวของ พ้ืนท่ีการประเมิน ดําเนินการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงท่ีผานเกณฑชี้วัด 6x2 ในป 2550 ทุกหมูบานตองประเมินใหครบทุกดาน จํานวน 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด ตรวจสอบจํานวนตัวชี้วัดหลัก (ขอท่ีมี )

1) ระดับพออยู พอกิน จํานวนตัวชี้วัดหลัก 10 ตัวชี้วัด ( ไดแกตัวชี้วัดในขอ 1,2,4,8,10,13,16,17,20,21)

2) ระดับอยูดี กินดี จํานวนตัวชี้วัดหลัก 17 ตัวชี้วัด (ไดแกตัวชี้วัดในขอ 1,2,3,4,5,8,9,10,11,13,14,16,17,19,20,21,22)

3) ระดับม่ังมี ศรีสุข

เกณฑการจัดระดับหมูบาน ระดับม่ังมี ศรีสุข หมายถึง หมูบานท่ีมีผลการดําเนินงานอยูในระดับม่ังมี ศรีสุข

ผานการประเมินครบ 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด

Page 10: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

10

ระดับอยูดี กินดี หมายถึง หมูบานท่ีมีผลการดําเนินงานอยูในระดับอยูดี กินดี เง่ือนไขคือ ผานการประเมินครบ 4 ดาน มีตัวชี้วัดผานจํานวน 17-22 ตัวชี้วัด และตองผานตัวช้ีวัดหลักจํานวน 17 ตัวช้ีวัด

ระดับพออยู พอกิน หมายถึง หมูบานท่ีมีผลการดําเนินงานอยูในระดับพออยู พอกิน คือ ผานการประเมินครบ 4 ดาน มีตัวข้ีวัดผานจํานวน 10-16 ตัวชี้วัด และตองผานตัวช้ีวัดหลักจํานวน 10 ตัวช้ีวัด

ผลการจัดระดับหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ จังหวัดสิงหบุรี ดังน้ี

ท่ี อําเภอ

ผลการจัดระดับหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ (จํานวน หมูบาน )

พออยู พอกิน อยูดี กินดี ม่ังมี ศรีสุข รวมหมูบาน

1 เมืองสิงหบุร ี - 58 - 58

2 อินทรบุรี 23 64 18 105

3 บางระจัน 77 - - 77

4 คายบางระจัน 57 2 - 59

5 พรหมบุรี 9 20 13 42

6 ทาชาง 23 - - 23

รวม ๑๘๙ ๑๔๔ ๓๑ ๓๖๔

จังหวัดสิงหบุรี ไดประกาศหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ประจําป 2551 จํานวน 3 หมูบาน ( ตามประกาศจังหวัดสิงหบุรี ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2551 ) 1) หมูบาน “พออยู พอกิน” ไดแก บานวิหารขาวหมูท่ี1ตําบลวิหารขาวอําเภอทาชาง 2) หมูบาน “ อยูดี กินดี”ไดแก บานบางเล็กหมูท่ี 4 ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี 3) หมูบาน “ม่ังมี ศรีสุข”ไดแก บานบางตาโฉม หมูท่ี 8 ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี

จังหวัดสิงหบุรี ไดประกาศหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบประจําป 2552 จํานวน 3 หมูบาน

( ตามประกาศจังหวัดสิงหบุรี ลงวันที่ 26 สิงหาคม 2552 ) 1) หมูบาน “ พออยู พอกิน”ไดแก บานวิหารขาวหมูท่ี 3 ตําบลวิหารขาว อําเภอทาชาง 2) หมูบาน “อยูดี กินดี” ไดแก บานวังกระจับ หมูท่ี1 ตําบลคอทรายอําเภอคายบางระจัน 3) หมูบาน “ ม่ังมี ศรีสุข”ไดแก บานบางเล็ก หมูท่ี 4 ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี

Page 11: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

11

จั งหวัดสิ งหบุ รี ไดประกาศหมู บ าน เศรษฐกิจพอเ พียงตนแบบ ประจํ าป 2553 จํานวน 6 หมูบาน ( ตามประกาศจังหวัดสิงหบุรี ลงวันที่ 18 สิงหาคม 2553 ) 1. หมูบาน “ พออยู พอกิน”จํานวน 2 หมูบาน 1.1 บานวิหารขาว หมูท่ี 3 ตําบลวิหารขาว อําเภอทาชาง 1.2 บานหนองโขลง หมูท่ี 1 ตําบลบานจา อําเภอบางระจัน 2. หมูบาน “ อยูดี กินดี” จํานวน 2 หมูบาน 2.1 บานหางบางบานไร หมูท่ี 5 ตําบลโพกรวมอําเภอเมือง 2.2 บานดอนตะโหนดหมูท่ี 7 ตําบลโพทะเล อําเภอคายบางระจั 3. หมูบาน “ ม่ังมี ศรีสุข” จํานวน 2 หมูบาน 3.1 บานตาลเดี่ยว หมูท่ี 1 ตําบลทองเอน อําเภออินทรบุรี 3.2 บานไผดํา หมูท่ี 5 ตําบลโรงชาง อําเภอพรหมบุรี

จังหวัดสิงหบุรี ไดสงผลงานการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจ คร้ังที่ 2 ใหสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) พิจารณาตามข้ันตอนผลการประกวดไดรับรางวัล ดังนี ้

รางวัลโลเกียรติยศจากนายกรัฐมนตรี 2 รางวัล 1. ประเภทประชาชนท่ัวไป ไดแก นายณรงค วิมา บานบางเล็ก

ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี 2. ประเภทธุรกิจขนาดยอม ไดแก รานสหกรณสิงหบุรี จํากัด

ตําบลบางพุทรา อําเภอเมืองสิงหบุรี

รางวัลเกียรติบัตรสํานักงาน กปร. 3 รางวัล ๑. ประเภทชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ไดแก ชุมชนบานวังกระจับ

ตําบลคอทราย อําเภอคายบางระจัน 2. ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม ไดแก นายธนพล ศรีใส บานเลขท่ี 51/1 หมูท่ี 3 ตําบลหัวปา อําเภอพรหมบุร ี

3. ประเภทหนวยงานองคกรภาครัฐในสวนภูมิภาค ไดแก องคการบริหาร สวนตําบลหัวไผ ตําบลหัวไผ อําเภอเมือง

Page 12: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

12

การดําเนินงานตามโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณ ประจําป ๒๕๕๔ จํานวน ๑๒ หมูบาน ดังนี ้

ลําดับ จังหวัด ช่ือบาน หมูท่ี ตําบล อําเภอ ระดับ

๑ สิงหบุรี ทองคุงใต 2 ทาขาม คายบางระจัน พออยู พอกิน

๒ สิงหบุรี พิกุลทองสามัคคี 3 พิกุลทอง ทาชาง พออยู พอกิน

๓ สิงหบุรี ดอนมะดูก 4 บานจา บางระจัน พออยู พอกิน

๔ สิงหบุรี สามัคคีธรรม 3 สระแจง บางระจัน พออยู พอกิน

๕ สิงหบุรี เกาช่ัง 1 บานหมอ พรหมบุรี พออยู พอกิน

๖ สิงหบุรี เชียงราก 6 ทองเอน อินทรบุรี พออยู พอกิน

๗ สิงหบุรี คลองขุด 3 หัวไผ เมืองสิงหบุรี พออยู พอกิน

๘ สิงหบุรี หวงมะระ 5 หนองกระทุม คายบางระจัน อยูดี กินดี

๙ สิงหบุรี จําปาทอง 5 โพประจักษ ทาชาง อยูดี กินดี

๑๐ สิงหบุรี พลู 3 พระงาม พรหมบุรี อยูดี กินดี

๑๑ สิงหบุรี บางประทุน 1 มวงหมู เมืองสิงหบุรี อยูดี กินดี

๑๒ สิงหบุรี ลําเหนือ 7 โพธิ์ชัย อินทรบุรี อยูดี กินดี

จังหวัดสิงหบุรี ไดแตงตั้งตามคําส่ังจังหวัดสิงหบุรี ท่ี ๕๘๐/๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๔เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการประเมินหมูบานเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ประจําป ๒๕๕๔ องคประกอบของคณะกรรมการฯ จํานวน ๑๒ คน ประกอบดวย รองผูวาราชการจังหวัดสิงหบุรี เปนประธาน ,ปลัดจังหวัด,นายแพทยสาธรณสุขจังหวัด,เกษตรและสหกรณจังหวัด,ทองถิ่นจังหวัด,ประมงจังหวัด,เกษตรจังหวัด,สหกรณจังหวัด,ปศุสัตวจังหวัด,พัฒนาการจังหวัดเปนเลขานุการ,หัวหนากลุมงานสงเสริมการพัฒนาชุมชนเปนกรรมการและเลขานุการ,นายคนอง สงชวยนักวิชาการชํานาญการเปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 13: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

13

สวนท่ี ๒

กระบวนการเรียนรู และการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

ปพุทธศักราช ๒๕๕๔ เปนปเนื่องในวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช จะทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา กรมการพัฒนาชุมชนจึงไดนําความสําเร็จจากการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบจากปท่ีผานมา เปนโครงการหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา และประกาศเปนปแหงวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เพ่ือถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯสรางวิทยากรกระบวนการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา

สรางแกนนําหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ตนแบบ “พออยู พอกิน” “อยูดี กินดี” “ม่ังมี ศรีสุข” สนับสนุนการรักษามาตรฐานการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบป ๒๕๕๒-๒๕๕๓สรางวิทยากรกระบวนการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ๘๔ พรรษาวัตถุประสงค เพ่ือเสริมสรางศักยภาพเจาหนาท่ีพัฒนาชุมชนใหมีความรู ในหลักการเพ่ิมประสิทธิภาพแกนนําหมูบานและการจัดระบวนการพัฒนาหมูบานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปาหมาย พัฒนากรผูรับผิดชอบหมูบานเปาหมายหมูบานละ ๑ คน ๑,๗๕๖ คน ๒๒ รุน ๆ ละ ๓ วันพ้ืนท่ีดําเนินการ กลุมจังหวัด ๑๘ กลุมสรางแกนนําหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบวัตถุประสงค เพ่ือใหแกนนําหมูบานมีความรูความเขาใจในหลักการและแนวทางการพัฒนาหมูบานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปาหมาย แกนนําหมูบานเปาหมาย ๘๕ รุน ๆ ละ ๖๐-๙๐ คน จังหวัดละ ๑-๒ รุน รวม ๕,๑๕๐ คนพ้ืนท่ีดําเนินการ ๗๕ จังหวัดหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเฉลิมพระเกียรติวัตถุประสงค เพ่ือสงเสริมการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาหมูบานใหมีระบบบริหารจัดการชุมชนเปาหมาย ระดับ “พออยู พอกิน” ๑,๒๗๘ หมูบาน (ครอบครัว)ระดับ “อยูดี กินดี” ๒๕๐ หมูบาน (รวมกลุม) ระดับ “ม่ังมี ศรีสุข”๒๒๘ หมูบาน (เครือขาย) พ้ืนท่ีดําเนินการ ๗๕ จังหวัด ๘๗๘ อําเภอ

การรักษามาตรฐานการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบวัตถุประสงค เพ่ือรักษา และพัฒนาคุณภาพความเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของปท่ีผานมา ใหคงมาตรฐานตามเกณฑการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ และการประเมินความสุขมวลรวมของชุมชนเปาหมาย ป ๒๕๕๒ จํานวน ๑๖๐ หมูบาน ป ๒๕๕๓ จํานวน ๘๗๗ หมูบานพ้ืนท่ีดําเนินการ ดําเนินการในระดับอําเภอ

Page 14: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

14

หมูบาน/ชุมชน ที่สามารถยกระดับเปนแหลงเรียนรู

หมูบาน/ชุมชนเขาสูการพัฒนา

หมูบาน/ชุมชน ที่ไดรับการสงเสริมวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

หมูบาน/ชุมชน ในพื้นที่

หางไกลและกันดารหมูบาน/ชุมชน ทั่วไป

การประเมิน/คัดเลือก หมูบาน/ชุมชน ที่เขาเกณฑการพัฒนา

การประเมินหมูบาน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

พัฒนาหมูบาน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง ตามเปาหมาย

ประเภทหมูบาน/ชุมชน

(“พออยู พอกิน” “อยูด ีกินด”ี “มั่งมี ศรีสุข”)

Road map หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง 2554

การยกยองเชิดชูเกียรติ

หมูบาน/ชุมชน/ประชาชนมีวิถีชีวิตความพอเพียงและมีความสุข

ขั้นที ่1การประเมิน

แยกประเภท

ขั้นที ่3รักษาและ

พัฒนา

ขยายผล

ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย

หลักเกณฑของ

สํานักงาน กปร.

คณะกรรมการระดับ

อําเภอ/จังหวัด

บูรณาการในระดับพื้นที ่อําเภอ/จังหวัด

เกณฑของกระทรวงมท.

(4 ดาน 23 ตัวชี้วัด)การประกาศหมูบาน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

ขั้นที ่4ยกยองเชิดชู

เกียรติบูรณาการในทุกระดับ

เกณฑชี้วัด 6X 2

หลักเกณฑศูนยเรียนรูชุมชน

การรักษาและขยายผลหมูบาน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

ดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวม

ขั้นที ่2คัดเลือกเปาหมาย

Page 15: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

15

กระบวนการขับเคลื่อนฯ หมูบาน ป ๒๕๕๔

หมูบาน ระดับ พออยู พอกิน

1. กิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนาในหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง "พออยู พอกิน" กลุมเปาหมาย เปนผูแทนครอบครัวพัฒนาจํานวน 30 คน

ประชุมเชิงปฏิบัติการ/สัมมนา เปนผูแทนครอบครัวพัฒนา ใหการเรียนรูวิถีชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลา 1 วัน

ผูแทนครอบครัวพัฒนา ศึกษาดูงานประสบการณการพัฒนาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง จาก แหลงเรียนรูตนแบบ ระยะเวลา 2 วัน 2. กิจกรรมการเรียนรูตนเองและกําหนดเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ดวยการฝกปฏิบัติการจัดทําแผนชีวิตของครัวเรือน ผูแทนครอบครัวพัฒนา จํานวน 30 คน ระยะเวลา 1 วัน 3. กิจกรรมสาธิตการดํารงชีวิตแบบพอเพียง ประชุมเชิงปฏิบัติการ/สัมมนา/สาธิตกิจกรรมการดํารงชีวิตตามแนววิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ระดับพออยู พอกิน กลุมเปาหมายเปนผูแทนครอบครัวพัฒนา 30 คน อยางนอย 2 ประเภท ประเภทละ 1 วัน ตัวอยางเชน กิจกรรมเพ่ือลดรายจาย กิจกรรมการสงเสริมการออม กิจกรรมสงเสริมการลดการใชพลังงาน การใชพลังงานทางเลือก พลังงานทดแทน กิจกรรมการปรับปรุงคุณภาพวัสดุเหลือใชเพ่ือใชประโยชน กิจกรรมการสงเสริมสุขภาพ เปนตน 4. กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางระบบการบริหารจัดการชุมชน และการเรียนรูเรื่องการพัฒนาประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข และการสรางความสมานฉันทสามัคคีของหมูบาน กลุมเปาหมาย จํานวน 30 คนระยะเวลา 1 วัน 5. กิจกรรมการจัดการความรูวิธีการปฎิบัติการพัฒนาหมูบาน ประชุมเชิงปฏิบัติการตัวแทนครอบครัวพัฒนา จํานวน 30 คนระยะเวลา 1 วัน เพ่ือติดตามและประเมินผลความสุขมวลรวมของชุมชน และการจัดการความรู เปนความรูเรื่องวิธีการปฏิบัติท่ีประสบความสําเร็จในการดําเนินการพัฒนาชุมชนในภาพรวมจัดทําเปนเอกสารความรู อยางนอย 1 ฉบับเพ่ือนําขอมูลความรูใชในการปรับปรุง พัฒนา และใชเปนชุดความรูเพ่ือเผยแพรในการขยายผลสูหมูบานอ่ืน

เปาหมาย หมูบานระดับ “พออยู พอกิน” จํานวน ๗ หมูบาน

งบประมาณ หมูบานระดับ พออยู พอกิน หมูบานละ 120,320 บาท) จํานวน ๗ หมูบาน รวม เปนเงิน

๘๔๒,๒๔๐ บาท คาใชจายในกิจกรรม ดังน้ี

- การจัดกิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนาในหมูบาน - การเรียนรูตนเองและกําหนดเปาหมายการพัฒนาคุณภาพชีวิต - การจัดกิจกรรมสาธิตการดํารงชีวิตแบบพอเพียง - การเสริมสรางระบบบริหารจัดการชุมชน - การจัดการความรูวิธีการปฏิบัติการพัฒนาหมูบาน

ระยะเวลาดําเนินการ ไตรมาสท่ี 2-3

Page 16: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

16

หมูบานระดับอยูดี กินดี

1. กิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนาในหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง "อยูดี กินดี"

กลุมเปาหมาย เปนผูแทนครอบครัวพัฒนาจํานวน 30 คน

ประชุมเชิงปฏิบัติการ /สัมมนากลุมเปาหมาย ใหการเรียนรูวิถีชีวิตเศรษฐกิจเพียง ระยะเวลา 1 วัน

ศึกษาดูงาน ประสบการณการพัฒนาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจากแหลงเรียนรูตนแบบ 2 วัน

2. กิจกรรมการเรียนรูตนเองและกําหนดเปาหมายการพัฒนา ดวยการฝกปฏิบัติการปรับแผนชุมชนเพ่ือสนับสนุนการดําเนินวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เปาหมายตัวแทนครอบครัวพัฒนา จํานวน 30 คน ระยะเวลา 1 วัน

3. กิจกรรมสาธิตการดํารงชีวิตแบบพอเพียง ประชุมเชิงปฏิบัติการ/สัมมนา /สาธิตกิจกรรมการดํารงชีวิตตามแนววิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ระดับอยูดี กินดี กลุมเปาหมายเปนผูแทนครอบครัวพัฒนา 30 คน อยางนอย 2 ประเภท ประเภทละ 1 วัน กิจกรรมตัวอยางเชน กิจกรรมเพ่ือสรางรายได กิจกรรมสงเสริมการออมทรัพยเพ่ือการผลิต กิจกรรมการสงเสริมการแปรรูผลิตภัณฑ กิจกรรมการพัฒนากระบวนการผลิตของกลุม กิจกรรมการพัฒนาพลังงานทดแทน กิจกรรมการพัฒนาแผนธุรกิจกลุมอาชีพ กิจกรรมการเสริมสรางสวัสดิการชุมชน อาทิเชน การปลูกตนไมไวใชประโยชนในอนาคตเปนตน

4. กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางระบบการบริหารจัดการชุมชน และการเรียนรูเร่ืองการพัฒนาประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข และการสรางความสมานฉันทสามัคคีของหมูบาน กลุมเปาหมาย จํานวน 30 คนระยะเวลา 1 วัน

5. กิจกรรมการจัดการความรูวิธีการปฏิบัติการพัฒนาหมูบาน ประชุมเชิงปฏิบัติการตัวแทนครอบครัวพัฒนา จํานวน 30 คนระยะเวลา 1 วัน เพ่ือติดตามและประเมินผลความสุขมวลรวมของชุมชน และการจัดการความรู เปนความรูเรื่องวิธีการปฏิบัติท่ีประสบความสําเร็จในการดําเนินการพัฒนาชุมชนในภาพรวมจัดทําเปนเอกสารความรู อยางนอย 1 ฉบับ เพ่ือนําขอมูลความรูใชในการปรับปรุงพัฒนาและใชเปนชุ ด ค ว า ม รู เ พ่ื อ เ ผ ย แ พ ร ใ น ก า ร ข ย า ย ผ ล สู ห มู บ า น อ่ื น เปาหมาย หมูบานระดับ “อยูดี กินดี” จํานวน ๕ หมูบาน

งบประมาณ หมูบานระดับ อยูดี กินดี หมูบานละ 125,320 บาท รวมเปนเงิน ๖๒๖,๖๐๐ บาท คาใชจายในกิจกรรม ดังนี้

- การจัดกิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนาในหมูบาน - การเรียนรูตนเองและกําหนดเปาหมายการพัฒนาคุณภาพชีวิต - การจัดกิจกรรมสาธิตการดํารงชีวิตแบบพอเพียง - กิจกรรมการเสริมสรางระบบบริหารจัดการชุมชน - การจัดการความรูวิธีการปฏิบัติการพัฒนาหมูบาน

ตัวช้ีวัดกิจกรรม

Page 17: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

17

หมูบานแตละระดับ ไดรับการพัฒนาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ตามเกณฑของกระทรวงมหาดไทย

ระดับ “พออยู พอกิน” ผานเกณฑ จํานวน 10 -16 ตัวช้ีวัด ระดับ “อยูดี กินดี” ผานเกณฑ จํานวน 17 - 22 ตัวช้ีวัด ระดับ “มั่งมี ศรีสุข” ผานเกณฑ จํานวน 23 ตัวช้ีวัด เง่ือนไขกิจกรรม

1. หมูบานผานการประเมินผลการพัฒนาหมูบานเบื้องตน ดําเนินการในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2553 2. ไมเปนหมูบานไดรับงบประมาณในป 2552 และ 2553 3. ไมเปนหมูบานท่ีไมไดรับงบประมาณในป 2552 และประกาศเปนตนแบบในป 2553 4. ไดรับการสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาอ่ืนๆ ของกรมฯ หรือหนวยงานอ่ืนๆ เพ่ือการบูรณาการงาน

และการพัฒนาท่ีมีประสิทธิภาพ

การสนับสนุนการรักษามาตรฐานการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป 2552-2553

วัตถุประสงค เพ่ือรักษาและพัฒนาคุณภาพความเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบปท่ีผานมาใหคงมาตรฐานตามเกณฑการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบและการประเมินความสุขมวลรวมของชุมชน

หมูบานเปาหมาย

๑. หมูที่ ๔ ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี

๒. หมูที่ ๘ ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี

๓. หมูที่ ๓ ตําบลวิหารขาว อําเภอทาชาง

๔. หมูที่ ๗ ตําบลโพทะเล อําเภอคายบางระจัน

๕. หมูที่ ๑ ตําบลทองเอน อําเภออินทรบุรี

๖. หมูที่ ๕ ตําบลโรงชาง อําเภอพรหมบุรี

งบประมาณ หมูบานละ ๑๕,๐๐๐ บาท รวม ๖ หมูบาน เปนเงิน ๙๐,๐๐๐ บาท

หมูบานเปาหมาย (เพ่ิมเติม) ๒ หมูบาน

๗. หมูที่ ๕ ตําบลโพกรวม อําเภอเมืองสิงหบุรี

๘. หมูที่ ๑ ตําบลบานจา อําเภอบางระจัน

งบประมาณ หมูบานละ ๕๐,๐๐๐ บาท รวม ๒ หมูบาน เปนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

Page 18: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

18

วิธีการ/ข้ันตอนการดําเนินงาน/เงื่อนไขของกิจกรรม

1. เง่ือนไข ดําเนินการในหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบท่ีไดรับการประกาศเปนตนแบบ ประจําป 2552-2553 ( ป 2552 จํานวน ๒ หมูบาน ป 2553 จํานวน ๖ หมูบาน รวม ๘ หมูบาน ครบทุกอําเภอ )

2. ข้ันตอนการดําเนินงาน 2.1 หมูบานท่ีไดรับงบประมาณตามโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบใน

ปงบประมาณ 2552 จํานวน ๒ หมูบาน และปงบประมาณ 2553 จํานวน ๕ หมูบาน ดําเนินการดังนี้ 1) กิจกรรมการเรียนรูตนเองและกําหนดการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยกลุมเปาหมายเปนผูนําและ

ประชาชนในหมูบาน จํานวน 30 คน ทบทวนแผนการพัฒนาหมูบาน/ครัวเรือน 2) กิจกรรมสาธิตการดํารงชีวิตแบบพอเพียงดวยการจัดกิจกรรมตามความตองการของชุมชนท่ี

สามารถสนับสนุนการรักษามาตรฐานการเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบอยางนอย 1 กิจกรรม 3) ประเมินผลการพัฒนาหมูบานและการวัดความสุขมวลรวมตามแนวทางท่ีกรมฯ กําหนด

2.2 หมูบานท่ีประกาศเปนตนแบบในป 2553 โดยไมไดรับงบประมาณจากกรมฯ จํานวน ๒ หมูบาน ดําเนินการดังนี้

1) กิจกรรมการเรียนรูตนเองและกําหนดการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยกลุมเปาหมายเปนผูนํา/ประชาชนในหมูบาน จํานวน 30 คน ทบทวนแผนการพัฒนาหมูบาน/ครัวเรือน

2) กิจกรรมสาธิตการดํารงชีวิตแบบพอเพียงดวยการจัดกิจกรรมตามความตองการของชุมชนท่ีสามารถสนับสนุนการรักษามาตรฐานการเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบอยางนอย 1 กิจกรรม

3 ) กิ จ ก ร ร มเสริ มสร า ง ระบบการบริหารจัดการชุมชน การเรียนรู เรื่องป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มีพระมหากษัตริ ย เ ปนประ มุข และการสรางความสมานฉันทส า มั ค คี ข อ ง ห มู บ า น

กลุมเปาหมายเปนผูนําชุมชน จํานวน 30 คน 4) กิจกรรมการจัดการความรูโดยประชุมเชิงปฏิบัติการตัวแทนครัวเรือน จํานวน 30 คน

เพ่ือประเมินผลความสุขมวลรวมของชุมชน เปาหมาย จํานวน ๘ หมูบาน ประกอบดวย หมูบานท่ีไดรับงบประมาณในป 2552 จํานวน

๒ หมูบานหมูบานท่ีไดรับงบประมาณในป 2553 จํานวน ๖ หมูบาน หมูบานท่ีประกาศเปนตนแบบ โดยไมไดรับงบประมาณจากกรมฯ จํานวน ๒ หมูบาน หมูบานท่ีไดรับงบประมาณในป 2552 จํานวน ๒ หมูบาน หมูบานท่ีไดรับงบประมาณในป 2553 จํานวน ๖ หมูบาน หมูบานท่ีประกาศเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป 2553 โดยไมไดรับงบประมาณจากกรมฯ จํานวน ๒ หมูบาน ผูดําเนินการ สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอพ้ืนท่ีดําเนินการ ระดับอําเภอ ผลท่ีคาดวาจะไดรับ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบในปท่ีผาน

Page 19: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

19

มาสามารถรักษาระดับการพัฒนาและมาตรฐานการเปนตนแบบตามเกณฑการประเมินท่ีกําหนด ตัวช้ีวัดกิจกรรม หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ป 2552-2553 สามารถผานเกณฑการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบและเกณฑการวัดความสุขมวลรวมของชุมชน

ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดสิงหบุรีไดมีโอกาสดําเนินงานโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจ พอเพียงตนแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษาเพ่ือสงเสริมและพัฒนาหมูบานใหเปนหมูบานท่ีมีวิถีชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยใชหลักการพัฒนาชุมชน ท่ีทําใหประชาชนในชุมชนมีสวนรวมในการคิด ตัดสินใจ ปฏิบัติและติดตามผลการพัฒนารวมกัน อยูบนฐานความพอประมาณใชความรูในการพิจารณาตัดสินใจดวยเหตุผลและคุณธรรมเพ่ือสรางภูมิคุมกันแกชุมชนไมใหไดรับผลกระทบจากสภาวะการเปลี่ยนแปลงท่ีอาจเกิดข้ึนเปนชุมชนท่ีมีความเขมแข็ง มีระบบเศรษฐกิจชุมชนท่ีเหมาะสม มีสิ่งแวดลอมท่ีดี มีระบบความสัมพันธท่ีเหนียวแนนและมีระบบบริหารจัดการชุมชนท่ีเปนระบบตอเนื่องและยังมีผลในการตอบสนองตัวชี้วัดของกระทรวงมหาดไทยตามตัวชี้วัดท่ี ๑.๑.๑ ระดับความสําเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมูบาน ท่ีไดกําหนดเกณฑการประเมินระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) เปน ๕ ระดับ ประกอบดวย ระดับคะแนน ๑ – ๒ คะแนน หมูบานเปาหมายตองพัฒนาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ และระดับคะแนน ๓ , ๔ , ๕ คะแนน การพัฒนาตองกระตุนระดับเพ่ิมข้ึนของเงินสัจจะสะสมของกลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต คือตองเพ่ิมข้ึนรอยละ ๓,๕,๗ ตามลําดับคาคะแนน และในการพัฒนาเพ่ือบรรลุเปาหมายกรมการพัฒนาชุมชนไดมอบหมายใหไปเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการสรางความเขาใจเจาหนาท่ีผูเก่ียวของโครงการหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ในวันอังคารท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ถึงวันพฤหัสบดีท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมแกรนด เดอ วิลล (วังบูรพา) เขตพระนคร กรุงเทพฯ เพ่ือทําใหผูเขาประชุมมีสวนรวมในการกําหนดแนวทาง รูปแบบกระบวนการ พัฒนาหมูบานตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํากระบวนการตางๆไปสรางความเขาใจในการอบรมวิทยากรกระบวนการ และสรางแกนนําหมูบานและฝกอบรมครัวเรือนเปาหมายใหมีความเขาใจในหลักการพัฒนาหมูบานไดเม่ือไดเดินทางกลับพ้ืนท่ีและไดนําความรูท่ีไดจากการประชุมมาสรุปรายงานผลใหรักษาราชการแทนพัฒนาการจังหวัดทราบแลวผมไดมีโอกาสรวมเปนทีมวิทยากรชี้แจงบรรยายการอบรมพัฒนากรผูรับผิดชอบหมูบานเปาหมาย ใหเปนวิทยากรกระบวนการในการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ หัวขอบรรยาย เรื่อง“แนวทางการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ตัวชี้วัดการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบและความสุขมวลรวมหมูบาน” และเปนทีมวิทยากรนําพัฒนากรไปดูงานศูนยการเรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดําริและศูนยสาธิตและสงเสริมงานศิลปะชีพเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนั่งเกลาตําบลตีนเปด อําเภอเมืองฯ จังหวัดฉะเชิงเทรา ดําเนินการในระหวางวันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึงวันท่ี ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมลพบุรีอินทร อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ทําใหไดมีโอกาสกระตุนพัฒนากรผูรับผิดชอบในการกําหนดกิจกรรมการขับเคลื่อนงานในพ้ืนท่ีซ่ึงพัฒนากรท่ีเขารวมไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนรวมกันในพ้ืนท่ีจังหวัดของเขตตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชนเขตตรวจราชการท่ี ๒ ประกอบดวย ๔ จังหวัด คือ จังหวัดอางทอง จังหวัดลพบุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงหบุรี ผลทําใหพัฒนากรในแตละจังหวัด มีความเขาใจทิศทางการดําเนินงานโครงการท่ีสําคัญพ่ีนองพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี ๑๒ คน ๖ อําเภอ ไดวางแผนการขับเคลื่อนกิจกรรมมีความชัดเจนในการปฏิบัติงาน มีความแตกตางจากการดําเนินงานผานมาอยางนาสนใจ และท่ีสําคัญกรมการพัฒนาชุมชนไดใหความสําคัญ กับการขับเคลื่อนกิจกรรมอยางมากโดยไดจัดทําโครงการฝกอบรมหลักสูตรนักบริหารจัดการชุมชน ใหพ่ีนองพัฒนากร ท่ีรับผิดชอบหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ในป ๒๕๕๔ อําเภอละ ๑ คน เขารวม

Page 20: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

20

โครงการและพัฒนาแผนงานใหชัดเจนจะเห็นไดวากรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการในชวงระหวางไตรมาสท่ี ๒ ของการดําเนินงานตามงบประมาณยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน คือระหวางวันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนสระบุรี อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี

ภารกิจท่ีสําคัญของการเปนนักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการท่ีรับผิดชอบงานเศรษฐกิจพอเพียงกิจกรรมแรกท่ีตองทําคือการคัดกรองหมูบานอําเภอละ ๓ หมูบาน เปาหมายท่ีตองทําจริง ๒ หมูบาน สํารอง ๑ หมูบาน มีเง่ือนไขท่ีสําคัญท่ีตองคํานึง คือ เปนหมูบานท่ีมีความพรอมในการพัฒนาและสามารถผานการประเมินตามเกณฑชี้วัดของกระทรวงมหาดไทย เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบไดเม่ือเสร็จสิ้นโครงการและตองไมเปนหมูบานท่ีไดรับงบประมาณในป ๒๕๕๒ ถึง ป ๒๕๕๓ รวมถึงหมูบานท่ีประกาศเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดในป ๒๕๕๓ (หมูบานเปาหมายตามคํารับรองป ๒๕๕๓ อําเภอละ ๑ หมูบาน) และตองเปนหมูบานท่ีมีศักยภาพสามารถบูรณาการกิจกรรมการพัฒนาอ่ืนๆ เชน การพัฒนาผูนํา กลุม องคการ เครือขาย ของกรมการพัฒนาชุมชน และของหนวยงานอ่ืนๆไดหลังจากนั้นตองประชุมเจาหนาท่ีพัฒนาชุมชนอําเภอท่ีเก่ียวของเพ่ือศึกษาแนวทางรวมกับและใหอําเภอคัดเลือกแกนนําชุมชนท่ีมีใจรักการพัฒนาชุมชนตองคนหาบุคคลท่ีมีความพรอมท่ีจะรวมพัฒนาหมูบานเปาหมายทําใหการพัฒนาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของชุมชนมีความเปนไปไดมากข้ึนซ่ึงจังหวัดสิงหบุรีไดรับการพัฒนาหมูบาน ในป ๒๕๕๔ ระดับพออยู พอกิน จํานวน ๗ หมูบาน ระดับอยูดี กินดี จํานวน ๕ หมูบาน และเม่ือไดรายงานเปาหมายหมูบานชัดเจนแลวจังหวัดจึงไดกําหนดกิจกรรมการอบรมแกนนําการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ๑๒ หมูบานๆละ ๔ คน และในการแจงคัดเลือกกลุมเปาหมายใหคํานึงถึงความสมัครใจโดยทําแบบตอบรับการสมัครเขารวมโครงการก็เปนการแสดงความตั้งใจของแกนนําไดเหมือนกันพรอมเชิญพัฒนากรในพ้ืนท่ีรับผิดชอบรวมการอบรมทุกข้ันตอนสรางทีมพัฒนาหมูบานตามข้ันตอนของกรมการพัฒนาชุมชนและ ตองเนนกิจกรรมการศึกษาดูงานเชิงคุณภาพท่ีมีความคลายคลึงกันในมิติตางๆในชุมชนและไดเลือกพ้ืนท่ีดูงานจังหวัดเพชรบูรณผูเขารวมประชุมแกนนําชุมชนไดศึกษาดูงานอยางตั้งใจและไดทําแผนงานการจัดระบบการขับเคลื่อนกิจกรรมดวยการใชกระบวนการดูงานมาประยุกตการขับเคลื่อนกิจกรรม ๕ กิจกรรม ดวยคิดแบบ มีทิศทางการทํางาน ประกอบดวย ๑) การจัดกิจกรรมสงเสริมแกนนําครอบครัวพัฒนาในชุมชน ๒) การเรียนรูตนเองเพ่ือกําหนดทิศทางเปาหมายการพัฒนาคุณภาพชีวิตจะทําอยางไรในชุมชน ๓ ) การคิดรวมกันจัดกิจกรรมสาธิตการดํารงชีวิตแบบพอเพียงจะทําอยางไรใหชุมชนนําสิ่งท่ีมีมาใชอยางเหมาะสม๔)การกําหนดการเสริมสรางระบบการบริหารชุมชนอยางไรกลยุทธท่ีใชจะตองทําอยางไร ๕)การจัดการความรูสูวิธีการปฏิบัติการพัฒนาหมูบานตองไดความรูเชิงคุณภาพนําไปใชไดจริงสูการเปนชุมชนตนแบบ และท่ีสําคัญจังหวัดตองมอบหมายหรือแตงตั้งหัวหนากลุมงานฯหัวหนาฝายฯและนักวิชาการพัฒนาชุมชนใหไดมีสวนรับผิดชอบผลักดัน สงเสริม ติดตาม การทํางานของระดับพ้ืนท่ีตองมอบหมายใหชัดเจนใหสอดคลองการระบบงบประมาณท่ีกรมฯกําหนดหลังจากนั้นการดําเนินงานตองจัดประชุมใหสวนราชการท่ีเก่ียวของประชุมกําหนดทิศทางการสงเสริมกิจกรรมในพ้ืนท่ีหมูบานเปาหมาย ๑๒ หมูบาน อยางนอยจํานวน ๒ ครั้งและในระหวางการขับเคลื่อนหัวใจท่ีสําคัญท่ีเปนการกระตุนใหเกิดกระบวนการเรียนรูและพัฒนารวมกันของเจาหนาท่ีภาคราชการคือการนําเสนอผลการสงเสริมและสนับสนุนโดยการใหทุกสวนราชการนําเสนอผลการสนับสนุนของหนวยงานตนเองและสํานักงานพัฒนาชุมชนระดับอําเภอตองนําเสนอผลการดําเนินงานเพ่ือเกิดการแลกเปลี่ยนระหวางการปฏิบัติงานของทุกพ้ืนท่ีและจะไดมีการปรับปรุงการทํางานใหเกิดการเปนหมูบานตนแบบไดการวัดประเมินนอกจากจะใชเกณฑท่ีกระทรวงมหาดไทยกําหนดและกําหนดใหเปนเกณฑท่ีสามารถตอบไดวาเปนตนแบบท่ีระดับอําเภอยอมรับไดและในการประเมินรับรองผลงานจังหวัดตองแตงตั้งทําคําสั่งระดับจังหวัดเพ่ือใหมี

Page 21: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

21

คณะกรรมการประเมินหมูบานเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ประจําป ๒๕๕๔ รูปแบบการนําเสนอรับรองผลงานจังหวัดจึงไดกําหนดใหอําเภอจัดทําเอกสารพรอมนําเสนอผลงานในรูปแบบขอมูลเปน File ขอมูลเปน Power Point และใหหมูบานตนแบบท้ัง ๑๒ หมูบาน คัดเลือกแกนนําชุมชน/ผูนําชุมชนและเจาหนาท่ีพัฒนาชุมชนรวมกันนําเสนอผลงานใหคณะกรรมการฯ พิจารณารับรองอยางเขมขนหลังจากนั้นจังหวัดประกาศรับรองเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสามารถเปนชุมชนตนแบบได

การดําเนินงานในปงบประมาณ ๒๕๕๔ ตามโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา แกนนําชุมชนไดขยายผลจากเปาหมายจากเดิม ๓๐ คน ชวยกันบมเพาะกลุมแกนนําชุมชนตามกระบวนการสรางแกนนําชุมชนจนสามารถเปนครัวเรือนตนแบบและขยายการพัฒนาเปน ๑ คน ตอ ๓ ถึง ๑๐ คน ในพ้ืนท่ีชุมชนตนแบบและหมูบาน ๑๒ หมูบานสามารถพัฒนาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบไดจริงชุมชนยอมรับเขาใจความเปนชุมชนตนแบบและประเด็นท่ีสําคัญท่ีอยากนําเสนอเปนขอประเมินการติดตามผลจังหวัดสิงหบุรีคือไดรับการตรวจติดตามประเมินผลจากผูบริหารระดับสูงของกรมการพัฒนาชุมชนคือทานกอบแกว จันทรดี รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนไดมาติดตามและเยี่ยมชมผลงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เม่ือวันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ หมูบานตนแบบไดนําเสนอภาพการกําหนดกลยุทธหมูบานตนแบบภายใตเกณฑท่ีเพ่ิมข้ึน ๓ ไม ๒ มี ( ไมมียาเสพติด ไมมีคนจน ไมมีหนี้นอกระบบ มีการจัดสวัสดิการชุมชน มีการการอนุรักษทรัพยากรและใชประโยชน จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) และไดเยี่ยมชมหมูบาน ๑ ใน ๑๒ หมูบานตนแบบคือบานหวงมะระ หมูท่ี ๕ ตําบลหนองกรทุม อําเภอคายบางระจัน ไดปรับกระบวนการขับเคลื่อนและใชกลยุทธ กรอบการพัฒนา ๓ ไม ๒ มี ทําใหเห็นภาพการพัฒนาท่ีเปนตนแบบวัดประเมินผลไดชัดเจนและสามารถพัฒนาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของประชาชนในชุมชนหมูบานได และไดรับคําชื่นชมการพัฒนาเปนหมูบานตนแบบ ๑๒ หมูบานไดจริงสามารถใหชุมชนอ่ืนๆในประเทศไทยมาศึกษาและนําเปนตัวอยางการพัฒนาได

การเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ชุมชนใชกระบวนการขับเคล่ือนโดยใชทฤษฎีโองมา

วิเคราะหตนเอง คือใหชุมชนใชขอมูลของตนเองวิเคราะหวาท่ีผานมาตนเอง ครอบครัว ชุมชน ไดรับรายไดจากแหลงไหนบางแลววิเคราะหรายจายของตนเอง ครอบครัว ชุมชน วาไดไดใชจายอยางเหมาะสม หรือไม แลวผลท่ีเกิดข้ึนจะทําอยางไร สามารถนําขอมูลวากําหนดแผนชีวิต แผนชุมชน ไดอยางทันเหตุการณ

Page 22: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

22

วิเคราะหตนเองโดยใชทฤษฎีโอง

รายไดจากการขายไขเปด

รายไดจากรับจาง

รายไดอื่นๆ

คากับขาว

คาขนมลูกคาเหลา,คา

บุหรี่

รายจายอื่นๆ

= รายจาย

= รายได

Page 23: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

23

สวนท่ี ๓

เทคนิคและรูปแบบการทํางานท่ีนาสนใจ ๓ หมูบาน

ผานรูปแบบการจัดการความรู

จนท.

กรมฯ

จนท.

จังหวัด

จนท.

อําเภอ

พัฒนากรพัฒนากร//

ผูนําผูนํา

12

3

4

เทคนิคการทํางานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ บานหวงมะระ หมูท่ี 5 ตําบลหนองกระทุม อําเภอคายบางระจัน จังหวัดสิงหบุร ี

การศึกษาชุมชน

พ้ืนท่ีดําเนินการเปนท่ีราบลุม มีแหลงน้ํา อุดมสมบูรณ มีพ้ืนท่ีท้ังหมด จํานวน 1,960 ไร เปนพ้ืนท่ี ทําการเกษตร 1,900 ไร ท่ีอยูอาศัย 60 ไร จํานวนครัวเรือน 125 ครัวเรือน มีประชากรท้ังหมด 471 คน เปนชาย 215 คน เปนหญิง 256 คน ชาวบานสวนใหญประกอบอาชีพทํานาและรับจางคนในชุมชนใชศูนยเรียนรูวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บานหวงมะระ เปนสถานท่ีประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู และจัดกิจกรรมรวมกันเปนประจําทุกวันท่ี 6 ของทุกเดือน กลุม องคกรชุมชนในหมูบาน เปนตนทุนท่ีสําคัญของชุมชน ประกอบดวย กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต กองทุนหมูบาน กองทุนแมของแผนดิน กลุมผูใชประโยชนจากแหลงน้ํา กลุมยุทธศาสตรขาว กลุมสตรีอาสาพัฒนา โรงสีขาวชุมชน โรงผลิตน้ําดื่มสะอาด กลุมเกษตรกร ชมรมผูสูงอายุ กองทุนขาวสาร มีกลุมองคกรชุมชนท่ีเขมแข็ง กลุมท่ีสําคัญและเปนศูนยกลางการขับเคลื่อนความเปนหมูบานตนแบบ คือ ชุมชนมีกลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิตท่ีมีศักยภาพเขมแข็งของหมูบาน มีสมาชิก จํานวน 319 ราย ฝากเงินสัจจะ เปนประจําทุกเดือน ๆ ละ 59,840 บาท ปจจุบันมีเงินสัจจะสะสม

Page 24: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

24

2,388,670 บาท มีกองทุนหมูบานท่ีเขมแข็ง ปจจุบันมีเงินคาหุน 55,630 บาท เงินสัจจะออมทรัพย จํานวน 119,350 บาท กิจกรรมท่ีชุมชนทําเปนประจํา สมํ่าเสมอ ใหคณะกรรมการกลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต รวมกับ พัฒนากรผูประสานงานตําบล ตรวจสอบการดําเนินงานและฐานะการเงินของกลุม และศึกษาดูงานกลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิตดีเดนของพ้ืนท่ีอ่ืนๆ เชนท่ีผานมา ไดไปศึกษาดูงานในพ้ืนท่ีอําเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และไดประชุมคณะกรรมการทบทวนผลการดําเนินงาน/จัดทําแผนการพัฒนากลุมและไดรายงานฐานะทางการเงินติดประกาศไวท่ีทําการกลุม เปนประจําทุกเดือน ทําใหสมาชิกรูจักการตรวจสอบและประเมินผลรวมกันไดท่ีสําคัญไดเชื่อมเครือขาย คณะกรรมกรรมฯ เขารับการฝกอบรมการจัดทําบัญชี/งบการเงินกลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต ณ องคการบริหารสวนตําบลหนองกระทุม กิจกรรมท่ีจัดทําและเปนการจัดสวัสดิการใหสมาชิก มอบทุนการศึกษา/ของขวัญปใหม บานหวงมะระ แบงคุมการปกครองออกเปน 9 คุม ประกอบดวย คุมเศรษฐกิจพอเพียง คุมรวมใจภักดิ์ คุมหวงมะระ คุมสามัคคีรวมใจ คุมกลวยไมงาม

คุมคลองบางทอง คุมดอกรัก คุมพุทธรักษา คุมเกษตรยั่งยืน จัดทําแผนชุมชน เพ่ือสนับสนุนการดําเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารการจัดเก็บขอมูล จปฐ. และการนํามาใชประโยชน ประชุมชี้แจง/จัดทําแผนการจัดเก็บขอมูล ขอมูล จปฐ. ป 2554 คณะทํางานจัดเก็บและดําเนินการตรวจสอบขอมูล จปฐ. ประชาคม ตรวจสอบ รับรองขอมูล จปฐ. ป 2554 การนําขอมูลมาใชประโยชนในการวางแผนพัฒนาหมูบาน ชุมชนคนพบวา ในชุมชนมีครัวเรือน

ยากจนท่ีมีรายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. ป 2554 ขอ 30 (รายไดต่ํากวา23,000 บาท/คน/ป) จํานวน 10 ครัวเรือน และมีครัวเรือนท่ีมีสภาพบานไมม่ันคงแข็งแรงถาวร จํานวน 6 ครัวเรือน ท่ีชุมชนตองใหการชวยเหลือดูแล ครัวเรือนตกเกณฑ จปฐ. ขอ 30 รายไดต่ํากวา 23,000 บาท/คน/ป จํานวน 10 ครัวเรือน สภาพบานไมม่ันคงแข็งแรงถาวร 6 ครัวเรือน/ซอมแซม 2 ครัวเรือน จาก ศูนยพัฒนาสังคมหนวยท่ี 63 จังหวัดสิงหบุรี อบต.หนองกระทุมบรรจุไวในแผนพัฒนา 3 ป เง่ือนไขสมาชิกในครัวเรือนตองมีสวนรวมกับชุมชน ชุมชนมีภูมิปญญาทองถ่ินท่ีหลากหลาย แตขาดการเรียนรู ถายทอด และพัฒนาตอยอด เชน การจักสานไมไผ การทําไมกวาดทางมะพราว การทําขนมกง การทําน้ําพริก หมอโบราณตอกระดูก/กวาดยาเด็ก/เปาพนรักษาโรคผิวหนัง ตลอดท้ังการรองรําเพลงพ้ืนบาน ท่ีกําลังจะสูญหายไปจากชุมชน นอกจากนี้ กลุมองคกรการเงินท่ีมีศักยภาพ เชน กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต และกองทุนหมูบาน ท่ีสามารถจัดสวัสดิการดูแลสมาชิกและคนในชุมชนไดในระดับหนึ่ง แตขาดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาดานการจัดสวัสดิการชุมชนเพ่ือตอบสนองความตองการของคนในชุมชน ตลอดท้ังปญหาดานการจัดการขยะท่ีไมถูกวิธีของคนในชุมชน ท่ีเริ่มสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมในชุมชน ชุมชนไดกําหนดการเคลื่อนกิจกรรมผาน โครงการชุมชนนาอยู เรียนรูภูมิปญญา พัฒนาสิ่งแวดลอม ๑) จัดตั้งคุมบานพัฒนาในการจัดระเบียบชุมชนและพัฒนาสิ่งแวดลอม ๒)สงเสริมการเรียนรูและเสริมสรางการจัดสวัสดิการชุมชน ๓) สงเสริมและอนุรักษภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 25: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

25

จัดตั้งคุมบานพัฒนาในการจัดระเบียบชุมชนและพัฒนาสิ่งแวดลอม ๑)ฝกอบรมแกนนําหมูบานปลูกจิตสํานึก รณรงคการกําจัด ขยะใหถูกวิธีและอนุรักษสิ่งแวดลอม ๒) ประชุมสมาชิก/คัดเลือกกรรมการ/ท่ีทําการ และจัดทําแผนพัฒนาคุมบาน

(จํานวน 9 คุมบาน) สมาชิกรวมกันจัดทําคุมบาน ๓) ปรับปรุงภูมิทัศน บริเวณคุมและบริเวณบาน ให

สะอาด รมรื่น สวยงาม นาอยู ๔) คณะกรรมการสํารวจ/จัดเก็บขอมูลสมาชิกใน

คุมบาน และจัดทําแผนท่ีคุมบาน ๕) สงเสริมใหสมาชิกทํากิจกรรมรวมกัน เชน

กิจกรรมดานการลดรายจาย เพ่ิมรายได เปนตน ๖) ฝกอบรมแกนนําหมูบานปลูกจิตสํานึก รณรงคการกําจัดขยะใหถูกวิธีและอนุรักษสิ่งแวดลอม จัดกิจกรรม

คัดแยกขยะเปลี่ยนขยะเปนเงินและฝกอาชีพตามท่ีมีความตองการ

สงเสริมการอนุรักษภูมิปญญาทองถ่ิน ๑) ชุมชนและสวนราชการรวมกันสรางทีมนัก

จัดการความรู ชุมชนเพ่ือสํารวจ/จัดเก็บ/ บันทึกองคความรู ภูมิปญญาทองถ่ิน เปนลายลักษณอักษร (ลิเกพ้ืนบาน , หมอสมุนไพร , หมอเปา พน , จักสานไมไผ, ไ ม ก ว า ด

ทางมะพราว, หมอน้ํามัน ) ๒)จัดกิจกรรมฟนฟูการรองรํา

เพลงยอนยุคเปนประจําทุกเดือน

๓) สํารวจ/จัดเก็บ/บันทึกองคความรู ภูมิปญญาทองถ่ิน

๔) จัดทําเอกสารบันทึกองคความรู/ภูมิ ปญญาทองถ่ิน

สรางแกนนําหมูบานสงเสริมอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

ตําบลหนองกระทุม อําเภอคายบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี (ไดรับการสนับสนุนดานวิชาการและเอกสารคูมือท่ีเก่ียวของ จากสถานีประมงน้ําจืด ปศุสัตวอําเภอ และตรวจบัญชีสหกรณ )

๑) กิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนา ๒) กิจกรรมสาธิตการดํารงชีวิตตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

Page 26: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

26

3)กิจกรรมติดตามประเมินผลและเชิดชูเกียรติครอบครัวพัฒนา ๔)กิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนา

กลุมเปาหมาย ไดแก อช./ผูนําอช. และผูนําชุมชน หมูละ 6 คน ๕) ประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรูการเลี้ยงปลากินพืช เลี้ยงไก

พันธไข เลี้ยงเปด และการทําบัญชีรับจายรายครัวเรือน ๖) สาธิตการใชพลังงานทดแทนการทําเตาเผาถาน 200 ลิตร

๗) สาธิต/สนับสนุนการเพาะเห็ด ภูฐาน ๘) สาธิต/สนับสนุนการปลูกมะนาวในรองซีเมนต ๙) ฝกอบรมสาธิต การทําสบู น้ํายาลางจาน ๑๐) สนับสนุนการเลี้ยงเปด ๑๑) กิจกรรมคัดเลือกผูดํารงชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงดีเดนระดับตําบล ๑๒) แกไขปญหาครัวเรือนยากจนท่ีประสบปญหาอยางย่ังยืนเปน

ตัวอยางและใหผูนําชุมชนและสวนราชการรับผิดชอบแกไขปญหารวมกันภายใตขอมูลเดียวกันและสรางบาน ท่ีอยูอาศัย ของครัวเรือนเปาหมายท่ียากจนโดยขอการสนับสนุนหนวยงานท่ีมีศักยภาพมาแกไขปญหาครัวเรือนยากจน

Page 27: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

27

MODEL การทํางาน บานหวงมะระ หมูท่ี ๕ ตําบล หนองกระทุม อําเภอ คายบางระจัน

ปรับโครงสรางหมูบานจัดทํา

คุมบาน

จัดกิจกรรมบูรณาการตาม

แผนชุมชน

เชื่อม สราง กิจกรรม การลงมือปฏิบัติงาน ภาคี

หนวยงานในพื้นที ่

พัฒนา กลุม สงเสริม พัฒนากลุม สรางแกนนําชุมชนตนแบบ ๓๐ คร.

วิเคราะห กลุม องคกรชุมชน ศักยภาพ กลุม

องคกรชุมชนและ สรางการเรียนรูเพ่ือนําไปทํา

การศึกษา ชุมชน

ครัวเรือนปลอดจากความ

ยากจนและหนี้นอกระบบ

ชุมชนสราง และจัดใหมีสวัสดิการ

ชุมชน

øÚ‚Ł‡1Ï≈

สังคม เศรษฐกิจ

เรียนรู ระบบ ๓ คิด ๔ รู - คิดหลักบัญชี (รูอนาคตตนเอง) สรางนิสัยการออม - คิดประติดประตอ (รูหน้ีสิน ไดปลดหน้ี) เปรียบเทียบ - คิดจําแนก (รูรายได รูรายจาย) ลงมือทําบัญชี

ใหครัวเรือนแกนนําชุมชน

ทําบัญชีครัวเรือน จริง

ความสุขมวลรวมของหมูบาน ( Gross Village Happiness: GVH ) หรือ ความสุขระดับ “ อยูเย็น เปนสุข ” = ๘๕.๘๗ คะแนน

Page 28: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

28

เทคนิคการทํางานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ บานดอนมะดูก หมูท่ี ๔ ตําบลบานจา อําเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี

ศึกษาชุมชน

เนื้อท่ีหมูบานท้ังหมด 1,500 ไร พ้ืนท่ีทํานาท้ังหมด 1,200 ไร จํานวน 30 ครัวเรือนพ้ืนท่ีทําสวนผลไม 40 ไร จํานวน 4 ครัวเรือน พ้ืนท่ีปลูกออย 45 ไร จํานวน 2 ครัวเรือน มีครัวเรือนเพาะเห็ดนางฟา/เห็ดฮังการี เพ่ือขาย 1 ครัวเรือนครัวเรือนเลี้ยงปลาดุกเพ่ือบริโภค 30 ครัวเรือนครัวเรือนท่ีมีเครื่องจักรในการเกษตรขนาดเล็ก 5 ครัวเรือนครัวเรือนท่ีมีเครื่องจักรในการเกษตรขนาดใหญ 1 ครัวเรือน การมีสวนรวมและความเขมแข็งของชุมชนมีการประชุมหมูบานเปนประจําทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง เปนอยางนอย ครัวเรือนมีคน ท่ีมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นเพ่ือ ประโยชนของชุมชน ๘๖ ครัวเรือน ครัวเรือนท่ีเปนสมาชิกกลุม /สหกรณ/ กองทุน 86 ครัวเรือน

กลุมองคกรชุมชนในหมูบานท่ีเปนทุนท่ีสําคัญ 1.กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต เดิมบานดอนมะดูกไดมีการกอตั้งกลุมอมทรัพยเพ่ือการผลิต

ข้ึนครั้งหนึ่งแลว มีสมาชิกจํานวน 102 คน มีเงินสัจจะสะสมจํานวน 300,000 กวาบาท มีกิจกรรมการใหกู มีการปนผล เฉลี่ยคืน ตอมาปรากฏวามีความผิดปกติดานเงินทุนของกลุมออมทรัพยฯ จนมีการสืบสวนสอบสวนข้ึน ในท่ีสุดจึงมีการฟองรองดําเนินคดีกับผูบริการกลุมออมทรัพยชุดเดิม ขณะนี้ศาลไดไตสวนครั้งหนึ่งแลว และมีการรับสารภาพ ยอมชดใชเงิน นับเปนการแกปญหาของชาวบานดอนมะดูก และบานดอนมะดูกไดเห็นถึงความสําคัญของการออมเงิน ผูนําชุมชนจึงรวมกับชาวบาน จัดตั้งกลุมข้ึนอีกครั้งเม่ือวันท่ี 7 กุมภาพันธ 2553 สมาชิกกอตั้ง 73 คน ปจจุบันมีสมาชิก 84 คน เงินสัจจะสะสม 72,600 บาท

2. กองทุนหมูบานบานดอนมะดูก หมูท่ี 4 ตําบลบานจากอตั้ง เม่ือป2544เงินทุนท่ีรัฐบาลจัดสรรให1,000,000 บาท เนื่องจากมีสมาชิกประสงคจะกูยืมเงินจํานวนมากเงินทุนจึงไมเพียงพอตอความตองการคณะกรรมการกองทุน

หมูบานไดขอขยายวงเงินกูยืมจากธนาคารออมสินสาขาบางระจัน

จํานวน1,000,000 บาท และในป2552รัฐบาลไดจัดสรรเงินทุนเพ่ิมเติมใหอีกจํานวน 200,000บาทรวมเปนเงินทุนกองทุนหมูบานท้ังสิ้น2,200,000 บาท โดยไดปลอยใหสมาชิกกูยืมท้ังหมดการพัฒนาหมูบานไปสูหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบดานศักยภาพของการเปนแหลงเรียนรู1มีศูนยเรียนรูหมูบานมีการจัดสถานท่ีสําหรับเปนศูนยเรียนรูและมีการใชประโยชนจากศูนยเรียนรูใหแกคนท้ังในและนอกหมูบานนายวิทยา แกวเกิด ผูใหญบาน เปนผูรับผิดชอบศูนยเรียนรูใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู ในศูนยเรียนรูจะมี บริการขอมูลขาวสาร ความรูในดานเศรษฐกิจพอเพียง ดานพลังงานทดแทน และอ่ืนๆนอกจากนี้ ยังจัดใหมีจุดเรียนรูดานเศรษฐกิจพอเพียงและพลังงานทดแทนอีกดวย เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความโดดเดนบานดอน

Page 29: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

29

มะดูกเปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณโดดเดนดานการใชพลังงานทดแทนจากมูลสัตวซ่ึงไดรับการสนับสนุนอุปกรณจากพลังงานจังหวัด

มีการสรางจุดเรียนรูท่ีหลากหลาย

จุดเรียนรูดานการใชพลังงานทดแทน บานนายวิทยา แกวเกิด จุดเรียนรูดานการเพาะเห็ดตาง ๆ บานนายกุญชร ภูแพร จุดเรียนรูดานการทําขนมไทย บานนางสาวยุพิน นิชเปยม จุดเรียนรูดานการกรองแฝก บานนางสาวบังเอิญ แกวกัน จุดเรียนรูดานการเลี้ยงหมูหลุม บานนายวิทยา แกวเกิด จุดเรียนดานการทําดอกไมประดิษฐ บานนางเสานะ สังคิ

การบูรณาการหนวยงานในพ้ืนท่ี

การใชพลังงานทดแทนจากมูลสัตว เชน ถังหมักแกสชีวภาพ การเผาถานไดน้ําสมควันไม การสาธิตการเลี้ยงปลาดุก ไดรับงบจากสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอการ

สาธิตอาชีพการเพาะเห็ดไดรับงบจากพัฒนาชุมชนอําเภอการสาธิตอาชีพการทํายาหมอง/และพิมเสนน้ํา โดย ธกส.

บางระจันการสาธิตการทําดอกไมจันทนโดยกศน.อําเภอบางระจัน

การสาธิตการทําขนมจีบไสปลา โดยพัฒนาชุมชนอําเภอบางระจัน การสาธิตการทําขนมปงหนาหมู โดยสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอบางระจัน การสาธิตการทํามะละกอแกว โดยสํานักงานเกษตรอําเภอบางระจัน การสาธิตการทําเห็ดหยอง โดยสํานักงานเกษตรอําเภอบางระจัน

MODEL การทํางาน บานดอนมะดูก

Page 30: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

30

หมูท่ี ๔ ตําบล บานจา อําเภอ บางระจัน

การศึกษาดูงาน แบบ CIPP Model : มองใหครบ ก็พบปญญา การศึกษาดูงานท่ี

สรางศูนยเรียนรูชุมชน

เปนศุนยมีชีวิต

จัดกิจกรรมบูรณาการตาม

แผนชุมชน

เชื่อม สราง กิจกรรม การลงมือปฏิบัติงาน ภาคี

หนวยงานในพื้นที ่

พัฒนา กลุม สงเสริม พัฒนากลุม สรางแกนนําชุมชนตนแบบ ๓๐ คร.

วิเคราะห กลุม องคกรชุมชน ศักยภาพ กลุม

องคกรชุมชนและ สรางการเรียนรูเพ่ือนําไปทํา

การศึกษา ชุมชน

ครัวเรือนปลอดจากความ

ยากจนและหนี้นอกระบบ

ชุมชนสราง และจัดใหมีสวัสดิการ

ชุมชน

øÚ‚Ł‡1Ï≈

สังคม เศรษฐกิจ

เรียนรู แบบ CIPP Model - ศึกษารูปแบบ - เรียนรูผลผลิตที่เปนรูปธรรม

ใหครัวเรือนแกนนําชุมชน

ศึกษาดูงาน เปรียบเทียบ

พ้ืนที่ ตนแบบนอกชุมชนแลวสรุป

รูปแบบ ใชปฏิบัติ จริง

ความสุขมวลรวมของหมูบาน ( Gross Village Happiness: GVH ) หรือ ความสุขระดับ “ อยูเย็น เปนสุข ” = ๘๕.๘๗ คะแนน

บูรณาการหนวยงานชัดเจน โดยชุมชนเปนผูประสานพ้ืนที่ กิจกรรม งบประมาณ

Page 31: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

31

มองไมครบทุกดาน ตาม CIPP Model (C Context I Input P Process P Product ) นั่นคือ มักจะไปดูท่ีปจจัย และ ผลผลิต คือ มุงจะไปดูท่ีรูปแบบ และผลผลิตของความสําเร็จในเชิงรูปธรรม มากกวาท่ีจะไปศึกษาถึงกระบวนการ วิธีคิด และ บริบทท่ีเก่ียวของ แลวก็บนวาไมไดอะไรบาง (เพราะมีผลผลิตในเชิงรูปธรรมใหดูนอย) หรือ ไปดูแลวก็บอกวาทําไมไดบาง (เพราะไปดูท่ีปจจัย คือ วัสดุอุปกรณ และ เงินงบประมาณ) การไปศึกษาดูงาน ไมวาองคกรท่ีไปดู จะแตกตางกับองคกรของเราขนาดไหน เราสามารถไปศึกษาดูงานไดหมด ถามองใหเปนองครวมแบบ CIPP Model ผมจึงมักมีแนวคิดวาถาจะไปดูงาน ใหไปดูองคกรท่ีดีๆ และมีความสําเร็จสูง ไมวาองคกรนั้นจะแตกตางกับเราอยางไรก็ได แต มักจะไมไดรับการสนองตอบ เพราะมักจะไปดูงานองคกรท่ีมีขนาดและรูปแบบท่ีใกลเคียงกันของสตัฟเฟลบีม (Danial . L. Stufflebeam) เพราะเปนโมเดลท่ีไดรับการยอมรับกันท่ัวไปในปจจุบัน แนวคิด การประเมินของสตัฟเฟลบีม (Stufflebeam’s CIPP Model) ในป ค.ศ.1971 สตัฟเฟลบีมและคณะไดเขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหนึ่งเลม ชื่อ “Educational Evaluation and decision Making” หนังสือเลมนี้ ไดเปนท่ียอมรับกันอยางกวางขวาง เพราะใหแนวคิดและวิธีการทางการวัดและประเมินผล ไดอยางนาสนใจและทันสมัยดวย นอกจากนั้น สตัฟเฟลบีมก็ไดเขียนหนังสือเก่ียวกับการประเมินและรูปแบบของการประเมินอีกหลายเลมอยางตอเนื่อง จึงกลาวไดวา ทานผูนี้เปนผูมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาทฤษฎีการประเมิน จนเปนท่ียอมรับกันท่ัวไปในปจจุบัน เรียกวา CIPP Model เปนการประเมินท่ีเปนกระบวนการตอเนื่อง มีจุดเนนท่ีสําคัญ คือ ใชควบคูกับการบริหารโครงการ เพ่ือหาขอมูลประกอบการตัดสินใจ อยางตอเนื่องตลอดเวลา วัตถุประสงคการประเมิน คือ การใหสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจ เนนการแบงแยกบทบาทของการทํางานระหวาง ฝายประเมินกับ ฝายบริหารออกจากกันอยางเดนชัด กลาวคือฝายประเมินมีหนาท่ีระบุ จัดหา และนําเสนอสารสนเทศใหกับฝายบริหาร สวนฝายบริหารมีหนาท่ีเรียกหาขอมูล และนําผลการประเมินท่ีไดไปใชประกอบการตัดสินใจ เพ่ือดําเนินกิจกรรมใด ๆ ท่ีเก่ียวของแลวแตกรณี ท้ังนี้เพ่ือปองกันการมีอคติในการประเมิน และ เขาไดแบงประเด็นการประเมินผลออกเปน 4 ประเภท คือ 1. การประเมินดานบริบทหรือสภาวะแวดลอม (Context Evaluation : C) เปนการประเมินใหไดขอมูลสําคัญ เพ่ือชวยในการกําหนดวัตถุประสงคของโครงการ ความเปนไปไดของโครงการ เปนการตรวจสอบวาโครงการท่ีจะทําสนองปญหาหรือความตองการจําเปนท่ีแทจริงหรือไม วัตถุประสงคของโครงการชัดเจน เหมาะสม สอดคลองกับนโยบายขององคการ หรือ นโยบายหนวยเหนือหรือไม เปนโครงการท่ีมีความเปนไปไดในแงของโอกาสท่ีจะไดรับการสนับสนุนจากองคกรตาง ๆ หรือไม เปนตน การประเมินสภาวะแวดลอมจะชวยในการตัดสินเก่ียวกับเรื่อง โครงการควรจะทําในสภาพแวดลอมใด ตองการจะบรรลุเปาหมายอะไร หรือตองการบรรลุวัตถุประสงคเฉพาะอะไร เปนตน 2. การประเมินปจจัยเบ้ืองตนหรือปจจัยปอน (Input Evaluation : I ) เปนการประเมินเพ่ือพิจารณาถึง ความเปนไปไดของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพียงของทรัพยากรท่ีจะใชในการดําเนินโครงการ เชน งบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ เวลา รวมท้ังเทคโนโลยีและแผนการดําเนินงาน เปนตน การประเมินผลแบบนี้จะทําโดยใช เอกสารหรืองานวิจัยท่ีมีผูทําไวแลว หรือใชวิธีการวิจัยนํารองเชิงทดลอง (Pilot Experimental Project) ตลอดจนอาจใหผูเชี่ยวชาญ มาทํางานให อยางไรก็ตาม การประเมินผลนี้จะตองสํารวจสิ่งท่ีมีอยูเดิมกอนวามีอะไรบาง และตัดสินใจวาจะใชวิธีการใด ใชแผนการดําเนินงานแบบไหน และตองใชทรัพยากรจากภายนอก หรือไม 3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P ) เปนการประเมินระหวางการดําเนินงานโครงการ เพ่ือหาขอบกพรองของการดําเนินโครงการ ท่ีจะใชเปนขอมูลในการพัฒนา แกไข ปรับปรุง ใหการ

Page 32: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

32

ดําเนินการชวงตอไปมีประสิทธิภาพมากข้ึน และเปนการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรท่ีใชในโครงการ ภาวะผูนํา การมีสวนรวมของประชาชนในโครงการ โดยมีการบันทึกไวเปนหลักฐานทุกข้ันตอน การประเมินกระบวนการนี้ จะเปนประโยชนอยางมากตอการคนหาจุดเดน หรือจุดแข็ง (Strengths) และจุดดอย (Weakness) ของนโยบาย/แผนงาน/โครงการมักจะไมสามารถศึกษาไดภายหลังจากสิ้นสุดโครงการแลวการประเมินกระบวนการจะมีบทบาทสําคัญในเรื่องการใหขอมูลยอนกลับเปนระยะๆเพ่ือการตรวจสอบการดําเนินของโครงการโดยท่ัวไป การประเมินกระบวนการมีจุดมุงหมาย คือ 3.1เพ่ือการหาขอบกพรองของโครงการในระหวางท่ีมีการปฏิบัติการหรือการดําเนินงานตามแผนนั้น 3.2เพ่ือหาขอมูลตาง ๆ ท่ีจะนํามาใชในการตัดสินใจเก่ียวกับการดําเนินงาน ของโครงการ 3.3 เพ่ือการเก็บขอมูลตาง ๆ ท่ีไดจากการดําเนินงานของโครงการ 4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P ) เปนการประเมินเพ่ือเปรียบเทียบผลผลิตท่ีเกิดข้ีนกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือความตองการ/ เปาหมายท่ีกําหนดไว รวมท้ังการพิจารณาในประเด็นของการยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการและการประเมินผล เรื่องผลกระทบ (Impact) และผลลัพธ( Outcomes ) ของนโยบาย / แผนงาน / โครงการ โดยอาศัยขอมูลจากการประเมินสภาวะแวดลอม ปจจัยเบื้องตนและกระบวนการรวมดวย จะเห็นไดวา การประเมินแบบ CIPP เปนการประเมินท่ีครอบคลุมองคประกอบของระบบท้ังหมด ซ่ึงผูประเมินจะตองกําหนดวัตถุประสงคของการประเมินท่ีครอบคลุมท้ัง 4 ดาน กําหนดประเด็นของตัวแปรหรือตัวชี้วัด กําหนดแหลงขอมูลผูใหขอมูล กําหนดเครื่องมือการประเมิน วิธีการท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล กําหนดแนวทางการวิเคราะหขอมูล และเกณฑการประเมินท่ีชัดเจน

เทคนิคการทํางานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

Page 33: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

33

บานบานเกาช่ัง หมูที่ 1 ตําบลบานหมอ อําเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี

ขอมูลชุมชน

มีพ้ืนท่ีรวมท้ังหมด 454 ไร แยกเปนพ้ืนท่ีทางการเกษตร 254 ไร พ้ืนท่ีอยูอาศัย 200 ไร ครวัเรือนท้ังหมด86ครัวเรือน จํานวนประชากร(ขอมูล จปฐ.ป 2554) 273 คน แยก เปน ชาย 114 คน หญิง 159 คน 1. ดานศักยภาพของการเปนแหลงเรียนรู ศูนยเรียนรูหรือแหลงเรียนรู แหลงเรียนรูเกษตรพอเพียง ทุกครัวเรือน แหลงเรียนรูการจักสาน แหลงเรียนรูการนวดแผนไทย แหลงเรียนรูรอยลูกปด แหลงเรียนรูการทํากระถางจากยางรถยนต ใหบริการขอมูลขาวสารความรู การประชุมประชาคม 12 ครั้ง/ป ประกาศทางหอกระจายขาวมีทะเบียนความรู เชน การตอนมะละกอ โดยนายกมล จุยซ่ือการทําบัญชีครัวเรือน โดยนางอําพร พูนมา จักสาน นางสุมาลี เจริญสุข เปนหมูบานท่ีมีความเปนเอกลักษณโดดเดนเฉพาะดาน 100 % ของครัวเรือนท้ังหมด ปลูกพืชผักสวนครัวดํารงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงมีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรูท่ีหลากหลายแหลงเรียนรูเกษตรพอเพียงแหลงเรียนรูการจักสานแหลงเรียนรูการนวดแผนไทยแหลงเรียนรูรอยลูกปด แหลงเรียนรูการทํากระถางจากยางรถยนต มีความสามารถในการถายทอด ส่ือสาร ขยายผลการเรียนรูดานตางๆเชน การทําน้ําสมควันไม การจักสาน นวดแผนไทย

การขยายพันธุพืช

2.ดานระบบบริหารจัดการชุมชน มีระบบขอมูลมีการนําขอมูล จปฐ. กชช 2 ค มาปรับใชและใหบริการแกครัวเรือนในการนําไปพัฒนาตนเอง มีแผน ปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข กิจกรรมดําเนินการไดจริง มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพ นําไปปฏิบัติได 30 % ของแผนชุมชนท้ังหมด

ชุมชนดําเนินการเองและตรงกับความตองการของชุมชน มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู มีการประชุม

อยางนอย เดือนละ 1 ครั้ง รวม 12 ครั้ง/ปผูเขาประชาคม จํานวน 70 % ของครัวเรือนท้ังหมดมีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏิบัติสงเสริมใหทุกครัวเรือนปลูกพืชผักสวนครัวลดรายจาย เพ่ิมรายได ทําบัญชีครัวเรือนการเขารวมกิจกรรมพัฒนาในชุมชน อนุรักษส่ิงแวดลอม ใชสารเคมีเทาท่ีจําเปน มีทุนของชุมชน มีกองทุนหมูบาน สมาชิก 75 คน เงินทุน 1,200,000 บาท กองทุนประปาหมูบาน สมาชิก 86 ครัวเรือน เงินทุน 60,000บาท ทุนทางศาสนาวัฒนธรรม ทุนทางธรรมชาติ มีองคกรท่ีเข็มแข็งในชุมชน กลุมจักสานเสนพลาสติก

Page 34: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

34

(15/5,000) กลุมทํานา (12 คน) กองทุนหมูบาน บานเกาช่ัง (75/1,200,000) องคกรสตรีบานเกาช่ัง(9 คน) กลุมนวดแพทยแผนไทย ( 5 คน) กลุมผูใชน้ําประปาหมูบาน (86 คร.)

3. ดานกิจกรรมชุมชนท่ีมีความย่ังยืน เกิดจากกระบวนการคิด / ชุมชนตองการ ขับเคล่ือนกิจกรรมชุมชนดวยแผนชุมชนโดยแบงลักษณะของกิจกรรมชุมชนดําเนินการเอง 30 % ของกิจกรรมท้ังหมดเชนสงเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว การมีสวนรวมของคนในชุมชนตัวแทนครัวเรือนเขารวมประชาคม 88%ของครัวเรือนท้ังหมดผูมาใชสิทธิเลือกตั้ง 91% ของผูอาศัยอยูจริง ประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนา แสดงความคิดเห็น 90 ชุมชนไดรับประโยชนรวมกันประชาชนมีรายไดมีเงินออมเพ่ิมข้ึนประชาชนมีอาหาร

ปลอดภัยไวบริโภค ขาย แลกเปล่ียนครอบครัวอบอุน เด็กเล็ก คนชรามีคนดูแลความสามารถในการแกปญหา / กิจกรรมตอเนื่องปญหาท่ีสําคัญของชุมชน คือภัยธรรมชาติ น้ําทวมประชาชนปลูกพืชอายุส้ัน ทําอาชีพเสริม และทําบัญชีครัวเรือน เพ่ือจะไดมีเงินออมไวใชยามฉุกเฉิน ความสําเร็จในการระดมทุน เพ่ือใชประโยชนของชุมชนประชาชนมีรายไดทุกวันจากการขายผัก ผลไม ขาว หากประสบปญหาตางๆเชนน้ําทวมประชาชนจะชวยกันออกแรงทรัพยในยามเดือดรอน

Page 35: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

35

MODEL การทํางาน บาน เกาช่ัง หมูท่ี 1 ตําบลบานหมอ อําเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี

สรางศูนยเรียนรูชุมชน

เปนศุนยมีชีวิต

จัดกิจกรรมบูรณาการตาม

แผนชุมชน

เชื่อม สราง กิจกรรม การลงมือปฏิบัติงาน ภาคี

หนวยงานในพื้นที ่

พัฒนา กลุม สงเสริม พัฒนากลุม สรางแกนนําชุมชนตนแบบ ๓๐ คร.

วิเคราะห กลุม องคกรชุมชน ศักยภาพ กลุม

องคกรชุมชนและ สรางการเรียนรูเพ่ือนําไปทํา

การศึกษา ชุมชน

ครัวเรือนปลอดจากความ

ยากจนและหนี้นอกระบบ

ชุมชนสราง และจัดใหมีสวัสดิการ

ชุมชน

øÚ‚Ł‡1Ï≈

สังคม เศรษฐกิจ

เรียนรู ชมุชนตนแบบเปรียบเทียบ - ศึกษารูปแบบ - เรียนรูผลผลิตที่เปนรูปธรรม

ใหครัวเรือนแกนนําชุมชน

ศึกษาดูงาน เปรียบเทียบ

พ้ืนที่ ตนแบบนอกชุมชนแลวนํา

รูปแบบรูปแบบมาประยุกตใช

ความสุขมวลรวมของหมูบาน ( Gross Village Happiness: GVH ) หรือ ความสุขระดับ “ อยูเย็น เปนสุข ” = ๘๕.๘๗ คะแนน

Page 36: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

36

บรรณานุกรม

กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๔. การศึกษาผลสําเร็จของการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ. พิมพท่ี บริษัท บีทีเอส เพรส จากัด เขตบางเขน กรุงเทพฯ.

Page 37: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

37

ภาคผนวก

Page 38: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

38

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน ( Gross Village Happiness : GVH )

ประเมินแบบมสีวนรวม ...................................................................................

1.ช่ือหมูบาน....จําปาทอง......หมูท่ี ..5....... ตําบล.................โพประจักษ.....................อําเภอ........ทาชาง........... จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน...........อยูดี กินดี........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............2554.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.......104........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...35 ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.23 4.2 4.1 4.4

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

3.53 3.8 3.7 3.1

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.2 3.3

4.63 4.5 4.6 4.8

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5

4.12 4.4 4.1 4.3 3.8 4

5.มีสภาพแวดลอมดีมีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4

4.28 4.2 4.1 4.5 4.3

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

3.65 3.2 3.8 3.7 3.9

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี 7.1 7.2 7.3

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...89.5.....คะแนน ( ใหระบุคะแนนไมใชชวงคะแนน เชน 90 คะแนน ) 5.ความคิดเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” ........................................ .....................มีจํานวนตัวช้ีวัดมากเกินไป......................................................................................................... 6.ความคิดเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

...................................................................................

Page 39: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

39

1.ช่ือหมูบาน....จําปาทอง......หมูท่ี ..3....... ตําบล.................พิกุลทอง.....................อําเภอ........ทาชาง........... จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน...........พออยู พอกิน........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............2554.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.......85........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...35 ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.13 4.1 4.0 4.3

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

3.5 3.2 3.5 3.8

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.2 3.3

4.3 4.2 4.8 3.9

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5

4.16 4.3 4.4 4.1 3.9 4.1

5.มีสภาพแวดลอมดีมีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4

4.38 4.1 4.2 4.4 4.6

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

3.85 3.8 3.6 3.9 4.1

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี 7.1 7.2 7.3

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...89.....คะแนน ( ใหระบุคะแนนไมใชชวงคะแนน เชน 90 คะแนน ) 5.ความคิดเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” ........................................ .....................มีจํานวนตัวช้ีวัดมากเกินไป......................................................................................................... 6.ความคิดเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน ( Gross Village Happiness : GVH )

ประเมินแบบมสีวนรวม ...................................................................................

1.ช่ือหมูบาน....วิหารขาว......หมูท่ี ..3....... ตําบล..........วิหารขาว........อําเภอ........ทาชาง........ จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน...........อยูดี กินดี........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............2553.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.......118........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...30 ....ครัวเรือน

Page 40: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

40

3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3 4.27 4.1 4.3 4.4

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3 3.77 3.9 3.8 3.6

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.2 3.3 4.23 4.3 4.4 4.0

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.18 4.1 4.0 4.3 3.9 4.6

5.มีสภาพแวดลอมดีมีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4 3.98 4 3.9 3.8 4.2

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4 3.7 3.2 3.8 3.7 4.1

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี 7.1 7.2 7.3

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...88.4.....คะแนน ( ใหระบุคะแนนไมใชชวงคะแนน เชน 90 คะแนน ) 5.ความคิดเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” ........................................ .....................มีจํานวนตัวช้ีวัดมากเกินไป......................................................................................................... 6.ความคิดเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน ( Gross Village Happiness : GVH )

ประเมินแบบมสีวนรวม ...................................................................................

1.ช่ือหมูบาน....ตาลเดี่ยวใต......หมูท่ี ..1....... ตําบล.................ทองเอน.....................อําเภอ......อินทรบุรี……. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน...........,มั่งมี ศรีสุข........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............2553.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.......125........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...30 ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

Page 41: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

41

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.23 4.2 4.1 4.4

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3 3.5 3.8 3.2 3.5

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.2 3.3 4.43 4.4 4.3 4.6

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.18 4.3 4.4 4.1 3.9 4.2

5.มีสภาพแวดลอมดีมีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4

4.2 4.6 4.4 4.0 3.8

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

3.95 3.8 3.9 4.1 4

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี 7.1 7.2 7.3

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...90.....คะแนน ( ใหระบุคะแนนไมใชชวงคะแนน เชน 90 คะแนน ) 5.ความคิดเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” ........................................ .....................มีจํานวนตัวช้ีวัดมากเกินไป......................................................................................................... 6.ความคิดเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน.. บานทองคุงใต .... หมูท่ี ... ๒ ... ตําบล... ทาขาม.....................อําเภอ... คายบางระจัน จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน...........พออยู พอกิน........ปท่ีไดรับงบประมาณ ........๒๕๕๔..... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด......๗๙......ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน. ..๓๐....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๕ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

Page 42: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

42

๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔ 3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.2 3.3

๕ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5

๔ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ 5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4

๕ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

๕ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี 7.1 7.2 7.3 - X= ๔.๖๖ - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...9๖.๖๖.....คะแนน ( ใหระบุคะแนนไมใชชวงคะแนน เชน 90 คะแนน ) 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ภาพรวมของคนในชุมชน บานทองคุงใต หมูท่ี ๒ ตําบลทาขาม มคีวามพรอมเกือบทุกดาน แตยังขาดการจัดการบริหารท่ีดี ในรปูระบบระเบียบ โดยตองเนนใหทุกครัวเรือนคดิเปน และวิเคราะหไดโดยผลจากการจดบันทึกรายรับ/รายจาย ทุกวันในชีวิตประจําวัน ของแตละครัวเรือน เพราะสิ่งเหลาน้ีจะเอ้ือประโยชนตอการเรียนรูของคนในชุมชนแบบมีสวนรวมกัน คิดแกไขปญหาคาครองชีพ ในยุคปจจุบันได 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” - คนในชุมชนมีพฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดี รูจักการออมเงิน รูการประหยัดพลังงาน ชวยกันดูแลสิ่งแวดลอม ชวยกันอนุรักษแมนํ้านอยใหใสสะอาดอยูเสมอ มีการแลกเปลีย่นเรยีนรูแบบพ่ีสอนนอง ในอนาคตหมูบานทองคุงใต จะจัดตั้งศูนยเรยีนรู โดยรวบรวมแหลงเรียนรูจากภูมิปญญาชาวบาน นํามาจัดเก็บเปนระบบ พรอมใหคนในชุมชน และผูสนใจไดเรียนรู ใหสอดคลองกับช่ือปาย “ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา” ตอไป

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน ( Gross Village Happiness : GVH )

ประเมินแบบมสีวนรวม ...................................................................................

1.ช่ือหมูบาน....ดอนมะดูก ...หมูท่ี .๔....... ตําบล.....บานจา.........อําเภอ.....บางระจัน……. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........พออยู พอกิน ........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.......๘๖........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๕0 ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.2๗ 4.2๖ 4.๒๘ 4.๒๘

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๑๔ ๔.๒๒ 3.๙2 ๔.๒๘

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.2 3.3

Page 43: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

43

4.๓๐ 4.3๐ 4.๓๐ 4.๓๐ 4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5

4.1๐ 4.3๐ 4.๓๐ 4.๓๐ ๔.๓๐ 4.๓๐

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4

4.2๙ 4.๓๐ 4.๒๘ 4.๓0 ๔.๓๐

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

4.๓๐ ๔.๓๐ ๔.๓๐ 4.๓๐ 4.๓๐

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี 7.1 7.2 7.3

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...9๕.....คะแนน

( ใหระบุคะแนนไมใชชวงคะแนน เชน 90 คะแนน ) 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานพอใจตอการประเมินและเห็นควรใหมีการประเมินความอยูเย็น เปนสุข ทุกป

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน....สามัคคีธรรม ...หมูท่ี .๓....... ตําบล.....สระแจง.........อําเภอ.....บางระจัน……. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........พออยู พอกิน ........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.......๘๖........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๕0 ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมนิ “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.๙๒ 4.๘๙ 4.๘๐ 4.๙๘

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๔ ๓.๘๔ ๔.๓๖ ๕.๐๐

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.2 3.3

Page 44: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

44

4.๙๔ ๕.๐๐ ๕.๐๐ 4.๓๐ 4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5

4.1๐ 4.๕๒ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4

4.2๙ ๕.๐๐ ๓.๖๖ ๕.๐๐ ๕.๐๐

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

4.๙๐ ๕.๐๐ ๔.๖๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี 7.1 7.2 7.3

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...9๔.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานพอใจตอการประเมินและเห็นควรใหมีการประเมินความอยูเย็น เปนสุข ทุกป

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน....เกาช่ัง ...หมูท่ี .๑....... ตําบล.....บานหมอ.........อําเภอ....พรหมบุร…ี…. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........พออยู พอกิน ........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.......๘๖........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๔๓ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.๙๒ 4.๕๓ 4.๑๘ ๓.๕๓

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๓.๕๖ ๓.๖๕ ๓.๘๖ ๓.๑๘

Page 45: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

45

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๕๓ 4.๒๗ ๔.๖๕ ๔.๖๗

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5

4.๓๗ 4.๑๑ ๔.๒๗ ๔.๒๓ ๔.๙ ๔.๓๗

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4

4.๗๖ ๔.๙๗ ๔.๒๗ ๔.๘๑ ๕.๐๐

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

4.๙๐ ๔.๕๕ ๓.๔๑ ๔.๒๕ ๔.๒๓

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี 7.1 7.2 7.3 ๔.๑๓

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๖๕.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนใหความรวมมือกับทุกหนวยงานใครใหทําอะไรพอทําไดก็ทํา เดี่ยวหนวยงานใหมเขามาก็ลมืเรื่องท่ีทําอยูเดิมทําใหไมไดผล

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน...เชียงราก ...หมูท่ี .๖....... ตําบล...ทองเอน.........อําเภอ...อินทรบุร…ี…. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........พออยู พอกิน ........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.......๑๖๙........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๓๓ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.๕๖ 4.๔ 4.๖ ๔.๗

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๓.๙๓ ๓.๙ ๔.๐ ๓.๙

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๖๗ 4.๕ ๔.๗ ๔.๘

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5

Page 46: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

46

๓.๙ ๓.๗ ๔.๑ ๓.๙ ๔.๒ ๓.๙๖ 5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ 5.1 5.2 5.3 5.4

๓.๗๗ ๓.๕ ๓.๘ ๔.๒ ๓.๙

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

๓.๙ ๓.๔ ๓.๘ ๓.๙ ๔.๕

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - - -

- - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๘๙.๙๕.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน...คลองขุด ...หมูท่ี .๓....... ตาํบล..หัวไผ.........อําเภอ...เมืองสิงหบุร…ี…. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........พออยู พอกิน ........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด......๗๑........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๔๐ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.๖๗ 4.๗๕ 4.๖๓ ๔.๖๓

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๓.๙๓ ๔.๗๕ ๔.๖๓ ๔.๕

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๘๓ 4.๗๕ 4.๘๘ 4.๘๖

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

Page 47: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

47

๔.๘๖ ๔.๗๕ ๔.๕ ๔.๕ ๔.๗๕ ๔.๗ 5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๔.๗๕ ๔.๘๖ ๔.๖๓ ๔.๗๕ ๓.๙

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

๔.๗๙ ๔.๘๖ ๔.๗๕ ๔.๗๕ ๔.๗๕

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - - -

- - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๙๔.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานพอใจตอการประเมินและเห็นควรใหมีการประเมินความอยูเย็น เปนสุข ทุกป

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน...หวงมะระ ...หมูท่ี .๕....... ตําบล..หนองกระทุม.........อําเภอ...คายบางระจัน……. จงัหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน.......... อยูดี กินดี ........ปท่ีไดรับงบประมาณ ..............255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด......๑๒๕........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๓๐ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๓.๘๙ ๓.๖๗ 4.๐๐ ๔.๐๐

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๓๒ ๔.๕๗ ๔.๑๗ ๔.๒๓

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๑๙ 4.๒๓ 4.๑๗ 4.๑๗

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๔๖ ๔.๖๗ ๔.๑๗ ๔.๕) ๔.๖๗ ๔.๒๓

Page 48: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

48

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๔.๔๕ ๔.๖๐ ๔.๓๓ ๔.๕๗ ๓.๓๓

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

๔.๔๕ ๔.๕๗ ๔.๓๓ ๔.๒๓ ๔.๖๗

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - - -

- - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๘๕.๘๗.....คะแนน (ใหระบุคะแนน ไมใชชวงคะแนน เชน ๙๐ คะแนน ) 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

การประเมินความอยูเย็นเปนสุข หรือความสุขมวลรวม ( GVH ) แบบมีสวนรวม เปนการตัดสินใจใหคะแนนของคนในชุมชนเพียงบางสวน ซึ่งผลคะแนนท่ีไดอาจจะไมใชความสุขมวลรวมท่ีเปนอยูในปจจุบัน และรวมกันปรับปรุง รักษา และเพ่ิมความสุขของบุคคลและชุมชนในอนาคต ดวยองคประกอบ ๖ ดาน ซึ่งพัฒนากรตองชวนคิด ชวนคุย ใหมีการแลกเปลีย่นเรยีนรู อยางตอเน่ือง 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

การประเมิน “ความอยูเย็น เปนสขุ” เปนกระบวนการท่ีทําใหชาวบานไดแลกเปลีย่นเรยีนรูและมสีวนรวมในการวัดความสุขมวลรวมของชุมชน ทําใหรูสภาพปญหาและหาแนวทางการเพ่ิมความสุขของคนในชุมชนในอนาคต ซึ่งคนในชุมชนตองรวมกันสรางความสุขใหเกิดข้ึนท้ังในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน วิธีการประเมินความสุขมวลรวมคอนขางงาย แตองคประกอบและตัวช้ีวัดมีมากเกินไปทําใหเกิดความยุงยาก สับสนในการใหคาคะแนน

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน..พลู ...หมูท่ี .๓....... ตําบล..พระงาม.........อําเภอ...พรหมบุร…ี…. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........อยูดี กินดี........ปท่ีไดรบังบประมาณ ...........255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด......๖๔........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๔๐ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

4.๖๙ 4.๗ ๕ ๔.๓๙

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๕๑ ๕ ๔.๐๓ ๔.๕

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๖๗๔ 4 4.๙๒ ๕

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๖๘ ๔.๖ ๔.๗ ๔.๖ ๕ ๔.๕๓

Page 49: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

49

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๔.๙๕ ๕ ๕ ๕ ๔.๘๑

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

๔.๔๖ ๔.๗๖ ๔.๔ ๔.๕๙ ๔.๑

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - - -

- - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๘๗.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- มีตัวช้ีวัดมากเกินไป

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน.บางประทุน ...หมูท่ี .๑.... ตําบล. มวงหมู.........อําเภอ...เมืองสิงหบุร…ี…. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........อยูดี กินดี........ปท่ีไดรับงบประมาณ ...........255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด......๒๓๓........ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๕๐ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๔.๘ 4.๘ ๔.๘ ๔.๘

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๖๗ ๔.๘ ๔.๔ ๔.๘

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๘ ๔.๘ ๔.๘ ๔.๘

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๗ ๔.๙ ๔.๙ ๔.๖ ๔.๕ ๔.๖

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

Page 50: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

50

๕ ๔.๖ ๔.๕ ๔.๔ ๔.๖๓ 6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

๔.๘๘ ๕ ๔.๘ ๔.๙ ๔.๘

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - - -

- - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๙๕.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานพอใจตอการประเมินและเห็นควรใหมีการประเมินความอยูเย็น เปนสุข ทุกป

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน.ลําเหนือ ...หมูท่ี .๗.... ตําบล. โพธ์ิชัย.........อําเภอ...อินทรบุร…ี. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........อยูดี กินดี........ปท่ีไดรับงบประมาณ ...........255๔.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด......๕๘.......ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๓๘๒ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๔.๔๗ 4.๕ ๔.๒ ๔.๗

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๐๓ ๔.๐ ๔.๒ ๓.๙

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๘๓ ๔.๘ ๔.๘ ๔.๘

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๓๒ ๔.๒ ๔.๖ ๔.๕ ๔.๑ ๔.๒

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๔.๙๕ ๕ ๕ ๕ ๔.๘

Page 51: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

51

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

๓.๙๒ ๔.๑ ๓.๘ ๔.๑ ๓.๗

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - - -

- - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๙๖.๗๕.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานพอใจตอการประเมินและเห็นควรใหมีการประเมินความอยูเย็น เปนสุข ทุกป

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน บานบางเล็ก ...หมูท่ี .๔.... ตําบล. ทางาม.........อําเภอ...อินทรบุร…ี. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........อยูดี กินดี........ปท่ีไดรับงบประมาณ ...........255๒.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด......๔๒.......ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๓๗ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๔.๘๔ 4.๘๓ ๔.๘ ๔.๘๗

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๐๓ ๔.๗๒ ๔.๘ ๓.๙๒

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๕ ๕ ๕ ๕

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๘๑ ๔.๔๔ ๕ ๕ ๕ ๕

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๕ ๕ ๕ ๕ ๕

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

Page 52: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

52

๕ ๓.๕ ๔.๔๒ ๔ ๔.๒๓ 7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - -

- - - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๙๕.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

-บุคคลเปาหมายใหความรวมมือเปนอยางดี และทุกคนแสดงคิดเหน็เต็มท่ี 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานมีความสุขท่ีไดรวมกันประเมินชุมชน จะไดรูวาชุมชนตนเองเปนอยางไร ทําใหบรรยากาศในเวทีฯไดมีการแลกเปลีย่นแสดงความคิดเห็นรวมกัน

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน บานบางตาโฉม ...หมูท่ี .๘.... ตําบล. ทางาม.........อําเภอ...อินทรบุร…ี. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........มั่งมี ศรีสุข ........ปท่ีไดรับงบประมาณ ...........255๒.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.....๑๓๗.......ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๔๗ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๔.๕๒ 4.๒๓ ๔.๔ ๔.๘๘

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๗๓ ๔.๔๕ ๔.๘ ๔.๙๔

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๕ ๕ ๕ ๕

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๗ ๔.๕๘ ๔.๔ ๔.๙๗ ๔.๗ ๔.๘๘

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๔.๙๘ ๔.๙๓ ๕ ๕ ๕

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

Page 53: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

53

๔.๙๔ ๔.๕ ๕ ๔.๔๕ ๔.๗๑ 7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - -

- - - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๙๕.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

-บุคคลเปาหมายใหความรวมมือเปนอยางดี และทุกคนแสดงคิดเหน็เต็มท่ี 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานมีความสุขท่ีไดรวมกันประเมินชุมชน จะไดรูวาชุมชนตนเองเปนอยางไร ทําใหบรรยากาศในเวทีฯไดมีการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นรวมกัน

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน บานดอนตะโหนด ...หมูท่ี .๗... ตําบล. โพทะเล.........อําเภอ...คายบางระจัน…. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน..........อยูดี กินดี........ปท่ีไดรับงบประมาณ ...........255๓.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด......๖๕.......ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๓๐ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๔.๓๔ 4.๒๓ ๔.๙๓ ๓.๘๗

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๘๓ ๔.๘๗ ๕ ๔.๒๓

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๖๓ ๔.๔๓ ๔.๗๓ ๔.๗๓

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๕๐ ๔.๙ ๔.๔ ๔.๔๘ ๔.๑๖ ๔.๒๓

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๔.๓๐ ๔.๔๓ ๔.๒๗ ๕ ๓.๕๓

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

Page 54: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

54

๕ ๓.๕๓ ๔.๕ ๔.๖ ๔.๔๐ 7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - -

- - - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๙๐.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- การประเมินความอยูเย็น เปนสขุ เปนการประมวลความสุขมวลรวม ไดเพียงสวนเดียว ซึ่งไมคลอบคลุมท้ังหมูบานอาจจะทําใหการประเมินความสุขมวลรวม ไมใชความสุขมวลรวมท่ีแทจริงของชุมชน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- จากประเมินความสุขมวลรวม ตวัแทนจากชาวบานยังไมเขาใจมากนักในเรื่องของตัวช้ีวัดวาทําไปทําไมทําแลวไดอะไรกอนการประเมิน หลังจากการทราบรายละเอียดตัวช้ีวัดแลวทําใหการประเมินงายข้ึนและรูวาชุมชนมีอะไรและทําอะไร และควรปรับปรุงหมูบานของตัวเองอยางไรท่ีจะทําใหหมูบานมีความอยูเย็น เปนสุข

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน บานไผดาํ ...หมูท่ี .๕... ตําบล. โรงชาง.........อําเภอ...พรหมบุร…ี. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน........มั่งมี ศรสีุข........ปท่ีไดรับงบประมาณ ...........255๓.......... 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.....๑๒๔.......ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๕๒ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๔.๑๕ 4.๑๓ ๔.๒๕ ๔.๐๙

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๔๒ ๔.๑๕ ๔.๒๘ ๔.๘๘

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๒๔ ๓.๙๖ ๔.๗๕ ๔.๐๓

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๓.๘๗ ๔.๕๙ ๒.๙๘ ๓.๘๖ ๓.๘ ๔.๑๕

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๔.๐๕ ๔.๖๗ ๓.๘ ๔.๔ ๓.๓๔

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

Page 55: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

55

๓.๖๗ ๓.๕๑ ๓.๙๒ ๓.๘๖ ๓.๗๔ 7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - -

- - - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๖๔.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- การประเมินความอยูเย็น เปนสขุ เปนการประมวลความสุขมวลรวม ไดเพียงสวนเดียว ซึ่งไมคลอบคลุมท้ังหมูบานอาจจะทําใหการประเมินความสุขมวลรวม ไมใชความสุขมวลรวมท่ีแทจริงของชุมชน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- จากประเมินความสุขมวลรวม ตวัแทนจากชาวบานยังไมเขาใจมากนักในเรื่องของตัวช้ีวัดวาทําไปทําไมทําแลวไดอะไรกอนการประเมิน หลังจากการทราบรายละเอียดตัวช้ีวัดแลวทําใหการประเมินงายข้ึนและรูวาชุมชนมีอะไรและทําอะไร และควรปรับปรุงหมูบานของตัวเองอยางไรท่ีจะทําใหหมูบานมีความอยูเย็น เปนสุข

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน บานหนองโขลง ...หมูท่ี .๑... ตําบล. บานจา.........อําเภอ...บางระจัน…. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน........พออยู พอกิน........ไมไดรับงบประมาณ ( ดําเนินการป ๒๕๕๓ ) 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.....๑๑๑.......ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรือนท่ีเขารวมประเมิน...๕๐ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๔.๙๓ ๕.๐๐ ๔.๙๗ ๔.๘๒

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๙๑ ๔.๘๘ ๔.๘๕ ๕.๐๐

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๒๔ ๔.๙๗ ๓.๒๘ ๔.๙๑

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๕๔ ๔.๗๐ ๓.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔

๔.๖๘ ๕.๐๐ ๔.๖๔ ๕.๐๐ ๔.๐๘

6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

Page 56: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

56

๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๔.๙๗ ๔.๙๙ 7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - -

- - - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๙๖.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานพอใจตอการประเมินและเห็นควรใหมี การประเมินความอยูเย็น เปนสุข เปนประจําทุกป

แบบรายงานผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน

( Gross Village Happiness : GVH ) ประเมินแบบมสีวนรวม

................................................................................... 1.ช่ือหมูบาน บานหางบางบานไร ...หมูท่ี .๕... ตาํบล. โพกรวม.........อําเภอ...เมืองสิงหบุร…ี. จังหวัด........สิงหบุร.ี.......ระดับของหมูบาน........อยูดี กินดี........ปท่ีไดรับงบประมาณ ๒๕๕๔ 2.จํานวนครัวเรือนท้ังหมด.....๑๕๗.......ครัวเรือน จํานวนผูแทนครัวเรอืนท่ีเขารวมประเมิน...๕๐ ....ครัวเรือน 3.คะแนนผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” เปนรายตัวช้ีวัด (แผนผังใยแมงมุม )

องคประกอบ

คาคะแนนเปนรายตัวช้ีวัด คะแนนเฉลีย่

1. มีสุขภาวะ 1.1 1.2 1.3

๔.๘ ๔.๘ ๔.๘ ๔.๘

2.เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็ง 2.1 2.2 2.3

๔.๗๓ ๔.๘ ๔.๖ ๔.๘

3.ครอบครัวอบอุน 3.1 3.๒ 3.๓

๔.๒๔ ๔.๗ ๔.๘ ๔.๘

4.ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีด ี ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ 4.4 4.5

๔.๗๖ ๔.๙ ๔.๙ ๔.๗ ๔.๖ ๔.๗

5.มสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศสมดลุ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓

Page 57: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

57

๔.๘ ๔.๖ ๔.๖ ๔.๖๗ 6.เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมมาภิบาล 6.1 6.2 6.3 6.4

๔.๘๓ ๔.๘ ๔.๘ ๔.๙ ๔.๘

7.อ่ืน ๆ (อาจม)ี - - - - - -

- - - - -

4. ผลการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ” รวมทุกตัวช้ีวัด (ปรอทวัดความสุข) ไดคะแนน ...๙๖.....คะแนน 5. ความคดิเห็นของวิทยากรกระบวนการตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนพึงพอใจตอการประเมนิผลของหมูบาน 6. ความคดิเห็นของประขาชนในหมูบาน ตอการประเมิน “ ความอยูเย็น เปนสุข ”

- ประชาชนในหมูบานพอใจตอการประเมินและเห็นควรใหมี การประเมินความอยูเย็น เปนสุข เปนประจําทุกป

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานทองคุงใต หมูท่ี ๒ ตําบล ทาขาม อําเภอคายบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๓

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๓

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๔ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๓ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔ -มีทุนของชุมชน 5 ๔ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๓ 3. ดานกิจกรรมชุมชนท่ีม ี

ความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๔

Page 58: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

58

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๕ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔.๕

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๔.๕

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔.๕

รวม 100 ๗๔.๕

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบาน พิกุลทองสามัคคี หมูท่ี ๓ ตําบลพิกุลทอง อําเภอ ทาชาง จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของการ

เปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๔

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๓

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๔ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๔ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔.๕ -มีทุนของชุมชน 5 ๔.๕ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๓ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔

Page 59: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

59

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๔.๕ - ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๓ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔.๕

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๓

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔.๕

รวม 100 ๗๔.๕

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานดอนมะดูก หมูท่ี ๔ ตําบลบานจา อําเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของการ

เปนแหลง เรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔.๕ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรยีนรู 5 ๓.๕

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๔.๕ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๔ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔.๕ -มีทุนของชุมชน 5 ๔ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๓.๕

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๔

Page 60: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

60

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๔.๕ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔

- มีการจดัระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๔.๕

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔.๕

รวม 100 ๗๘

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานสามัคคีธรรม หมูท่ี ๓ ตําบลสระแจง อําเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของการ

เปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘.๕

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔.๕

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๔

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔.๕

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๔ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๓.๕ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๓.๕ -มีทุนของชุมชน 5 ๔ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔.๕ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมคีวามย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๓

Page 61: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

61

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๔ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๓.๕

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔.๕

รวม 100 ๗๖

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานเกาช่ัง หมูท่ี ๑ ตําบลบานหมอ อําเภอพรหมบุร ีจังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔.๕ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔.๕

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๓.๕

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๔.๕ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๔ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๓.๕ -มีทุนของชุมชน 5 ๔ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔.๕ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๔.๕

Page 62: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

62

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๔ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔.๕

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๓.๕

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๔

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๓.๕

รวม 100 ๗๗

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานเชียงราก หมูท่ี ๖ ตําบลทองเอน อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘.๕

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๓.๕

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๔.๕

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๔.๕ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๔ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔.๕ -มีทุนของชุมชน 5 ๓.๕ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๓.๕

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๔

Page 63: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

63

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๓.๕ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔.๕

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๓.๕

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔

รวม 100 ๗๖

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานคลองขุด หมูท่ี ๓ ตําบลหัวไผ อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘.๕

- ใหบริการขอมลู ขาวสาร ความรู 5 ๔ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔.๕

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๓.๕

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๔

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔.๕

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๓ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๓.๕ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔ -มีทุนของชุมชน 5 ๓.๕ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๓.๕

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๔

Page 64: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

64

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๓.๕ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔.๕

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๔

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๓.๕

รวม 100 ๗๔

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานหวงมะระ หมูท่ี ๕ ตําบลหนองกระทุม อําเภอคายบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๙

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๕ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๕

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔.๕

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๕

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๕

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๕ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๔.๕ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๕ -มีทุนของชุมชน 5 ๕ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๕ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔.๕

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๔.๕

Page 65: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

65

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๕ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔.๕

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔.๕

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๕

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๕

รวม 100 ๙๑

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานจําปาทอง หมูท่ี ๕ ตําบลโพธิ์ประจักษ อําเภอทาชาง จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔.๕ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔.๕

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๔.๕

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๓.๕

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๔ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๔.๕ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔ -มีทุนของชุมชน 5 ๓.๕ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔.๕

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๔

Page 66: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

66

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๔ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๓.๕

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๔.๕

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔

รวม 100 ๗๗.๕

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานพลู หมูท่ี ๓ ตําบลพระงาม อําเภอพรหมบุร ีจังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔.๕ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๓.๕

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๔

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔.๕

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๓.๕ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๓.๕ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔ -มีทุนของชุมชน 5 ๓.๕ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔.๕

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๓.๕

Page 67: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

67

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๔ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔.๕

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๓.๕

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔

รวม 100 ๗๕

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานบางประทุน หมูท่ี ๑ ตําบลมวงหมู อําเภอเมืองฯ จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔.๕ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๓.๕

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๓.๕

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๔.๕ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๓.๕ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔ -มีทุนของชุมชน 5 ๔ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔.๕ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๓.๕

Page 68: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

68

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๔.๕ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๓.๕

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๔

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔

รวม 100 ๗๕.๕

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

เกณฑการประเมินพิจารณาเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัดสิงหบุรี

ช่ือบานลําเหนือ หมูท่ี ๗ ตําบลโพธิ์ชัย อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

ประจําป ๒๕๕๔ ประเด็นการประเมินผลงาน เกณฑประเมินฯ คะแนน

( 100 ) คะแนนท่ีได

1. ดานศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู - มีศูนยเรยีนรูหรือแหลงเรียนรู 10 ๘

- ใหบริการขอมูล ขาวสาร ความรู 5 ๔.๕ - เปนหมูบานท่ีมีเอกลักษณความ

โดดเดนเฉพาะดานของชุมชนได 5 ๔

- มีจุดเรียนรูหรือแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

5 ๔

- มีความสามารถในการถายทอด

สื่อสาร ขยายผลการเรียนรู 5 ๔

2. ดานระบบการบริหาร

จัดการชุมชน

- มีระบบขอมลู 5 ๔.๕

- มีแผนชุมชนเชิงคุณภาพใชได 5 ๓.๕ - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 5 ๓.๕ -มีการนํากิจกรรมในแผนไปปฏบัิต ิ 10 ๔ -มีทุนของชุมชน 5 ๔.๕ - มีองคกรท่ีเขมแข็งในชุมชน 5 ๔.๕ 3. ดานกิจกรรมชุมชน

ท่ีมีความย่ังยืน - เกิดจากกระบวนการคิด /ชุมชนตองการ

5 ๔

- การมีสวนรวมของคนในชุมชน 5 ๓.๕

Page 69: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

69

- ชุมชนไดประโยชนรวมกัน 5 ๔ - ความสามารถในการแกปญหา/

มกิีจกรรมตอเน่ือง 5 ๔

- ความสําเร็จในการระดมทุน

เพ่ือใชประโยชนของชุมชน 5 ๔

- มีการจัดระบบเพ่ือชวยเหลือคน

ในชุมชน 5 ๔

- การบูรณาการทํางานรวมกันกับ

ทุกภาคสวน 5 ๔.๕

รวม 100 ๗๗

หมายเหตุ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองผานเกณฑการประเมินไมต่ํากวา ๗๐ คะแนน

ตัวช้ีวัด 6x2

ตัวช้ีวัด

ระดับคะแนน คะแนน ท่ีได 1 2 3

1.ดานการลดรายจาย 1.1 ครัวเรือนทําสวนครัว 1.2 ครัวเรือนปลอดอบายมุข

≤ 50 % ของ คร.ทั้งหมด

≤ 50 % ของคร. ท้ังหมด

51 – 75 % ของคร.ทั้งหมด

51-75 % ของคร.ท้ังหมด

>75 % ของคร.ท้ังหมด >75 % ของคร.ท้ังหมด

2. ดานการเพ่ิมรายได 2.1 ครัวเรือนมีอาชีพเสริม 2.2 ครัวเรือนใชเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสม

≤ 20 % ของคร.ท้ังหมด

≤ 30% ของคร.ท้ังหมด

21-30 % ของคร.ท้ังหมด

31-50 % ของคร.ท้ังหมด

>30 % ของคร.ท้ังหมด >50 % ของคร.ท้ังหมด

3. ดานการประหยัด 3.1 ครัวเรือนมีการออมทรัพย 3.2 ชุมชนมีกลุมออมทรัพย ฯ

≤ 50 %ของคร.ทั้งหมด มี 1 กลุม

51-75 % ของคร.ทั้งหมด มี 1 กลุมและมกีิจกรรมเพื่อหมูบาน

>75 % ของคร.ทั้งหมด 2 กลุมและเชื่อมโยงเปนเครือขาย

4. ดานการเรยีนรู 4.1 ชุมชนมีการสืบทอดและใชภูมิปญญาทองถ่ิน 4.2 ครัวเรือนมีการเรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิต ประจําวัน

มีภูมิปญญาทองถิ่น อยางนอย 1 เร่ือง มีกิจกรรมเรียนรู 1 กิจกรรม

มีกิจกรรมสืบทอดและใชภูมิปญญาทองถิ่น 1 อยาง มีศูนยเรียนรูและการจัดกิจกรรม

มีกิจกรรมสืบทอดและใช ภูมิปญญาทองถิ่น 2 อยาง มีเครือขายเรียนรูกับชุมชนอื่น

5. ดานการอนุรักษส่ิงแวดลอมและใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน 5.1 ชุมชนใชวัตถุดิบอยางยั่งยืน ในการประกอบอาชพี 5.2 ชุมชนปลูกตนไมใหรมร่ืนเปนหมูบานนาอยู

≤ 50 % ของคร.ทั้งหมด มีการปลูกตนไม ปละ 1 คร้ัง และดูแลรักษา

51-75 % ของคร.ทั้งหมด มีกิจกรรมการ ปลูกตนไม ปละ 2-3 คร้ัง

> 75 % ของคร.ทั้งหมด มีกิจกรรมการปลูกตนไม มากกวา 3 คร้ังขึ้นไป

Page 70: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

70

6. ดานการเอื้ออารีตอกัน 6.1 ชุมชนมีการดูแลชวยเหลือคนจน คนดอยโอกาสและ คนประสบปญหา 6.2 ชุมชน “รูรักสามัคคี”

≤ 50 % ของคนจน/ดอยโอกาส /ประสบปญหา มีกิจกรรมการแกปญหารวมกนั 1 กิจกรรม

51-75 % ของคนจน/ ดอยโอกาส /ประสบปญหา มีกิจกรรมการแกปญหารวมกัน 2 กิจกรรม

> 75 % ของคนจน/ ดอยโอกาส /ประสบปญหา มีกิจกรรมการแกปญหารวมกัน 3 กิจกรรมขึ้นไป

รวมคะแนน

หมายเหตุ : 1. มท.สนับสนุนเกษตรทฤษฎีใหม ใหเปนแนวทางสูเศรษฐกิจพอเพียงสําหรับเกษตรกร

2. จังหวัดสามารถพิจารณาดําเนินการใหมีการเพ่ิมตัวช้ีวัดไดตามความเหมาะสมของแตละพ้ืนท่ี

คําอธิบาย ตัวช้ีวัด 6 ดาน 12 ตัวช้ีวัด หมูบานท่ียึดถือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนรากฐานของชีวิต

ตัวช้ีวัด คําอธิบาย 1.ดานการลดรายจาย 1.1 ครัวเรือนทําสวนครัว 1.1 ครัวเรือนใชพ้ืนท่ีวางบริเวณบาน หรือ ใชกระถาง/

ภาชนะท่ีท้ิงแลวในการปลูกผักไวกินเองในครอบครัว รวมท้ังการปลูกผักแบบแขวน ในกรณีพ้ืนท่ีท่ีไมสามารถปลูกผักไดอาจมีกิจกรรมอ่ืนท่ีทดแทนกันได

เชนพ้ืนท่ีชาวเล มีการหาปลากินเองเปนตน 1.2 ครัวเรือนปลอดอบายมุข 1.2 สมาชิกทุกคนในครัวเรือน ไมเสพสิ่งเสพติด ไมเลนการ พนัน

ประพฤติตนอยูในศีลธรรมอันดี 2.ดานการเพ่ิมรายได 2.1 ครัวเรือนมีอาชีพเสริม 2.1 ครัวเรือนมีอาชีพอ่ืนนอกจากอาชีพหลักท่ีทําประจํา

ทําใหครัวเรือนมีรายไดเพ่ิมข้ึน 2.2 ครัวเรือนใชเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสม 2.2 ครัวเรือนมีการใชอุปกรณ เครื่องมือในการประกอบ อาชีพ หรือสิ่งอํานวย

ความสะดวกในครัวเรือนท่ีเหมาะสมกับสภาพทองถ่ิน ทําใหเกิดความคุมคาและประหยัด เชน การใชปุยชีวภาพในการเพาะปลูกและไดผลผลิตคุมคาการปลูกผักปลอดสารพิษ การใชพลังงาน ทดแทน ฯลฯ

3.ดานการประหยัด

Page 71: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

71

3.1ครัวเรือนมีการออมทรัพย 3.1 สมาชิกในครัวเรือนมีการฝากเงินไวกับธนาคาร/สถาบัน การเงิน/กลุมออมทรัพยฯ/หรือกลุมอ่ืนๆท่ีมีการรับฝากเงินกับสมาชิก

3.2 ชุมชนมีกลุมออมทรัพยฯ 3.2 กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต หรือกลุมออมทรัพยอ่ืนท่ีมี ลักษณะคลายกัน เชน กลุมสัจจะออมทรัพย /กลุมออมทรัพยสตรี/ กลุมออมทรัพยของกลุมอาชีพตางๆ เปนตน

- มีการเช่ือมโยงเครือขาย - การเชื่อมโยงกลุม/องคกรตางๆในพ้ืนท่ีหรือพ้ืนท่ีอ่ืน 4.ดานการเรียนรู

4.1 ชุมชนมีการสืบทอดและใช ภูมิปญญาทองถิ่น 4.1 ชุมชนมีการบันทึกภูมิปญญาในรูปแบบตางๆ

มีการ ถายทอด และนําไปใชประโยชนอยาง กวางขวาง 4.2 ครัวเรือนมีการเรียนรู ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน ชีวิตประจําวัน 4.2 คนในครัวเรือนมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดหรือจัดเวทีการ

เรียนรูหรือกิจกรรมท่ีกอใหเกิดการเรียนรู นําไปสูความเขาใจในการดํารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

5.ดานการอนุรักษส่ิงแวดลอมและใชทรัพยากรธรรมชาติอยางย่ังยืน 5.1 ชุมชนใชวัตถุดิบอยางย่ังยืน ในการประกอบอาชีพ 5.1 ชุมชนมีการใชวัสดุหรือทรัพยากรท่ีมีอยูในชุมชนอยางคุมคาและ

ประหยัดในการประกอบอาชีพ โดยมีการวางแผน จัดหาทรัพยากรทดแทน ควบคูกับการอนุรักษ เชน การปลูกพืช/เลี้ยงสัตวทดแทน การดูแลรักษาแหลงน้ํา ปาไม

และสิ่งแวดลอมเปนตน 5.2 ชุมชนปลูกตนไมใหรมรื่น เปนหมูบานนาอยู 5.2 ชุมชนสงเสริมใหมีการปลูกตนไมบริเวณท่ีสาธารณะ ถนนในหมูบาน

บริเวณบาน หรือท่ีวางในหมูบาน ฯลฯ และมีการดูแลรักษาอยางตอเนื่อง 6.ดานการเอ้ืออารีตอกัน 6.1 ชุมชนมีการดูแลชวยเหลือ คนจนคนดอยโอกาส และคนประสบปญหา 6.1 ชุมชนมีการจัดสวัสดิการสําหรับคนจน คนดอยโอกาส และคน

ประสบปญหา เชน การจัดใหมีกองทุนประกอบอาชีพ กองทุนสงเคราะห ตางๆ การจัดสรรเงินกําไรจากกองทุนชุมชนเพ่ือเปนสวัสดิการ การจัดตั้งศูนยสงเคราะหราษฎรประจําหมูบาน ตลอดจนมีการชวยเหลือ เก้ือกูลกันในรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีมิใชเก่ียวกับการเงิน เปนตน

Page 72: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

72

6.2 ชุมชน"รูรักสามัคคี" 6.2 ชุมชนมีการมีการจัดทําแผนชุมชนและนําแผนไปสูการ ปฏิบัติเพ่ือการแกไขปญหาชุมชนรวมกัน

หมายเหตุ : คาคะแนนผานเกณฑการประเมินตองไดคะแนนไมนอยกวา รอยละ 50

และตองไดคะแนนครบทุกดาน

แบบการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย

เพ่ือประเมินผลการจัดระดับหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง

.........................................................................................................................................................

....

แนวทางการประเมินหมูบาน

1. วัตถุประสงค แบบการประเมินชุดน้ีจัดทําข้ึนเพื่อประเมินการดําเนินงานของหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง

ขอมูลท่ีไดจะนํามาจัดระดับการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ใน 3 ระดับ คือ “พออยู พอกิน” “อยูดี กินดี” “ม่ังมี

ศรีสุข” เพื่อเปนตนแบบในการเรียนรู และเปนตัวอยางขยายผลการดําเนินงาน และเปนฐานขอมูลในการกําหนด

แผนงานและแนวทางเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานหมูบาน รวมท้ังการเผยแพรประชาสัมพันธ

2. แบบประเมิน แบบประเมิน1 ชุด ใชประเมินหมูบาน 1 หมูบาน/ชุมชน เปนขอมูลเชิงประเมินผล

การดําเนินงาน ประกอบดวยตัวชี้วัดการดําเนินงานจํานวนองคประกอบ 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด

3. การจดัเก็บขอมูลและผูใหขอมูล

3.1 ผูจัดเก็บขอมูล คือทีมตําบล(ตามระเบียบวาระแหงชุมชน) ประกอบดวย ปลัดอําเภอเปน

หัวหนา พัฒนากรประจําตําบล ทําหนาท่ีเปนเลขาฯ

3.2 ผูใหขอมูล ดําเนินการจัดเวทีประชาคม โดยมีแกนนําชุมชนรวมใหขอมูล

3.3 ใชผลการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ปท่ีผานมา (ป 2551) มาประกอบการประเมินในตัวชี้วัดท่ีเก่ียวของ

4. พื้นท่ีการประเมิน ดําเนินการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงท่ีผานเกณฑชีว้ัด 6x2 ในป 2550

5. การกรอกขอมูล

Page 73: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

73

5.1 รหัสกลุม จะมีท้ังหมด 8 ชอง ชองท่ี 1-2 ใหใสรหัสจังหวัด ชองท่ี 3-4 ใสรหัสอาํเภอ ชองท่ี 5-6

ใสรหัสตําบล

ชองท่ี 7-8 ใสรหัสหมูบาน โดยรหัสดังกลาวจะตองตรงกับรหัสฐานขอมูลหมูบาน ในโปรแกรมฐานขอมูลของศักยภาพ

ชุมชน

5.2 ทุกหมูบานตองประเมินใหครบทุกดาน จํานวน 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด

5.3 ตรวจสอบจาํนวนตัวชี้วดัหลัก (ขอท่ีมี )

1) ระดับพออยู พอกิน จํานวนตัวชีว้ัดหลัก 10 ตัวชีว้ัด (ไดแกตัวชีว้ัดในขอ

1,2,4,8,10,13,16,17,20,21)

2) ระดับอยูดี กินดี จํานวนตัวชีว้ัดหลัก 17 ตัวชีว้ัด

(ไดแกตัวชี้วัดในขอ 1,2,3,4,5,8,9,10,11,13,14,16,17,19,20,21,22)

3) ระดับม่ังมี ศรสีุข

6. เกณฑการจัดระดบัหมูบาน

6.1 ระดับม่ังมี ศรีสุข หมายถึง หมูบานท่ีมีผลการดําเนินงานอยูในระดับม่ังมี ศรสีุข ผานการ

ประเมินครบ

4 ดาน 23 ตัวชีว้ัด

6.2 ระดับอยูดี กินด ี หมายถึง หมูบานท่ีมีผลการดําเนินงานอยูในระดับอยูดี กินดี เง่ือนไขคือ ผาน

การประเมินครบ 4 ดาน มีตัวชีว้ัดผานจาํนวน 17-22 ตัวชี้วัด และตองผานตัวช้ีวัดหลักจํานวน 17 ตัวช้ีวัด ตาม

ขอ 3.3(2)

6.3 ระดับพออยู พอกิน หมายถึง หมูบานท่ีมีผลการดําเนินงานอยูในระดับพออยู พอกิน คือ ผาน

การประเมินครบ 4 ดาน มีตัวข้ีวัดผานจาํนวน 10-16 ตัวชี้วัด และตองผานตัวช้ีวัดหลักจํานวน 10 ตัวช้ีวัด ตาม

ขอ 3.3(1)

7. การประเมินหมูบานในเขตพ้ืนท่ีชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร สามารถนาํเกณฑการประเมินน้ีไป

พัฒนาหรือปรับใหมีความเหมาะสมกับบรบิทของพื้นท่ี

ตัวช้ีวัด เกณฑ/ความสอดคลองกับหลกัปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยการประเมิน/

ผลการประเมิน

1. ดานจิตใจและสังคม จํานวน 7 ตัวชี้วัด

ขอ 1 มีความสามัคคีและความรวมมือ

ของคนในหมูบาน

เง่ือนไขความรู

1.1 การประชุม/จัดเวทีประชาคม

เพื่อการตัดสินใจ 12 ครั้ง ในรอบป

1.2 คนในหมูบาน/ชุมชนมีสวนรวม

ในกิจกรรมตางๆ ของหมูบาน

1. หมูบาน/ชุมชนมีการประชุม/จัดเวที

ประชาคม เพื่อการตัดสินใจ อยางนอย

12 ครั้งในรอบ 1 ป

2. คนในหมูบาน/ชุมชนมีสวนรวมใน

กิจกรรมตางๆ ของหมูบาน โดยพิจารณา

จากการผานเกณฑ จปฐ. ป 2551

ขอ 38 รอยละ 95 ขอ 39 รอยละ 95

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน

2.ครัวเรือน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

Page 74: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

74

ตัวช้ีวัด เกณฑ/ความสอดคลองกับหลกัปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยการประเมิน/

ผลการประเมิน ขอ 40 รอยละ 95 ขอ 41 รอยละ 100

ขอ 2 มีขอปฏิบัติของหมูบาน เง่ือนไขความรู

มีขอตกลงรวมกันเพื่อใหคนใน

หมูบาน/ชุมชนตองปฏิบัติ ควรปฏิบัติ

และ/หรือขอหามปฏิบัติ ซ่ึง

สอดคลองกับ คานิยม วัฒนธรรม

ประเพณี เพื่อใหเกิดความสงบสขุ

คนในหมูบาน/ชุมชน มีการปฏิบัติตาม

กฎ ระเบียบ ขอบังคับตามท่ีไดตกลงกันไว

อยางนอยรอยละ 70 ของครัวเรอืนท้ังหมด

หนวยการประเมิน ครัวเรือน ผลการประเมิน ผาน ไมผาน

ขอ 3 มีกองทุนสวัสดิการ การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเอง

1. หมูบานมีกองทุนเพื่อใหบริการ/

สวสัดิการแกสมาชิกในชุมชน จาํนวน 1 กองทุน

2. มีการจัดสวัสดิการภายใน

หมูบาน/ชุมชนท่ียากจน ดอยโอกาส

และคนท่ีประสบปญหา

1. หมูบาน/ชุมชนมีกองทุนอยางนอย 1

กองทุน และสมาชิกในชุมชนไดรับบริการ

จากกองทุนครบทุกคน 2. คนยากจน ดอยโอกาส และคนท่ีประสบ

ปญหาไดรบัการชวยเหลือจากกองทุน

สวสัดิการ อยางนอยรอยละ 50

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2.หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

ขอ 4 ยึดม่ันในหลักการประชาธิปไตย ความมีเหตุมีผล

คนในหมูบาน/ชุมชนมีความต่ืนตัว

และรูจักรักษาสิทธิ หนาท่ี และ

เสรีภาพทางการเมืองและในฐานะ

พลเมืองของประเทศ

1. คนหมูบาน/ชุมชนไปใชสิทธเิลือกต้ัง

ครั้งลาสุดไมนอยกวา รอยละ 90ของคนมี

สิทธิเลือกต้ังท่ีอยูจริงในหมูบาน

2. การจัดเวทีประชาคม มีคนในครัวเรอืน

เขารวมเวที รอยละ 75 ของครัวเรือนใน

หมูบาน/ชุมชน

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2.หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

ขอ 5 มีคุณธรรม/จริยธรรม เง่ือนไขคุณธรรม

หมูบาน/ชุมชนยึดม่ันในคุณธรรม/

จริยธรรมอนัดีงาม ซ่ึงคนในหมูบาน/

ชุมชนประพฤติตนและปฏิบัติรวมกัน

ในการดํารงชีวิต

1. คนในหมูบาน/ชุมชนปฏิบัติศาสนากิจ

อยางใดอยางหนึ่งรวมกัน (ท้ังหมูบาน)

อยางนอยปละ 1 ครั้ง

2. คนในหมูบาน/ชุมชนปฏิบัติตาม

วัฒนธรรมประเพณีและมารยาทไทย 3. มีการยกยองชมเชยบุคคลท่ีมีคุณธรรม

จริยธรรม เปนแบบอยางท่ีดีตอคนใน

หมูบาน

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2.หมูบาน/ชุมชน

3 หมูบาน/ชุมชน 4. ครัวเรือน

5. หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน

Page 75: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

75

ตัวช้ีวัด เกณฑ/ความสอดคลองกับหลกัปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยการประเมิน/

ผลการประเมิน 4. ดําเนินชีวิตและปฏิสัมพันธกับผูอื่นดวย

ความซ่ือสัตย สุจริต ไมโลภ ไมเบียดเบียน

ผูอื่น รูรัก สามัคคี

5. ไมมีความขัดแยงในหมูบาน/ชุมชน

ผาน 3 ขอ ไมผาน

ขอ 6 มีคนในหมูบาน/ ชุมชนปลอด

อบายมุข

การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเอง

คนในหมูบาน/ชุมชนปฏิบัติตนเพื่อ

ลด ละ เลิกอบายมุข โดยวธิีการตางๆ

หรือไมเก่ียวของกับอบายมุขเลย

1.หมูบาน/ชุมชนปลอดยาเสพติด รอยละ

100

2.คนในหมูบาน/ชุมชนไมติดสรุา

ผานเกณฑจปฐ. ขอ 32 รอยละ 100

3. คนในหมูบาน/ชุมชนไมสูบบหุรี่

ผานเกณฑจปฐ. ขอ 33 รอยละ 90

4. คนในหมูบาน/ชุมชนไมติดการพนัน

รอยละ 100

5. หมูบาน/ชุมชนมีกระบวนการสงเสริมการ

ลด ละเลิก อบายมุข อยางนอย 1 กิจกรรม

ในรอบ 1ปท่ีผานมา

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2. ครัวเรือน

3 ครัวเรือน 4. ครัวเรือน

5. หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 3 ขอ (ตองผาน ขอ 1 และขอ

อ่ืน ๆ อีก 2 ขอ) ไมผาน

ขอ 7 มีความเ ช่ือ ม่ันในปรั ชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

เง่ือนไขความรู

หมูบาน/ชุมชนเรียนรู เขาใจ และนํา

หลักการตามปรชัญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงมาปฏิบัติเปนแนวทางในการ

ดํารงชวีิต

หมูบาน/ชุมชน ไดเรียนรู เขาใจ และนํา

หลักการตามปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาปฏิบัติเปนแนวทางในการดํารงชีวิต

ในการเรียนรู สูการปฏิบัติ และการขยายผล (ปลูกทุกอยางท่ีกิน กินอยางท่ีปลูก ใชทุก

อยางท่ีทํา ทําทุกอยางท่ีใช)

หนวยการประเมิน

หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน ไมผาน

2. ดานเศรษฐกิจ จํานวน 5 ตัวชี้วัด

ขอ 8 มีการจัดทําบัญชีครัวเรือน

เง่ือนไขความรู

คนในครัวเรือนมีการจัดทําบัญชี

รายรบั-รายจายของครัวเรือนเปน

ประจํา

มีการจัดทําบัญชีรายรบั-รายจายของ

ครัวเรือนเปนประจาํ รอยละ 50 ของ

ครัวเรือนในชุมชน

หนวยการประเมิน

ครัวเรือน ผลการประเมิน ผาน

Page 76: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

76

ตัวช้ีวัด เกณฑ/ความสอดคลองกับหลกัปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยการประเมิน/

ผลการประเมิน ไมผาน

ขอ 9 มีกิจกรรมลดรายจายและสราง

รายได

ความพอประมาณ

คนในหมูบานมีการทํากิจกรรมเพื่อ

ลดรายจายในชีวิตประจําวัน และ

สามารถสรางรายไดเพ่ิมจากกิจกรรม

ดังกลาวได

ครัวเรือนมีการผลิตและการอปุโภค เพื่อใช

ในชวีิตประจาํวัน รอยละ 80 ของ

ครัวเรือนในชุมชน

หนวยการประเมิน

ครัวเรือน ผลการประเมิน ผาน ไมผาน

ขอ10 มีการรวมกลุมเพ่ือพัฒนาอาชีพ

หลักของหมูบาน

ความมีเหตุมีผล

คนในหมูบานมีการเรียนรู ปรับปรุง

และพัฒนาการประกอบอาชพีรวมกัน

เปนกลุมท้ังในดานการผลิต

การตลาด การจัดการ และเงินทุน

เพื่อใหไดผลผลิตมากข้ึนและมี

คุณภาพดีข้ึน

1. คนในครัวเรือนรวมเปนสมาชิกในกลุม

ตางๆ ในหมูบาน/ชุมชน ผานเกณฑ จปฐ.

ขอ 38 รอยละ 95 2. กลุม/องคกรในหมูบาน/ชุมชน มีการ

พัฒนาทักษะดานการประกอบอาชีพ และมี

กระบวนการจัดการองคความรู

หนวยการประเมิน

1.ครัวเรอืน 2. หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

ขอ11 มีกิจกรรมการออมท่ีหลากหลาย การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเอง

หมูบานมีการสงเสริมใหคนใน

หมูบานเปนสมาชิกกลุมออมทรพัย

ตางๆ และ/หรือสงเสริมกลุมออม

ทรัพยตางๆ พัฒนารูปแบบการออม

เงินใหหลากหลาย (กลุมออมสจัจะ

กองทุนหมูบาน เยาวชน )เงินตอเงิน

เพื่อนําไปลงทุน

1. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน ผาน

เกณฑจปฐ.ขอ 31รอยละ 80

2. หมูบาน/ชุมชนมีกลุมออมทรัพย และ/

หรือกองทุนการเงินอื่น ๆ อยางนอย

จํานวน 3 กลุม 3. ครัวเรือมีการออมเงินท่ีเหมาะสมใน

รูปแบบท่ีหลากหลาย

หนวยการประเมิน

1.ครัวเรอืน 2. หมูบาน/ชุมชน

3.ครัวเรอืน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

ขอ12 มีการดําเนินงานในรปูแบบ

วิสาหกิจชุมชน

ความพอประมาณ

หมูบานมีการจัดต้ังและบริหารจดัการ

กลุมในรูปแบบวิสาหกิจชุมชน

1. หมูบาน/ชุมชนมีจัดต้ังกลุมวิสาหกิจ

ชุมชน อยางนอยจาํนวน 1 กลุม 2. กลุมวิสาหกิจชุมชนท่ีจัดต้ังข้ึนใน

หมูบาน/ชุมชน มีกิจกรรมใหบรกิารและ

สรางรายไดแกสมาชิกและหมูบาน/

ชุมชน อยางนอย 1กิจกรรม เนนการ

ผลิตเพื่อการบริโภคอยางเพียงพอภายใน

ชุมชน และนําไปสูการแกไขปญหาความ

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2. หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ = ไมผาน

Page 77: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

77

ตัวช้ีวัด เกณฑ/ความสอดคลองกับหลกัปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยการประเมิน/

ผลการประเมิน ยากจน (โรงสีชุมชนรานคาชุมชน ปม

นํ้ามัน

3. ดานการเรียนรู จํานวน 7 ตัวชี้วัด

ขอ 13 มีขอมูลของชุมชน

เง่ือนไขความรู

มีกระบวนการจัดเก็บ รวบรวม

วิเคราะห สังเคราะหขอมูลตางๆ ของ

ชุมชน

หมูบาน/ชุมชนมีกระบวนการจดัเก็บ

รวบรวม วิเคราะห สังเคราะหขอมูลตางๆ

ของหมูบาน/ชุมชน ครบทุกข้ันตอน ดังน้ี

- มีการประชุมเพื่อสรางความเขาใจ ฯ

- จัดเก็บโดยอาสาสมัคร

- บันทึก/ประมวลผล

- การประชาคม เพื่อรบัรองผล

- จัดทําสําเนาขอมูลเก็บไวท่ีหมูบาน

หนวยการประเมิน

หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน ไมผาน

ขอ14 มีการใชประโยชนจากขอมูลชุมชน

และแผนชุมชน เง่ือนไขความรู

ใชขอมูลของหมูบานในกระบวนการ

จัดทําแผนชุมชน ซ่ึงเปนแผนท่ีแสดง

ถึงทิศทาง แนวทาง วิธีการแกไข

ปญหาและพัฒนาหมูบาน

1.หมูบาน/ชุมชนมีการใชประโยชนจาก

ฐานขอมูลของหมูบานมาทําประโยชนเพื่อ

หมูบาน 2.หมูบาน/ชุมชนมีการจัดทําแผนชุมชน

และสามารถนาํไปปฏิบัติจริงอยางนอย

รอยละ 30 ของแผน

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2. หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

ขอ 15 มีการคนหาและใชภูมิปญญา

ทองถ่ินในการสรางคุณคา

เง่ือนไขความรู

หมูบานมีกระบวนการสืบคน

รวบรวม จัดหมวดหมู และเรียนรูจาก

ความรูหรือภูมิปญญาด้ังเดิมท่ีมีอยูใน

ทองถิ่น และใชประโยชนเพื่อเพิ่ม

คุณคาหรือมูลคา

หมูบาน/ชุมชนมีกระบวนการ สบืคน

รวบรวม จัดหมวดหมู และเรียนรูจาก

ความรูหรือภูมิปญญาด้ังเดิมท่ีมีอยูใน

ทองถิ่น และใชประโยชนเพื่อเพิ่มคุณคา

หรือมูลคา

- มีการจดบันทึกภูมิปญญาทองถิ่น

- มีการรวบรวมและแยกหมวดหมู

- มีกิจกรรมสืบทอดและถายทอดภูมิ

ปญญาทองถิ่น

- นําภูมิปญญามาประยุกตใชในการทํา

กิจกรรม อยางนอย 1 กิจกรรม

หนวยการประเมิน

หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน ไมผาน

ขอ 16 มีการจัดตั้งแหลงเรียนรูในชุมชน

เง่ือนไขความรู

Page 78: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

78

ตัวช้ีวัด เกณฑ/ความสอดคลองกับหลกัปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยการประเมิน/

ผลการประเมิน หมูบานมีการจัดสถานท่ีสาํหรบัเปน

แหลงเรียนรูใหคนในและนอกหมูบาน

ไดคนควาหาความรู เรียนรู องค

ความรู และใชความรูในการดํารงชีวิต

หมูบาน/ชุมชนมีการจัดสถานท่ีสําหรับเปน

แหลงเรียนรู และมีการใชประโยชนจาก

แหลงเรียนรูใหแกคนในและนอกหมูบาน

หนวยการประเมิน

หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน ไมผาน

ขอ17 มีการใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับ

ศักยภาพของหมูบาน/ชุมชน

เง่ือนไขความรู

1. มีกิจกรรม การเรียนรู และ

ถายทอดเทคโนโลยีและวิทยาการ

ใหมๆ โดยคนในชุมชนหรือนอก

ชุมชน จํานวน 4กิจกรรม

2. มีการนําไปใชอยางเหมาะสมกับ

ฐานะทางเศรษฐกิจและเกิดความ

คุมคา จํานวน รอยละ 50 ของคนท่ี

เรียนรู

1. หมูบาน/ชุมชนมีกิจกรรมการเรียนรู

และถายทอดเทคโนโลยีและวิทยาการ

ใหมๆ โดยคนในชุมชนหรือนอกชุมชน

จํานวน 4 กิจกรรม 2. คนในหมูบาหนวยการประเมิน

หมูบาน/ชุมชน ท่ีไดเรียนรูแลวนําไปใช

อยางเหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจและ

เกิดความคุมคา ไมนอยกวารอยละ 50

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2. ครัวเรือน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

ขอ18 มีการสรางเครือขายภาคีการพัฒนา การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเอง

หมูบานมีกระบวนการเชื่อมโยง

เครือขายในระดับกลุมและ/หรอื

ระดับหมูบานเพื่อแลกเปลี่ยนเรยีนรู

ขอมูลขาวสาร ประสานงานและทํา

กิจกรรมตางๆ

หมูบาน/ชุมชนมีการเชื่อมโยงเครือขายการ

เรียนรูระดับกลุม /เครอืขาย เพื่อการ

แลกเปลี่ยนเรียนรูกับหมูบาน/ชมุชนอื่นๆ

หนวยการประเมิน

หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน ไมผาน

ขอ19 มีการปฏิบัติตามหลักการของการ

พ่ึงตนเอง

ความพอประมาณ

คนในหมูบาน “คิดเปน ทําเปน

แกปญหาเปน”

1. หมูบาน/ชุมชน สามารถแกไขปญหา

ของชุมชนไดดวยตนเอง อยางนอย 2 เรื่อง

ในรอบปท่ีผานมา 2. หมูบาน/ชุมชน มีการจัดทําแผนชุมชน

โดยกระบวนการเรียนรูของชุมชนเอง

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2.หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ

ไมผาน 4. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน 4 ตัวชี้วัด

ขอ 20 มีจิตสํานึกของการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม

การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเอง

Page 79: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

79

ตัวช้ีวัด เกณฑ/ความสอดคลองกับหลกัปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยการประเมิน/

ผลการประเมิน หมูบานมีการสรางจิตสํานึกการ

ดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอมในหมูบาน

หมูบาน/ชุมชน มีกิจกรรมใหความรูดาน

การจัดการทรพัยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม และมีการวางแผนการอนุรักษ ฯ

หนวยการประเมิน

หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน

ไมผาน

ขอ 21 มีกลุม/องคกรดานสิ่งแวดลอม ความมีเหตุมีผล

หมูบานมีกลุม/องคกรท่ีคนใน

หมูบานรวมกันทํากิจกรรมเพื่อ

อนุรักษทรพัยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม และเชื่อมโยงเปน

เครือขาย กับกลุม/องคกรดาน

สิ่งแวดลอมอื่นๆ

1. หมูบาน/ชุมชน มีการจัดต้ังกลุมฯ เพื่อ

การบริหารจัดการ ยึดหลักการมีสวนรวม

(เชน กลุมผูใขนํ้า รักษานํ้าฯ) 2. หมูบาน/ชุมชน มีการเชื่อมโยงเครือขาย

ดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (เชน การ

แลกเปลี่ยนเรียนรูขอมูลขาวสาร มีการทํา

กิจกรรมรวมกัน) ฯลฯ

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2. หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

ขอ22 มีการใชพลังงานทดแทนท่ี

สอดคลองกับสภาพแวดลอมของ

ชุมชน

การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเอง

หมูบานมีกระบวนการสงเสริมใหคน

ในหมูบานเรียนรู ทดลอง และ

เลือกใชพลังงานทดแทนตาง ๆ ท่ี

เหมาะสมสอดคลองกับ

สภาพแวดลอมและสภาพเศรษฐกิจ

1. หมูบาน/ชุมชน มีกิจกรรมสงเสริมการ

ลดการใชพลังงาน (เชน เปลี่ยนหลอด

ปนจักรยาน ) 2. หมูบาน/ชุมชน มีการผลิตและใช

พลังงานทางเลือก (เชน กาชชีวภาพจาก

มูลสัตว พืช)

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน 2. หมูบาน/ชุมชน ผลการประเมิน ผาน 2 ขอ ไมผาน

ขอ 23 มีการสรางมูลคาเพ่ิมจาก

ทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม

การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเอง

หมูบานมีกระบวนการเรียนรูพฒันา

และจัดการการใชประโยชนจาก

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เพื่อใหเกิดรายไดอยางย่ังยืน

หมูบาน/ชุมชน มีกิจกรรมการใชประโยชน

จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เพื่อใหเกิดรายไดอยางย่ังยืน (เชน หมูบาน

ทองเท่ียว หัตถกรรม เชิงเกษตร อนุรักษ

แปรรปูผลิตภัณฑ ฯลฯ)

หนวยการประเมิน

1.หมูบาน/ชุมชน ผาน ไมผาน

สรุปผลการประเมินผาน จํานวน........................ตัวชี้วัด

ตัวชี้หลักท่ีมี

(ไดแกตัวชี้วัดในขอ 1,2,3,4,5,8,9,10,11,13,14,16,17,19,20,21,22) จํานวน................ตัวชี้วัด

Page 80: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

80

ตัวช้ีวัด เกณฑ/ความสอดคลองกับหลกัปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยการประเมิน/

ผลการประเมิน

ผลการจัดระดับหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ .............................

คําสั่งจังหวัดสิงหบุรี ท่ี ๑๗๓ / ๒๕๕๔

เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงระดับจังหวัดสิงหบุรี ............................................

ตามท่ีจังหวัดสิงหบุรี ไดแตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงระดับ จังหวัดสิงหบุรี ตามคําสั่งจังหวัดสิงหบุรี ท่ี ๒๐๒๖/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ เพ่ือเปนกลไกขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีเปาหมายใหหมูบานไดมีการนอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสูการปฏิบัติใหปรากฏผลเปนรูปธรรม ซ่ึงคณะกรรมการฯไดประชุมเม่ือวันท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๕๔ ณ หองประชุมศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ ศาลากลางจังหวัดสิงหบุรี มีมติในท่ีประชุมใหแตงตั้งคณะกรรมการฯใหสอดคลองกับการบูรณาการหนวยงานท่ีไดรับการจัดสรรงบประมาณกิจกรรม/โครงการภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกําหนดบูรณาการ ๓ ดาน ไดแก ดานพ้ืนท่ี ( Area) ดานภารกิจ (Function) และดานการมีสวนรวม ( Partipation) นั้น เพ่ือใหการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ และเกิดผลเปนรูปธรรม จังหวัดสิงหบุรีจึงยกเลิกคําสั่งจังหวัดสิงหบุรี ท่ี ๒๐๒๖/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๙ และแตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจเพียงระดับจังหวัดสิงหบุรีโดยมีองคประกอบและอํานาจหนาท่ี ดังนี้ องคประกอบ

๑. เจาคณะจังหวัดสิงหบุรี ท่ีปรึกษา ๒. เจาคณะจังหวัดสิงหบุรี – อุทัยธานี – ชัยนาท ท่ีปรึกษา ๓. ผูวาราชการจังหวัดสิงหบุร ี ประธานกรรมการ ๔. รองผูวาราชการจังหวัดสิงหบุรี รองประธานกรรมการ

(ลงชื่อผูจัดเก็บขอมูล)................................................................

(...................................................................)

Page 81: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

81

๕. ปลัดจังหวัดสิงหบุร ี รองประธานกรรมการ ๖. นายกองคการบริหารสวนจังหวัดสิงหบุรี รองประธานกรรมการ ๗. ผูบังคับการตํารวจภูธรจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๘. เกษตรจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๙. ทองถ่ินจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๑๐. พาณิชยจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๑๑. เกษตรและสหกรณจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๑๒. สหกรณจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๑๓. ประมงจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๑๔. ปศุสัตวจังหวัดสิงหบุร ี กรรมการ ๑๕. หัวหนาสถานีพัฒนาท่ีดินสิงหบุรี กรรมการ ๑๖. นายอําเภอทุกอําเภอ กรรมการ ๑๗. ผูอํานวยการสํานักงานธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ การเกษตรจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๑๘. ผูจัดการธนาคารออมสิน สาขาสิงหบุรี กรรมการ ๑๙. ผูอํานวยการศูนยบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี กรรมการ มหาวิทยาลัยราชภฏัเทพสตรี ๒๐. จาจังหวัดสิงหบุร ี กรรมการ ๒๑. พัฒนาการจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๒๒. หัวหนากลุมงานสงเสริมการพัฒนาชุมชน กรรมการและเลขานุการ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี ๒๓. นักวิชาการพัฒนาชุมชน ชํานาญการ กรรมการและผูชวยเลขานุการ ท่ีรับผิดชอบงานเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี

ใหมีหนาท่ี

๑. แปลงนโยบายแนวทางและยุทธศาสตรการดําเนินงานเศรษฐกิจพอเพียงไปสูการ ปฏิบัติ

๒. ประสานบูรณาการแผนงาน งบประมาณ และการดําเนินงานกับหนวยงานภาครัฐ ภาคอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาชน ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ๓. พัฒนาระบบขอมูล และประสานระบบขอมูลและสารสนเทศเศรษฐกิจพอเพียงกับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาควิชาการ ๔. สนับสนุน สงเสริม การดําเนินงานและการมีสวนรวมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในทุกพ้ืนท่ีของจังหวัด ๕. กํากับ ดูแล ตรวจติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง เสนอคณะกรรมการอํานวยการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย ๖. ประชาสัมพันธเผยแพร ขอมูล ขาวสาร ความรู ความเขาใจ ตลอดจนโครงการ แผนงานและกิจกรรมตางๆ ตามท่ีเห็นสมควร

Page 82: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

82

๗. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ ท่ีปรึกษา คณะทํางาน เพ่ือชวยเหลือการดําเนินงานของคณะกรรมการฯไดตามท่ีเห็นสมควร ๘. ปฏิบัติงานอ่ืนๆตามท่ีคณะกรรมการอํานวยการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทยมอบหมาย

ท้ังนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

สั่ง ณ วันท่ี ๘ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๔

พิเชษฐ ไพบูลยศิริ ( นายพิเชษฐ ไพบลูยศิริ ) ผูวาราชการจังหวัดสิงหบุรี

Page 83: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

83

คําสั่งจังหวัดสิงหบุรี ท่ี ๕๘๐ /๒๕๕๔

เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประเมินหมูบานเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ประจําป ๒๕๕๔

............................................ ดวยกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ใหจังหวัดดําเนินการจัดระดับหมูบาน โดยใช

เกณฑการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย เปน ๓ ระดับ คือ ระดับพออยู พอกิน อยูดี กินดี ม่ังมี ศรีสุข และสนับสนุนงบประมาณเพ่ือดําเนินการโครงการพัฒนาหมูบานตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ และใหจังหวัดพิจารณาประเมินเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ประจําป ๒๕๕๔ โดยใหจังหวัดแตงตั้งคณะกรรมการฯเพ่ือพิจารณารับรองผลงานตามเกณฑท่ีกําหนด ตามแนวทางการดําเนินงานตามตัวชี้วัดท่ี ๑.๑.๑ ระดับความสําเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมูบาน

เพ่ือใหการดําเนินงานตามโครงการเปนไปดวยความเรียบรอยและบรรลุตัวชี้วัดท่ีกําหนด และประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด จึงแตงตั้งคณะกรรมการประเมินหมูบาน เพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ประจําป ๒๕๕๔ ดังนี้

๑. รองผูวาราชการจังหวัดสิงหบุรี ( นายสุริยันต กาญจนศิลป) ประธานกรรมการ ๒. ปลัดจังหวัดสิงหบุร ี รองประธานกรรมการ ๓. นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๔. เกษตรและสหกรณจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๕. ทองถ่ินจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๖. ประมงจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๗. เกษตรจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๘. สหกรณจังหวัดสิงหบุรี กรรมการ ๙. ปศุสัตวจังหวัดสิงหบุร ี กรรมการ ๑๐. พัฒนาการจังหวัดสิงหบุรี กรรมการและเลขานุการ ๑๑. หัวหนากลุมงานสงเสริมการพัฒนาชุมชน กรรมการและผูชวยเลขานุการ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี

Page 84: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

84

๑๒. นายคนอง สงชวย นักวชิาการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบ กรรมการและผูชวยเลขานุการ งานเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงหบุรี

ใหมีหนาท่ี ๑. พิจารณาและประเมินหมูบานระดับอําเภอเพ่ือเปนตนแบบโดยพิจารณาจากศักยภาพของ

การเปนแหลงเรียนรู ระบบการบริหารจัดการชุมชน และความยั่งยืนเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ๑๒ หมูบาน ประจําป ๒๕๕๔

๒. ใหดําเนินการพิจารณาและประเมินผล ดวยความโปรงใส บริสุทธิ์ ยุติธรรม และรายงาน ผลใหผูวาราชการจังหวัดทราบ

ท้ังนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

สั่ง ณ วันท่ี ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔

พิเชษฐ ไพบูลยศิริ

( นายพิเชษฐ ไพบูลยศิริ ) ผูวาราชการจังหวัดสิงหบุรี

Page 85: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

85

ประกาศจังหวัดสิงหบุรี

เรื่อง ผลการประเมินหมูบานเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ของจังหวัดประจําป ๒๕๕๔

.....................................

ตามท่ีกรมการพัฒนาชุมชนใหจังหวัดดําเนินการจัดระดับหมูบานโดยใชเกณฑการประเมิน หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย เปน ๓ ระดับ คือ ระดับพออยู พอกิน อยูดี กินดี ม่ังมี ศรีสุข และสนับสนุนงบประมาณเพ่ือดําเนินการโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ งบประมาณรายจายประจําป ๒๕๕๔ อําเภอละ ๒ หมูบานและจังหวัดไดแตงตั้งคณะกรรมการประเมินหมูบานเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตามคําสั่งจังหวัดสิงหบุรี ท่ี ๕๘๐/๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๔ พิจารณารับรองประเมินผลงานประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ประจําป ๒๕๕๔ และสอดคลองตามเกณฑตัวชี้วัดท่ี ๑.๑.๑ “ระดับความสําเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมูบาน” นั้น

บัดนี้ คณะกรรมการฯไดพิจารณาผลงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบเปนไปตามเกณฑ ท่ีกําหนด จังหวัดสิงหบุรีจึงขอประกาศผล ดังนี้

ระดับ พออยู พอกิน ไดแก ๑. บานทองคุงใต หมูท่ี ๒ ตําบลทาขาม อําเภอคายบางระจัน ๒. บานพิกุลทองสามัคคี หมูท่ี ๓ ตําบลพิกุลทอง อําเภอทาชาง ๓. บานดอนมะดูก หมูท่ี ๔ ตําบลบานจา อําเภอบางระจัน ๔. บานสามัคคีธรรม หมูท่ี ๓ ตําบลสระแจง อําเภอบางระจัน ๕. บานเกาชั่ง หมูท่ี ๑ ตําบลบานหมอ อําเภอพรหมบุรี ๖. บานเชียงราก หมูท่ี ๖ ตําบลทองเอน อําเภออินทรบุรี ๗. บานคลองขุด หมูท่ี ๓ ตําบลหัวไผ อําเภอเมืองสิงหบุรี

ระดับอยูดี กินดี ไดแก ๑. บานหวงมะระ หมูท่ี ๕ ตําบลหนองกระทุม อําเภอคายบางระจัน ๒. บานจําปาทอง หมูท่ี ๕ ตําบลโพประจักษ อําเภอทาชาง ๓. บานพลู หมูท่ี ๓ ตําบลพระงาม อําเภอพรหมบุรี /๔. บาน... ๔. บานบางประทุน หมูท่ี ๑ ตําบลมวงหมู อําเภอเมืองสิงหบุรี ๕. บานลําเหนือ หมูท่ี ๗ ตําบลโพธิ์ชัย อําเภออินทรบุรี

Page 86: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

86

จึงประกาศใหทราบโดยท่ัวกัน

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

พิเชษฐ ไพบูลยศิริ

( นายพิเชษฐ ไพบูรณศิริ ) ผูวาราชการจังหวัดสิงหบุร ี

Page 87: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

87

ประกาศจังหวัดสิงหบุรี

เรื่อง ผลการประเมินหมูบานเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ของจังหวัดประจําป ๒๕๕๓

.....................................

ตามท่ีกรมการพัฒนาชุมชนใหจังหวัดดําเนินการจัดระดับหมูบานโดยใชเกณฑการประเมิน หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย เปน ๓ ระดับ คือ ระดับพออยู พอกิน อยูดี กินดี ม่ังมี ศรีสุข และสนับสนุนงบประมาณเพ่ือดําเนินการโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบและใหจังหวัดพิจารณา ประเมินเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ประจําป ๒๕๕๓ นั้น

คณะกรรมการฯไดพิจารณาผลงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ประจําป ๒๕๕๓ แลว จังหวัดสิงหบุรีจึงขอประกาศผลการคัดเลือก ดังนี้

ระดับ พออยู พอกิน ไดแก ๑. บานวิหารขาว หมูท่ี ๓ ตําบลวิหารขาว อําเภอทาชาง ๒. บานหนองโขลง หมูท่ี ๑ ตําบลบานจา อําเภอบางระจัน ระดับอยูดี กินดี ไดแก ๑. บานหางบางบานไร หมูท่ี ๕ ตําบลโพกรวม อําเภอเมืองสิงหบุรี ๒. บานดอนตะโหนด หมูท่ี ๗ ตําบลโพทะเล อําเภอคายบางระจัน

ระดับม่ังมี ศรีสุข ไดแก ๑. บานตาลเดี่ยว หมูท่ี ๑ ตําบลทองเอน อําเภออินทรบุรี ๒. บานไผดํา หมูท่ี ๕ ตําบลโรงชาง อําเภอพรหมบุรี

จึงประกาศใหทราบโดยท่ัวกัน

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

ชิดพงษ ฤทธิประศาสน

( นายชิดพงษ ฤทธิประศาสน ) ผูวาราชการจังหวัดสิงหบุรี

Page 88: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

88

ประกาศจังหวัดสิงหบุรี

เรื่อง ผลการประเมินหมูบานเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ของจังหวัดประจําป ๒๕๕๒

.....................................

ตามท่ีกรมการพัฒนาชุมชน ไดพิจารณาดําเนินการจัดระดับหมูบานโดยใชเกณฑการประเมิน หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย เปน ๓ ระดับ คือ ระดับพออยู พอกิน อยูดี กินดี ม่ังมี ศรีสุข และสนับสนุนงบประมาณเพ่ือดําเนินการโครงการพัฒนาหมูบานตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบและใหจังหวัดพิจารณาประเมินเพ่ือประกาศใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ประจําป ๒๕๕๒ นั้น

คณะกรรมการฯไดพิจารณาคัดเลือกหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ประจําป ๒๕๕๒ แลวจังหวัดจึงขอประกาศผลการคัดเลือก ดังนี้

๑. ระดับ พออยู พอกิน ไดแก บานวิหารขาว หมูท่ี ๓ ตําบลวิหารขาว อําเภอทาชาง ๒. ระดับอยูดี กินดี ไดแก บานวังกระจับ หมูท่ี ๑ ตําบลคอทราย อําเภอคายบางระจัน ๓. ระดับม่ังมี ศรีสุข ไดแก บานบางเล็ก หมูท่ี ๔ ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี

จึงประกาศใหทราบโดยท่ัวกัน

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

ชุมพร พลรักษ

( นายชุมพร พลรักษ ) ผูวาราชการจังหวัดสิงหบุรี

Page 89: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

89

ประกาศจังหวัดสิงหบุรี

เรื่อง ผลการคัดเลือกตามโครงการสรางพลังชุมชนขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง .....................................

ตามท่ีจังหวัดสิงหบุรี ไดแตงตั้งคณะกรรมการคัดเลือกหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของ จังหวัดตามโครงการสรางพลังชุมชนขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามคําสั่งจังหวัดสิงหบุรี ท่ี ๙๙๘/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ และคณะกรรมการฯไดดําเนินการประเมินผลการดําเนินงานดังกลาว ระหวางวันท่ี ๑๘ – ๑๙,๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ นั้น

การประเมินผลการคัดเลือกตามโครงการสรางพลังชุมชนขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจ ดังนี้ ๑. ระดับ “ พออยู พอกิน ” ตนแบบ ระดับจังหวัดสิงหบุรี

ไดแก บานวิหารขาว หมูท่ี ๑ ตําบลวิหารขาว อําเภอทาชาง ๒. ระดับ “ อยูดี กินดี ” ตนแบบ ระดับจังหวัดสิงหบุรี

ไดแก บานบางเล็ก หมูท่ี ๔ ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี ๓. ระดับ “ ม่ังมี ศรีสุข” ตนแบบ ระดับจังหวัดสิงหบุรี

ไดแก บานบางตาโฉม หมูท่ี ๘ ตําบลทางาม อําเภออินทรบุรี

จึงประกาศใหทราบโดยท่ัวกัน

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

ประภาส บุญยินด ี

( นายประภาส บุญยินดี ) ผูวาราชการจังหวัดสิงหบุรี

ตารางการจัดสรรงบประมาณ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง

ประจําป ๒๕๕๒ จํานวน ๒ หมูบาน ประจําป ๒๕๕๓ จํานวน ๔ หมูบาน

Page 90: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

90

การประเมินความ “อยูเย็น เปนสุข” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน/ชุมชน (Gross Village Happiness : GVH) แนวทางดาเนินการจัดการประชุมแบบมีสวนรวม 1. การเตรียมการจัดประชุม

1.1 ผูนาการประชุม หรือวิทยากรกระบวนการ ในการจัดประเมิน ตองทาความเขาใจใน กระบวนการ ข้ันตอนการจัดการประชุม รวมท้ังตองศึกษารายละเอียด ความหมายของตัวชี้วัด เตรียมคาถามท่ีสามารถสรางความเขาใจหรือสื่อสารกับผูเขารวมประชุมไดตรง และเหมาะสมสาหรับกลุมคนในแตละทองถ่ิน

Page 91: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

91

1.2 คณะวิทยากรกระบวนการ ตองทาความเขาใจกับทีมงาน สรางความเขาใจในข้ันตอน ประเด็นคาถามและการใชเครื่องมือ แบงงานใหทุกคนในทีมวิทยากรมีบทบาทหนาท่ีและสามารถทางานแทนกันได การจัดสถานท่ี ควรจัดเปนรูปครึ่งวงกลม 1 – 2 แถว ไมควรซอนกันหลายชั้น เพ่ือใหผูเขารวมประชุมมีสวนรวมมากท่ีสุด และสามารถเคลื่อนไหวไดสะดวก เตรียมวัสดุอุปกรณท่ีจะใชงานตามกระบวนการท่ีไดออกแบบไว ใหเพียงพอ

1.3 พัฒนากรผูรับผิดชอบประสานตาบล ตองมีการเตรียมความพรอมชุมชนลวงหนา โดย การประชาสัมพันธ สรางความเขาใจตอประชาชนในการเขารวมประชุม เตรียมขอมูล ความเปนจริงของชุมชนเพ่ือรวมกันตัดสินใจในการประเมิน หรือการประสาน คัดเลือกตัวแทนชุมชน

1.4 กลุมเปาหมาย ควรเปนตัวแทนของทุกครัวเรือนในหมูบาน หรือตัวแทนของหมูบาน ซ่ึง ประกอบดวย ผูนาทองถ่ิน ผูนาทองท่ี ผูนากลุม (ถือวาเปนตัวแทนกลุมอาชีพและผูแทนกลุมคน) ผูนาคุมหรือ กลุมบาน 2. การจัดการประชุม

2.1 แนะนําทําความรูจัก สรางบรรยากาศของความเปนกันเอง ระหวางทีมวิทยากร กระบวนการกับชาวบานท่ีเขารวมประชุม

2.2 ชี้แจงวัตถุประสงคของการประเมินและสรางความรูสึกปลอดภัยในการประเมิน วัตถุประสงคของการประเมิน เพ่ือตองการทราบความรูสึกของคนในชุมชน ความรูสึกเปนสุข ซ่ึงเปนความรูสึก พอใจ สบายใจ สะดวก หมดหวง ไรกังวล ตอสถานการณตางๆ ในชีวิตของตนเอง ครอบครัวและชุมชน มากนอยเพียงใด หลังจากท่ีไดมีการจัดกิจกรรมการพัฒนาตางๆ ในชวงเวลาท่ีผานมา

- การประเมินเปนการกระทาโดยชุมชนเพ่ือผลตอชุมชนโดยตรง ไมเก่ียวของกับการประกวด ไมแขงขันกับใคร ทาแลวรูตัวเองวาเปนอยางไร

- การประเมินใหทราบผลท่ีเปนการสะทอนเปาหมายสุดทายของการพัฒนาและพิจารณา เชื่อมโยงยอนไปถึงวิธีการตางๆ ท่ีสงผลตอการบรรลุเปาหมายความอยูเย็น เปนสุข ดวยความสุขคือ ความสมดุลของความรูสึก ของประชาชน ท่ีไดทาในสิ่งท่ีตองการ หรือไมทาอะไรท่ีไมตองการ รวมท้ังการ ไดรับในสิ่งท่ีตองการและไมถูกบังคับใหรับสิ่งท่ีไมตองการ ทาใหเกิด รูสึกพึงพอใจ สบายกายสบายใจ สะดวก ไมมีหวง ไมกังวล เปนสภาพปกติของแตละคน ซ่ึงถือเปนความรูสึกท่ีเปน “ความสุข” ในขณะท่ีอาการตรงขามจะถือวา เปน “ความทุกข” ท้ังนี้เกิดจากความเขาใจในสภาพความเปนจริงเกิดข้ึน เปนความสุขจากภายใน “จิตท่ีเปนกลาง” การประเมินความสุข จึงเปนการนาสถานการณท่ีเปนสาเหตุใหเกิดความสุขของประชาชนในชีวิตประจาวัน แลวทาใหเกิดความสุขใหข้ึนใน “จิตใจของประชาชน” การประเมินระดับความ“อยูเย็น เปนสุข” หรือความสุขมวลรวม ของชุมชน ประเมินแบบมีสวนรวม สามารถวัดความรูสึกเฉพาะ ในชวงเวลาการประเมินวาประชาชนรูสึกอยางไร มีความสุขเทาไหร ท้ังนี้ เพราะมีเหตุการณท่ีเกิดข้ึนและแปลเปลี่ยนไปตลอดเวลา (เกณฑ 6x2 เกณฑการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ (4ดาน 23 ตัวชี้วัด) ซ่ึงเปนเกณฑการประเมินในเชิงปริมาณ)

2.3 วิธีการประเมิน ซ่ึงประกอบดวย 2 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 การประเมินแตละองคประกอบเปนรายตัวช้ีวัด 1. ประเมินเปนรายตัวช้ีวัด วิทยากรกระบวนการจะอธิบายความหมายของตัวชี้วัดแตละตัว

ในแตละองคประกอบใหท่ีประชุมเขาใจ 2. ท่ีประชุมจะรวมกันพิจารณาตัวช้ีวัด นั้นๆ วามี สถานการณและกิจกรรมอะไร หรือ

Page 92: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

92

พฤติกรรมการปฏิบัติอยางไร ท่ีทาใหตัวชี้วัดนั้นเกิดข้ึนจริงแลวมีความสุข จากนั้นใหท่ีประชุมใหคะแนนจากสถานการณ กิจกรรม พฤติกรรม ตางๆ ท่ีเสนอมาวา ปจจุบันมีสภาพเปนอยางไร ยังสรางความไมสะดวก ไมสบาย ไมพอใจ ทาใหเปนกังวลอยูหรือไม มากหรือนอยถาเปนมากแสดงวามีความสุขนอยจะตองใหคะแนนตำ

แตถาเปนไปใน ทิศทางตรงขามก็จะมี ความสุขมาก ตองใหคะแนนสูงเชน องคประกอบท่ี 1.การมีสุขภาวะ ตัวชี้วัดท่ี 1.1 ถาทานมีความรูในการสรางสุขภาพรางกายใหแข็งแรงไมเจ็บปวย มีอายุยืนนาน หมายถึง ประชาชนในหมูบานมีความรูเขาใจและปฏิบัติตามหลักโภชนาการ ไมเปนโรคท้ังติดตอและไมติดตอ มีหลักประกันสุขภาพ มีโอกาสไดรับการรักษาจากแพทย พยาบาล อยางสะดวกถามท่ีประชุมวา “ในหมูบานของเรา มีอะไรท่ีจะยืนยันวาตัวชี้วัดนี้จะเปนไปไดจริง” นาคาตอบท่ีไดมาเปนเกณฑพิจาณา ใหคะแนน โดยคําตอบท่ีไดอาจเปน

- ไดรับความรูการดูแลสุขภาพจาก อสม. ทุกเดือน - จัดเวทีการเรียนรูเรื่องการรักษาสุขภาพในชุมชน เปนประจา - รับประทานอาหารไรสารพิษจากการปลูกพืช ผัก ไวกินเอง - มีกิจกรรมออกกาลังกายทุกวันทุกคน เปนตน

เม่ือนาเหตุผลจากการทากิจกรรม และการปฏิบัติตน ขางตนท่ีใหมาท้ังหมด มีความรูสึกอยางไร พอใจ สบายใจ สะดวก หรือวาเปนหวง กังวล อยางไร ควรไดคาคะแนนความสุขเทาไร จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน (คะแนนความสุขต่ําสุดคือ 1 ความสุขสูงสุดคือ 5 คะแนน) วิธีการใหคะแนนตามกติกาท่ีไดตกลงกันไว

3. ท่ีประชุมอาจจะพิจารณาเพ่ิมเติมตัวช้ีวัดท่ีคิดวาจาเปนหรือเหมาะสมตอการใชงาน สาหรับหมูบาน/ชุมชน ไดตามท่ีตองการ อาจเพ่ิมในองคประกอบเดิมหรือเพ่ิมองคประกอบใหมก็ได เม่ือเพ่ิมเติมแลวใหใชวิธีการประเมิน ใหคะแนนเชนเดียวกันกับตัวชี้วัดเดิม

4. วิธีการใหคะแนน ใหเปนแนวทางท่ีทีมวิทยากรเห็นวาเหมาะสมและถนัด ซ่ึงทาไดหลายวิธ ี เชน 1) การยกมือใหคะแนนซ่ึงเปนวิธีท่ีงาย ใชวัสดุอุปกรณนอยแตมีผลเสียคือมักจะใหคะแนนตามกันหรือมีการควบคุมกากับจากผูหนึ่งผูใดได และใชเวลามากตองยกมือถึง 5 ครั้งในหนึ่งตัวชี้วัด 2) การยกปายดวยกระดาษสี 5 สีโดยเขียนหมายเลขคะแนนกากับไว 1 สี 1 ระดับคะแนน เม่ือเวลาใหคะแนนใหยกพรอมกัน ทีมงานชวยกันนับคะแนนวาแตละขอมีผูใหคะแนนใด จานวนเทาไหร โดยยกปายคะแนนครั้งเดียวในแตละตัวชี้วัด ไมเสียเวลาเหมือนการยกมือ ขอเสียคือตองเตรียมอุปกรณมากยิ่งผูเขารวมประชุมจานวนมากเพราะตองทาใหเทากับจานวนผูเขาประชุม3) การใชสติกเกอรหรือเข็มหมุดปกบนแผนชารทเพ่ือใหคะแนน กรณีใชแผนแผนผังใยแมงมุม (Spider diagram) ท่ีแสดงรวมทุกตัวชี้วัด แลวลงคะแนนไปครั้งละตัวชี้วัด ซ่ึงผูเขารวมประชุมตองออกมาติดสติกเกอร หรือปกหมุดใหคะแนนดวยตนเอง ตองเดินหลายรอบและตองไปรอตอคิวเพ่ือใหคะแนน ซ่ึงอาจจะติดผิดพลาดไมตรงกับชองใหคะแนนท่ีถูกตอง วิทยากรตองกากับและแนะนําอยางใกลชิดกรณีใชวิธีแบงกลุมออกตามองคประกอบของตัวชี้วัด หลังจากทาความเขาใจและกําหนดเกณฑการพิจารณาในแตละตัวชี้วัดในหองประชุมรวมแลว แบงผูเขาประชุมออกเปนกลุมเทาๆ กัน เขาประจากลุมเพ่ือใหคะแนนในแตละองคประกอบ ทีมวิทยากรตองเตรียมแผนแผนผังใยแมงมุม (Spider diagram) ตัวชี้วัดขององคประกอบนั้นไวใหพรอม ใหเวลาในแตละกลุมสาหรับการลงคะแนนทุกตัวชี้วัด โดยมีทีมวิทยากรประจากลุมชวยเหลือ ทาความเขาใจเพ่ิมเติม เม่ือหมดเวลาจึงเคลื่อนยายไปพรอมกัน เพ่ือลงคะแนนในองคประกอบอ่ืนๆ ตอไป ทุกคนตองไดลงคะแนนครบทุกองคประกอบ ทุกตัวชี้วัด หลังจากนั้นจึงนาคะแนนทุกองคประกอบมารวมเปนหนึ่งเดียวในแผนผังใยแมงมุม (Spider diagram)รวม ซ่ึงจะทาใหเห็นเสนกราฟรวมของทุกองคประกอบ

5. การคิดคะแนน กรณีใหคะแนนเปนรายตัวชี้วัด

Page 93: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

93

1) ในการตัดสินใจใหคะแนนของท่ีประชุมในแตละตัวชี้วัด หากท่ีประชุมสามารถสรางการ แลกเปลี่ยนเหตุผลกันใหเกิดการยอมรับในคาคะแนนเดียวโดยไมตองออกเสียงลงคะแนนก็จะเปนฉันทามติเดียวกัน แตจะใชเวลาในการพิจารณาอภิปราย แลกเปลี่ยนกันมาก

2) ในการออกเสียงลงคะแนนดวยวิธียกมือ ติดสติกเกอร หรือปกเข็มหมุด หรือวิธีอ่ืนๆ ท่ีตอง ใชแจงนับความถ่ี เพ่ือหาคาเฉลี่ยในแตละตัวชี้วัด ให คํานวณโดย ใชคาคะแนน คูณดวยจานวนคนท่ีใหคะแนน ในคะแนนนั้น บวกดวยคาคะแนนอ่ืนทุกคา หารดวยจานวนผูใหคะแนนในขอนั้นเชน ผูเขาประชุม 100 คน มีผูใหคะแนนในตัวชี้วัดหนึ่งดังนี้ ผูใหคะแนน 1 จานวน 10 คน ผูใหคะแนน 2 จานวน 10 คน ผูใหคะแนน 3 จานวน 10 คน ผูใหคะแนน 4 จานวน 30 คน ผูใหคะแนน 5 จานวน 40 คน การคํานวณ ดังนี้ (1X10) + (2X10) + (3X10) + (4X30) + (5X40) หารดวย 100 (จํานวนผูออกเสียงท้ังหมด) เทากับ 3.8 คือ คาคะแนนเฉลี่ยของตัวชี้วัดนั้น คะแนน 1 2 3 4 5 รวม จานวนคน 10 10 10 30 40 100 คิดคะแนน 1x10=10 2x10=20 3x10=30 4x30=120 5x40=200 380/100 =

3.8 คะแนน กรณีการคิดคะแนนเปนรายองคประกอบ หากใหท่ีประชุมใหคะแนนครั้งละองคประกอบ ใหนาคาคะแนนของทุกตัวชี้วัดในองคประกอบมารวมกัน หารดวยจานวนตัวชี้วดัในองคประกอบ ใชเปนคาเฉลี่ยในแตละองคประกอบนั้น เชน องคประกอบท่ี 1 การมีสุขภาวะ มีตัวชี้วัดท้ัง 3 ตัวชี้วัด ใชคะแนนท้ัง ตัวชี้วัดมารวมกันแลวหารดวย 3 เปนคะแนนเฉลี่ย

6. เครื่องมือในการประเมิน แผนผังใยแมงมุม (Spider diagram) เปนเครื่องมือแสดงผลการใหคะแนนในรูปกราฟเสนในผังวงกลม เสนวงกลม 5 วงแสดงระดับคะแนน วงใกลจุดศูนยกลางคะแนนตาสุด (เปนทุกขมาก) วงนอกคะแนนสูงสุด (เปนสุขมาก) เสนท่ีเชื่อมตอจากจุดก่ึงกลางถึงตัวชี้วัดเพ่ือแสดงวาเปนตัวชี้วัดนั้น และปองกันความสับสนในการลงคะแนน การลงคะแนนอาจใหทาเครื่องหมายในชองวางเหนือเสนในแตละวงคะแนนหรือบนเสนของตัวชี้วัดนั้นๆ การบันทึกคะแนนลงในแผนผังใยแมงมุม คือ ในการลงคะแนนเปนรายตัวชี้วัด เม่ือไดคะแนนท่ีตกลงกันแลว ใหนาคาคะแนนเขียนลงบนเสนของตัวชี้วัดแตละตัว รวมท้ังคะแนนของแตละองคประกอบ เชน กรณีใชวิธีนับคะแนน ใน (1) (วิธีการอ่ืนคะแนนอาจมีคาเปนจุดทศนิยม) ท่ีองคประกอบท่ี 1 การมีสุขภาวะ มีตัวชี้วัด 3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดท่ี 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1.3 ไดคะแนน 4 , 5 และ 4 ตามลาดับ ใหทาเครื่องหมายตรงจุดตัดกันของเสนของตัวชี้วัดกับเสนคะแนนท่ีได เม่ือทาเครื่องหมายครบทุกตัวชี้วัดแลว ใหลากเสนจากเครื่องหมายจากตัวชี้วัดหนึ่งไปตัวชี้วัดท่ีใกลกัน ตอเนื่องจนครบ (ดังท่ีแสดงในรูป)ผลคะแนนสามารถ ใชเพ่ือเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงในแตละชวงเวลาได การใชเครื่องมือนี้ เพ่ือใหผูเขารวมประชุมรูสึกเพลิดเพลิน ไมเปนทางการนัก สามารถเขามามีสวนรวมไดแลสามารถเขาใจ อานคาไดเอง เม่ือสรุปคะแนนแลวจะเห็นแนวทางในการดาเนินการ ท้ังท่ีตองแกไขปรับปรุงเพราะ คะแนนตา และการพัฒนาเพ่ิม อนุรักษสืบทอด เม่ือไดคะแนนสูงอยูแลว

Page 94: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

94

ข้ันตอนท่ี 2 การประเมินความสุขของหมูบานรวมทุกตัวชี้วัด การประเมินในข้ันตอนนี้ เปนไปเพ่ือสรางความม่ันใจในคาคะแนนอีกครั้ง การประเมินในข้ันตอนนี้ไมจาเปนตองนาคาคะแนนจากการประเมินในข้ันตอนท่ี 1 มาใช เพราะเปนการใชเครื่องมืออีกชนิดหนึ่ง สาหรับใชสรางความเชื่อม่ันในการประเมินและตรวจสอบความถูกตองของการประเมิน ซ่ึงจะทาใหผูประเมินเปรียบเทียบผลวามีลักษณะเปนอยางไร เชน คาคะแนนในการประเมินเปนรายตัวชี้วัดโดยแผนผังใยแมงมุม มีคาคะแนนสูง แตคาคะแนนในการประเมินรวม โดยปรอทวัดความสุข มีคาคะแนนตา ทาใหเห็นวา อาจมีปจจัยบางประการท่ีทาใหคาคะแนนผกผันกัน เชน ไมไดตั้งใจ ไมเขาใจในความหมายของตัวชี้วัด ใหคะแนนผิด หรืออ่ืนๆ ในการประเมินเปนรายตัวชี้วัด รวมท้ังอาจมีเรื่องท่ียังหวง กังวล ไมพอใจ ท่ีไมไดระบุไวเปนตัวชี้วัด ซ่ึงวิทยากรกระบวนการจะตองซักถามเพ่ือหาเหตุผลเพ่ิมเติม จึงเปนการตรวจสอบทิศทางวาเปนไปในทิศทางเดียวกันหรือไม มีสาเหตุมาจากอะไร ตองเพ่ิมเติมอะไรหรือไม วิธีการประเมินและการคิดคาคะแนนความสุขในภาพรวมของชุมชน โดยใหท่ีประชุมคิดถึงสภาพของชุมชนโดยรวมดวยตัวชี้วัดทุกตัวท่ีไดพูดคุย ทาความเขาใจกันไปแลวเปนแนวทางพิจารณา ในการใหคะแนน โดยคิดคาคะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน “ถาคะแนน100 คะแนน ความสุขในหมูบานของเรามีเทาไร" หาขอยุติเปนตัวเลขคะแนน เชน ท่ีประชุมมีมติ ใหเปนคะแนน 90 จึงนาไปแสดงบนปรอทวัดความสุข เพ่ือเปรียบเทียบกับระดับความสุขเปนการกระตุนใหเกิดการคิดแกปญหา ทากิจกรรมไปสูเปาหมายใหมเพ่ือเพ่ิมคาคะแนนในการประเมินครั้งตอไป เครื่องมือสาหรับการประเมินในข้ันตอนนี้ ใชปรอทวัดความสุข เพ่ือสรางแรงจูงใจใหเห็นเปาหมายการพัฒนาในการเพ่ิมความสุขมวลรวมของชุมชน โดยคนในชุมชนท้ังหมดเห็นพองตองกัน ใชตัวชี้วัดทุกตัวจากข้ันตอนท่ี 1

Page 95: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

95

เปนเกณฑการพิจารณา คะแนนท่ีไดจะเห็นถึงระดับความสุขซ่ึงจะแสดงวามีระดับใด เขาใกลเปาหมาย ความ “อยูเย็น เปนสุข” หรือไม และตองทาอะไร อยางไรเพ่ือใหถึงเปาหมายนั้น

ระดับคะแนน 0-20 คะแนน ระดับนอยท่ีสุด (อยูรอน นอนทุกข) เปนความรูสึกท่ีเกิดความแรนแคนในปจจัยการดาเนินชีวิตไมมีความสบาย มีความกังวล อยูตลอดเวลา ระดับคะแนน 21-40 คะแนน ระดับนอย (อยูได คลายทุกข) เปนความรูสึกท่ีเกิดจากการท่ีสามารถปรับตัวใชปจจัยการดาเนินชีวิต และการจัดการกับสภาพปญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนไดบาง ยังมีความกังวลใจ ตองการรับการชวยเหลือจากภายนอก ระดับคะแนน 41-60 คะแนน ระดับปานกลาง (อยูอ่ิม นอนอุน) เปนความรูสึกท่ีมีความสามารถในการบริหารจัดการปจจัยการดาเนินชีวิตใหเหมาะสมกับชุมชน มีความพอใจ สบายใจ สะดวก ระดับเดียวกันหรือเทาๆ กันกับความกังวลเปนหวง ตอสถานการณท่ีเกิดข้ึน ระดับคะแนน 61- 80 คะแนน ระดับมาก (อยูดี มีสุข) เปนความรูสึกม่ันใจในความสามารถในการบริหารจัดการปจจัยการดาเนินชีวิตใหมีความสุข แกไขปญหาเพ่ือลดความหวงกังวลตางๆ ไดมาก

Page 96: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

96

ระดับคะแนน 81 -100 คะแนน ระดับมากท่ีสุด (อยูเย็น เปนสุข) เปนความรูสึกเชื่อม่ันและม่ันใจในความสามารถในการบริหารจัดการปจจัยการดาเนินชีวิต เพ่ือตัดความกังวลตอสถาณการณท่ีเกิดข้ึนหรืออาจเกิดข้ึน ทาใหรูสึกพึงพอใจ สบายใจมากท่ีสุดและคงอยูตอเนื่อง การประเมินใหท่ีประชุมตัดสินใจเลือกคาคะแนนกันใหเสร็จกอน แลวจึงคอยเฉลยความหมายในแตละ ระดับก็ทาใหเกิดความรูสึกมีสวนรวมมากข้ึน และไมเปนการชี้นาใหเลือกระดับไปในตัว เชน ตกลงเลือกระดับ ความสุขท่ี 92 คะแนน ถือวาเปนระดับ “อยูเย็น เปนสุข” ถามตออีกหนอยไดไหม วาทาไมไมเต็มรอย แลวจะทาอะไรตอกันดีหละ พ่ีนอง… 3. ตัวช้ีวัดและความหมาย ดัชนีชี้วัดความอยูเย็น เปนสุข เปนการสะทอนเปาหมายสุดทายของการพัฒนา (Ends) และตองพิจารณาเชื่อมโยงใหสะทอนถึงวิธีการ (Means) ตางๆ ท่ีจะสงผลตอการบรรลุเปาหมายความอยูเย็น เปนสุขดวย เนื่องดวย การพัฒนาหมูบาน ชุมชน ไดดาเนินกิจกรรมตางๆ เพ่ือใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปสูเปาหมาย ท่ีเลือกไวในระยะเวลา ท่ีกําหนด ผลการพัฒนาเกิดข้ึนแกประชาชน ครอบครัวและชุมชนโดยสวนรวม ในเชิงปริมาณ คือ มีถนน มีบาน มีงาน มีรายได หรือไมมีคนเกเร ไมมีคนทาผิดกฏหมาย ไมมีความขัดแยง แตความรูสึกเปนสุขหรือไมจึงตองประเมินความ “อยูเย็น เปนสุข” หรือความสุขมวลรวมของหมูบานหรือ ชุมชน ซ่ึงเปนการประเมินเชิงคุณภาพหลังจากการจัดกิจกรรม เพ่ือการบรรลุเปาหมายการพัฒนา โดยเฉพาะตัวชี้วัด ในการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ของกระทรวงมหาดไทย (4 ดาน 23 ตัวชี้วัด) การประเมินระดับความ “อยูเย็น เปนสุข” หรือความสุขมวลรวมของชุมชน ในการประเมินแบบมีสวนรวม เปนการประเมินความสมดุลของความรูสึก ของประชาชนในการไดทากิจกรรมใดๆ ท่ีตองการจะทาหรือไมทาในสิ่งท่ีไมตองการ ไดทําแลวประสบผลความสําเร็จตามท่ีตั้งใจไว เปนการพึงพอใจในสภาพของสถานการณตางๆ ท่ีเปนอยู อยางเขาใจในสภาพความเปนจริงเกิดข้ึนเปนความสุขจากภายใน “จิตท่ีเปนกลาง” ประเมินเพ่ือตรวจสอบความรูสึกในชวงเวลาการประเมินวาประชาชนรูสึกอยางไร กับสถานการณตางๆ ท่ีเปนอยูในขณะนี้วา รูสึกอยางไร มีความสะดวก สบายกายสบายใจ พอใจ ไมมีความกังวล ไมตองหวงใย ซ่ึงถือเปนความรูสึกท่ีเปน “ความสุข” ในขณะท่ีอาการตรงขามจะถือวา เปน “ความทุกข” ดังนั้น การประเมินความสุข จึงเปนการนาสถานการณท่ีเปนสาเหตุใหเกิด ความสุขของประชาชนในชีวิตประจาวัน แลวทาใหเกิดความสุขใหข้ึนใน “จิตใจของประชาชน” ในระดับใด ความหมายของ “ความอยูเย็น เปนสุข” “ความอยูเย็น เปนสุข” หมายถึง “สภาวะท่ีคนมีคณุภาพชีวิตท่ีด ีดํารงชีวิตอยางมีดลุยภาพท้ังจิต กาย ปญญา ท่ีเช่ือมโยงกับ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม อยางเปนองครวมและสัมพันธกันไดถูกตองดีงาม นําไปสูการอยูรวมกันอยางสันตริะหวางคนกับคน และระหวางคนกับธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม” จากความหมาย “ความอยูเย็น เปนสขุ” สามารถกําหนดองคประกอบท่ีเปนปจจัยพ้ืนฐานรวม ในการสรางความสุขของมนุษยได 6 องคประกอบ ไดแก 1) การมีสุขภาวะ 2) เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็งเปนธรรม 3) ครอบครัวอบอุน 4) การบริหารจดัการชุมชนดี 5) การมสีภาพแวดลอมดมีีระบบนิเวศท่ีสมดุล และ 6) เปนชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมาภิบาล องคประกอบท่ี 1. การมีสขุภาวะ หมายความถึงการดารงชีพของบุคคลอยางมสีุขกาย ดาเนินชีวิตโดยใชความรูในการรักษารางกายใหแข็งแรงไมเจ็บปวย มีอายุยืนยาว มีสุขภาพจิตใจท่ีด ียึดมัน่ในคุณธรรมจรยิธรรม “คิดเปน ทาเปน” มีความเปนเหตุเปนผล มีทักษะในการใชชีวิตอยางมีคุณคา อยูในสังคมไดอยางปกตสิุข สรางสรรคประโยชนแกตนเอง ครอบครัวและสังคมไดอยางเต็มศักยภาพ

1.1 บุคคล มีความรูในการสรางและรักษาสขุภาพรางกายใหแข็งแรง ไมเจ็บปวย อายุยืนนาน

Page 97: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

97

หมายถึง ประชาชนในหมูบานมคีวามรูเขาใจและปฏบัิติตามหลักโภชนาการ ไมเปนโรคท้ังตดิตอและไมติดตอ มีหลักประกันสุขภาพ มีโอกาสไดรับการรักษาจากแพทย พยาบาล อยางสะดวก

1.2 บุคคล มีสขุภาพจิตท่ีดี ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม เชื่อมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ประชาชนในหมูบานมหีลักยึดเหน่ียวในใจ ท้ังหลักศาสนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเพณ ีวัฒนธรรมและกติกาของหมูบานเมื่อเกิดปญหาสามารถแกไขใหสาเร็จลลุวงไป ไมเปนโรควิตกกังวล ไมเปนโรคซึมเศรา ไมเปนโรคจิต ไมฆาตัวตาย

1.3 บุคคล มีทักษะในการใชชีวิตอยางมีคุณคา อยูในสังคมไดอยางปกติสขุ สรางสรรคประโยชน แกตนเอง ครอบครัวและชุมชนไดอยางเต็มศักยภาพ หมายถึง ประชาชนในชุมชน มีเปาหมายในชีวิต เช่ือมั่นในความรูความสามารถของตน ไดรับการยอมรับจากคนรอบขาง ใชความสามารถในการปรับตัวเพ่ือการเผชิญสถานการณตางๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวันไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การคิดวิเคราะหอยางมีเหตผุล การตัดสินใจ “คิดเปน ทาเปน” ความคิดสรางสรรค การประมาณตนและการควบคุมสถานการณ การสื่อสาร ตอรอง ปฏิเสธและโนมนาวจิตใจ การปรับตัว (ทักษะคือความเช่ียวชาญ ชํานาญในเรื่องใดเรื่องหน่ึง ซึ่งบุคคลสามารถสรางข้ึนจากการเรียนรู) องคประกอบท่ี 2. เศรษฐกิจชุมชนเขมแข็งเปนธรรม หมายความถึง การกระทาใด ๆ อันกอใหเกิด การผลิต การจาหนายและการบริโภค ใหเกิดรายไดท่ีเพียงพอ เกิดจากการมีงานสุจรติ มีความมั่นคงและความปลอดภัยในการทางาน มีรายไดท่ีเปนธรรมตอเน่ือง มีการรวมตัวเปนกลุมเพ่ือชวยเหลือ แบงปนกัน เพ่ือใหเกิดการกระจายรายไดอยางเปนธรรม และเกิดความยั่งยืน

2.1 ครอบครัว มีความมั่นคงในอาชีพ มีรายไดท่ีเพียงพอเกิดจากการมีสัมมาชีพ หมายถึง ประชาชน มีงานท่ีมั่นคงทา มีรายไดท่ีเปนธรรมตอเน่ือง โดยใชความรู ความสามารถ อยางถูกกฎหมาย ในการทางานสรางรายได ดวยทรัพยากรท่ีมีอยางสมประโยชน ไมวาจะเปนงานในครัวเรือนตนเองหรือในสถานประกอบการ จัดการหน้ีสินไดไมเปนภาระ

2.2 ชุมชน มีการกระจายรายไดในกลุมตางๆ ในชุมชนอยางเปนธรรม หมายถึงชุมชนสามารถจัด กิจกรรมสรางรายได กระจายไปสูประชาชน ครอบครัว กลุมองคกร ไดอยางท่ัวถึงท้ังหมูบาน

2.3 ชุมชน มีกิจกรรมสรางความมั่นคงเศรษฐกิจฐานราก มีและพัฒนาผลิตภัณฑชมุชนตอเนื่อง มีสถาบันการเงินหมายถึง ชุมชนมีกิจกรรมการสรางเศรษฐกิจของชุมชนใหเขมแข็ง ดวยกระบวนการกลุม การพัฒนาอาชีพ เพ่ิมพูนทักษะฝมือ พัฒนาผลิตภัณฑใหมีมูลคาเพ่ิม มีสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน มีกองทุนสวัสดกิารชุมชน ท่ีใหบริการสมาชิกตามความตองการได อยางท่ัวถึง สามารถจัดการสรางกิจกรรมแกปญหาหน้ีนอกระบบได องคประกอบท่ี 3. ครอบครัวอบอุน หมายถึง ครอบครัวท่ีสมาชิกมีความรัก ความผูกพันตอกัน มุงมั่นท่ีจะการดาเนินชีวิตรวมกันอยางมีจุดหมาย สามารถปฏิบัติบทบาทหนาท่ีไดอยางเหมาะสม มีการอบรมเลี้ยงดสูมาชิกวัยเยาวใหเติบโตอยางมีคณุภาพในวิถีชีวิตของความเปนไทย เลี้ยงดูผูสูงอายุใหสามารถดารงชีวิตไดอยางมีความสุข และรักษาสัมพันธภาพท่ีดีตอกันเพ่ือใหสามารถดารงความเปนครอบครัวไดอยางมีคุณภาพท่ียั่งยืน

3.1 ครอบครัวรักษาสัมพันธภาพท่ีดีตอกัน สามารถปฏิบัติบทบาทหนาท่ีไดอยางเหมาะสม เพ่ือให สามารถดารงความเปนครอบครัวและชุมชนไดอยางมีคุณภาพท่ีย่ังยืน หมายถึง ประชาชนทาหนาท่ีในการสรางครอบครัว โดยมเีปาหมาย และทากิจกรรมตางๆ มีความรับผิดชอบรวมกันในดานตางๆ เชน ดูแล เลี้ยงดูบุตร สงเสรมิการศึกษา สุขภาพ ธรรมเนียมประเพณีไทย ดูแลผูสูงอายุ และชวยเหลือญาติพ่ีนอง ดานการงาน ดวยความผูกพันเอ้ืออาทรตอกัน รวมกันแกปญหาของครอบครัวดวยความรัก และการแสดงบทบาทหนาท่ีในครอบครัวอยางสมบูรณ เชน พอ แม ประกอบอาชีพสุจรติ กระทาตนเปนตัวอยางแกบุตร ดูแลทุกขสุข ใหความอบอุน เลี้ยงดูอบรมสั่งสอน บุตรมหีนาท่ีชวยเหลอื ดูแล บารุง พอแม ปูยา ตายาย เคารพเช่ือฟง เปนตน สาม ีภรรยา มีความสนใจในแนวทางเดียวกัน จิตใจหนักแนน ปรับตัวเขาหากัน เสียสละ ใจกวาง รูเหตผุล ไมขัดแยงโดยไมมเีหตผุล และไมยึดเหตผุลของตนฝายเดียว เอาใจใสและหวงใยพรอมรวมสุข รวมทุกข ยกยอง ไมดูหมิ่น ไมนอกใจ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน

3.2 ครอบครัว มีการอบรมเลี้ยงดูสมาชิกวัยเยาวใหเติบโตอยางมีคุณภาพในวิถีชีวิตของความเปนไทย หมายถึง ครอบครัวมีวิธีการอบรมบุตร หลาน โดยอธิบายใหเช่ือในการทาดีใหหลักยึดเหน่ียวจิตใจ ใหความเอ้ือเฝอ โอบออมอารี สรางสรรคประโยชนตอสังคม โนมนาวใหประพฤตดิีงาม รูจักเลีย้งชีพ มีวินัย มีกริยามารยาทดีงาม ปลูกฝงเจตคติท่ีดีตอการศึกษา เพ่ือปรับปรุงชีวิตใหมีหลักฐานมั่นคง

3.3 ครอบครัว ชุมชน เลี้ยงดูผูสูงอายุใหสามารถดารงชีวิตไดอยางมีความสขุหมายถึง กิจกรรม

Page 98: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

98

ท่ีครอบครัวและชุมชนจัดข้ึนและดาเนินการเพ่ือดูแล สงเสรมิผูสูงอายุ ในครอบครัวและชุมชน ในดานจิตใจ สุขภาพ เศรษฐกิจ รวมท้ังการสืบทอดภูมิปญญา เพ่ือใหผูสูงอายุอยในครอบครัวและชุมชนไดอยางมีความสะดวกสบาย องคประกอบท่ี 4. ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนดี หมายถึง ชุมชน แสดงความสามารถบริหารจัดการชุมชน จัดกระบวนการพัฒนาชุมชน มีกิจกรรมการแกไขปญหาชุมชนไดดวยตนเองอยางมีเหตมุีผลและมีการบริหารจดัการท่ีด ีผูนา ประชาชนและองคกรในชุมชนสามารถรวมมือ ชวยเหลือเก้ือกูลกันและอยูรวมกันอยางสงบสุข รวมท้ังมีภาคีการพัฒนาท่ีมีบทบาทเก้ือหนุนการทางานภายในชุมชน มีการสื่อสาร และกระบวนการเรียนรูในชุมชนอยางตอเน่ือง สามารถอนุรักษคุณคาของประเพณีวัฒนธรรมและภมูิปญญาท่ีเปนเอกลักษณของแตละชุมชนทองถ่ินรวมถึงเอกลักษณความเปนไทย

4.1 ประชาชนและกลุมองคกรตางๆ ในชุมชน มีความสัมพันธท่ีดีระหวางกัน รวมมือ ชวยเหลือกัน เกื้อกูลและอยูรวมกนัอยางสงบสุข หมายถึง ประชาชนมีความสามัคค ีมีความสัมพันธท่ีดีกับเพ่ือนบานและคนอ่ืนๆ ในชุมชน ไมมีปญหาความขัดแยง การมีสวนรวมกับการทางานเพ่ือการพัฒนาชุมชน ใหการสนับสนุน ท้ังดานความรู ทรัพยสิน แรงงาน ของประชาชนและจากองคกรในชุมชน ในการชวยกันคิด ตัดสินใจและบรหิารกิจกรรมใหสาเร็จ

4.2 ชุมชน มีการบริหารจัดการท่ีดี มีและใชแผนชมุชนในการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน หมายถึง ชุมชนมีการจัดระบบบรหิารจัดการชุมชน สงเสริมประชาชนใหมีสวนรวมใชหลักวิชาการ ขอมูล ในการตัดสินใจดาเนินกิจกรรมการพัฒนา มีแผนและใชแผนพัฒนาชุมชนเปนเครื่องมอืในการกากับ การติดตามพัฒนาใหเกิดผลตามท่ีกาหนด การจัดสรรทรัพยากร โดยมอบหมายผูรับผิดชอบงานและผลักดันใหเกิดการเคลื่อนไหวไปสูความสาเรจ็

4.3 ชุมชน รวมกับภาคีการพัฒนาท่ีมีบทบาทเกื้อหนุนกัน สรางการทางานภายในชุมชน หมายถึง การมสีวนรวม ของสถาบัน หนวยงานตางๆ ไดในการสนับสนุนการทางานของชุมชนในการพัฒนาชุมชนใหมีประสิทธิภาพ ท้ังทางดานวิชาการ และสนับสนุนปจจยัอ่ืนๆ

4.4 ชุมชน มีระบบการสื่อสารและกระบวนการเรียนรูในชุมชนอยางตอเนื่อง หมายถึง ชุมชนมีการ สงขาวสาร ความรู เพ่ือเปนการสรางความเขาใจรวมกัน และมีการปองกันบรรเทาสาธารณภัยตางๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนในชุมชน ดวยรูปแบบตางๆ เชน ประชุมเปนประจา หอกระจายขาว เสียงตามสาย เปนตน

4.5 ชุมชน สามารถธํารงไวซ่ึงคุณคาของประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปญญาท่ีเปนเอกลักษณของแตละ ชุมชนทองถิ่น ตลอดจนเอกลักษณความเปนไทย หมายถึง ชุมชนจัดใหมีกิจกรรมท่ีแสดงถึงการรักษาคุณคา การถายทอดและสืบทอด ภูมิปญญา ประเพณีวัฒนธรรมตอเน่ือง รวมถึงการนาภมูิปญญา ประเพณ ีวัฒนธรรมและภูมปิญญาท่ีเปนเอกลักษณ มาใชประโยชนในการพัฒนาหมูบานได องคประกอบท่ี 5.การมีสภาพแวดลอมดีมีระบบนิเวศท่ีสมดุล หมายถึง บรรยากาศหรือสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมตอการใชชีวิตของคนในหมูบาน สรางความสะดวก สบาย รมรื่น ปลอดภัยท้ังชีวิตและทรัพยสิน ครอบครัวมท่ีีอยูอาศัยท่ีมั่นคง การมีปฏสิัมพันธท่ีดีกับเพ่ือนบาน และการมีบริการสาธารณูปโภคท่ีพอเพียง มีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณมีคณุภาพ สมดลุ ในระบบนิเวศเพ่ือใชยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีของคนในชุมชน

5.1 บุคคล ครอบครัว มีท่ีอยูอาศัยท่ีมั่นคง หมายถึง ครอบครัวเปนเจาของท่ีอยูอาศัยท่ีแข็งแรงมั่นคง ใหเปนท่ีพักอาศัยรวมกันของสมาชิกในครอบครัวอยางสะดวกสบายและปลอดภัย

5.2 ชุมชน จัดสภาพแวดลอมเพ่ือการดารงชีวิตในชุมชนใหมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน หมายถึง บรรยากาศสวยงามและสิ่งแวดลอมมีคุณภาพท่ีด ีไมมสีิ่งเปนพิษรบกวน สรางความเดือดรอนราคาญ เชน นาเนา เสียงดัง ขยะพิษ กลิ่นเหม็น ไมมีโจร ผูราย มีระบบปองกันภัยอันตราย มีวิธีปองกันและแกไขปญหายาเสพตดิ ไมกังวลตอการเกิดคดีท่ีกระทาตอรางกายและทรพัยสิน

5.3 ชุมชน มีบริการสาธารณูปโภคท่ีพอเพียง หมายถึง ชุมชนมีสิง่สาธารณะ ท่ีจาเปนของหมูบาน อยูในสภาพด ีสามารถใชประโยชน อานวยความสะดวกและใหบริการแกประชาชนอยางท่ัวถึง

5.4 ชุมชน มีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณและสภาพแวดลอมท่ีมีคุณภาพเพ่ือสรางสมดุลใหกบั ระบบนิเวศ และยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีของคน หมายถึง ทรัพยากรตางๆ ของหมูบาน มีคุณภาพดี เชน ปาชุมชน แหลงนา สัตวนา ทุงหญาชุมชน สภาพดินหรือสิ่งอ่ืนๆ มีการดูแลใหคงสภาพ เพ่ือการใชประโยชนรวมกันในการดาเนินชีวิตของคนใน

Page 99: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

99

หมูบาน/ชุมชน เพ่ือการพ่ึงตนเอง หรือชวยแบงเบาภาระในการดาเนินชีวิตใหมีความสะดวก สบาย ไรกังวล เชน สามารถมีรายได สามารถใชประโยชนจากปาในการลดรายจาย เปนตน องคประกอบท่ี 6. เปนชมุชนประชาธิปไตยมีธรรมาภิบาล หมายถึง ชุมชนเปนสังคมประชาธิปไตยท่ีมีธรรมาภิบาล ประชาชน มีสิทธิเสรีภาพไดรับการยอมรับและเคารพในศักดิศ์รีความเปนคนท่ีเทาเทียมกันตามระบอบประชาธิปไตย ประพฤต ิปฏิบัตติามสิทธิและหนาท่ีของตนเองและเคารพในสิทธิและหนาท่ีของคนอ่ืน มีระเบียบวินัย มีระบบการบริหารจัดการท่ียึดหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใหเกิดความโปรงใส คุมคา และกระจายผลประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมอยางเปนธรรม นาไปสูสังคมสมานฉันทมีสันติสุขอยางยั่งยืน

6.1 บุคคล มีศักด์ิศรี มีสิทธิเสรีภาพและการยอมรับ และเคารพในศักด์ิศรีความเปนคนท่ีเทาเทียมกัน ตามระบอบประชาธิปไตยหมายถึง ประชาชน มีความเปนอิสระในการกระทากิจกรรมใดๆ ในชีวิตประจาวัน ตามขอบเขตอํานาจของกฎหมายหรือศีลธรรม ไมละเมดิสิทธิของผูอ่ืน อยูในหมูบานรวมใจกันปฏิบัติงานตางๆ อยางใหเกียรต ิเคารพในความรูความสามารถ มีสิทธิคุณคาของคน ใหโอกาสในการมีสวนรวมในการทางานและรับผลท่ีเกิดข้ึน อยางเทาเทียม เสมอกัน

6.2 บุคคล ปฏิบัติตามสิทธิ หนาท่ี กติกาประชาธิปไตย ไมซ้ือสิทธิ์ ขายเสียงในการใช สิทธิ์เลือกตั้งหมายถึง การแสดงออกของบุคคลในการกระทาตางๆ ตามหนาท่ีพลเมืองทีดี ยึดม่ันวัฒนธรรม ศีลธรรม กฎ กติกาของหมูบาน มีวินัยในตนเอง โดยไมละเมิดหรือเอาเปรียบสิทธิของผูอ่ืน เคารพตนเอง ในการตัดสินใจ การเลือกผูแทนในการทาหนาท่ีบริหารงานหมูบาน/ชุมชนหรือประเทศ โดยไมเห็นแก สินจางรางวัล และไมสนับสนุนคนท่ีทาผิดกฎ กติกาท่ีไดกาหนดไว

6.3 ชุมชนมีธรรมภิบาลชุมชน มีระบบการบริหารจัดการท่ียึดหลักความโปรงใส คุมคา เปนธรรม รับผิดชอบหมายถึง การบริหารงานของคณะผูบริหารของหมูบาน ทุกคณะ ทุกกลุมท่ีมีในหมูบาน ดาเนินการโดย ยึดหลักการปฏิบัติตาม กฎระเบียบ กฎหมาย ขอบังคับ ท่ีทันสมัย เท่ียงธรรม ยึดมั่นในความถูกตอง ซื่อสัตย สุจรติ การปฏิบัติงานเปดเผย ประชาชนรับทราบขอมลูขาวสารตรงไปตรงมา ใหโอกาสประชาชนเขามามสีวนรวม ในการคิด ตัดสินใจ เมื่อผิดพลาดมีการยอมรับและรับผิดชอบพรอมแกไขปรับปรุงไดทันทวงที บนฐานการบริหารทรัพยากรอยางประหยดั เกิดประโยชนบรรลุเปาหมายตอประชาชนเปนสําคญั ประชาชนมีจิตสานึกท่ีดไีมยอมรับและละอายตอพฤติกรรมการเรียกรับสิ่งตอบแทนของผูมีหนาท่ีใหบริการ เพ่ืออานวยความสะดวกหรือไดมาซึ่งประโยชนท่ีตนเองและครอบครัวตองการ โดยกระทาในสิ่งท่ีกฎหมายหามไวหรือไมกระทาในสิ่งท่ีกฎหมายกาหนดใหทา หรือเบียดบัง ยักยอกทรัพยสินสวนรวมไปเพ่ือประโยชนของตน

6.4 ชุมชน มีวิธีแกปญหาความขดัแยง สรางความสันติสขุ สมานฉันทในชุมชนโดยชุมชน หมายถึง ชุมชนมีระบบหรือกิจกรรมในการสรางความรักความเขาใจ มีความสามัคค ีอยูรวมกันอยางสงบสุข ใชคณะกรรมการหรือบุคคลท่ีมีหนาท่ีในการจดัการกับปญหาความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนสรางความปรองดองในชุมชน

สรุปข้ันตอนการจัดการประชุมประเมินความอยูเย็นเปนสุข หรือความสุขมวลรวม (GVH) แบบมีสวนรวม

วิทยากร ผูรวมประชุม เครื่องมือ ชี้แจงวัตถุประสงค รับฟง เขาใจ พรอมประเมิน เครื่องเสียง อธิบาย ความหมายขององคประกอบตัวชี้วัด

รับฟง เขาใจ แผนผังใยแมงมุม

ตั้งคาถามเปนรายตัวชี้วัด ระดมสมองคิดวา ชุมชนจะตองมีอะไรบาง จึงจะทาใหตัวชี้วัดแตละตัวชี้วัดจะสําเร็จจริง

ฟลิปชารท/ บัตรคา

เชิญชวนใหคะแนนคราวละตัวชี้วัด ใหคะแนนตามความรูสึกแทจริง สติกเกอร เข็มหมุด/ยกมือ

นาคาคะแนนท่ีไดมาบันทึกบนแผนผัง ตรวจสอบความถูกตอง แผนผังในแมงมุม ตั้งคาถามตัวชี้วัดตอไป จนครบทุกตัว รวมพิจาณาใหคะแนน แผนผังในแมงมุม

Page 100: เทคนิคการพัฒนาหมู บ านเศรษฐกิจ ... file54.pdfป งบประมาณ ๒๕๕๔ กรมการพ ฒนาช มชน

100

สรุปคะแนน เปนรายองคประกอบและสรุปการประเมินเปนรายตัวชี้วัด เชิญชวนพิจารณาคาคะแนน

รวมเรียนรูสิ่งท่ีตองปรับปรุง สิ่งท่ีตองรักษา เขาใจสภาพความสุขในปจจุบัน

แผนผังในแมงมุม

อธิบายการประเมินรวมทุกตัวชี้วัด คิดถึงสภาพของชุมชนและระดับความสุขท่ีเกิดข้ึน

ปรอทวัดความสุข

ตั้งคาถามใหท่ีประชุมประเมินความสุขในภาพรวม

ใหคะแนนตามความรูสึกท่ีแทจริง ปรอทวัดความสุข

บันทึกคาคะแนน ตรวจสอบความถูกตอง ปรอทวัดความสุข - สรุปการประเมิน - ชวนคิด ชวนคุย ถึงการเพ่ิมความสุข ของบุคลและชุมชนในอนาคต โดยใชตัวชี้วัด “ความอยูเย็น เปนสุข” เปนเปาหมาย

แลกเปลี่ยนเรียนรู สภาพปญหา เขาใจสาเหตุ หาทาออก ออกแบบกิจกรรมดาเนินการตอ

ฟลิปชารท/ บัตรคา

ช่ือหนังสือ เทคนคิการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

คณะที่ปรึกษา นายเรืองฤทธิ์ กรมเกลี้ยง พัฒนาการจังหวัดสิงหบุรี

นายสชุาติ รสิกวรณ หัวหนากลุมงานสงเสริมฯ

ผูจัดทํา นายคนอง สงชวย นกัวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ

จัดทําโดย สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวดัสิงหบุรี